รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด...

25
รายงานผล การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

Upload: others

Post on 30-Sep-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

I

รายงานผล

การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

ของกระทรวงศึกษาธิการ

ส านักนโยบายและยุทธศาสตร ์ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

Page 2: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

ค าน า

กระทรวงศึกษาธิการได้ด าเนินการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเพ่ือรองรับนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกของรัฐบาล ที่มุ่งให้ประเทศไทยเป็น Thailand 4.0 โดยมีการด าเนินการส าคัญ เช่น การพัฒนาสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานด้านภาษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการประกอบอาชีพ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย โครงการผลิตและพัฒนาก าลังคนสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เป็นต้น ซึ่งการด าเนินการดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการได้รวบรวม วิเคราะห์โครงการเพ่ือจัดท าเป็นแผนปฏิบัติราชการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ ส าหรับใช้เป็นกรอบแนวทางการด าเนินงานพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่ให้มีประสิทธิภาพ เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยการด าเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รายงาน ผลการด าเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติราชการฯ เรียบร้อยแล้ว ดังนั้น ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการจึงได้รวบรวมและสรุปผลการด าเนินงาน รวมทั้งจัดท าเป็นเอกสาร รายงานผลการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือเป็นข้อมูลและเผยแพร่ผลการด าเนินงาน โดยได้รับความร่วมมือจากทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค คณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานฯ ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ ต่อการด าเนินงานของหน่วยงานและบุคคลที่สนใจต่อไป

ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ธันวาคม 2561

Page 3: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

สารบัญ

หน้า ค าน า ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทน า 1 1.1 ความเป็นมา 1 1.2 วัตถุประสงค์ของรายงาน 1.3 พ้ืนที่เป้าหมาย 1.4 วิธีด าเนินงาน 1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ

3 3 3 3

บทที่ 2 ผลการด าเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ 4 2.1 ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 4 2.2 ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้าง 5 ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 2.3 ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษาภายใน ภายนอกในระดับต่าง ๆ 8 และเครือข่ายภาคเอกชน ประชาคม และประชารัฐ เพ่ือความสามารถในการแข่งขัน

2.4 ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา 9 2.5 ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 10 2.6 ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา 10 ในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) บทที่ 3 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ 11 3.1 ปัญหา และอุปสรรค 11 3.2 ข้อเสนอแนะ 11 ภาคผนวก 13 1. ค าสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สป ๑34/๒๕๖1 เรื่อง ขอยกเลิกค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ 14 ขับเคลื่อนการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ของกระทรวงศึกษาธิการ และแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน การบูรณาการการศึกษาภาคตะวันออก และการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ของกระทรวงศึกษาธิการ 2. หนังสือขออนุมัติแผนพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 19 (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ของกระทรวงศึกษาธิการ คณะผู้จัดท า 22

Page 4: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

บทที่ 1 บทน า 1. ความเป็นมา การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้ด าเนินการโดยยึดหลักแผนพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (พ.ศ. 2560 - 2564) ของกระทรวงศึกษาธิการ มีความสอดคล้องและรองรับกับความต้องการของการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและนโยบายการพัฒนาประเทศ Thailand ๔.๐ ตามบริบทของแต่ละพื้นที่ โดยมุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถรอบด้าน มีคุณภาพ และมาตรฐานสากล พัฒนาให้เป็นก าลังคน ที่มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค ์มีทัศนคติที่ด ีรับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรม และจริยธรรม สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน พร้อมทั้ง การสร้างทักษะทางวิชาชีพด้วยการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔) และแผน การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๗๙ ด าเนินการในพื้นที่ ๓ จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง มีสาระส าคัญของแผนปฏิบัติราชการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ 1.1 วิสัยทัศน์ มุ่ งมั่น พัฒนาการศึกษาสู่ สากล พัฒนาก าลั งคนในพ้ืนที่ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีทักษะการท างานที่หลากหลาย กระจายโอกาสเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ 1.2 พันธกิจ ๑. ส่งเสริมการจัดการศึกษาทุกระดับอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพมาตรฐานสากล ๒. ส่งเสริมผู้เรียนทุกระดับให้มีทักษะความสามารถรอบด้าน มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุข ๓. ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนทุกระดับให้มีความสามารถ มีมาตรฐานในการแข่งขันของประเทศ และระดับสากล ๔. สร้างและพัฒนางานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือสร้างผู้ประกอบการ และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ๕. ส่งเสริมการพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ ให้สอดคล้อง กับความต้องการของพ้ืนที่ 1.3 เป้าประสงค์หลัก ประชาชนในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ มีคุณภาพชีวิตที่ด ีคือ ๑. ผู้เรียนมีทักษะด้านภาษา มีทักษะการใช้เทคโนโลยี และมีความรู้ด้านอุตสาหกรรมใหม่ สามารถสร้างนวัตกรรมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ๒. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ด้านอุตสาหกรรมใหม่ และมีศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ควบคู่กับการปฏิบัติจากสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จ าลอง

๓. สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาก าลังคนสู่พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ๔. เครือข่ายทุกภาคส่วนทั้งในและต่างประเทศมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

Page 5: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

1.4 ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ แผนปฏิบัติราชการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ กลยุทธ์ ๑ พัฒนาหลักสูตรการศึกษาที่สอดคล้องบริบทพ้ืนที่ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความต้องการของชุมชนเพื่อสร้างความม่ันคงของประเทศ กลยุทธ์ ๒ ส่งเสริมการจัดการศึกษาความเป็นพลเมือง ความสามัคคี วิถีประชาธิปไตย และต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ กลยุทธ์ ๑ วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศก าลังคนในพ้ืนที่เพ่ือก าหนดความต้องการในการพัฒนาเพ่ือสร้าง ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กลยุทธ์ ๒ การผลิตและพัฒนาก าลังคนเพื่อให้สอดคล้องและสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน กลยุทธ์ ๓ การวิจัย นวัตกรรมเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กลยุทธ์ ๔ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการสนับสนุนและร่วมจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาก าลังคน ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษาภายใน ภายนอกในระดับต่าง ๆ และเครือข่ายภาคเอกชน ประชาคม และประชารัฐ เพื่อความสามารถในการแข่งขัน กลยุทธ์ ๑ สร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษาระดับต่าง ๆ ทั้งภายในประเทศหรือภายนอกประเทศ

กลยุทธ์ ๒ สร้างเครือข่ายภาคเอกชน ประชาคม และประชารัฐ สนับสนุนความสามารถในการแข่งขัน กลยุทธ์ ๓ แสวงหาต้นทุนและกลุ่มผู้น าในการเป็นตัวแทนการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา กลยุทธ์ ๑ สร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยการปฏิบัติในสถานการณ์จริง หรือจ าลอง กลยุทธ์ ๒ สร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ภายใต้หลักการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ ๓ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการสนับสนุนและร่วมจัดการศึกษาเพ่ือการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ ๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัยให้มีพฤติกรรมและทักษะที่สร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

กลยุทธ์ ๒ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีคุณภาพมาตรฐาน ในเรื่องสิ่งแวดล้อม ที่สอดคล้องกับบริบทของสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละพ้ืนที่ให้กับคนทุกช่วงวัย

กลยุทธ์ ๓ สนับสนุนและให้ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในการมีส่วนร่วมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ที่มีมาตรฐานในเรื่องการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้กับคนทุกช่วงวัย

กลยุทธ์ ๔ พัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศด้านการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษาในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) กลยุทธ์ ๑ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษาในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

Page 6: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

กลยุทธ์ ๒ การติดตาม ตรวจสอบประสิทธิภาพของการบริหารจัดการการศึกษาสถานศึกษาในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) 2. วัตถุประสงคข์องรายงาน การจัดท ารายงานผลการด าเนินงานการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพ่ือรายงานผลการด าเนินงานการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ ตามกรอบแนวทางในการผลิตและพัฒนาก าลังคนทุกระดับการศึกษารองรับการพัฒนาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 2. เพ่ือเผยแพร่ผลการด าเนินงานการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ ตามกรอบแนวทางในการผลิตและพัฒนาก าลังคนทุกระดับการศึกษารองรับการพัฒนาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 3. พื้นที่เป้าหมาย พ้ืนที่ด าเนินการตามแผนปฏิบัติราชการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง (รวมถึงเขตจังหวัดอ่ืนที่เกี่ยวข้องตามที่คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกก าหนดเพิ่มเติมโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี) 4. วิธีการด าเนินงาน 1. ศึกษาสาระส าคัญของแผนปฏิบัติราชการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ 2. รวบรวม ศึกษา สรุปผลการด าเนินงานการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ 3. จัดท าเป็นเอกสารรายงานผลการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ 4. เผยแพร่เอกสารรายงานผลการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ 5. ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ กระทรวงศึกษาธิการสามารถน ารายงานผลการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาเป็นข้อมูลในการจัดท าแผนปฏิบัติราชการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องน าไปเป็นข้อมูลประกอบการด าเนินงานต่อไป

Page 7: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

บทที่ 2 ผลการด าเนินงาน

การด าเนินงานการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้ด าเนินการภาคใต้ยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษาภายในภายนอกในระดับต่าง ๆ และเครือข่ายภาคเอกชน ประชาคม และประชารัฐ เพ่ือความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียม ทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษาในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึ่งมีผลการด าเนินงานจ าแนกตามประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้

1. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ กลยุทธ์ ๑. พัฒนาหลักสูตรการศึกษาที่สอดคล้องบริบทพ้ืนที่ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความต้องการ ของชุมชนเพื่อสร้างความม่ันคงของประเทศ ๒. ส่งเสริมการจัดการศึกษาความเป็นพลเมือง ความสามัคคี วิถีประชาธิปไตย และต่อต้านการทุจริต คอรร์ัปชั่น ผลการด าเนินงาน

1. ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ด าเนินการเกี่ยวกับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ซึ่งที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๐ มีมติเห็นชอบกรอบคุณวุฒิแห่งชาติฉบับปรับปรุง และมอบหมาย ให้กระทรวงศึกษาธิการวางแผนผลิตก าลังคนให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานทั้งในและต่างประเทศ มุ่งเน้นการพัฒนาฝีมือแรงงานไทยให้มีศักยภาพเพื่อรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เขตพัฒ นาเศรษฐกิจพิเศษ และประเทศไทย ๔.๐ ซึ่งขณะนี้ได้ด าเนินการแล้วเสร็จ ๑ สาขา คือ อาชีพช่างอากาศยาน และอยู่ระหว่างด าเนินการจัดท าแผนการผลิตและพัฒนาก าลังคนตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ๗ กลุ่มสาขาอาชีพ ซึ่งได้มีการคัดเลือกสาขาอาชีพที่มีความจ าเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ดังนี้ 1) โลจิสติกส์โครงสร้างพ้ืนฐาน (สาขาช่างซ่อมระบบขนส่งทางราง) 2) โลจิสติกส์และซัพพลายเชน (สาขาพนักงานควบคุมยานพาหนะมืออาชีพ (Smart Driver) นักจัดการระบบโลจิสติกส์เพื่อสินค้าเกษตร (Cold Chain) และนักวางแผนอุปสงค์ (Demand Planer) 3) หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (สาขา Robot and Automation Maintenance และ Robot and Automation System Integrator) 4) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์ (สาขา Programmer Network and Security IT Support Animation และ Fiber Optic) 5) อาหารและเกษตร (สาขาผู้ประกอบการฟาร์ม (Smart Farmer Entrepreneur) ผู้ประกอบการอาหาร (Smart Food Entrepreneur) นักจัดการเกษตร (Farm Manager) และนักจัดการอาหาร (Food Manager) 6) ปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน (สาขาปิโตรเคมี และพลังงานทดแทน) และ 7) แม่พิมพ์ (สาขาช่างผลิตชิ้นงานแม่พิมพ์ เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next Generation Automotive) การแพทย์ครบวงจร (Medical Hub)

Page 8: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

2. โรงเรียนเอกชนน าแนวทางการจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษาของโรงเรียนก าเนิดวิทย์ จังหวัดระยอง มาเป็นต้นแบบในการจัดการเรียนการสอน 3. การพัฒนาคุณภาพครูให้มีศักยภาพ จัดการเรียนการสอนในการยกระดับคุณภาพการศึกษาเอกชน เพ่ือรองรับพ้ืนที่เศรษฐกิจพิเศษและพ้ืนที่เศรษฐกิจภาคตะวันออก ได้ด าเนินการพัฒนาหลักสูตรต้นแบบเพ่ือให้โรงเรียนสามารถน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพจ านวน ๘ หลักสูตร 4. ด าเนินการโรงเรียนเอกชนต้นแบบ EEC ในโรงเรียนสัตหีบ โดยปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน รองรับการเป็นโรงเรียนเอกชนต้นแบบ EEC ซึ่งมีการติดตั้งเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตามอาคารเรียน และห้องเรียน EISS (English for Integrated Studies of Sattahip School) ปรับปรุงห้อง EISS ๑๖ ห้อง ปรับปรุงห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ๒ ห้อง ห้องนาฏศิลป์ ศิลปะการดนตรี ห้องประชุมเอนกประสงค์ ห้องสมุด รวมทั้งจัดหาอุปกรณ์ห้องการงานอาชีพ อุปกรณ์ห้องคหกรรม และจัดท าสนามกีฬา 5. พัฒนาสถานศึกษาขึ้นพ้ืนฐานเพ่ือรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกด้านภาษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการประกอบอาชีพ 10 อุตสาหกรรม โดยสร้างความรู้ความเข้าใจเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพื่อรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ด้านภาษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการประกอบอาชีพ 10 อุตสาหกรรม ให้กับผู้บริหาร ครู และผู้ปกครอง จ านวน 3,000 คน จัดกิจกรรมเปิดบ้านการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เพ่ือเผยแพร่ผลการด าเนินงานของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 47 โรงเรียน และหน่วยงาน/สถานศึกษาที่เกี่ยวข้อง จัดท าแผนกลยุทธ์เพ่ือขับเคลื่อนพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ด้านภาษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการประกอบอาชีพ 10 อุตสาหกรรม ของสถานศึกษา 47 โรงเรียน ปรับหลักสูตรสถานศึกษาและแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาตามโครงการพัฒนาสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพ่ือรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ด้านภาษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการประกอบอาชีพ 10 อุตสาหกรรม โดยสถานศึกษาทั้ง 47 แห่ง มีแผน และโครงสร้างหลักสูตร รวมทั้งแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพ่ือรองรับเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก ด้านภาษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการประกอบอาชีพ 10 อุตสาหกรรม ฝึกปฏิบัติการบริหารจัดการระบบดิจิทัลและเทคโนโลยี จ านวน 2 รุ่น ๆ ละ 275 คน เพ่ือใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ท าให้ผู้บริหาร ครู มีความรู้ความเข้าใจในการจัดท าและพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อจัดการเรียนการสอน ครูสามารถจัดท าและใช้ QR Code ในการจัดการเรียนการสอนและเป็นสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่การจัดการเรียนการสอนและผลการด าเนินการของโรงเรียน 2. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ กลยุทธ์ ๑. วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศก าลังคนในพ้ืนที่เพ่ือก าหนดความต้องการในการพัฒนา เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ๒. การผลิตและพัฒนาก าลังคนเพื่อให้สอดคล้องและสนองต่อความต้องการ ของตลาดแรงงาน ๓. การวิจัย นวัตกรรมเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ๔. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการสนับสนุนและร่วมจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาก าลังคน ผลการด าเนินงาน 1. ด า เนินการโครงการผลิตและพัฒนาก าลังคนสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยผู้บริหารระดับประเทศและผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการได้ตรวจเยี่ยมศูนย์ประสานงานการผลิต และพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษา เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และมอบหมายให้วิทยาลัยในเขต

Page 9: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกพิจารณาเป็นเจ้าภาพหลักในแต่ละสาขาของ ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยเชิญนักวิชาการ สถานประกอบการ ครูผู้สอน และผู้เชี่ยวชาญ มาร่วมกันพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร นอกจากนี้สถานศึกษาอาชีวศึกษาในพ้ืนที่ EEC ร่วมกับส านักงาน กศน. ด าเนินการฝึกอบรมทักษะอาชีพให้กับประชาชน ในพ้ืนที ่เช่น วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่ายจัดอบรมหลักสูตรช่างซ่อมเครื่องมือการเกษตร ให้กับประชาชนในต าบลแม่น้ าคู้ จังหวัดระยอง จ านวน ๕๐ คน วิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคมจัดอบรมหลักสูตรขนมไทย และการแปรรูปอาหาร ให้กับประชาชนในต าบลหนองเหียง และวัดโบสถ์ จังหวัดชลบุรี จ านวน ๓๑ คน เป็นต้น สถานศึกษาอาชีวศึกษาในพ้ืนที่ EEC ท าความร่วมมือกับสถานประกอบการในพ้ืนที่ เช่น วิทยาลัยเทคนิคบางแสน มีความร่วมมือในโครงการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดี และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ กับบริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ ากัด (มหาชน) นอกจากนี้ ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้เตรียมพัฒนาบุคลากร พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑ เพ่ือฝึกอบรมครู ๑,๐๐๐ คนการฝึกงานส าหรับครูในสถานประกอบการ ๑,๕๐๐ คน และการพัฒนาหลักสูตรเพ่ืออบรมครู จ านวน ๒๘๕ หลักสูตร

2. การด าเนินงานผ่านศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษา เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก มีการจัดฝึกอบรมระบบ Big data System ให้แก่สถานประกอบการที่มีคนงานมากกว่า ๕๐ คน ขึ้นไป ของภาคตะวันออก จ านวน ๓๘,๘๕๗ แห่ง ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ๙,๖๗๔ คน ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติด้านอาชีวศึกษา ๓๒,๑๐๘ คน สอบมาตรฐานวิชาชีพ ๓๔,๑๐๘ คน และด าเนินโครงการฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นฐานสมรรถนะ (Education to Employment : E to E) ๕,๙๓๓ คน ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภาคเอกชนเพ่ือด าเนินการงานต่าง ๆ จ านวน ๓๕,๒๘๐,๘๒๙ บาท ได้รับการสนับสนุนเครื่องจักร อุปกรณ์ มูลค่ารวม ๕๗,๒๙๕,๔๑๔ บาท ได้รับการสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญ เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน และครูภูมิปัญญา ๒๔๐ คน และจัดท าบันทึกลงนามความร่วมมือเพ่ือจัดการศึกษากับสถานประกอบการ ๘๗๓ แห่ง มีการขึ้นทะเบียนครูพิเศษอาชีวศึกษาอุตสาหกรรม ๔.๐ และ ๑๐ อุตสาหกรรมในพ้ืนที่ EEC โดยขณะนี้ ขึ้นทะเบียนแล้ว ๒๐ คน จากเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ๕๐๐ คน พัฒนาหลักสูตรระยะสั้น ปวช. และ ปวส. เช่น หลักสูตรพนักงานขับรถบรรทุกสินค้าขนาดใหญ่ เป็นต้น วิเคราะห์และจัดอันดับสาขาที่เป็นที่นิยมมากที่สุด (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) สาขาท่ีเป็นที่นิยมน้อย (ช่างกลเกษตร) และสาขาที่ควรเปิดให้สอดคล้องกับความต้องการ ของสถานประกอบการ (หุ่นยนต์เพ่ือการอุตสาหกรรม) ส่งเสริมรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบของการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project based Learning) การจัดการเรียนรู้ โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain based Learning) การจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการการเรียนรู้กับการท างาน (Work Integrated learning) มีการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน ๒,๖๙๒ ผลงาน และได้รายงานให้ผลการวิจัย ให้ส านักวิจัยแห่งชาติ ๔๘ เรื่อง มีวิจัยสิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ระดับอาชีวศึกษาจังหวัด ๑๑๒ เรื่อง สิ่งประดิษฐ์ คนรุ่นใหม่ระดับภาค ๓๑ เรื่อง วิจัยสิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ระดับชาติ ๑๑ ผลงาน ผลงานหุ่นยนต์แขนกลหุ่นยนต์กู้ภัยที่ได้รับรางวัลผลงานระดับชาติ ๒ ผลงาน และการจับคูส่ิ่งประดิษฐ์และกับสถานประกอบการ ๑๑๖ ผลงาน อยู่ระหว่างการเจรจาตกลงความร่วมมือ ๒๔ ผลงาน นอกจากนี้ ได้ประสานงานกับกระทรวงแรงงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการผลิตและพัฒนาก าลังคนทั้งภาครัฐและเอกชน เพ่ือบูรณาการข้อมูลและด าเนินการวางแผนงาน โครงการแต่ละหน่วยงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและเป็นเอกภาพ โดยมีการประชุมร่วมกับกระทรวงแรงงาน เมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ 3. การขับเคลื่อนการศึกษาระดับอุดมศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้จัดประชุมชี้แจงและหารือแนวทางการด าเนินงานร่วมกับสถาบันอุดมศึกษา ในพ้ืนที่ จัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพ่ือจัดท าแผนปฏิบัติการเพ่ือขับเคลื่อนอุดมศึกษารองรับนโยบาย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พร้อมทั้งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนอุดมศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ประกอบด้วยคณะกรรมการอ านวยการขับเคลื่อน

Page 10: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

อุดมศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor :EEC) และคณะท างานขับเคลื่อนอุดมศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ซึ่งส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอยู่ระหว่างจัดท าแผนปฏิบัติการ 7 ปี ตามยุทธศาสตร์ประเทศแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ (1) ระยะ 2 ปี พ.ศ. 2563 – 2564 และ (2) แผนปฏิบัติการ ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2565 – 2569 โดยมีการทบทวนแผนงาน/โครงการฯ ที่สถาบันอุดมศึกษาเสนอเพ่ือให้แผนงานโครงการมีการก าหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด และผลลัพธ์ที่ชัดเจน 4. ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาด าเนินการส่งเสริมการจัดการศึกษาของสถาบันที่มีศักยภาพสูงจากต่างประเทศโดยคณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบให้ด าเนินการจัดการศึกษา 2 แห่ง ประกอบด้วย (1) Carnegie Mellon University (CMU) ท าการจัดการศึกษารองรับอุตสาหกรรมใหม่ เน้นการสร้างความรู้และนวัตกรรมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และ (2) มหาวิทยาลัยอมตะ (AMATA University) จัดการเรียนการสอนหลักสูตร Master of Science (M.S.) in Engineering (Intelligent Manufacturing System) ที่มีลักษณะและคุณภาพเดียวกันกับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยแห่งชาติไต้หวัน เน้นเปิดสอน ในกลุ่มของวิชาเลือกที่เก่ียวข้องกับการผลิตสมัยใหม่ (Industrial 4.0) 5. พัฒนาคุณภาพครูให้มีศักยภาพจัดการเรียนการสอนในการยกระดับคุณภาพการศึกษาเอกชน เพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยศึกษาความต้องการ และแนวทางการพัฒนาตามบริบทของพ้ืนที่ มีโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษาที่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาเข้าร่วมประชุม จ านวน ๖๐ โรงเรียน โรงเรียนนอกระบบที่เปิดสอนวิชาชีพ ศิลปะและกีฬา จ านวน ๓๐ โรงเรียน รวม ๒๐๘ คน โรงเรียนมีความประสงค์จัดการศึกษาเพ่ือให้นักเรียนมีทักษะด้านอาชีพทั้งในด้านการโรงแรมและการท่องเที่ยว ธุรกิจการบิน คอมพิวเตอร์และอิเล็คทรอนิคส์ พ้ืนฐานวิศวกรรมเพ่ือการเกษตร พาณิชย์นาวี เสริมสวยและตัดผม และการบริบาล

6. ด าเนินการศึกษาและจัดท ามาตรการส าคัญภาครัฐเพ่ือพัฒนาบุคลกรรองรับเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก โดยพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นร่วมกับสถานประกอบการที่ส่งเสริมทักษะที่จ าเป็นเพื่อการมีงานท าให้กับบัณฑิตที่ส าเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏและวิทยาลัยเทคนิคสัตหีบส าหรับกลุ่มอุตสาหกรรมภาคบริการไม่ต่ ากว่า 4 หลักสูตร รองรับกับความต้องการที่สนับสนุนการพัฒนา 10 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย มีภาคีเครือข่ายการพัฒนาก าลังแรงงานในภาคอุตสาหกรรม น าโมเดลการพัฒนา “สัตหีบโมเดล” ของวิทยาลัยเทคนิคสัตหีบมาขยายผลในการผลิตบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมร่วมกัน มีหลักสูตรระยะสั้น ไปใช้ในการพัฒนาก าลังแรงงานที่ยังว่างงานให้เข้าสู่กลุ่มอุสาหกรรมภาคบริการ ไม่ต่ ากว่า 4 กลุ่มอุตสาหกรรม และมีฐานข้อมูลแรงงานการผลิตแรงงานและความต้องการแรงงานเพ่ือตอบสนอง 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จ านวน 1 ฐานข้อมูล

7. จัดอบรมภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพให้แก่ประชาชนแต่ละอ าเภอ มีผู้เข้าอบรม 990 คน และมีหลักสูตร 6 หลักสูตร โดยผู้เข้าอบรมสามารน าความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ในระดับหนึ่งเนื่องจากเป็นการอบรมระยะสั้น

8. ด าเนินการขับเคลื่อนสิ่งประดิษฐ์นวัตกรรมอาชีวศึกษาเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ในภาคตะวันออก และพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) โดยมีส านักงานศึกษาธิการภาค 9 ร่วมกับส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ส านักงานศึกษาธิการภาค 3 ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สถานศึกษาอาชีวศึกษา และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือมุ่งเน้นให้เกิดความร่วมมือระหว่างนักประดิษฐ์และผู้ประกอบการ ในการน าองค์ความรู้ และผลงานสิ่งประดิษฐ์ไปพัฒนา ต่อยอด หรือใช้งานจริงในสถานประกอบการ รวมทั้งได้มีการประชุมรับฟังความต้องการของหน่วยงานในจังหวัดฉะเชิงเทราต่อการเป็นเมืองอัจฉริยะ Smart City

Page 11: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

3. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษาภายใน ภายนอกในระดับต่าง ๆ และเครือข่ายภาคเอกชน ประชาคม และประชารัฐ เพื่อความสามารถในการแข่งขัน กลยุทธ์ ๑. สร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษาระดับต่าง ๆ ทั้งภายในประเทศหรือภายนอกประเทศ

๒. สร้างเครือข่ายภาคเอกชน ประชาคม และประชารัฐ สนับสนุนความสามารถในการแข่งขัน ๓. แสวงหาต้นทุนและกลุ่มผู้น าในการเป็นตัวแทนการเปลี่ยนแปลงการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพ ผลการด าเนินงาน 1. ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจัดอบรมหลักสูตรภาษาอังกฤษ

เพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ (ระยะสั้น) 1,204 คน ฝึกอาชีพทักษะขั้นพ้ืนฐาน 7,449 คน ใช้งบประมาณปกติจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2,470,220 บาท พร้อมกับได้ส ารวจผู้ฝึกอาชีพทักษะขั้นพ้ืนฐาน ที่มีความต้องการเรียนต่อหลักสูตรขั้นสูงด าเนินการโดยส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จ านวน 3,337 คน

2. การด าเนินการร่วมกับหน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศเพ่ือผลิตและพัฒนาก าลังคน รองรับ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย มีผลการด าเนินการ ดังต่อไปนี้

2.1 ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดด้ าเนินการ ดังนี้ 2.1.1. ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา

การรถไฟหวู่ฮ่ัน (Wuhun Railway Vocational of Technology) สาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อพัฒนาหลักสูตรระบบขนส่งทางราง ด าเนินการน าร่อง ใน 4 สถานศึกษา คือ วิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่ จ. ขอนแก่น วิทยาลัยเทคนิควาปีปทุม จ.มหาสารคาม วิทยาลัย เทคนิคสุราษฎร์ธานี และวิทยาลัยเทคนิคชลบุรี เริ่มเปิดสอนในปีการศึกษา 2561

2.1.2. ลงนามบันทึกข้อตกลงกับสมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย เพ่ือด าเนินการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาด้านระบบขนส่งทางราง จัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในวิทยาลัยเทคนิคชลบุรี สาขาวิชาระบบขนส่งทางราง 3 สาขางาน ได้แก่ สาขางานอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม (Signaling and Telecommunication) เชิงบูรณาการกับการท างาน (Work – integrated Learning : WIL) แบบเข้มข้นและระบบทวิภาคีเข้มแข็ง และใช้กระบวนการสะเต็มศึกษาและการเรียนรู้ แบบใช้โครงงานเป็นฐาน มีระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 2 ปี หรือ 3 ปี (แบบทวิวุฒิ) เริ่มเปิดสอน ในปีการศึกษา 2561

2.1.3 ร่วมกับกระทรวงแรงงานในการจัดท าแผนการจัดหาและพัฒนาทักษะ ฝีมือแรงงานตามความต้องการแรงงาน โดยร่วมสัมมนาเพ่ือขับเคลื่อนนโยบายด้านแรงงานเพ่ือตอบสนอง การพัฒนาพื้นที่ EEC เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรม เดอะ เบอเคลีย์ ประตูน้ า กรุงเทพมหานคร มีสาระส าคัญของการสัมมนาฯ ดังนี้

1) ผู้ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีว่างงานและท างานต่ ากว่าวุฒิการศึกษา จ านวน 22,000 คน คิดเป็นร้อยละ 35 มีความต้องการแรงงาน จ านวน 12,000 คน การผลิตบุคลากร มีคุณสมบัติไม่ตรงตามความต้องการ ในขณะที่พ้ืนที่ EEC มีเขตส่งเสริมอุตสาหกรรม จ านวน 31 แห่ง ด าเนินการแล้ว 21 แห่ง โดยปี 2560 มีการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายร้อยละ 84 และคาดว่า ปี 2561 จะมีนักลงทุนสนใจมาลงทุนเพ่ิมขึ้น

2) การผลิตก าลังคนรองรับ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายต้องเน้นให้คนมีทักษะ การท างานที่หลากหลาย (Multi-Skills) เช่น การท างานระบบรางต้องมีความรู้เรื่องเครื่องกล ไฟฟ้า และการควบคุม

Page 12: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

การผลิตก าลังคนต้องสอบถามความต้องการของสถานประกอบการโดยต้องร่วมกันจัดการศึกษา คือ ก าหนดหลักสูตรการเรียนการสอน การพัฒนาครูโดยการศึกษาต่อและฝึกอบรมในสถานประกอบการเพ่ิมเติม หรือจ้างผู้เชี่ยวชาญมาจัดการเรียนการสอน และการจัดหาครุภัณฑ์ในการเรียนการสอน รวมถึงเสริมสร้างทักษะแรงงานดั้งเดิม (Re-skill) ปัญหาที่พบ คือ การผลิตก าลังคนไม่ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการและการพัฒนาประเทศ การสอนคนไปท างานแต่ไม่สอนคนคิดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมใหม่ ๆ การจัดการศึกษาไม่มีข้อมูลความต้องการของสถานประกอบการ ค่านิยมของผู้เรียนชอบความสะดวกสบาย ส าหรับการจัดการศึกษา ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจะวางระบบการศึกษาทั้งประเทศ ไม่ใช่เฉพาะในพ้ืนที่ EECเนื่องจากคนที่มาท างานในพ้ืนที่ EEC มาจากทั่วประเทศ

3) แนวทางการพัฒนารองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก คือ ส ารวจข้อมูล ความต้องการแรงงานในพ้ืนที่ EEC ระบุวิชาที่ต้องเรียนและค่าฝีมือเมื่อจบการศึกษา ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรไทยในต่างประเทศทราบข้อมูลงานและรายได้ น าบุคลากรกลับมาฝึกครั้งใหญ่ (Massive Retraining) จัดให้มีประกาศนยีบัตรคุณภาพ และน าเข้าผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศมาท างานและมาเป็นครู

4) ข้อเสนอแนะจากผู้ เข้าร่วมรับฟังการสัมมนา คือ การจัดการศึกษารองรับ ความต้องการของสถานประกอบการ สามารถศึกษาจากเกณฑ์ระบบมาตรฐาน อาทิ มาตรฐาน ISO มาตรฐานระดับชาติของจีน (Chinese National Standards : GB) และมาตรฐานอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น (Japanese Industrial Standard : JIS) น ามาก าหนดแนวทางมาตรฐานการผลิตบุคลากร และมีข้อห่วงใย คือ หากอนาคต การขยายเมือง ให้พ้ืนที่ EEC เป็นหนึ่งเดียวกับกรุงเทพมหานคร อาจประสบปัญหาความแออัดของเมือง เหมือนกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน 2.2 ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการได้เดินทางไปเจรจาขอความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยนาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น เพ่ือให้ส่งผู้เชี่ยวชาญมาท าการอบรมให้กับครูอาชีวศึกษาของไทยเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรอุตสาหกรรมอนาคต (New S – Curve) อาทิ ยานยนต์อัจฉริยะ หุ่นยนต์แขนกล การท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ การแปรรูปอาหาร การเกษตรสมัยใหม่ และพลังงานทดแทน

3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการเวทีการรับรู้ทิศทางการพัฒนาและการวางแผนงานอนาคต ประชุมคณะท างานการผลิตและพัฒนาก าลังคนจังหวัดฉะเชิงเทรา ประชุมเตรียมการโครงการขนาดใหญ่ ในพ้ืนที่จังหวัดฉะเชิงเทราและการวางแผนงานอนาคต และประชุมโครงการ “แปดริ้ว 4.0 และ Chachoengsao Smart City” หรือ “ฉะเชิงเทรา 2020”

4. ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา กลยุทธ์ ๑. สร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยการปฏิบัติในสถานการณ์จริง หรือจ าลอง ๒. สร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ภายใต้หลักการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการสนับสนุนและร่วมจัดการศึกษาเพ่ือการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ผลการด าเนินงาน ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทราจัดสัมมนานักเรียน นักศึกษาอาชีพ ในสถานประกอบการ เพ่ือให้นักเรียน นักศึกษาที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพมีความรู้ความเข้าใจถึงเป้าหมาย ของการออกฝึกอาชีพ และมีความรู้ตามหลักสูตรการเรียนการสอนเพ่ิมข้ึน

Page 13: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๑๐

5. ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ส่งเสริม การจัดการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัยให้มีพฤติกรรมและทักษะที่สร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม พัฒนาแหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีคุณภาพมาตรฐาน ในเรื่องสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้อง กับบริบทของสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละพ้ืนที่ให้กับคนทุกช่วงวัย สนับสนุนและให้ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในการมีส่วนร่วมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่มีมาตรฐานในเรื่องการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้กับคนทุกช่วงวัย และพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศด้านการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษาในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) กลยุทธ์การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหาร จัดการศึกษาสถานศึกษาในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และการติดตาม ตรวจสอบประสิทธิภาพของการบริหารจัดการการศึกษาสถานศึกษาในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

ผลการด าเนินงาน 1. ส านักงานศึกษาธิการภาค 3 ด าเนินการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้านการศึกษาระดับภาค รองรับแผนพัฒนาภาคแบบบูรณาการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ดังนี้ (1) ประชุมชี้แจงรายละเอียด การจัดท าแผนภาคตะวันออก (2) มีแผนบูรณาการด้านการศึกษาระดับภาค รองรับแผนทิศทางการพัฒนาภาค เชิงบูรณาการ หน่วยงานละ 1 เล่ม (3) มีข้อเสนอการจัดท างบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ระดับหน่วยงานหน่วยงานละ 1 ชุด (4) มีสรุปข้อมูลผลการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้านการศึกษาระดับภาค ในพ้ืนที่ที่ก ากับ ดูแล (5) มีข้อมูลสนับสนุนประกอบการชี้แจงงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ต่อคณะกรรมการต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง (6) ประชุมชี้แจงเครื่องมือตรวจราชการ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ รอบที่ 1 ประจ าปี 2561 และ (7) ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้านการศึกษาระดับภาค (ภาคตะวันออก) 2. ด าเนินการพัฒนาเครือข่ายครูฝึกในสถานประกอบการส าหรับครูอาชีวศึกษาในจังหวัดฉะเชิงเทรา ทั้งในสถานศึกษาอาชีวศึกษาของรัฐและเอกชน 15 แห่ง เพ่ือให้สามารถน าความรู้ในการจัดการเรียนการสอน ในระบบการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี มาใช้ในการจัดท าแผนการฝึก การวางแผนขั้นตอนการฝึกอาชีพ และการวัด ประเมินผลได้อย่างถูกต้อง 3. ด าเนินการเสริมสร้างประสบการณ์อาชีพ (Work Experience) ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของสถานศึกษาในจังหวัดฉะเชิงเทรา เพ่ือให้นักเรียนเกิดความตระหนัก รับรู้เกี่ยวกับประสบการณ์อาชีพ และน าไปประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิตและเตรียมอาชีพของตนเองในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Page 14: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๑๑

บทที่ 3 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

ปัญหา อุปสรรค 1. สถาบันอุดมศึกษาในพ้ืนที่ยังไม่สามารถบูรณาการการท างานกันได้อย่างชัดเจน และมีศักยภาพ ไม่เพียงพอส าหรับการด าเนินการผลิตบัณฑิตและการวิจัยตาม 10 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายรองรับนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 2. การด าเนินงานของศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษา เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก มีปัญหา อุปสรรค คือ การสร้างการรับรู้ยังไม่เพียงพอ ต้องเร่งสร้างการรับรู้ในทุกรูปแบบ แก่นักเรียน นักศึกษา ครู ผู้ปกครอง และสถานประกอบการในพ้ืนที่ เนื่องจากการรับรู้ยังไม่เพียงพอ จึงท าให้การท าความร่วมมือกับสถานประกอบการในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกยังไม่ครอบคลุม ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมาย จึงต้องเร่งด าเนินการทั้งเรื่องการสร้างการรับรู้ และการสนับสนุนความร่วมมือไปพร้อม ๆ กัน รวมทั้งบุคลากรและครูไม่เพียงพอต่อการด าเนินงานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 3. การพัฒนาคุณภาพครูให้มีศักยภาพจัดการเรียนการสอนในการยกระดับคุณภาพการศึกษาเอกชน เพ่ือรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โรงเรียนเอกชนไม่ได้รับงบประมาณสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพ ส่งผลให้โรงเรียนหรือผู้ปกครองต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ 4. ระยะเวลาในการบริหารและด าเนินการโครงการค่อนข้างจ ากัด

5. ผู้เข้าร่วมประชุมขาดความรู้ ความเข้าใจทิศทางการพัฒนาภาค (ภาคตะวันออก) และบทบาทหน้าที่ของคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้านการศึกษาระดับภาค (ภาคตะวันออก)

6. การจัดอบรมแต่ละหลักสูตร ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้พ้ืนฐานไม่เหมือนกัน ส่งผลให้ผู้เข้ารับ การอบรมหลักสูตรเชิงปฏิบัติการที่ไม่มีพ้ืนฐานเกิดความท้อแท้ และรู้สึกไม่อยากอบรม และสร้างความเบื่อหน่ายต่อผู้เข้ารับการอบรมท่ีมคีวามรู้พ้ืนฐาน เนื่องจากต้องรอให้เป็นไปตามข้ันตอนที่วิทยากรด าเนินการ 7. โครงการตามแผนปฏิบัติราชการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ บางโครงการไม่ได้รับงบประมาณให้ด าเนินการ และโครงการส่วนใหญ่ที่น ามาบรรจุไว้ในแผนปฏิบัติราชการฯ เป็นโครงการที่ด าเนินการตามปกติอยู่แล้ว ซึ่งบางโครงการ อาจจะไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของแผน

ข้อเสนอแนะ 1. ควรก าหนดมาตรการจูงใจให้สถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูงจากต่างประเทศเข้ามาจัดการศึกษาในประเทศไทย 2. การด าเนินการของศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษา เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก ควรเร่งพัฒนาบุคลากรให้ เพียงพอทั้งคุณภาพและปริ มาณหรืออาจจัดท าข้อตกลง กับสถานประกอบการเพ่ือใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกัน 3. ควรเร่งสร้างการรับรู้ในทุกรูปแบบแก่นักเรียน นักศึกษา ครู ผู้ปกครอง และสถานประกอบการ ในพ้ืนที่ รวมทั้งท าความร่วมมือเกี่ยวกับ ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมายกับสถานประกอบการในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 4. แม้จะมีการยกเว้นกฎระเบียบให้แก่สถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูงเข้ามาจัดการศึกษาในประเทศไทย แต่ควรสร้างแรงจูงใจทั้งในรูปแบบตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน เพ่ือดึงดูดและจูงใจสถาบันอุดมศึกษาจากต่างประเทศ เข้ามาจัดการศึกษาในประเทศไทย

Page 15: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๑๒

6. ควรก าหนดให้มีผู้เข้ารับการฝึกอบรมภาษาอังกฤษระยะสั้นจ านวนไม่มาก และมีการอบรม อย่างต่อเนื่อง 7. ผู้บริหารควรให้ความส าคัญกับโครงการพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยควรเน้นให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของแผน เพ่ือผลักดันให้ได้รับงบประมาณมาด าเนินงาน

Page 16: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๑๓

ภาคผนวก

Page 17: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๑๔

Page 18: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๑๕

Page 19: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๑๖

Page 20: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๑๗

Page 21: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๑๘

Page 22: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๑๙

Page 23: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๒๐

Page 24: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๒๑

Page 25: รายงานผลก ค าน า กระทรวงศ กษาธ การได ด าเน นการพ ฒนาการศ กษาในพ นท เขตพ

๒๒

คณะผู้จัดท าเอกสาร

ที่ปรึกษา 1. นายอ านาจ วิชยานุวัต ิ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 2. นางสาวนิติยา หลานไทย ผู้อ านวยการส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้จัดท า ส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 1. นางสาวชมภู พ่ึงธรรม หัวหน้ากลุ่มแผนเฉพาะกิจเฉพาะพ้ืนที่ 2. นางชุติมา วัตอักษร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ 3. นายสิทธิพร วรรณวงษ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ 4. นางสาวกฤษศราภรณ์ ศรีสุข นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ หน่วยงานสนับสนุนข้อมูล 1. ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2. ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 3. ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4. ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 5. ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 7. ส านักงานศึกษาธิการภาค 3 8. ส านักงานศึกษาธิการภาค 9 9. ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทรา 10. ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดชลบุร ี 11. ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดระยอง