ประวัติผู...

84
บทที2 พัฒนาการทางความคิดของผูแตง ในการวิเคราะหความคิดของผูแตง ผูวิจัยจะศึกษาประวัติผูแตง บริบททาง สังคมวัฒนธรรม และบริบททางวรรณกรรมประกอบกับการวิเคราะหวรรณกรรม เพื่อทําความ เขาใจโลกทัศนของนิคม รายยวา ประวัติผูแตงโดยสังเขป นิคม รายยวา เดิมชื่อ นิคม กอบวงศ เกิดเมื่อวันที9 เมษายน .. 2487 ที่ตําบลหาดเสี้ยว อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เรียนประถมศึกษาที่โรงเรียนเมืองเชลียง จังหวัดสุโขทัย และเปนเศรษฐศาสตรบัณฑิตจากคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร (บรรณาธิการ), 2547 : 147) ขณะที่ศึกษาระดับมหาวิทยาลัยนี้เอง เห็นไดวา นิคมไดเพิ่มประสบการณการ อานและเขียนดวยกิจกรรมนอกหลักสูตร คือ การเปนสมาชิกชมรม พระจันทรเสี้ยวซึ่งกอตั้ง ในป 2510 ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ความสนใจวรรณกรรมของนักศึกษากลุมนี้เชื่อมโยงกับ ความตองการที่จะหาคําตอบเกี่ยวกับความหมายของชีวิตและสังคม และมีลักษณะรวมกับความ ตื่นตัวของคนหนุมสาวจํานวนหนึ่งที่จะเขาใจและมีสวนรวมกับกิจการบานเมือง ขณะที่มีการตั้ง คําถามใหทบทวนบทบาทของปญญาชนซึ่งรวมทั้งนิสิตนักศึกษาดวย ก็มีปฏิกิริยาตอนโยบายของ รัฐในชวงที่เขารวมรบในสงครามเวียดนามในยุคสงครามเย็น ที่เรียกวา ยุคอเมริกัน อันเนื่องจาก การรับอิทธิพล ทั้งดานการเมืองและเศรษฐกิจจากสหรัฐอเมริกาในชวงรัฐบาลจอมพลสฤษดิธนะรัชต (2501 – 2506) และจอมพลถนอม กิตติขจร (2506 – 2516) (ดวงมน จิตรจํานงค , 2541 : 220) นักเขียนกลุมพระจันทรเสี้ยวและนักเขียนมหาวิทยาลัยกลุมอื่นมักใชบทกวีนิพนธ และเรื่องสั้นเปนชองทางแสดงจิตสํานึกขบถ กลาวเฉพาะนิคม รายยวา เขามีผลงานเดนเปนเรื่อง สั้นแนวสัญลักษณนิยม โดยเริ่มทีคนบนตนไม (2510) เรื่องสั้นเรื่องตอๆ มา แบงเปน 2 ชวง มีดังนีชวง 2510 – 2516 ไดแก เชาวันหนึ่ง(2512) มากับลมฝน(2512) ศึก(2512) คนดําน้ํา(2514) สิ่งที่หลอนพอจะทําได (2515) ตนทาง(2516) ฝนแลง(2516) ชวง 2525 – 2527 มีงานเรื่องสั้นและนวนิยาย ไดแก บายของหมอกควัน” (2525) เปนลม(2527) อุหมัง(2527) ภายหลังเรื่องสั้นทั้งสองชวง ไดรวมพิมพเปนเลมในชื่อ 20

Upload: others

Post on 11-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

บทที่ 2

พัฒนาการทางความคิดของผูแตง

ในการวิเคราะหความคิดของผูแตง ผูวิจัยจะศึกษาประวัติผูแตง บริบททางสังคมวัฒนธรรม และบริบททางวรรณกรรมประกอบกับการวิเคราะหวรรณกรรม เพ่ือทําความเขาใจโลกทัศนของนิคม รายยวา ประวัติผูแตงโดยสังเขป นิคม รายยวา เดิมชื่อ นิคม กอบวงศ เกิดเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2487 ที่ตําบลหาดเสี้ยว อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เรียนประถมศึกษาที่โรงเรียนเมืองเชลียง จังหวัดสุโขทัย และเปนเศรษฐศาสตรบัณฑิตจากคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร (บรรณาธิการ), 2547 : 147) ขณะที่ศึกษาระดับมหาวิทยาลัยนี้เอง เห็นไดวา นิคมไดเพ่ิมประสบการณการอานและเขียนดวยกิจกรรมนอกหลักสูตร คือ การเปนสมาชิกชมรม “พระจันทรเส้ียว” ซึ่งกอตั้งในป 2510 ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ความสนใจวรรณกรรมของนักศึกษากลุมนี้เช่ือมโยงกับความตองการที่จะหาคําตอบเกี่ยวกับความหมายของชีวิตและสังคม และมีลักษณะรวมกับความตื่นตัวของคนหนุมสาวจํานวนหนึ่งที่จะเขาใจและมีสวนรวมกับกิจการบานเมือง ขณะที่มีการตั้งคําถามใหทบทวนบทบาทของปญญาชนซึ่งรวมทั้งนิสิตนักศึกษาดวย ก็มีปฏิกิริยาตอนโยบายของรัฐในชวงที่เขารวมรบในสงครามเวียดนามในยุคสงครามเย็น ที่เรียกวา ยุคอเมริกัน อันเนื่องจากการรับอิทธิพล ทั้งดานการเมืองและเศรษฐกิจจากสหรัฐอเมริกาในชวงรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต (2501 – 2506) และจอมพลถนอม กิตติขจร (2506 – 2516) (ดวงมน จิตรจํานงค, 2541 : 220) นักเขียนกลุมพระจันทรเส้ียวและนักเขียนมหาวิทยาลัยกลุมอื่นมักใชบทกวีนิพนธและเร่ืองส้ันเปนชองทางแสดงจิตสํานึกขบถ กลาวเฉพาะนิคม รายยวา เขามีผลงานเดนเปนเรื่องส้ันแนวสัญลักษณนิยม โดยเริ่มที่ “คนบนตนไม” (2510) เร่ืองส้ันเรื่องตอๆ มา แบงเปน 2 ชวง มีดังนี้ ชวง 2510 – 2516 ไดแก “เชาวันหนึ่ง” (2512) “มากับลมฝน” (2512) “ศึก” (2512) “คนดําน้ํา” (2514) “ส่ิงที่หลอนพอจะทําได” (2515) “ตนทาง” (2516) “ฝนแลง” (2516) ชวง 2525 – 2527 มีงานเรื่องส้ันและนวนิยาย ไดแก “บายของหมอกควัน” (2525) “เปนลม” (2527) “อุหมัง” (2527) ภายหลังเร่ืองสั้นทั้งสองชวง ไดรวมพิมพเปนเลมในชื่อ

20

Page 2: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

21

คนบนตนไม (2527) สวนงานเขียนประเภทนวนิยาย ไดแก ตะกวดกับคบผุ (2526) และ ตล่ิงสูงซุงหนัก (2527) หลังจากที่นิคมพักงานเขียนไปชวงหนึ่ง เขาไดเขียนวรรณกรรมเยาวชน 5 เลม คือ ของฝากแม สิ่งสวยงาม ปูเสฉวนในเปลือกหอยตีนชาง เกาะใน 1 และเราจะปลูกกันใหม สวนเรื่องส้ัน “สาบเสือ” 2 (2542) เปนเรื่องส้ันเฉพาะกิจที่นิคมเขียนใหโครงการวิจัย “การวิจารณในฐานะพลังทางปญญาของสังคมรวมสมัย ภาคแรก” เพ่ือใชเปนตัวอยางการฝกเขียนวิจารณเร่ืองส้ันของผูเขารวมสัมมนาการวิจารณวรรณกรรม นาสังเกตวา หลังป พ.ศ. 2516 นิคม รายยวา ไมมีผลงานออกมาเลย จนกระทั่งในป 2525 จึงเขียนเรื่องส้ัน “บายของหมอกควัน” ลงใน แลใต ถึงแมวา 2516 – 2519 เปนชวงที่วรรณกรรมเพื่อชีวิตมีความเขมขน และมีบทบาทในการตอสูทางความคิด แตก็ไมมีผลงานของนิคม รายยวา ในชวงนี้มีผูตั้งขอสังเกตวา ตั้งแตกระแสเพื่อชีวิตกระหน่ํารุนแรงและผอนคลายลง นิคมเปนนักเขียนที่ไดรับอิทธิพลจากกระแสเพื่อชีวิตนอยมาก (“นิคม รายยวา ผูกลับมาควารางวัลสองปซอน”, 2528 : 4) ผลงานในชวงตางของเวลาจะแสดงความคิดที่เปลี่ยนแปลงมากนอยเพียงใด หรือไม ขอสังเกตนี้ผูวิจัยจะไดวิเคราะหตอไป นิคม รายยวา เปนนักเขียนที่แทบจะกลาวไดวา ผลิตผลงานนอย อาจจะเปนเพราะเขาใชเวลากับการครุนคิดมาก ในขณะที่ทางการงาน นิคมประกอบอาชีพทางธุรกิจในบริษัทน้ํามันปโตรเลียมที่กรุงเทพฯ นับสิบปทํางานดานอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม ที่จังหวัดกระบี่ แลวผันมาทําการเกษตรที่ภาคใต กอนกลับไปทําสวนที่บานเกิด (สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร (บรรณาธิการ), 2547 : 147) เมื่อกลาวถึงการสรางงานของนิคม สวนหนึ่งมีพ้ืนฐานมาจากการอานและนิสัยชางสังเกตของเขา งานเขียนของ ’รงค วงษสวรรค และม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช “ทําใหเขาประทับใจเรื่องรายละเอียดของสังคมไทย” สวนงานของนักเขียนตางประเทศ เชน สไตนเบ็ค ก็สรางความสนใจในแงปรัชญาและความรูสึกนึกคิดของมนุษย (“น้ําชายามบายกับ นิคม รายยวา”, 2531 : 13) อาจขยายความไดวา “เร่ืองรายละเอียดของสังคมไทย” เปนสิ่งที่มีสีสันตามวิถีชีวิตที่หลากหลายในสังคมไทยซึ่งอาจจะสะทอนความคิดที่ดํารงอยูในสังคม ประกอบกับงานที่มุงคนหาความหมายเกี่ยวกับมนุษยของนักเขียนอยางสไตนเบ็ค ก็ทําใหนิคมเริ่มสังเกตและตั้งคําถาม

1 “เกาะใน” เปนหนังสือท่ีไดรับรางวัลดีเดน ประเภทเยาวชน ในงานสัปดาหหนังสือแหงชาติ ประจําป 2530 (เก็บความจาก ยูร กมลเสรีรัตน, 2549 : 53) 2 (เก็บความจาก สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร (บรรณาธิการ), 2547 : 160)

Page 3: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

22

เก่ียวกับธรรมชาติภายในของมนุษยที่ชวนใหขบคิด และกระตุนใหแสวงหาคําตอบโดยอาศัยวิธีคิดแนวปรัชญา ถึงแมนิคมไดความคิดในการสรางงานมาจากการอาน แตเขากลับเห็นวา เขาไมใช คนอานมาก อีกทั้งแมตระหนักดีวา การอานจําเปนตอการเขียน แตเขาเชื่อวา “…การอานไมใชส่ิงเดียวที่ทําใหเราเขียนได เราตองไปพบปญหาท่ีแทจริง ตองไปรู ไปเขาใจ ตองไปสนใจอะไรบางอยางกอน ถึงจะเขียนได…” (บัวแพน นันทพิสัย, 2531: 53) ถอยแถลงนี้ ช้ีวา ในทัศนะของนิคมแลวประสบการณจริงจากการดําเนินชีวิต การเผชิญปญหา การเรียนรูหรือสังเกตชีวิตสําคัญตอการเขียนกวามุงอานจากหนังสือแตถายเดียว การมุงอานโดยปราศจากการทําความเขาใจปญหาบางอยาง (เก่ียวกับมนุษย) อยางลึกซึ้ง คงมิใชแนวทางสรางสรรควรรณกรรมของนักเขียนผูนี้ สวนการย้ําเนนความจําเปนของการพบปญหาที่แทจริง ก็เทากับนิคมย้ําถึงความรูของผูสรางงาน บนพื้นฐานของความจริงกอนคัดกรองประสบการณเพ่ือเสนอแกผูอาน ดังนั้น ส่ิงที่กระตุนใหนิคมสรางงานวรรณกรรมอยางแทจริง คือ ปญหาในปรากฏการณทางสังคมที่เขาพบเห็น และพยายามหาคําตอบ ดังที่เขากลาววา

…เวลาไปพบไปเห็นปญหาบางอยางในสังคม แลวเราก็อยากจะหา

คําตอบอยากจะหาสาเหตุของมัน มีอะไรหลายอยาง ในขณะที่เราทํางานทําการอยู เราก็พบกับความขัดแยง เราก็อยากจะศึกษามัน อยากจะเขาใจมัน พอรูสึกวามีอะไรที่นาสนใจ เราก็อยากจะเอามันมาเขียนเพ่ือที่จะบอกใหคนอานรู… (บัวแพน นันทพิสัย, 2531 : 52) (เนนโดยผูวิจัย)

กลาวไดวานิคมเปนนักเขียนที่มักตั้งคําถามกับสิ่งที่เปนปญหา โดยพยายามแสวงหาคําตอบ “เพ่ือจะบอกใหคนอานรู” การสรางงานของนิคม จึงมิใชการสรางตามจินตนาการอยางเล่ือนลอย หากแตเปนผลมาจากการสังเกตความเปนไปของคนในสังคม ศึกษา ทําความเขาใจบางสิ่งบางอยางเกี่ยวกับการอยูรวมกันของมนุษยอยางจริงจัง ทั้งนี้เมื่อนิคมพบเห็นอะไรที่ประทับใจหรือกระทบใจ เขาก็มักจดบันทึกไวและเก็บไวนาน จนกระดาษเปอยเพราะไมไดเขียน “ตอนที่ไปพบปญหาที่แทจริงแลว” เขาจึงไดนําส่ิงที่บันทึกมาเชื่อมโยงกับปญหานั้น เชน เขาเคยเห็นคนจับตะกวดบนตนไมตั้งแตอยูภาคเหนือ “…จนกระทั่งไปอยูทางใต ก็ไปเห็นปญหาอะไรมากมาย เราก็เลยคิดถึงตัวตะกวด…” (“นิคม รายยวา” , 2531 : 13) ขอมูลเหลานี้แสดงใหเห็นวา ตนทุนในการสรางงานของนิคมมาจากประสบการณชีวิตที่ไดส่ังสมไวจนเกิดการเรียนรู และทําความเขาใจปญหาอยางรอบคอบนั่นเอง ดูเหมือนวา การทํางานของนิคมไดยืนยันแนวคิดเรื่องการสรางงานวรรณกรรมที่วา ประสบการณของผูแตงเปนสิ่งสรางความจัดเจนชีวิต และความจัดเจนชีวิตทําใหทัศนะที่มี

Page 4: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

23

ตอโลกและชีวิตของผูแตงกวางขวางลึกซึ้งชัดเจนขึ้น เมื่อเขาทํางานเขียนอยางจริงจัง ดังที่เขากลาววา

…เวลาจะเขียนอะไรก็ตองมีเร่ืองที่จะบอก ถาเราไมมีอะไรที่จะบอก

หรือไมเคยพบอะไรที่มันเปนปรัชญาจริงๆ เขาใจสังคมหรือเขาใจมนุษยไมรอบดาน ไมรูที่มาที่ไปของปญหาที่เกิด เราจะเอาอารมณความรูสึกสวนตัวเขามารวม ซึ่งมันก็ไมถูก (“นิคม รายยวา”, 2531 : 13) (เนนโดยผูวิจัย)

วิเคราะหไดวา ในการสรางสรรควรรณกรรม ผูเขียนตองมี “เร่ืองที่จะบอก” เร่ืองในที่นี้คือ เร่ืองที่เก่ียวกับการดํารงอยูของมนุษยซึ่งอาจแสดงปญหาความขัดแยง ความไมเขาอกเขาใจกัน เพ่ือชวยใหผูอานรูจักขบปญหาชีวิตดวยการสังเกตวิธีคิดของตัวละคร หากผูเขียนเห็นชีวิตหรือสังเกตชีวิตมานอย ประสบการณเพียงผิวเผินอาจสรางความเขาใจที่คลาดเคลื่อน โดยเฉพาะ เมื่อผูเขียน “ไมเคยพบอะไรที่…เปนปรัชญา… เขาใจสังคมหรือเขาใจมนุษยไมรอบดาน ไมรูที่มาที่ไปของปญหา” การนําความรูสึกสวนตัวเขามารวม ก็เทากับแสดงแตความรูสึกบนพื้นฐานของความไมรูจริง จึงอาจเปนอันตรายและสุมเสี่ยงที่จะชี้นําอยางผิดๆ ความเห็นนี้ช้ีวา นิคมตระหนักถึงหนาที่ของผูสรางงานในสวนที่ผูเขียนตองทําความเขาใจปญหาอยางลึกซึ้ง เพ่ือนําเสนอปรัชญาหรือความหมายของความสัมพันธระหวางมนุษย และถือเปนหนาที่ของผูสรางงานที่ตองบมเพาะประสบการณที่เขมขนเพื่อส่ือความเขาใจมนุษยและสังคมแกผูอาน นอกจากนี้นิคม ยังวิเคราะหเปรียบเทียบการสรางงานของตนใน 2 ชวงไวอยางนาสนใจ คือ ชวงที่เปนนักศึกษากับชวงที่ทํางาน เพ่ือช้ีใหเห็นชัดวา ประสบการณชีวิตมีผลตอ การสรางงานอันนําเสนอความหมายเกี่ยวกับมนุษย

…ชวงนี้เราเปนผูใหญ… ชวงกอนโนนเรายังเปนวัยรุน เขียนอะไรก็ใช

ความรูสึกนึกคิดของตัวเอง ตัดสินอะไรก็คิดไป โดยที่ไมมีฐานความจริงรองรับ ตอนหลังเราไปเห็นภาพตางจังหวัด เราเขาใจมันมากขึ้น รูจักที่ไปที่มาของมันเราก็เอาอันนั้นมาเปนไอเดียมาเปนขอมูลสรุปขึ้นมา… (“นิคม รายยวา”, 2531 : 13)

ขอมูลขางตนนี้วิเคราะหไดวา ในชวงแรก เขาเขียนงานโดย “ใชความรูสึกนึกคิดของตัวเอง ตัดสินอะไรก็คิดไปโดยไมมีฐานความจริงรองรับ” เทาใดนัก อาจเปนไปไดวา

Page 5: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

24

ในขณะที่นิคมศึกษาในมหาวิทยาลัย เขามีความรูสึกรวมสมัยกับคนหนุมสาวในยุคแสวงหา ที่รูสึกแปลกแยกตอสังคม หมดอาลัยตายอยาก มีความไมพอใจระบบสูง การแสดงความคิดจึงเนนความคาดหวัง จนอาจละเลยความซับซอนของปญหาตามความเปนจริง อยางไรก็ตาม พัฒนาการของนิคม รายยวา จะตรงตามความเห็นของเขาหรือไมนั้น จะอยูในการศึกษาหัวขอตอไป นอกจากการสังเกตสังคม และ การใชประสบการณจริงเปนฐานของทัศนะตอชีวิตแลว วิชาที่เรียนมาก็มีสวนชวยใหมองสังคมและชีวิตอยางเปนระบบ กลาวคือ วิชาเศรษฐศาสตรชวยสรางความลึกในการมองโลก โดยทําให “…ตระหนักถึงสาเหตุและผลกระทบตอสถานะความเปนมนุษย…” (“นิคม รายยวา ผูกลับมาควารางวัลสองปซอน”, 2528 : 4) อยางไรก็ตาม นิคมก็เล็งเห็นประโยชนของวิชาอื่นไมย่ิงหยอนไปกวาวิชาเศรษฐศาสตร โดยกลาววา

ที่จริงทุกวิชามีประโยชนทั้งนั้น และเอามาใชไดทั้งนั้นเพียงแตเราเขาใจ

มันจริงหรือเปลา และเราเรียนมันขนาดไหน เพราะวาเร่ืองของคนในที่สุดมันก็เปนเรื่องของการรับรูถึงที่มาที่ไปของสิ่งตางๆ เทานั้นเอง ไมวาจะเปนความขัดแยงการประนีประนอมเรื่องของความทุกขสุข โดยที่แทแลวทุกๆ วิชามันบอกถึงที่มาที่ไปบอกถึงสาเหตุบอกถึงส่ิงที่เกิดขึ้นแลวก็บอกถึงผล ถาเรามองใหเห็นและเขาใจใหดี เราก็จะพบ…ที่เราเรียกวาสัจธรรม (“นิคม รายยวา”, 2531 : 13)

สรุปไดวา คุณคาของทุกวิชาอยูที่การใหความเขาใจเหตุ เขาใจการดํารงอยูและเขาใจผลของสิ่งที่มีอยู หากกลาววา ความขัดแยง ความประนีประนอม ทุกขและสุขเปนเรื่องของคนและเราใชวิชาทําความเขาใจสิ่งเหลานี้ไดเราก็จะพบ“สัจธรรม” สัจธรรม ก็คือความหมายที่ประกอบดวยเหตุผลของสิ่งที่เกิดขึ้น นิคมจึงเห็นวา ทุกวิชามีประโยชนตอการมองชีวิตและทําความเขาใจมนุษย กระตุนใหเราใชปญญาใครครวญพินิจอยางจริงจัง กระทั่งพบความจริงอันนําไปสูความเขาใจเหตุผลของสิ่งที่เก่ียวของกับการดํารงอยูของมนุษย เห็นไดวา นิคมมีแนวทางการสรางงานโดยเนนปญหาเกี่ยวกับมนุษยเปนสําคัญ การที่นิคมเลือกใชศิลปะเปนสื่อนําสารทางความคิดของเขาสูผูอาน แสดงวา นิคมเชื่อมั่นในการบรรลุถึงเปาหมายทางความคิดอยูไมนอย

ตอนแรกผมอานหนังสือของนักเขียนตางประเทศบาง มีอยูหลายคนที่

เขา พยายามเขียนใหปลุกเราอารมณ ไมวาจะเปนเรื่องของความกลัวหรือความตาย มันอยูที่วา ศิลปะมันควรจะมีเปาหมายไมเพียงแตจะทําให

Page 6: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

25

เราสนุกสนาน เฮฮา ผมพยายามจะหาความหมาย ก็ไดพบวาสิ่งที่ นาเขียนก็คือ ปญหา เกี่ยวกับ มนุษย เกี่ยวกับคน พวกปญหาชีวิตประจําวัน มันอยูที่วาเราจะเอามันออกมาในรูปไหน อยางไร (“น้ําชายามบายกับนิคม รายยวา”, 2531 : 13) (เนนโดยผูวิจัย)

นิคมตั้งขอสังเกตจากงานที่อาน และเห็นวาการเราอารมณในงานศิลปะมิไดมีเปาหมายเพียงสรางความสนุกสนานเทานั้น ทัศนะนี้ยอมแสดงวานิคมเขาใจภารกิจของวรรณกรรม และเช่ือมั่นในพลังวรรณศิลป อันชวนใหผูอานไดพินิจในเชิงลึกดวย สวนการพบวา “ส่ิงที่นาเขียน คือ ปญหาเกี่ยวกับมนุษย เก่ียวกับคน” เปนไปไดวานิคมตระหนักถึงความซับซอนของมนุษยที่อาจสรางปญหา หรือทําใหขัดแยงกันเมื่อยังขาดความเขาใจ การแสดงปญหาของมนุษยอยางรอบดานทั้งเร่ืองดีและราย นาจะชวยชี้นําใหผูอานรูเทาทันชีวิต และสามารถดําเนินชีวิตทามกลางสังคมที่พลิกผันได เมื่อนิคมตระหนักถึงพลังในการสื่อสารของวรรณกรรมในฐานะงานศิลปะ เขาก็เลือกที่จะสื่อความคิดที่มีตอปญหาผานรูปแบบศิลปะ ซึ่งเปนสิ่งที่ผูวิจัยจะไดวิเคราะหตอไป กอนสรุปทัศนะทางวรรณกรรมของนิคม ผูวิจัยจะยก “สุนทรพจน” ที่เขากลาวเมื่อเขารับรางวัลซีไรต ในป 2531 มาพิจารณาดวย สุนทรพจนนี้ไดแสดงลักษณะรวมของงานวรรณกรรม ความสําคัญของวรรณกรรมในการใหทางออกสําหรับการดําเนินชีวิตของมนุษย อันเปนทัศนะที่มีตอวรรณกรรมและแนวทางการสรางงานของนิคม ซึ่งจะเชื่อมโยงกับการวิเคราะหผลงานของเขาในเชิงลึกตอไป สุนทรพจนนี้มีเนื้อความตอนหนึ่งวา

มีคําถามและคําตอบมากมาย เก่ียวกับการทํางานเขียนที่ไมเหมือนกัน แต ส่ิงหนึ่งที่ไมเคยแตกตางกันเลย ก็คือ งานเขียนเปนสิ่งที่เกี่ยวของกับคน พูดถึงเร่ืองราวของคน ปญหาของคนและขอขัดของในการอยูรวมกันของคน…เร่ืองของคน ก็คือ เร่ืองของโลก ในแงของความพยายามที่จะเขาใจมนุษย การเรียนรูโลก ก็คือการเรียนรูตัวของตัวเอง...

งานที่เขียนจากการศึกษาและตรวจสอบตัวเอง เพ่ือใหเกิดความเขาใจและรับรูสามารถมองเห็นความจริงของคนไดนี้ เปรียบเสมือนเปนทางออกกวางใหญ สําหรับการเดินทางที่อิสระเสรี และเขาอกเขาใจซึ่งกันและกัน รูจักคน รูจักโลก รูจักเลือก ที่จะเอาส่ิงที่ถูกตองออกมาใชใหเปนผลดี และรูเทาทันที่จะไมนําส่ิงผิดพลาดออกมาใชจนเกิดผลเสีย… ( 25 ปซีไรต รวมบทวิจารณคัดสรร, 2547 : 755-756) (เนนโดยผูวิจัย)

Page 7: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

26

สรุปไดวา ในทัศนะของนิคม งานเขียนมีลักษณะรวมอยูที่พูดถึงคนและปญหาของคน ผูแตงนําเสนอสารทางความคิดที่มาจากการศึกษาเรียนรูโลกและตรวจสอบตัวเองดวย โดยคาดหวังใหงานเขียนเปนทางออกสําหรับความเขาใจและรูจักคนและโลกเพื่อนําความรูมาใชอยางถูกตองเหมาะสม

เรื่องสั้นในยุคแสวงหา (2510 – 2516) รวมเรื่องส้ัน ชุด คนบนตนไม ของ นิคม รายยวา มีทั้งหมด 13 เร่ือง ทั้งนี้ผูวิจัยจะวิเคราะหเนื้อหาของบทประพันธ เปน 2 ชวง คือ เร่ืองส้ันในยุคแสวงหา และเร่ืองส้ันในยุคศัตรูที่ล่ืนไหล ทั้งนี้เพื่อใหการวิเคราะหความคิดผูแตง สอดรับกับบริบทแหงยุคสมัย ผูวิจัยจึงศึกษาบริบททางสังคมวัฒนธรรม และบริบททางวรรณกรรมในแตละยุคประกอบดวย 1. บริบททางสังคมและวฒันธรรม เนื้อหาในเรื่องส้ัน ของนิคม รายยวา ไดช้ีใหเห็นความขัดแยงในการดํารงชีวิตอันเกิดจากความไมเทาเทียมทางโอกาสดานเศรษฐกิจและสังคม และนาจะเปนสิ่งที่ผูเขียนไดเฝา สังเกตมา นับตั้งแตจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต กอการรัฐประหารจอมพล ป. พิบูลสงคราม และข้ึนดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2501 – 2506) โดยใชอํานาจเผด็จการปกครองประเทศ มีการจับกุมนักการเมือง นักเขียน นักหนังสือพิมพ ในขอหากระทําการอันเปนคอมมิวนิสต จนสังคมไทยตกอยูใน “ยุคมืดทางปญญา” ขณะเดียวกันรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ก็เนนนโยบาย “พัฒนาประเทศโดยเปดรับการลงทุนจากตางประเทศใหมีการประกอบการทางอุตสาหกรรมมากขึ้นอันเปนการใหความเติบโตแกเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและชนช้ันกลาง” ดังคําขวัญที่วา “น้ําไหล ไฟสวาง ทางดี มีงานทํา” และ “งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข” (ดวงมน จิตรจํานงค, 2541 : 219) การที่รัฐบาลทุมงบประมาณในดานโครงสรางพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ เชน ไฟฟา ถนน เข่ือน การโทรคมนาคมและระบบการศึกษาเพื่อสรางคนรุนใหมรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ วิเคราะหไดวา รัฐวัดความเจริญของประเทศจากความกาวหนาทางวัตถุ ดังที่ระบบสาธารณูปโภคที่ขยายสูชนบท และการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางจริงจัง กลายเปนภาพของความ กาวหนาและความทันสมัย ในยุคที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี

Page 8: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

27

การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ1 เปนนโยบายสําคัญของรัฐบาล จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต และเปนกลยุทธหลักในการแกปญหาความยากจนของประชาชน โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งรัฐบาลเห็นวาเส่ียงตอการรับอิทธิพลลัทธิคอมมิวนิสต จึงใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติเปลี่ยนแปลงโครงสรางสังคมและเศรษฐกิจไทย กลาวคือ ตั้งแต พ.ศ. 2501 เปนตนมา ระบอบรัฐธรรมนูญ ซึ่งเปนหัวใจของประชาธิปไตยถูกลบลางดวยอํานาจเด็ดขาด มี “อุดมการณแหงการพัฒนา” มานําทางการเปลี่ยนแปลงดวยการประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรกขึ้นเปนแผนระยะเวลา 5 ป (2504 – 2509) เมื่อมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจก็มีสภาพัฒนาเศรษฐกิจ “เปนเครื่องมือของหัวหนาฝายบริหารที่ใชในการกําหนดแนวทาง...แจกจายทรัพยากรระหวางหนวยงานของรัฐ” โดยอาศัยแผนงานและโครงการ การประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจโดยลงพระปรมาภิไธยทําใหแผนพัฒนาเศรษฐกิจเปนเอกสารที่มีสถานะสูงเทากับกฎหมายฉบับอื่นๆ และทําใหแผนพัฒนาเศรษฐกิจเปนกรอบอางอิงใหมที่มี “ความสําคัญตอระบบราชการโดยตรง ในแงที่เปนปจจยัผลักดันใหระบบราชการสามารถมบีทบาทนําในการเขาไปแทรกแซงในวิถีชีวิตของประชาชนในสังคมไดมากข้ึน” (ชัยอนันต สมุทวณิช, 2541 : 158) ความเชื่อมโยงสัมพันธระหวางองคกรการเมืองกับระบบราชการในสังคมไทย เปนเพราะทั้งสองฝายมีผลประโยชนรวมกัน กลาวคือ ระบบการเมืองไทยแกปญหาสังคมโดยการจัดตั้งหนวยงานราชการขึ้น ระบบราชการจึงพัฒนาขึ้นเปนศูนยกลางอํานาจ และผูกขาดทรัพยากรสวนใหญ ระบบการเมืองแบบอภิสิทธิ์ชนจึงเปนเสมือนเกราะคุมกันระบบราชการ ขณะเดียวกันระบบราชการเอง ก็ “เปนฐานคําส่ังสนับสนุนสําคัญ ในฐานะเปนแหลงทรัพยากรทางปญญา ความคิด และวิทยาการในการปกครองและบริหาร” (เสนห จามริก, 2541 : 5) ในยุคเผด็จการแผนพัฒนาเศรษฐกิจจึงเปนปจจัยสงเสริมบทบาทแกกลไกของรัฐ และเปนเครื่องมือสําคัญในการดําเนินนโยบายของรัฐ ขณะเดียวกันแผนพัฒนาเศรษฐกิจก็เปนเครื่องมือของฝายราชการประจําซึ่งปลอดการแทรกแซงของรัฐสภาอีกดวย การดําเนินนโยบายที่เอ้ือตอกันระหวางการเมืองกับราชการสงผลกระทบในแงลบตอประชาชน คือ ประชาชนไมไดรับความเปนธรรมจากการจัดสรรทรัพยากรเทาที่ควร เพราะกลุมอํานาจคํานึงถึงพวกพองที่มีผลประโยชนรวมกันกอนประชาชน การจัดสรรจึงไมเสมอภาคและทําใหเกิดความไมเทาเทียมในสังคม

1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติฉบับที่ 1 (2504 – 2509) มิไดใหความสําคัญตอการพัฒนาทางดานสังคมนัก ตอเม่ือใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 2 ไดเนนการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจควบคูกับการพัฒนาทางสังคมจึงไดเปลี่ยนชื่อจาก “ แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ” เปน “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ” (เก็บความจากธนาคารทหารไทย, 2536 : 40)

Page 9: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

28

ถึงแมวา การใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจแบบตะวันตกที่ เนนพัฒนา “รายไดประชาชาติ” จะทําใหรายไดของประเทศเพิ่มข้ึนรอยละ 4 แตไมไดกระจายไปอยางทั่วถึง ผลประโยชนสวนใหญตกอยูกับคนกลุมเดียว การเพิ่มรายไดประชาชาติจึงเปน “การเพิ่มสินคาและการบริการที่ตกอยูกับกลุมคนในเมืองเทานั้น” (สุชาติ สวัสดิ์ศรี, 2518 ข : (18) – (19)) เมื่อความเจริญขาดความสมดุลและขาดการกระจายรายได ก็เกิดความแตกตางระหวางสังคมเมืองกับสังคมชนบท การปรับเปลี่ยนประเทศจากเกษตรกรรมเปนอุตสาหกรรม จึงกระทบตอวิถีชีวิตและความเปนอยูของประชาชนใน วงกวาง คือเกิดสภาพแรงงานชนบทหลั่งไหลเขาสูเมือง เพ่ือมารับจางตามโรงงานอุตสาหกรรมหรืองานภาคบริการ (ชาญวิทย เกษตรศิริ, 2541 : 171 – 172) สภาพเศรษฐกิจและสังคมเชนนี้เปนปญหาอยางตอเนื่อง ประชาชนสวนใหญที่ใชแรงงานได รับผลตอบแทนอยางไม เปนธรรม ดังเห็นไดวา “รายไดของกรรมกรในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมเพิ่มไมมากพอกับราคาสินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปน” ผลประโยชนจากการเปดรับการลงทุนจากตางประเทศตกอยูในกลุมนายทุน ส่ิงสาธารณูปโภค เชน ถนนเขาสูชนบทมีจุดมุงหมายเพื่อสงเสริมการทองเท่ียว การพักผอนของคนเมือง และเปนเสนทางลําเลียงขนยายคนชนบทเขาสูเมือง ขณะที่ “การส่ือสารคมนาคมที่ทันสมัย ยังทํารายชาวนาในรูปที่มองไมเห็นอีกนั่นคือ “ลอหลอก” ใหชาวชนบทเกิดความตองการบริโภคสินคา อันบงบอกฐานะทางสังคม ผลกระทบที่ตามมาก็คือ ชาวไรชาวนาโยกยายมาเปนกรรมกรในโรงงานอุตสาหกรรมในเมืองใหญ หรือแมกระทั่ง การประกอบอาชีพโสเภณี เพ่ือหารายไดที่จะสนองความตองการในการบริโภค (สุชาติ สวัสดิ์ศรี, 2518 ข : (20) – (21) อางจากนิธิ เอียวศรีวงศ, 2512 : 107 – 108 ) เห็นไดวา การพัฒนาประเทศสูอุตสาหกรรมนั้น สรางความผันแปรตอสังคมชนบท ซึ่งเคยดํารงชีวิตอยางเรียบงาย ใหตกเปนทาสความเจริญดานวัตถุ กลาวคือ ในชวงที่มีการเรงพัฒนาประเทศ คนไทยถูกโนมนาวใหเขาใจวา การพัฒนา และความทันสมัยเปนสิ่งเดียวกัน และมีส่ิงบงช้ีเปนรูปธรรมในลักษณะของวัตถุหรือสินคา เชนเดียวกับไฟฟา ถนน สะพาน ระบบสื่อมวลชนที่ครอบคลุมวิถีชีวิตของคนในสังคม ทําใหโครงสรางคานิยมเดิมบิดผันและกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในสังคมไทย พาณิชยกรรมและบริโภคนิยมซึ่งบุกรุกชนบทก็คือ ทําใหชาวบานหลงอยูในความปรารถนาทางวัตถุ และแสวงหาวัตถุเพ่ือจะไดช่ือวาทันสมัย จนไมอาจดํารงชีวิตสงบสุขแบบเลี้ยงตัวเองและพอใจกับสิ่งที่สรางข้ึนเอง เพราะเห็นวาดอยคา ความปรารถนาวัตถุที่ทันสมัยบีบคั้นใหชุมชนดั้งเดิมดิ้นรนปรับเปลี่ยน และเกิดความขัดแยงทางคานิยม เพราะวิถีชีวิตดั้งเดิมถูกกําหนดใหเปนความดอยพัฒนา ลาหลัง และวิถีชีวิตแบบใหมเขาแทนที่ชีวิตดั้งเดิมของชุมชน ขณะที่สังคมและเศรษฐกิจไทยเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วเชนนี้ ระบบการเมืองซึ่งปกครองโดยรัฐบาลทหารกลับย่ําอยูกับที่ คือ ใชกําลังเพ่ือใหไดมาซึ่งอํานาจ และมีการสืบตอ

Page 10: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

29

หรือแยงชิงอํานาจกันภายในกลุมของตน ความขัดแยงทางโครงสรางของเศรษฐกิจ สังคม กับการเมืองจึงเปนสิ่งที่เล่ียงไมได และนําไปสูความขัดแยงทางความคิดของคนในสังคม ดังจะกลาวตอไป เปนที่เห็นพองกันวา เหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 ภายหลังที่รัฐบาล จอมพลถนอม กิตติขจร สืบทอดอํานาจตอจากจอมพลสฤษดิ์ มารวม 10 ปนั้น กอตัวข้ึนจากความเติบโตของขบวนการนักศึกษา ถึงแมวารัฐบาลได“…ปลูกฝงความเฉื่อยชาทางการเมืองและความหรูหรา ฟุงเฟอใหกับบรรยากาศในมหาวิทยาลัยทั่วไป” (สุชาติ สวัสดิ์ศรี, 2541 : 75) พรอมกับจํากัดเสรีภาพการแสดงความคิด มอมเมาในเรื่องการพัฒนาวัตถุ ขาวอาชญากรรม ขาวสังคมบันเทิง เชน การประกวดนางงามเปนที่สนใจของสังคมในวงกวาง ทามกลางบรรยากาศเชนนี้ นักศึกษาซ่ึงสวนใหญมาจากครอบครัวที่มีฐานะดี หรือชนช้ันกลางก็ไมไดใสใจตอบานเมือง กิจกรรมจึงมีแตงานสังสรรค งานเตนรํา งานฟุตบอลประเพณี งานแขงขันกีฬาตางๆ (วิทยากร เชียงกูล, 2536 : 44) แตก็มีส่ิงที่เรียกวา “จิตสํานึกขบถ” เกิดขึ้น ดังที่บทกวีนิพนธ “กูเปนนิสิตนักศึกษา” (2512) ของ สุจิตต วงษเทศ ไดเสียดสีกิจกรรมฟุงเฟอของนักศึกษาที่หลงในสถานะอันสูงสงไดอยางชัดเจนวา

กูเปนนิสิตนักศึกษา วาสนาสูงสงสโมสร ยํ่าค่ําน้ีจะย่ําไปงานบอลล เสพเสนหเกสรสุมาลี กูเปนนิสิตนักศึกษา พร้ิงสงางามผงาดเพียงราชสีห มันสมองของสยามธาน ีคืนนี้กูจะนาบใหหนําใจ

………………………. กูเปนนิสิตนักศึกษา หรูหราแหลมหลักอัครฐาน พรุงน้ีก็จะตองไปรวมงาน สังสรรคในระดับปริญญา (สุจิตต วงษเทศ, 2517 : 85 – 86) (เนนโดยผูวิจัย)

ถึงกระนั้นก็ตาม มีกลุมนักศึกษาที่สนใจทํากิจกรรมนอกหลักสูตรอยูบางเหมือนกัน เชน กลุมที่สนใจอานและเขียนหนังสือ มีกลุมวรรณกรรมที่จัดพิมพหนังสือจําหนาย

Page 11: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

30

ในมหาวิทยาลัยในราคาถูก แมขณะนั้นนักศึกษายังไมเขาใจปญหาชนบท หรือปญหาจากการพัฒนาอยางแทจริง แตกิจกรรมออกคายอาสาสมัครพัฒนาชนบท ก็มีสวนใหนักศึกษาเห็นความแตกตางระหวางเมืองกับชนบท เห็นความยากจนลาหลัง และกระตุนใหนักศึกษาบางสวนตื่นตัวจนเกิดความสํานึกทางสังคมขึ้นมา กิจกรรมนอกหลักสูตรของนักศึกษาสวนนอยดังกลาวนี้ นําไปสูการตั้งคําถามวาอะไรคือคุณคาและความหมายที่แทจริง และบานเมืองควรมุงไปสูทิศทางอยางไร แรงผลักดันที่สําคัญตอความตื่นตัวของคนรุนใหม ก็คือ วารสารทางการวิจารณสังคมและวัฒนธรรมในชื่อ สังคมศาสตรปริทัศน ซึ่งมีสุลักษณ ศิวรักษ เปนบรรณาธิการ และเปนผูนําการจัดกลุมเสวนาปญหาสังคมและการเมือง โดยดึงเอานักศึกษาจํานวนหนึ่ง ซึ่งผิดหวังบรรยากาศในมหาวิทยาลัยมาเขารวม และสามารถสรางความตระหนักถึงบทบาทและศักยภาพของคนรุนใหม ใหเร่ิมตั้งคําถามตอความเปนปญญาชนของตน ดัง บทกวีนิพนธ “เพลงเถ่ือนแหงสถาบัน” (2511) ในชุด ฉันจึงมาหาความหมาย ของวิทยากร เชียงกูล เมื่อจิตสํานึกขบถเกิดขึ้นเพราะ “ตองการเห็นสังคมเปนธรรม” ก็มีการพบปะของนักศึกษากลุมเล็กๆ ที่มุงแสวงหาความหมายจากมหาวิทยาลัยในแนวทางใหม ตั้งแต พ.ศ. 2507 โดยเริ่ม “มองหาอุดมการณที่หั

นหนาเขาสูปญหาความทุกขยากของบานเมืองมากขึ้น” ยุคของการแสวงหาจึงเร่ิมจากการตั้งคําถามเกี่ยวกับตัวเองแลวคอยขยายสูสังคม (สุชาติ สวัสดิ์ศรี, 2541 : 76) ความตองการเห็นความเปนธรรมในสังคม ทําใหนักศึกษาเริ่มตั้งคําถามถึงเปาหมายของชีวิตและคุณคาของการศึกษาของตน โดยรับอิทธิพลมาจาก ตัวละครเอก ใน “คําขานรับ” ของ ศรีบูรพา ที่กําหนดเปาหมายชีวิตที่การรับใชสังคม เมื่อพบความไมสัมพันธระหวางความรูจากหองเรียนกับความเปนจริงในสังคม และความทุกขยากของผูคนเชื่อมโยงกับระบบสังคม จิตสํานึกขบถก็เร่ิมพัฒนาจากระดบัสวนตัวไปเปนระดับสังคม โดยเริ่มจากความรูสึกทนไมไดเมื่อเห็นการกดขี่ประชาชน กระบวนความคิดนี้เปนพื้นฐานแหงจิตสํานึกที่จะเปลี่ยนแปลงสังคมใหดีข้ึน ขณะที่คนรุนใหมในประเทศเริ่มตื่นตัวทางสังคมและการเมืองอีกทั้งไดรับรูขาวสารความตื่นตัวของคนหนุมสาวในระดับสากล เชน การปฏิวัติวัฒนธรรมของเรดการด1 ในจีน หนุมสาวชาวอเมริกันคัดคานการทําสงครามของสหรัฐอเมริกาในสามประเทศอินโดจีน การเคลื่อนไหวของนักศึกษาและขบวนการ “ฮิปปส” การยึดมหาวิทยาลัยของนักศึกษาฝายซายใน

1 พ.ศ. 2509 เหมาเจอตุง จัดใหมีการปฏิวัติทางวัฒนธรรมของชนชั้นกรรมาชีพ คือ รื้อฟนลัทธิมารกซิสตและลัทธิ เลนินนิสตใหม เพ่ือตอบโตรีวิชชั่นนิสตหรือลัทธิแกท่ีตองการเปลี่ยนลัทธิคอมมิวนิสตใหเปนอ่ืนเหมือนที่แพรหลายในรัสเซีย เหมาเจอตุงเกรงวา เม่ือตนเสียชีวิตแลวลัทธิแกดังกลาวจะมีอิทธิพลในจีน เขาจึงปฏิวัติใหม โดยอาศัยกําลังนักศึกษาคนหนุมสาวเปนเครื่องมือจัดตั้งกองทัพในรูป “ผูพิทักษแดง” หรือ “เรดการด” เปนผูโจมตี และตอบโตฝายปฏิปกษแทนตน (เก็บความจาก ธานินทร กรัยวิเชียร, 2520 : 22)

Page 12: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

31

ฝร่ังเศส รวมถึงเทศกาลดนตรีที่วูดสต็อคซึ่งมีเนื้อหาคัดคานสงคราม ความตื่นตัวในระดับสากลนี้ไดกระตุนใหนักศึกษาและคนหนุมสาวในประเทศไทยทบทวนบทบาทของตนที่มีตอการเมืองและสังคม (เสถียร จันทิมาธร, 2525 ค : 381 – 382) เห็นไดวา เมื่อนักศึกษาตื่นตัวเพราะความผิดหวังในมหาวิทยาลัย และไดรับรูความเพิกเฉยของรัฐบาลตอความยากจนของประชาชนในชนบท ประกอบกับขาวสารเรื่องบทบาทของนักศึกษาในตางประเทศ ซึ่งสรางความตระหนักในพลังของคนหนุมสาว คนรุนใหมเหลานี้ก็ไดตั้งคําถามตอปญหาสําคัญๆ ไดแก ความลาหลังของการเมืองการปกครองของไทย ความผูกพันกับระบบการเมืองของโลกในยุคสงครามเย็น ที่เปนเหตุใหประเทศไทยใชนโยบายปราบคอมมิวนิสตอยางรุนแรง และยอมใหสหรัฐอเมริกามาตั้งฐานทัพเพ่ือทิ้งระเบิดในสงครามอินโดจีน ในป 2511 รัฐบาลประกาศใชรัฐธรรมนูญซึ่งรางมายาวนานตั้งแตสมัยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต ทั้งนี้สืบเนื่องจากเสถียรภาพของรัฐบาลทหารเริ่มสั่นคลอนเพราะสหรัฐอเมริกาโจมตีวาไทยสนับสนุนรัฐบาลเผด็จการในเอเชียตะวันออกเฉียงใต รัฐบาลจึงแสดงวาสงเสริมประชาธิปไตยเพื่อจะไดรั

บความชวยเหลือจากสหรัฐอเมริกาตอไป (ม.ร.ว. พฤทธิสาณ ชุมพล, 2528 : 60) ประกอบกับประชาชนในประเทศไมพอใจรัฐบาลที่คอรัปชั่น ไมพอใจสังคมที่มีปญหาอาชญากรรมและศีลธรรมเส่ือม อันเนื่องจากการตั้งฐานทัพ ความไมพอใจเหลานี้กดดันใหรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร ยอมผอนปรนดวยการประกาศใชรัฐธรรมนูญ และจัดใหมีการเลือกตั้งในป 2512 (เสถียร จันทิมาธร, 2525 ค : 384 – 385) การประกาศใชรัฐธรรมนูญเปนโอกาสใหนักศึกษาและปญญาชนไดแสดงความคิดทางการเมือง มีการวิจารณการสงกองพันทหารไปแทรกแซงกิจการภายในของเวียดนามและลาวตาม “นโยบายรบนอกบานดีกวารบในบาน” และการยินยอมใหสหรัฐอเมริกาเขามาตั้งฐานทัพ ขาวสารตอตานสงครามเวียดนามของหนุมสาวระดับสากล ยังไดกระตุนใหนักศึกษา หัวกาวหนาของไทย ตื่นตัวทางการเมืองและเร่ิมพูดถึง “พลังนักศึกษา” โดยจับกลุมแสดงความคิดทางการเมืองและออก “หนังสือเลมละบาท”1 ขอเขียนที่กระตุนใหนักศึกษาตื่นตัวทางการเมืองนั้นเริ่มจาก บทนํา “ไทย – ญวน – สหรัฐฯ” (2507) ของสุลักษณ ศิวรักษ ซึ่งตีพิมพใน สังคมศาสตรปริทัศน ที่เปดฉากโจมตีฐานทัพสหรัฐอเมริกาในไทยเปนคนแรกๆ บทความในหนังสือชัยพฤกษ ฉบับนักศึกษาประชาชน ที่สนับสนุนพลังนักศึกษา และบทความใน

1 “หนังสือเลมละบาท” เปนคําท่ีสุชาติ สวัสดิ์ศรีตั้งขึ้นเฉพาะกิจ หมายถึง หนังสือของกลุมนักศึกษาอิสระที่จัดทํากันภายในมหาวิทยาลัยและขยายออกไปสูภายนอก มีบทบาทสําคัญในการสั่งสมความรูและประสบการณวาดวยศิลปะ วรรณกรรม การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการจัดตั้งขบวนการ โดยเริ่มตนจากราคาหนังสือเพียง 1 บาท (เก็บความจาก สิงหสนามหลวง (นามแฝง), 2530 : 33)

Page 13: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

32

สังคมศาสตรปริทัศน ในชวงที่สุชาติ สวัสดิ์ศรี เปนบรรณาธิการ ตั้งแตป 2512 ซึ่งกลาวถึงการรุกรานทางเศรษฐกิจและการเมืองของจักรวรรดินิยมหนักข้ึน อันแสดงถึงความกลาหาญของส่ือมวลชนในยุคเผด็จการ การเกิดข้ึนของพลังนักศึกษาไดขยายอยางกวางขวางในป 2512 ดังเห็นจากการรวมกลุมทางความคิดของนักศึกษา เชน กลุมสภาหนาโดม (ธรรมศาสตร) กลุมสภากาแฟ (เกษตรศาสตร) กลุมวลัญชทัศน (เชียงใหม) กลุมฟนฟูโซตัสใหม (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) ฯลฯ และมีการออกหนังสืออิสระ และเอกสารแสดงความคิดเห็นตางๆ ของกลุมนักศึกษาหัวกาวหนา เชน คัมภีร ภัยขาว ภัยเขียว ลอมฟาง รวมทั้งนําเร่ืองส้ัน “คําขานรับ” ของ ศรีบูรพา เร่ืองส้ันเพื่อชีวิตยุคเกา แนวความคิดศิลปะเพื่อชีวิตของนักเขียนกลุมกาวหนายุคกอน 2500 มาจัดพิมพใหม (สุชาติ สวัสดิ์ศรี, 2541 : 89 - 90) เนื้อหาในหนังสือรายสะดวกไดแสดงถึงการรับอิทธิพลจากแนวคิดมารกซิสมของคนรุนใหม เชน บทความ “หนทางของการพัฒนาในประเทศกําลังพัฒนา” (2514) ของธเนศ อาภรณสุวรรณ ใน สังคมศาสตรปริทัศน ฉบับนิสิตนักศึกษา ซึ่งช้ีวา ความดอยพัฒนาเปนผลมาจากการกดขี่ของประเทศพัฒนา ขณะที่วิทยากร เชียงกูล เขียนบทความ “ ปญหาความไมเสมอภาคทางเศรษฐกิจ” (2514) ในวิทยาสาร-ปริทัศน (ม.ร.ว. พฤทธิสาณ ชุมพล, 2528 : 63 – 64 ) จํานวนนักศึกษาที่รวมตัวเปนองคกรอิสระมีเพ่ิมข้ึนโดยลําดับ จนกระทั่งมีการจัดตั้ง “ศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย” ข้ึนใน ป2513 เพ่ือเปนองคกรปฏิบัติการทางการเมืองของนักศึกษาสถาบันตางๆ อยางเปดเผยและเปนทางการ (สุชาติ สวัสดิ์ศรี, 2541 : 100) แมศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทยไมใชศูนยรวมกิจกรรมของนักศึกษาทั้งหมด แตการกอตั้งศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทยก็เปนปจจัยที่เอ้ือตอการรวมพลังของนักศึกษา (เสนห จามริก, 2541 : 16) ดังจะไดกลาวตอไป ในปลายป 2514 กลุมเผด็จการทหารยุบสภาและเลิกลมรัฐธรรมนูญ หลังปฏิวัติ ป 2514 มีการประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 299 ซึ่งใหอํานาจฝายบริหารแทรกแซงฝายนิติบัญญัติ ประกาศดังกลาวสรางความไมพอใจใหแกประชาชนและนักศึกษาจนเกิดการตอตานอยางกวางขวางจนประกาศถูกยกเลิกไป เมื่อนักศึกษาเชื่อมั่นในพลังของตนก็เร่ิมตอตานจักรวรรดินิยมอเมริกาและการสงทหารไปสงครามอินโดจีนอยางเปนรูปธรรม โดยจัดนิทรรศการสงครามอินโดจีน อภิปรายและวิพากษวิจารณสหรัฐอเมริกา ในป 2515 ธีรยุทธ บุญมี ไดรับเลือกเปนเลขาธิการศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย และเร่ิมพัฒนากิจกรรมที่มีความหมายทางการเมืองโดยรวมตอตานสินคาญี่ปุน ขณะที่นักศึกษามีความตื่นตัวทางการเมืองสูง กรณีลักลอบลาสัตวในปาทุงใหญ ในป 2516 กลายเปนประเด็นที่นักศึกษา ประชาชน และส่ือมวลชนเคลือบแคลงใจ ในระยะเดียวกันจอมพลถนอม กิตติขจรและจอมพลประภาส จารุเสถียรไดตออายุราชการ อัน

Page 14: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

33

กอใหเกิดขอกังขาวาลุแกอํานาจ ดังที่ชมรมคนรุนใหม ในมหาวิทยาลัยรามคําแหง ออกหนังสือ มหาวิทยาลัย : ที่ยังไมมีคําตอบ ตีพิมพขอความเชื่อมโยงกรณีทุงใหญกับการตออายุราชการวา “สภาสัตวปาทุงใหญมีมติใหตออายุสัตวปาอีก 1 ป เนื่องจากสถานการณภายในและภายนอกไมเปนที่นาไววางใจ” (วิสา คัญทัพ, 2546 : 97) เมื่อผูบริหารมหาวิทยาลัยสั่งลบชื่อนักศึกษาท่ีเก่ียวของกับการจัดพิมพ จํานวน 9 คนออกจากมหาวิทยาลัย บรรดาผูนํานักศึกษามหาวิทยาลัยตางๆ ก็เคลื่อนไหวตอตานดวยการอภิปรายถึงปญหาความเดือดรอนของประชาชน และโจมตีการยกเลิกรัฐธรรมนูญในป 2514 มีนักศึกษาและประชาชนเขารวมชุมนุมจํานวนมาก ตอมาศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทยไดย่ืนขอเสนอใหรัฐบาล 3 ขอ คือ ใหนักศึกษา 9 คนกลับไปเรียนไดอยางเดิม ใหอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคําแหงพิจารณาตัวเอง และใหรัฐบาลคืนรัฐธรรมนูญแกประชาชนภายใน 6 เดือน รัฐบาลรับขอเสนอเพียงสองขอ และรับปากวาจะใหมีรัฐธรรมนูญในเร็ววัน (วิสา คัญทัพ, 2541 : 96 – 99) แตก็เกิดกลุมเรียกรองรัฐธรรมนูญตามมาจนเกิดเหตุการณ นองเลือด 14 ตุลาคม 2516 การประทวงโดยสันติวิธีเปลี่ยนเปนการจลาจลของมวลชนที่โกรธแคนเมื่อถูกปราบปราม ตอเมื่อผูนํารัฐบาลถูกกดดันใหลาออก และเดินทางออกนอกประเทศ เหตุการณจึงสงบลง (วิทยากร เชียงกูล, 2538 : 132) กลาวโดยสรุป การพัฒนาเศรษฐกิจตั้งแตยุคจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต มาถึง จอมพลถนอม กิตติขจร (2501 – 2516) ไดพอกพูนปญหาความเหลื่อมล้ําในสังคมโดยมีระบบราชการเปนกลไกรักษาอํานาจ และสืบทอดอํานาจทางการเมืองภายในกลุมผลประโยชน ความตื่นตัวและจิตสํานึกของคนหนุมสาวกอใหเกิดขบวนการนักศึกษาที่ขยายความคิดจากการแสวงหาความหมายของชีวิตไปสูการกําหนดและกระทําบทบาทหนาที่ตอสังคม ยุคแสวงหาเริ่มราวป 2506 และส้ินสุดในราวป 2516 สภาพไรเสรีภาพทางปญญาทางการคิดการเขียนในแวดวงมหาวิทยาลัย และสภาพความแตกตางในมหาวิทยาลัยกับสังคมภายนอก ทําใหปญญาชนแสดงความเห็นตอตานระบบสังคมและแนวทางการดําเนินชีวิตโดยไรอุดมการณ ขอเขียนที่บงบอกการตั้งคําถามเพื่อหาคําตอบในยุคนี้ เปนที่มาของการ ขนานนามยุคสมัยวาเปน ‘ยุคแหงการแสวงหา’ (คํารพ ทันศรี, 2541 : 4 - 5 อางจาก มาลินี แกวเนตร, 2524 : 79 – 80 ) 2. บริบททางวรรณกรรม วรรณคดีเปนเครื่องแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของมนุษยและสังคม วรรณคดีจึงมีความสัมพันธกับสังคม ในแงที่ผูประพันธเปนบุคคลในสังคมซึ่งมีส่ิงแวดลอม สภาพการเมือง และเศรษฐกิจแตกตางกับสมัยอื่น กวี “…จะรอดพนจากอิทธิพลแหงเคร่ืองแวดลอมหา

Page 15: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

34

ไดไม แมพยายามหลบหลีกเพียงใด ความคิดความเห็น ความรูสึกที่ตนมีอยูเปนสวนรวมกับคนรวมสมัยก็ไมวายแพรงพรายออกมา…” (วิทย ศิวะศริยานนท, 2531 : 96 – 97) กลาวไดวา เมื่อผูประพันธดําเนินชีวิตอยูในสังคมยอมไดรับผลกระทบจากความเคลื่อนไหวและเหตุการณในสังคม ตลอดจนไดรับการกลอมเกลาจากสถาบันทางสังคม เชน การปกครอง ศาสนา การศึกษา หรือแมแตสถาบันครอบครัว จึงอาจมีทัศนะที่คลอยตามคานิยมของคนสวนใหญ หรือตรงกันขาม อาจเห็นรวมกับคนบางกลุมที่ตอตานความคิดของคนสวนใหญก็ได

วรรณกรรมรวมสมัยถึงแมมักแสดงความคิดรวมกันในบางประเด็นของคนในยุค แตก็อาจแตกตางกันบางตามประสบการณ และความลุมลึกในการมองปญหาของผูประพันธ ดังเห็นไดวา ตั้งแตเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึง พ.ศ. 2501 ความสํานึกเร่ืองเสรีภาพและความเสมอภาคของมนุษยตามแนวคิดประชาธิปไตยในสังคมไทย ก็เปนที่มาของการวิพากษ วิจารณชองวางทางชนชั้นและความเห็นใจผูถูกเอารัดเอาเปรียบในบทประพันธจนถึง พ.ศ. 2501 เร่ืองส้ันและนวนิยายที่เดนๆ คือ “คําขานรับ” ความรักของวัลยา ปศาจ และฟาบกั้น “ มีลักษณะรวมกันอยูคือ วิพากษวิจารณสังคม และปลุกจิตสํานึกของปญญาชนคนหนุมสาว ใหเขาแบกรับภาระในการสรางสรรคสังคมใหเกิดเสรีภาพและความเสมอภาคที่แทจริง” (ตุลา เดชพลากูล, 2545 : 27 – 28) ตั้งแตป พ.ศ. 2493 ความเคลื่อนไหวในวงวรรณกรรมที่สรางบรรยากาศถกเถียงปญหาเกี่ยวกับรูปแบบและเนื้อหาในงานประพันธสมัยใหม เปนการเริ่มกลุมความคิดศิลปะเพื่อชีวิตที่กําหนดทิศทางของวรรณกรรมยุคนี้ แนวคิดสําคัญของวรรณกรรมเพื่อชีวิต คือ “โลกทัศนที่มีความหวัง ไมทอแทส้ินหวัง” และ “มีความเชื่อมั่นในกฎของความเปลี่ยนแปลงวา สภาพเลวรายในวันนี้ จะพัฒนาไปสูสภาพที่ดีข้ึนไดในวันขางหนา” (ร่ืนฤทัย สัจจพันธุ, 2541 ก : 166) นักเขียนที่มีบทบาทในยุคนี้ไดแก ศรีบูรพา เสนีย เสาวพงศ งานเขียนของศรีบูรพาที่มีอิทธิพลตอคนรุนหลัง เชน “คําขานรับ” ( 2493) ที่ช้ีวาเปาหมายชีวิตอยูที่การรับใชประชาชน เปนงานที่มีอิทธิพลตอการกระตุนจิตสํานึกขบถของคนหนุมสาวกอน 14 ตุลาคม 2516 สวนเรื่องส้ัน “ขอแรงหนอยเถอะ” (2493) ไดแสดงปญหาชองวางระหวางคนรวยกับคนจน และชี้ใหเห็นคุณธรรมและมนุษยธรรมของคนจน ที่ชวยเหลือเพ่ือนมนุษยที่เดือดรอนโดยไมลังเล ความเคลื่อนไหวทางวรรณกรรมและการเมืองของนักเขียนฝายกาวหนาชะงักลง เมื่อมีการจับกุมนักเขียน นักหนังสือพิมพ ขอหากบฏสันติภาพใน ป 2495 ในปพ.ศ. 2500 การรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ซึ่ง “ลมลางสถาบันการเมืองทั้งหมดและยังใชมาตรการรุนแรงในการปราบปรามผูที่มีความคิดเห็นขัดแยงกับรัฐบาล ในลักษณะเผด็จการ” ก็ทําใหประเทศไทยเขาสูยุคมืดมนทางความคิดโดยสิ้นเชิง (ดวงมน จิตรจํานงค, 2541 : 218 – 219) การทํารัฐประหารในป 2500 และ2501 สรางความชะงักงันตอกระแสความคิดของนักเขียน

Page 16: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

35

นักวิจารณหัวกาวหนา ปจจัยที่สกัดกั้นงานเขียนแนวการเมือง “และมีผลมาถึงการจํากัดเสรีภาพทางจินตนาการและชีวิตทางความคิดของนักเขียนหลายคน ในยุคตั้งแตพ. ศ. 2501 เร่ือยมาจนถึงหมดยุคจอมพลสฤษดิ์ เมื่อ พ.ศ. 2506” คือ ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่17 บางขอ1 (สุชาติ สวัสดิ์ศรี, 2518 ข : (15) - (16)) การบีบคั้นทางการเมืองสรางความปนปวนในวงวรรณกรรมอยางกวางขวาง คือหนังสือพิมพเล่ียงเสนอขาวการเมือง เนนขาวอาชญากรรมและบันเทิง นักเขียนฝายกาวหนาที่ไมถูกจับกุมวางมือจากงานเขียน เชน ศรีบูรพา ขอลี้ภัยอยูในประเทศจีนกระทั่งถึงแก

อสัญกรรม เสนีย เสาวพงศ ทํางานในสถานเอกอัครราชทูตประจํากรุงอารเจนตินา นักเขียนบางคน เชน ศรีรัตน สถาปวัฒน ผูเขียน แผนดินน้ีของใคร เปลี่ยนแนวการเขียนจากวรรณกรรมแสดงความคิดเห็นเชิงสังคมการเมืองเปนวรรณกรรมพาฝนตามความนิยมของตลาด (เสถียร จันทิมาธร, 2525 ค : 349) วรรณกรรมในยุคนี้จึงเปนเรื่องหลีกหนีความจริง ที่มุงใหความบันเทิงมากกวาการสงเสริมปญญา แมยุคนี้มีการปดกั้นทางปญญาอันสงผลใหวรรณกรรมเพอฝนและบูลางผลาญไดรับความนิยม แตการออกวารสารสังคมศาสตรปริทัศน ในปพ.ศ. 2505 โดยมี สุลักษณ ศิวรักษ เปนบรรณาธิการถือเปนความเคลื่อนไหวที่กาวหนา เพราะกระตุนใหผูคนสนใจปญหาสังคมและการเมืองและแสวงหาความมีแกนสารแหงการมีชีวิตอยู (เสถียร จันทิมาธร, 2525 ค: 386) ความกลาแสดงออกทางความคิดที่ทาทายรัฐบาลในยุคเผด็จการ ของ ส. ศิวรักษ เชน การโจมตีการตั้งฐานทัพอเมริกาในประเทศไทย ถือเปนแบบอยางของปญญาชนที่เห็นแกประโยชนของประเทศชาติ อันมีอิทธิพลตอคนรุนใหม ส. ศิวรักษ ไดเปดเวทีการแสดงออกในทางสรางสรรค คือจัดพิมพ สังคมศาสตรปริทัศน ฉบับนิสิตนักศึกษา ในป พ.ศ. 2509 นักศึกษา

1 ประกาศคณะปฏิวัติฉบับนี้ ขอ 6 มุงปรามใหนักเขียนฝายกาวหนาระมัดระวังการสรางงานของตนเอง โดยระบุถึง “ขอความซึ่งเปนเท็จในลักษณะที่อาจทําใหประชาชนเกิดความตื่นตกใจ หรือวิตกกังวลหรือเกิดความหวาดกลัว หรือขอความในลักษณะซึ่งเปนการปลุกปน หรือยุยงใหเกิดความไมสงบหรือขัดตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือ ขอความทํานายในทางที่อาจกอใหเกิดความวิตกกังวลแกประชาชนในโชคชะตาของบานเมือง” ขอความในประกาศคณะปฏิวัติท่ีตีความไดกวางขวางนี้มีสวนกําจัดปฏิปกษทางความคิดและศัตรูทางการเมืองของรัฐบาล ในยุค 2501 – 2506 (สุชาติ สวัสดิ์ศรี, 2518 ข : (15) – (16)) ท้ังนี้รัฐบาลไดกําหนดโทษผูฝาฝนหรือหนังสือพิมพท่ีโฆษณาขอความดังกลาวดวยการ “…ใหพนักงานเจาหนาท่ีมีอํานาจตักเตือนหรือยึดหนังสือพิมพนั้นทําลายเสีย หรือสั่งถอนใบอนุญาตผูพิมพ ผูโฆษณา บรรณาธิการหรือเจาของหนังสือพิมพ” (เสถียร จันทิมาธร, 2525 ข : 347 อางจาก ส. ศิวรักษ, 2521 : 131 – 133 )

Page 17: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

36

จึงไดแสดงออกถึงความผิดหวังตอชีวิตมหาวิทยาลัย และขยายความสนใจไปสูการถกเถียงเก่ียวกับปญหาสังคม อันนําไปสูการกอตั้งชมรมปริทัศนเสวนา “…เพ่ือสดับแสวงหาอภิปราย ถกเถียงปญหาในทางวิชาการ และในศิลปวัฒนธรรมอื่นๆ อันไมอาจหาไดภายในสถาบันการศึกษาของตน…” (นิพนธ แจมดวง, 2529 : 68)

ไดกลาวแลววา การแสดงสํานึกทางสังคมดวยการตั้งคําถามตอความเปนไปของสังคม จนเกิดความตองการสรางส่ิงใหมเปนความรูสึกรวมของคนรุนใหมในยุคนี้ ทัศนะตอสังคมและความตองการเปลี่ยนแปลงทําใหเกิดการรวมกลุมและสรางสรรคผลงาน แมงานจะมีลักษณะคลุมเครือ สับสน และไมสามารถใหคําตอบกับปญหาสังคมที่มนุษยสรางข้ึนได แตงานเหลานั้นก็ชวยใหผูอานครุนคิด ตั้งคําถาม และเกิดความเขาใจในเวลาตอมา เมื่อนักเขียนรุนใหมเช่ือวา วรรณกรรมมีบทบาทปลุกเราใหคนอานพบความรูสึกนึกคิดใหม และสามารถหาคําตอบใหชีวิตที่ไรความหมาย เขาจึงมุงมั่นสรางงานเพื่อเสริมกระบวนการทางความคิดอยางจริงจัง (ธีรา สันตดุสิต, 2530 : 35) ความแปลกแยกของคนรุนใหมที่มีตอสภาพสังคมและสถาบันตางๆ ที่แวดลอมเขาอยู เปนเหตุใหไมพอใจสถาบันและบรรยากาศที่ไมสัมพันธกับความจริง จนกลายเปนความสับสน ผิดหวังและรูสึกเปนสวนเกินของสังคม จึงมีการแสดงออก เชน เขียนบทความวิพากษวิจารณสังคม มีขอสังเกตวาในชวงนี้ “เร่ืองส้ันก็คํานึงถึงเนื้อหามากอนรูปแบบ และมีไมนอยเหมือนกันที่สรางเร่ืองส้ันข้ึนมาโดยไมสามารถสื่อความหมายไดสมบูรณ” แตถือเปนการสรางลักษณะใหมในวงการเรื่องส้ันพรอมกับสรางพัฒนาการดานความตื่นตัวทางการเมืองและเศรษฐกิจ (สุชาติ สวัสดิ์ศรี, 2518 ก : (36) – (37)) เมื่อการเขียนหนังสือเปนทางออกของคนที่มีชีวิตอยูอยางแปลกแยก ก็กลาวไดวา ยุคนี้เปนยุคที่คนรุนใหมเขียนงาน ซึ่งทดลองกับรูปแบบอยางหลากหลาย เชน งานชุด ฉันจึงมาหาความหมาย ของวิทยากร เชียงกูล ประกอบดวยกวีนิพนธ กลอนเปลา เร่ืองส้ัน และบทละคร เนื้อหาโดยรวมแสดงความไมพอใจสภาพสังคมในมหาวิทยาลัยและสังคมภายนอก เชน บทละคร “ ฉันเพียงแตอยากออกไปขางนอก” (2513) ที่ช้ีใหเห็นการปดกั้นการแสดงความคิดเห็นในมหาวิทยาลัย พรอมกับการปลูกฝงความคิดวา “ความมีระเบียบวินัยและการเชื่อฟงเทานั้นที่จะทําใหสังคมเจริญข้ึนมาได …” (วิทยากร เชียงกูล, 2516 : 167) งานช้ินนี้เสียดสีระบบการเรียนการสอนแบบทองจํา ดังปรากฏในบทสนทนาของนักโทษคนที่ 3 และ 4 วา

นักโทษคนที่ 3 - วันนี้ซวยเปนบา โดนผูคุมวากเร่ืองพิสูจนคําผิดไมไดครบ แกบน แตประโยคซ้ําซากวา อยางนี้จะออกไปทําอะไรกินไดเสียช่ือสถาบันหมด

Page 18: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

37

นักโทษคนที่ 4 - กันก็โดนเหมือนกัน แตโทษฐานไมไปลอกรายงานของฝรั่งมาสงไมทันตามกําหนดเวลาเทานั้น … (วิทยากร เชียงกูล, 2516 : 170) (เนนโดยผูวิจัย)

นอกจาก การเนนความคิดอันเปนลักษณะรวมของนักเขียนหนุมสาวที่ไมพอใจสังคมและสถาบัน ในดานกลวิธีก็มีการทดลองใชอยางหลากหลายเพ่ือเสนอความรูสึกอึดอัด ไมพอใจของตน เชน “รถไฟเด็กเลน” (2513) ของสุชาติ สวัสดิ์ศรี ใชรถไฟเปนสัญลักษณแทนระบบที่ชนชั้นกลางสรางข้ึน มีลักษณะกลไกจนทําลายคุณคาของบุคคล หรือการใชคลื่นสํานึกใน เร่ืองส้ัน “ถนนสายที่นําไปสูความตาย” ของ วิทยากร เชียงกูล แมรูปแบบใหมที่นักเขียนยุคนี้นํามาทดลองอาจยังไมกลมกลืน จนถูกวิจารณวางานเขียนบางชิ้นแหงแลงทางศิลปะ (ไปบาง) แตเปนความพยายามที่จะใชรูปแบบใหมเสนอความรูสึกของพวกเขาซึ่งไมอาจสื่อไดดวยรูปแบบเกาอันเปนตัวแทนของสิ่งที่เขาปฏิเสธ รูปแบบใหมจึงเปนการประกาศความเปนคนรุนใหม และเปนชองทางของการแสดงออกเพื่อแสวงหาความหมายในการดํารงชีวิตของพวกเขา ดังที่สุชาติสรุปไวในคํานํา ฉันจึงมาหาความหมาย วา

ไมวายุคแหงเราจะใชถอยคําอธิบายประการใด แสวงหา หงุดหงิด เงียบ ผิดแผกแตกตาง หมดอาลัยตายอยาก…ความประสงคในการแสดงออกทางอักษรศาสตรก็เปนเพียงการแสวงหาแนวทางใหมๆ ที่จะอยูกับโลกปจจุบันไดเทานั้น… (อางถึงใน ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย, 2536 : 126 – 127 )

คนหนุมสาวและนักศึกษาที่ไมพอใจสังคม และระบบเผด็จการไดจัดตั้งกลุมอิสระวิพากษวิจารณสังคมและสรางสรรควรรณกรรมแนวใหม ดังไดกลาวถึงกลุมพระจันทรเสี้ยวซึ่งบุกเบิกการเขียนเรื่องส้ันแบบใหมที่มีลักษณะกึ่งสัญลักษณก่ึงเหนือจริง การรวมกลุมของนักเขียนกลุมนี้ เ ร่ิมจากการพบปะของกลุมคนที่สนใจวรรณกรรมโดยเริ่มจากนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เชน สุชาติ สวัสดิ์ศรี วิทยากร เชียงกูล นิคม รายยวา วินัย อุกฤษณ วีระประวัติ วงศพัวพันธุ แลวคอยขยายไปสูนักศึกษาสถาบันอื่นเชน เทพศิริ สุขโสภา ประวัติ เลาเจริญ จากมหาวิทยาลัยศิลปากร วิสา คัญทัพ จากมหาวิทยาลัยรามคําแหง (ภิญโญ กองทอง, 2530 : 24) สมาชิกกลุมนี้สนใจปรัชญาและวรรณกรรมตางประเทศ การรับอิทธิพลจากนักปรัชญากลุมเอ็กซิสเต็นเชียลลิสม และขบวนการ บุปผาชน (ฮิปปส) ซึ่งเนนชีวิตที่ปฏิเสธบรรทัดฐานตามประเพณี ทําใหการแสวงหาของนักเขียนกลุมนี้ไมเปนเพียงการแสวงหาทางวรรณกรรมเทานั้น แตยังแสวงหาความหมายของชีวิตอยางจริงจังดวย

Page 19: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

38

งานเขียนของพวกเขาจึงมักแสดงความรูสึกแปลกแยกตอสังคม โดยถือเอาอารมณและความคิดเปนสําคัญ (เสถียร จันทิมาธร, 2525 ค : 394 – 395) การตอสูทางวรรณกรรมของคนหนุมสาวในยุคนี้ จึงไมเปนเพียงดานรูปแบบแตรวมถึงเนื้อหาทางความคิดดวย การรวมกลุมของนักเขียนเหลานี้ เกิดจากความตองการแสวงหาเพื่อนเพื่อรวมตอสูในดานวรรณกรรมและสังคม ที่พวกเขาไมพอใจอยู (เสถียร จันทิมาธร, 2525 ค : 391) จึงกลาวไดวา ความเคลื่อนไหวของคนหนุมสาวในมหาวิทยาลัยที่รวมกลุมกันถกเถียงปญหาสังคมและปรัชญาในการดําเนินชีวิต เชน กลุมพระจันทรเส้ียว กลุมหนุมเหนาสาวสวย และขอเขียนของกลุมอิสระตางๆ ในมหาวิทยาลัยไดกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในงานประพันธยุคนี้ นอกจากการสรางสรรควรรณกรรมของนักศึกษากลุมอิสระตางๆ จะมีผลตอความเคลื่อนไหวของวรรณกรรมแลว การจัดพิมพงานวรรณกรรมเพื่อชีวิตของนักเขียนตั้งแตสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เชน ความรักของวัลยา ปศาจ ของเสนีย เสาวพงศ เปนผลใหคนรุนใหม ตื่นตัวศึกษาการตอสูของคนรุนกอน (เสถียร จันทิมาธร, 2525 ค : 399) กลุมวรรณกรรมเพื่อชีวิตในชวงหลังนี้เกิดขึ้นทามกลางความเคลื่อนไหวทางการเมืองของนักศึกษา การตรวจสอบคุณคาของวรรณกรรม ซึ่งไดรับอิทธิพลทางความคิดจากงานเขียนของนักเขียนยุคกอน 2500 นั่นเอง ความเติบโตของวรรณกรรมการเมืองในยุคแสวงหา เร่ิมจากบรรยากาศการแสวงหาทางออกใหมของวรรณกรรมไทย และความตื่นตัวทางการเมืองของคนรุนใหม แตเวทีแสดงออกทางการเมืองมีจํากัดเพียงวารสารของปญญาชน และหนังสือของชมรมในมหาวิทยาลัย ความคิดทางการเมืองของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย เร่ิมปรากฏในหนังสือของกลุมอิสระ เชน ชัยพฤกษ ฉบับนิสิตนักศึกษา ที่คัดคานความงมงายเชิดชูความคิดที่เปนวิทยาศาสตร เศรษฐกร แนะนําบทกวีสมัย 2500 ของจิตร ภูมิศักดิ์ และบทกวีการเมือง ลอมฟาง เปดเวทีแนวการเขียนในทางศิลปะเพื่อชีวิต ขณะที่หนังสือของกลุมสภาหนาโดม สภากาแฟ ซึ่งมีเนื้อหารับใชชีวิตไดปลุกเราใหคนรุนใหมสนใจการเมือง(ชัยสิริ สมุทวณิช, 2524 : 33 – 34) ความเขมขนทางการเมืองระหวางป 2515 – 2516 ผลักดันใหวรรณกรรมการเมืองเปนเครื่องมือตอตานอํานาจเผด็จการ ชมรมวิชาการตางๆ นําเสนอวรรณกรรมการเมือง โดยการตีพิมพงานเขียนในยุคเกา เชน สภาหนาโดมตีพิมพ “ชีวิตและความใฝฝน” งานของกวีการเมือง เชน นายผี เปลื้อง วรรณศรี ทวีปวร และจิตร ภูมิศักดิ์ ขณะเดียวกัน ชมรมในมหาวิทยาลัยตีพิมพหนังสือตอตานอํานาจทหารและเผด็จการ ซึ่งถือเปนความตื่นตัวของคนรุนใหม คือ ขณะตอตานอํานาจเดิม ยังศึกษาดานที่เปนปฏิปกษของเผด็จการทหารดวย ในชวง พ.ศ. 2515 – 2516 วรรณกรรมการเมืองเติบโตไมมากนัก แตมีพลังเขมขนหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 (ชัยสิริ สมุทวณิช, 2524 : 37 – 39)

Page 20: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

39

สรุปไดวา เนื้อหาวรรณกรรมในยุคแสวงหา กําเนิดจากความรูสึกแปลกแยก เบื่อหนายของนักเขียนในมหาวิทยาลัย ตอบรรยากาศของสังคมที่ไมสอดคลองกับความเปนจริง นักเขียนพยายามหาแนวทางการแสดงออกทางความคิดโดยทดลองรูปแบบใหมๆ ขณะเดียวกันก็หวนกลับไปศึกษางานเขียนเพื่อชีวิตในยุคกอน 3. ความคิดของผูแตง

บทประพันธ มักเขียนจากประสบการณ ซึ่งเปนที่มาของการเรียนรูของผูแตง การแสดงชีวิตในวรรณกรรมมักสะทอนทัศนะของผูแตง หรือกลาวไดวา การแสดงชีวิตในวรรณกรรมมีความสัมพันธกับการมองโลกและชีวิตตามประสบการณของผูแตง ผูอานที่เขาถึงวรรณคดีก็จะไดรับปรัชญาชีวิต โลกทัศนของผูแตงจึงถือเปนสิ่งคุมโครงสรางของเรื่อง ดังที่นักวรรณคดีศึกษาไดกลาวไววา

โลกทัศน… เปนโครงสรางของความคิดและอารมณ ซึ่งประสานตัวขึ้นจากประสบการณ หรืออาจกลาววา เปนจิตสํานึกอันมีบทบาทในการกําหนดโครงสรางภายในวรรณกรรม และเปนที่มาของโครงสรางภายนอกคือรูปแบบ และองคประกอบตางๆ การเขาใจโลกทัศนของผูเขียนจะเปนแนวทางใหเขาใจโครงสรางระดับลึก และนําไปสูการเขาถึงวรรณกรรมไดดีย่ิงข้ึน” (ตรีศิลป บุญขจร, 2542 : 8)

โลกทัศนของนิคม รายยวาพิจารณาไดจากตัวงานและการแสดงความเห็นนอกตัวงาน นิคมไดแสดงทัศนะตอวรรณกรรมไวในสุนทรพจนเมื่อเขารับรางวัลซีไรต ในป 2531 อยางนาสนใจวา “งานเขียนเปนสิ่งที่เก่ียวของกับคน พูดถึงเร่ืองราวของคน ปญหาของคนและขอขัดของในการอยูรวมกันของคน” เขาเห็นวา “งานที่เขียนจากการศึกษาและตรวจสอบตนเอง” จะใหความจริงของคน ความจริงนี้ “เสมือนเปนทางออกที่กวางใหญสําหรับการเดินทางที่อิสระเสรี และเขาอกเขาใจซึ่งกันและกัน” คําวา ทางออก นาจะหมายถึงหนทางไปสูอุดมคติของชีวิตบนพื้นฐานของอิสรภาพและความเขาใจกัน การใหคุณคาตอการศึกษาสํารวจตนเองของผูเขียนก็เทากับการใหความสําคัญกับการศึกษาธรรมชาติของมนุษย นิคมเห็นวา การศึกษาคนเทากับการศึกษาโลก เมื่อ “รูจักคน รูจักโลก รูจักเลือกที่จะเอาส่ิงที่ถูกตองมาใชใหเปนผลด”ี ก็จะไมกระทําผิดพลาดอยางที่เรียกวา“การกอปญหาเพื่อแกปญหา” อยางที่เคยเกิดมาแลว (25 ป ซีไรต รวมบทวิจารณคัดสรร, 2547 : 755 - 756)

ดูเหมือนความเห็นนี้ไดแฝงการวิจารณแนวทางที่เรียกวา วรรณกรรมเพื่อชีวิตที่มุงโคนลมระบบสังคม สอดคลองกับขอสังเกตที่ไดกลาวไปแลววา นิคมไมไดรับอิทธิพลจาก

Page 21: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

40

กระแสวรรณกรรมเพื่อชีวิต (“นิคม รายยวา ผูกลับมาควารางวัลสองปซอน”, 2528 : 4) ในสุนทรพจน เขากลาวอยางมั่นใจวา “การรูจักตัวเองเปนสิ่งเดียวกับการรูจักธรรมชาติ” เขาเห็นวา คน ธรรมชาติ และสรรพสิ่งในโลกเปนสวนหนึ่งของกันและกัน การขจัดสิ่งที่ไมถูกตองของคนและ“ส่ิงที่เกิดจากความไมรู” ของคนออกไปไดหมด จะนําเราไปสู“จุดที่ ทุกส่ิงทุกอยางในโลกนี้คือส่ิงเดียวกัน และไมอาจแยกจากกันไดเลย” ( 25 ป ซีไรต รวมบทวิจารณคัดสรร, 2547 : 755) ความตระหนักวาปญหาเกิดจากความไมรู แตสามารถแกไขไดเปนทัศนะที่มาจากการศึกษาการดํารงอยูของคน กลาวไดวา มโนทัศนเก่ียวกับปญหาของคน ระบบความสัมพันธของสรรพสิ่งในโลก และความเชื่อมั่นในการเรียนรูของคน เปนกรอบโครงในการสรางงานของนิคมมาตั้งแตตน ผูวิจัยจึงแบงความคิดในเรื่องส้ันของนิคมเปน 3 ประเด็น คือ ปญหาและปฏิปกษของชีวิต ศักยภาพของคน และคุณคาของคน กลาวคือ ขณะที่นิคม รายยวา สนใจปญหาของคน ทั้งที่เกิดจากความออนแอภายใน และปญหาที่เกิดจากความสัมพันธของคนกับคน เขายังไดแสดงความเชื่อมั่นในคุณคา และศักยภาพที่จะตอสูปญหาเพื่อยืนหยัดอยางมีศักดิ์ศรีอีกดวย

3.1 ปญหาและปฏิปกษของชีวิต ในรวมเรื่องส้ัน ชุด คนบนตนไม นิคมแสดงปญหาและสิ่งที่เปนปฏิปกษของชีวิตวา ไดแก ความยากจนและความไมเปนธรรมในสังคม การขาดหลักประกันในชีวิตและการคุกคามของคนตอคน ภัยธรรมชาติและธรรมชาติภายในของคน ความขัดแยงในชีวิต และคานิยมที่เปนปฏิปกษตอคุณคาของชีวิต 3.1.1 ความยากจนและความไมเปนธรรมทางสังคม นิคมไดแสดงวา ความยากจนเปนขอจํากัดของคน ที่สงผลตอการดํารงชีวิตอยางเดนชัด ดังที่ใน “คนบนตนไม” (2510) ชาวนาประสบปญหาทางเศรษฐกิจอันเนื่องจากความไมเอ้ืออํานวยของธรรมชาติ แมทํานาไดพอขายราคาก็ตก เมื่อฝนทิ้งชวง ขาวจะกินก็ขาดแคลน มีหนี้สินเพิ่มข้ึน จนคิดจะหารายไดดวยการตัดฟน เผาถาน เมื่อรูวามีความตองการรับซื้อลูกนกสาลิกาจึงออกหาลูกนกในรังบนตนไม สวนใน “ฝนแลง” (2516) คุดและบัวคํา สองสามีภรรยาเปนคนจน ลูกตายเพราะไมมีเงินพาไปรักษาไขในเมือง เมื่อการทํามาหากนิไมไดผลคนในหมูบานก็ฝากความหวังไวกับโชคลาภที่คิดวาส่ิงศักดิ์สิทธิ์จะบันดาลให การหวังพ่ึงปาฏิหาริยอยางไรเหตุผลจึงเกิดขึ้น ใน “คนบนตนไม” (2510) ตัวเอกซึ่งเปนชาวนา รูสึกคับแคนใจในชะตากรรมของตนที่ยากจน และถูกผูอ่ืนขมเหงรังแก เขาถูกจับขอหาตมเหลาเถ่ือนโดยไมไดกระทํา ซ้ําควายก็ถูกขโมย ความพากเพียรทํามาหากินของเขาดูลมเหลว การที่ผูมีอาชีพปลูกขาวกลับไมมีขาวกินเปนสิ่งที่นาอดสู แตเปนสิ่งที่เกิดขึ้นบอยครั้งจนคุนชิน เมื่อคนในครอบครัวเจ็บไขได

Page 22: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

41

ปวยก็ตองกูหนี้ยืมสินจนหาเงินมาใชไมทัน นิคมแสดงใหผูอานเขาใจไดวา ความทุกขที่ทับถมเชนนี้มาจากสิ่งที่ตัวละครควบคุมไมได คือธรรมชาติและระบบกลไกในสังคม ส่ิงที่นาใครครวญอยูที่ตัวเราอาจจะกลายเปนสวนหนึ่งของกลไกที่สรางความไมเปนธรรมไดโดยไมรูตัว ดังที่ตัวเอกในเรื่องนี้แกปญหาดวยการละเมิดสิทธิในชีวิตของนกทั้งๆ ที่เขาก็ปรารถนาความอิสระเสรี เมื่อปนข้ึนไปหาโพรงนกบนตนไมสูง “…ลมเย็นพัดโชย เขาสดช่ืนข้ึนมาก รูสึกอยากเปนนก…ขางบนนี้นาสุขสบาย อิสระ สะอาด ไมเหมือนบนพื้นดินนั่น มีแตฝุนผงและโคลนตม เต็มไปดวยพงหนามและเถาวัลย” เมื่อเกือบถึงโพรงนก เขาถามตัวเองวา “คนเราจะเปนอยางนี้บางไดไหมนะ เลิกเบียดเบียนกัน อยูอยางรักใคร เห็นอกเห็นใจกัน…” (12 - 13) ถึงแมวา ความยากจนเปนขอจํากัดที่กอใหเกิดความทุกข และทําใหมนุษยดิ้นรนเพื่อความอยูรอดจนอาจทํารายผูอ่ืนอยางไมทันคิด แตหากพิจารณาวาความยากจนเปนสิ่งที่มนุษยรับมือได การนําพาครอบครัวของตนรอดพนจากความอดอยากเปนสิ่งที่พึงกระทํา แตหากทางออกนั้นสรางหายนะแกผูอ่ืนแมนกตัวเล็กๆ ก็เปนสิ่งที่นาสลดใจ ไมวาทางเลือกอันจํากัดของตัวเอกโนมนําใหผูอานเห็นใจไดอยางไร แตการพรากลูกนกสาลิกามาขาย ก็เปนวิธีการที่สรางปญหาเบียดเบียนทํารายตอไปเปนลูกโซคือ เขา (ชาวนา) ถูกพอคา ตํารวจ ขโมยรังแกเอาเปรียบ และเขาก็รังแกนกสาลิกา ไมตางจากที่พอเฒาวา “พวกเรา…ตางก็เอาเปรียบกันและเบียดเบียนกัน” การกระทําของเขากับอาการตระหนกตกใจของพอแมนกตอกย้ําวา มนุษยเปนตัวการสรางปญหาที่โหดรายรุนแรง เขาเปนตัวแทนของคนที่ไมฉุกคิดวา การกระทําของตนก็ไมตางจากสิ่งที่ตนรังเกียจ ดังเห็นจากการพร่ําบนถึงความโหดรายของสังคมมนุษยที่เขาประสบโดยตลอด เขาปรารถนาใหคนเลิกเบียดเบียนและเห็นใจกัน ในเวลาเดียวกันมีคําบรรยายวา “เขาคิดถึงตัวเอง ไมเคยคิดรายใคร มีแตถูกรังแก…” (13) การกระทําของเขาไดแสดงชัดวา การเบียดเบียนจะยุติลงไดก็ตอเมื่อมนุษยมีความเห็นใจในชะตากรรมหรือความทุกขของผู อ่ืน ความเห็นใจและการอยูอยางรักใครในสังคมจะเกิดขึ้นได ตอเมื่อบุคคลเขาใจความทุกขของผูอ่ืนหรือชีวิตอื่น อยางไรก็ตาม ผูแตงแฝงความคิดวา ถึงแมคนจนยังพอมีทางเลือกเชนที่ตัวเอกคิดจะเขาปาตัดฟนเผาถาน แตก็ตองทนสูความเหนื่อยยาก การรักษาความดีในสังคมที่ขาดความเปนธรรมจึงตองการความแข็งแกรงทางจริยธรรม การยืนหยัดอยูในแนวทางของตนอยางรูตัวปรากฏใน “ฝนแลง” (2516) เมื่อเร่ิมเร่ือง ความยากจนทําใหบัวคํารบเราสามีใหขุดหาไหบรรจุทองคําตามที่เขาฝนเห็น ถึงแมวาคดุไมเต็มใจนักเพราะคิดวา “มันตลก” แตความยากจนถึงข้ันขาดแคลนปจจัยหลักในการดํารงชีวิต รวมถึงตองเสียลูกเพราะไมมีเงินรักษาไข หนุนสงใหคุดคลอยตามภรรยาที่หวังวา

…คราวนี้หนี้สินจะไดหมดเสียที เราจะซื้อเส้ือผาใหมดวย เอาอายที่

มันหนาๆ แลวกันหนาวไดดีกวานี้สักหนอย หญาคาที่บานมันเปอยจนกัน

Page 23: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

42

ฝนเกือบไมได เราจะซื้อสังกะสีมามุงแทน แลวเราก็นาจะมีควายของเราเองสักคูหนึ่ง เวลาไถนาจะไดไมตองไปเชาเขา ฉันคิดถึงลูกของเราจริงๆ ถาเรามีสตางครักษาไข มันคงไมตาย (95 – 96)

น้ําเสียงของตัวละครเต็มดวยความหวัง ที่จะไดมีปจจัยสี่ครบครันหากขุดพบทองจริง ความใฝฝนของตัวละครเปนสิ่งที่ตรงขามกับสภาพจริง คือความเปนอยูที่ขัดสนมีเส้ือผาไมพอที่จะคลายความหนาวเหน็บ บานที่อาศัยไมอยูในสภาพที่จะชวยกันฝนได มีหนี้สินและตองเชาควายคนอื่นมาไถนา ความยากจนที่เปนเหตุแหงความตายของลูก อันเปนความสูญเสียของพอแมเชนนี้ เรียกมโนธรรมจากผูอานใหเขาใจปญหาความไมเทาเทียมทางโอกาสของคนในสังคม และตอกย้ําความลมเหลวของระบบโครงสรางของรัฐ ที่ปลอยปละละเลยใหประชาชนสวนใหญดํารงชีวิตตามยถากรรม เมื่อความขาดแคลนบั่นทอนความสุขในชีวิตมนุษย คนยากจนก็เติมเต็มดวยการเพอฝนถึงความเจริญสมัยใหมโดยเฉพาะเมื่อถูกลอดวยคําโฆษณาซึ่งอาจจะมาจากนโยบายของรัฐในยุคพัฒนา ดังคําพูดของบัวคํา ที่วา

พวกเขาวาที่นี่กําลังจะเจริญ…ใครๆ ก็วาอยางนั้น มันคงจะดีข้ึน จะมี น้ําสะอาดใชตลอดป มีถนนลาดยาง มีไฟฟา มีโรงเรียน โรงพยาบาล มีส่ิงกอสรางอะไรตั้งหลายอยาง ขาวที่เราปลูกจะมีราคาดี ไมลําบากเหมือนกอน (101 – 102)

ความเจริญที่บัวคําพูด เปนความหวังของคนยากจนที่ตองการรอดพนจากความแรนแคนขัดสนในสภาพจริงที่เผชิญอยู แมมิอาจยืนยันไดวาความหวังจะเปนจริงไดหรือไม แต น้ําเสียงของตัวละครซึ่งเปยมดวยความสุข ช้ีวา ความฝนหรือความหวังเปนเพียงสิ่งเดียวที่จะสรางความสุขแกคนยากจนได ในเมื่อระบบเศรษฐกิจไมไดมุงแกปญหาของประชาชนสวนใหญอยางจริงจัง นโยบายของรัฐก็อาจจะเปนเพียงการใหความฝนอยางลมๆ แลงๆ ไมตางจากความฝนถึงโชคลาภที่คิดวาส่ิงศักดิ์สิทธิ์จะบันดาลใหหรือเปน “ฝนแลง” อยางช่ือเร่ือง ผูที่ตระหนักเชนนี้ คือ คุด หลังจากที่ขุดพบไหเปลา เขาก็ตื่นจากฝนและมุงจะทํามาหากินดวย “แรงงาน” ของตนเอง เห็นไดวา ผูแตงแสดงภาพชีวิตคนยากจน แรนแคน ใน “คนบนตนไม” (2510) และ “ฝนแลง” (2516) อยางเดนชัด เพ่ือช้ีวาความยากจนเปนปญหาพ้ืนฐานที่มีผลตอการตัดสินใจแกปญหา ขณะที่มนุษยตกอยูในสภาพบีบคั้นจากสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจนั้น ตัวละครตัดสินใจแกปญหาอยางไร ยอมจํานนตอปญหาโดยทําตามเงื่อนไขของผูที่มีสถานะสูงกวา หรือยืนหยัดตอสูทามกลางความยากจนอยางมีศักดิ์ศรี จะอภิปรายภายหลัง

Page 24: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

43

3.1.2 การขาดหลกัประกันในชีวิตและการคุกคามของคนตอคน นอกจากปญหาจะเกิดจากธรรมชาติไมเอ้ืออํานวย และความบกพรองในระดับโครงสรางของสังคมแลว การเอารัดเอาเปรียบของคนดวยกันเองก็เปนสิ่งซ้ําเติมปญหาให หนักหนวงข้ึน ดังปรากฏใน “คนบนตนไม” (2510) ผูฉวยโอกาสเอาเปรียบชาวนา คนขายหมู หรือคนขายของ ก็มีทั้งเจาหนาที่ของรัฐ เชน ตํารวจ ซึ่งยัดเยียดขอหาเหลาเถ่ือน เจาหนาที่ในโรงฆาสัตว ไมตางจากพวกจี้ปลนที่จับไมไดและตั้งตนเปน “มาเฟย” กลาวโดยรวมไดวา ชาวนาถูกเอาเปรียบเสมอๆ ถึงแมมีความขยันหมั่นเพียรทํางานหนัก ก็ไมมีหลักประกันในระบบที่จะใหความมั่นคงในชีวิต ดังที่ถูกกดราคาขาวโดยไมอาจตอรองได “บางป เมื่อขาวพอจะเหลือขาย แตราคาก็ตกลงมาก” (10) ความไมสอดคลองของปริมาณผลผลิตกับราคาตามกลไกการตลาด นาจะแสดงวา ผูมีอํานาจหรือโอกาสสูงกวาสามารถเบียดบังประโยชนจากผูผลิตอยางเปนปกติวิสัยจนกลายเปนระบบชีวิต การละเวนการทําหนาที่ของผูพิทักษสันติราษฎร หรืออาจถึงข้ันกลั่นแกลง ยอมชี้วา ในสังคมที่ผูรักษากฎหมายใชอํานาจเปนเครื่องมือแสวงหาประโยชน ประชาชนมิอาจพึ่งความยุติธรรมของการบังคับใชกฎหมายเพื่อ “บําบัดทุกข บํารุงสุข” อยางแทจริงได ดังเห็นวา เมื่อควายตัวเดียวที่มีอยูหายไป ตัวเอกแกปญหาดวยการเชาควายของคนอื่นมาไถนา และไมคิดหาวิธีใหไดควายคืน ไมตางกับ “เปา” เพ่ือนบานของเขาที่ไปคาขายตางถ่ินและถูกจี้เปนประจําจนตัดสินใจไมไปอีก สวนคนขายหมูก็ตองจัดเตรียมเนื้อและเครื่องในใหหมอควายประจําโรงฆาสัตว (เจาหนาที่ปศุสัตว ซึ่งมีภรรยาทําหมูสะเตะขาย) โดยผูเลาทิ้งไวใหคิดวา พอคาคงจะไมไดรับคืนเลย การที่ประชาชนผูยากไรหาทางออกดวยการจํานนตอปญหาและใชชีวิตตามยถากรรมกลายเปนสิ่งปกติในสังคมชนบทไทย มีเพียงเพื่อนบานที่ประสบปญหาอยางเดียวกันเทานั้นที่เห็นอกเห็นใจกัน แตก็เปนไดเพียงเพื่อนปรับทุกข ดังบทสนทนาวา

“ไมตองกลัว” พอเฒาคนหนึ่งปลอบใจเขา “พวกเรามักจะเจอเรื่องเหมือนๆ กันอยางนี้แหละ ตางก็เอาเปรียบ

กันและเบียดเบียนกัน” (10)

ในสังคมชนบท ความไมปลอดภัยในชีวิตสรางความหวาดวิตกแกชาวบาน อยางที่แมปุย เมียของสําเริงเลาใหมาณีฟง ใน “ตนทาง” วา “…ทุกวันนี้ คนตัวเปลาไมมีอะไรคุมกันจะอยูยาก บางคนถูกเขาตอนควายไปตอหนาตอตา บางคนถูกเผาไร แมแตมาแยงชิงเร่ืองซื้อขายพืชไร ก็แทบยิงกันตายแลว…” (86) ความเกรงกลัววาจะถูกเบียดบังทรัพยสินหรือทํารายถึงชีวิต ทําใหชาวชนบทอยูอยางหวาดผวา เมื่อกฎหมายไมเปนที่พ่ึงในสังคมเชนนี้ ผูมีอิทธิพลจึงฉวยโอกาสทํารายผูที่ออนแอกวา และชาวบานตองแสวงหาวิธีการใหตนรอดพนจาก

Page 25: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

44

การถูกคุกคาม เชน สําเริงตอสูกับความอยุติธรรมดวยอํานาจเหนือธรรมชาติ คือ การทําใหตนหนังเหนียว แมการกระทําของสําเริงขาดความสมเหตุสมผล อีกทั้งการไมยอมผากระสุนออกเปนอันตรายถึงชีวิต แตส่ิงที่เกิดขึ้นนี้ฟองวา คนทุกขยากขาดที่พ่ึงและตองดิ้นรนตอสูทุกวิถีทางใหชีวิตและทรัพยสินของตนปลอดภัย ใน “ส่ิงที่หลอนพอจะทําได” (2515) ความทุกขใจของตัวเอกหญิง ช้ีวา สงครามซึ่งคุกคามมนุษยดวยการฆาเปนสิ่งเลวรายมาก โดยผูถูกฆาอาจไมรูเหตุผลเลย สวนผูรับรูการฆาเพราะอยูใกลชิดก็เต็มไปดวยความวิตกและเศราหมอง ดังปรากฏที่อาการปวดหัวของ ตัวละครหญิงซึ่งหาปลาอยูในแมน้ําโขงกับสามี เมื่อไดพบวา “มีการเขนฆากันอยูทุกวัน” ในเขตประเทศลาว จนพบศพลอยเกลื่อนมา นิคมแสดงใหเห็นวา ภัยสงครามที่ใชอาวุธรายแรง ไดสรางหายนะแกผูถูกรุกรานอยางยอยยับ ดังที่ขณะพายเรือเลาะริมฝงโขง ตัวละครนึกภาพการทําลายลางชีวิตอยางไรมนุษยธรรม ในเขตประเทศเวียดนามวา

…ในปาทึบลึกเขาไปทางดานมหาสมุทรดานโนน ความทุกขเข็ญมี

มากมายกวาที่นี่หลายเทา การทําลายลางชีวิตและทุกส่ิงทุกอยางในเวียดนามดําเนินมาหลายป ไมมีทีทาวาจะส้ินสุด ลูกระเบิดถูกทิ้งลงไปเหมือนโปรยเม็ดทรายเลน รางมนุษยนอนตายกระจัดกระจายเหมือนสัตวที่ไรความหมาย (81)

ความโหดรายรุนแรงของสงคราม การทําลายลางดวยระเบิด จน “รางมนุษยนอนตายกระจัดกระจายเหมือนสัตวที่ไรความหมาย” ไดเนนย้ําการกระทําที่ไรสํานึกทางจริยธรรมของชาติมหาอํานาจ การทําลายชีวิตก็เทากับการละทิ้งคุณคาของความเปนมนุษย นับเปนความเส่ือมถอยที่ชวนสลดใจ ทั้งๆ ที่มีความเจริญกาวหนาเหนือชาติเล็กๆ ความเห็นอกเห็นใจของตัวเอกในชะตากรรมของเพื่อนมนุษยเปนที่มาของความทุกข ซึ่งไมมีทางผอนคลายนอกเสียจากการรองไห ภาพศพในแมน้ําที่ทั้งสองผัวเมียพบในวันนั้น ผูแตงบรรยายวา “ไมใชของใหมเสียแลว ในเมื่อสองเดือนกอนมีศพลอยเกล่ือนแมน้ําไหลตามกันไปไมขาดระยะ ความกระเทือนใจ และความหวาดผวาทําใหคนออนเปลี้ยและเศราซึม” (81) ภาวะออนแอในจิตวิญญาณที่สั่งสมตอเนื่องมาก็ยังแสดงวา แมไมใชผูถูกกระทําโดยตรงก็ยังทําใจวางเฉยไมได ปฏิกิริยาจากชาวบานธรรมดาสามัญกระตุนเตือนใหผูอานตระหนักถึงภัยพิบัติจากสงคราม ความตระหนักดังกลาว ชักนําใหผูอานเห็นใจเพื่อนมนุษยที่ตกเปนเหยื่อของอํานาจ เห็นไดวา ปญหาการขาดหลักประกันในชีวิตมีหลายระดับรวมทั้งการคุกคามของมหาอํานาจในระดับรัฐตอรัฐ ขอจํากัดนี้ดํารงอยูในสังคม โดยเฉพาะสังคมที่ผูปกครองและองคกรของรัฐไมไดกระทําหนาที่อยางเหมาะสม

Page 26: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

45

3.1.3 ภัยธรรมชาติและธรรมชาติภายในของคน สุนทรพจนของนิคม รายยวา เมื่อเขารับรางวัลซีไรต ไดเนนย้ําวา คน ธรรมชาติ และสรรพสิ่งเปนสวนหนึ่งของกันและกัน กรอบความคิดนี้แสดงความตระหนักในคุณคาของการศึกษา เรียนรูเพ่ือรูจักตัวเองและธรรมชาติ ดังขอความวา “ การรูจักตัวเอง เปนสิ่งเดียวกับการรูจักธรรมชาติ คนเปนสวนหน่ึงของธรรมชาติ และเปนสวนหน่ึงของทุกสิ่งทุกอยาง พอๆ กับที่ทุกสิ่งทุกอยางเปนสวนหน่ึงของคน” ( 25 ป ซีไรต รวมบทวิจารณคัดสรร, 2547 : 756) (เนนโดยผูวิจัย) เร่ืองส้ันของนิคม ในระยะ 2510 – 2516 แสดงอํานาจของธรรมชาติสองดาน คือ ดานที่เก้ือกูลและดานที่เปนปฏิปกษตอคน เร่ิมจาก “คนบนตนไม” (2510) แสดงความปรวนแปรของธรรมชาติหรือความผันผวนของฤดูกาล ทั้งฝนท้ิงชวงและอุทกภัย ซึ่งแตกอนไมมีใหเห็น ดังคําบรรยายปญหาท่ีอยูเหนือการควบคุม และกระทบตอชาวนาอยางรุนแรงวา “ขณะนี้เปนชวงปลายเดือนกรกฎาคม ซึ่งฝนควรจะตกชุก แตอากาศกลับแหงแลง ทําใหขาวในนาของเขาเสียหาย…” (10)

ในเรื่อง “ศึก” (2514) ผูแตงใชฉากความนากลัวของธรรมชาติเนนการตอสูกับตัวตนภายในของตัวเอก โดยเฉพาะความคิดชั่วราย ในฉากการเดินทางยามน้ําเหนือบาเมื่อลุงบุญปลูกบรรทุกขาวเปลือกลงเรือไปขาย ตองเจอไมซุงหนุนเนื่องชิดกราบเรือทั้งสองขาง แมพยายามดันซุงออกไป ก็กลับเสียหลักหลนลงน้ํา ฉากสายน้ําและทอนซุงปรากฏอยูเปนระยะๆ ดังคําบรรยายของ ผูแตงวา

น้ําเหนือบารุนแรง ขุนขนเปนสีน้ําตาลเขม พัดพาเอาสิ่งตางๆ ไหลลิ่วลองลงใต ฟองน้ําลอยฟองเปนกลุมกอนเกิดจากดินทรายบนตลิ่งถูกเซาะพัง ตนไม ตนหญาตลอดจนตนไมที่เกาะกันแนนเปนซุมโต รากช้ีฟาเอียงกระเทเร ลอยเควงควางไปอยางไมมีจุดหมาย

ส่ิงสะดุดตาบนผิวน้ําเช่ียวกรากอีกอยางหนึ่ง คือ ไมซุงทั้งเล็กๆ และใหญ ทั้งที่ผูกเปนแพและกระจัดกระจายอยูโดดเดี่ยวลอยเปะปะ ปนเปแลดูสลอน (33)

ไมซุงที่ลอยเต็มแมน้ํามากมายผิดปกติ ฟองความเห็นแกตัวของพอคาที่ทําลาย

ปาไมเพ่ือผลประโยชนสวนตน ซึ่งดูจะเพิ่มข้ึนดังเห็นไดจากความฉงนของปาน ตัวละครที่เดินทางไปกับลุงบุญปลูก วา

Page 27: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

46

… ทําไมซุงจึงลอยเปะปะมากมายผิดปกติเชนนี้ โรงเล่ือยทุกแหงจะจายเงินใหคนที่จับซุงที่ตีตรา หรือไมตีตราไปสงตนละยี่สิบถึงย่ีสิบหาบาท แตคราวนี้ทอนซุงลอยลองอยางไมเปนกระบวนปราศจากคนควบคุม ปานมองดูมันไหลตามกันมาตลอดเวลาบนผิวน้ําที่ทอดไกลสุดสายตา (38)

การตั้งคําถามของตัวละครที่วา “ทําไมซุงจึงลอยเปะปะมากมายผิดปกติเชนนี้” เช่ือมโยงถึงไมซุงที่ “ตีตรา” ซึ่งหมายถึงไมที่ไดรับสัมปทานอยางถูกตองตามกฎหมาย และไมซุงที่ “ไมตีตรา” วิเคราะหไดวาเปนไมที่ลักลอบตัด ดังนั้น การที่ “ทอนซุงลอยลองอยางไมเปนกระบวน…มันไหลตามกันมาตลอดเวลาบนผิวน้ําที่ทอดไกลสุดสายตา” แสดงถึงปริมาณของตนไมที่ถูกทําลายทั้งที่ถูกกฎหมายและลักลอบอยางมากมาย ช้ีวาการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติที่ทําลายสภาพปกติของดินฟาอากาศ มีเหตุมาจากกลุมนายทุนที่ไดรับสัมปทานปาไมอยางถูกตองตามกฎหมาย และยังอาศัยความหละหลวมของกฎหมาย ลักลอบทําลายทรัพยากรของชาติอยางไรสํานึกดวยความโลภ นิคมชี้วา ภัยธรรมชาติเปนขอจํากัดภายนอกที่กระทบตอการดําเนินชีวิต สวนธรรมชาติภายในที่เปนขอออนดอยบางประการ เชน ความกลัว ความเห็นแกตัว ความไมรูเทาทันชีวิต เปนสิ่งที่สรางปญหาแกบุคคลและผูอ่ืน ดังความโลภของสีเทิ้ม ในเรื่อง “ศึก” นี้ ความตองการเงินเพื่อจะหนีไปอยูตางจังหวัดกับเพื่อนทําใหเขาคิดแยงเงินที่ลุงบุญปลูกมีติดตัวมาซื้อสินคา แมอาจตองทํารายแกถามีการตอสูกัน แตสํานึกที่วาแกเปนผูซึ่งรักและเล้ียงดูเขาเหมือนลูกของตน ก็ทําให สีเทิ้มตองตอสูกับศึกภายในอันเกิดจาก ความโลภของเขา นิคมใชความกลวัจระเขเปนสัญลักษณของความสํานึกตออํานาจความโลภที่จะฉุดสีเทิ้มลงสูหายนะ ความทุกขทรมานอยางหนักหนวงจบสิ้นลง เมื่อเขาถูกซุงหนีบขอเทาแลวกลาตัดขอเทาของตัวเองเพื่อใหหลุดพนข้ึนมาได เขาบอกลุง บุญปลูกวา “ตะเขไมมีแลว…” และ “ผมฆามันเอง” (จะวิเคราะหในบทตอไป) นั่นหมายถึง การเผด็จอํานาจกิเลสดวยความกลาหาญของตนเอง ในแงที่คนเราหวั่นไหวตอความกลัว นอม ใน “เชาวันหนึ่ง” (2512) กลัวงูเหลือม ตัวใหญที่เขามากินหาน จนยอมใหสามีเอางูใสแพลอยน้ําไป สังเกตไดวานอมกลัวงูเหลือมตามความเชื่อฝงใจในวิถีชีวิตพื้นบาน ภายหลังที่นอมดาวางูไปดวยความโกรธระคนเสียดาย งูก็สํารอกหานออกมา นอมกลับตกใจจนตองใหลูกไปเรียกสามีมา ย่ิงสามีและลุงแมนเพื่อนบานลงความเห็นวา งูเหลือมที่กินหานตัวนี้ “ไมธรรมดา” เพราะงูทั่วๆ ไปตองกลัวหาน นอมก็ย่ิงเกรงกลัวภัยที่อาจเกิดกับตน และถามหาหนทางที่จะแกไข เมื่อถูกแนะนําใหขอขมา นอมกไ็มรอชา รีบขึ้นเรือนจุดธูป “อยาไดโกรธเคืองฉันเลย” หลอนพึมพําเบาๆ “หานนั้นนะ อยากกนิกกิ็นไปเถอะ ไมมีใครวาอะไรแลว” (23) แตพอทิดลักเพ่ือนบาน ออกความเห็นวางูตัวใหญนาจะลอกหนังขายไดคุมคาหาน ไมนาปลอยไปเลย นอมก็บนเสียดายและกลาวโทษสามีที่ตัดสินใจปลอยงู

Page 28: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

47

ไปเสีย ทั้งที่ขณะเกิดเหตุนอมมิไดทักทวง มิหนํายังเช่ือและทําตามโดยงาย คําพูดของนอมที่แสดงอารมณตางๆ กัน ปรากฏดังนี้

“อายหนาดาน” เธอแผดเสียง “ตายอดตายอยากมาจากไหน ถึงไดมา

ขโมยหานเขากิน” (21) ………… “อยาไดโกรธเคืองฉันเลย” หลอนพึมพําเบาๆ “หานนั้นนะ อยากกินก็

กินไปเถอะ ไมมีใครวาอะไรแลว” (23) ………… “นาเสียดาย” ทิดลักพูด “ไมนาปลอยไปเลยถาลอกหนังขายก็ได

หลายสิบบาทคงคุมคาหานสบาย” “ฉันก็วาอยางนั้น” นอมพูด “แตพออายทุนนะซิ มันนาโมโห เสีย

หานไปตัวหนึ่งแลวยังปลอยงูไปอีก” (24) ปฏิกิริยาทางอารมณของนอมที่หวั่นไหวและขัดกันเอง สะทอนความคิดตามสัญชาตญาณและความคิดที่ส่ังสมมาในวิถีชีวิต สังเกตไดวา ขนาดอันใหญโตของงูเหลือมทําใหนอมกลัว ซ้ําเมื่อเธอดามันแลวมันสํารอกหานออกมา นอมก็ตกใจจนใหลูกไปเรียกพอมา เธอตีความปฏิกิริยาของงูวา “เขาฟงภาษาคนรูเร่ือง” ขออางวาตนไมรูวางูฟงภาษาคนรูเร่ือง เปนขอแกตัวของเธอ ที่เผลอไปลวงละเมิดงู ดวยการ “ดาจนเขาโกรธ” แสดงวา นอมพรอมจะเชื่อวา งูเปนสิ่งที่มีอํานาจอยูแลว อยางไรก็ตาม ความรูสึกเสียดายหาน ความโกรธงูที่เปนตนเหตุการสูญเสีย และการยอมรับวางูเปนงูเจาตามความเห็นของลุงแมนและสามี ซึ่งกระตุนความกลัวที่มีอยูแลว เปนความขัดแยงในสภาวะอารมณของนอม โดยไมไดเสแสรงและเจาตัวก็ไมสามารถแยกแยะได นิคมแสดงวาวิธีคิดเปนสิ่งกํากับพฤติกรรม วิทย ในเรื่อง “ความเปลี่ยนแปลง” (2514) หวังรางวัลที่ 1 สามพันบาท หากนกของเขาชนะแขงบิน การลงทุนสรางกรงและเล้ียงดูนกเปนอยางดี แสดงถึงความมุงมั่นของเขาท่ีพยายามสรางส่ิงปลูกสรางใหเทียบเคียงธรรมชาติ คลายทะนงตนวาควบคุมธรรมชาติได เขาไมไดเฉลียวใจวา การกักขังเปนการฝนธรรมชาติของนก การที่นกหลายตัวที่เล้ียงไวหายไปทีละตัว ยอมชี้วาการเลียนธรรมชาติ มิใชหนทางที่ถูกตอง นอกจากสรางกรงนกที่กวางขวาง เพียบพรอมดวยอาหารแลว วิทยยังดัดแปลงธรรมชาติ ดังคําบรรยายถึงนกแขงวามี “ขนปกที่แตงใหม ซอนกันอยางเปนระเบียบ ขนเสนที่ไรประโยชนถูกขลิบออกและตรงที่จําเปนจะถูกตอเติมดวยกาว เพื่อใหมันบินไดคลองแคลวและ

Page 29: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

48

เพิ่มความเร็ว” (50) (เนนโดยผูวิจัย) การกระทําของวิทยเปนการกระทําที่ปราศจากความสํานึกในคุณคาของธรรมชาติ พฤติกรรมของเขาแสดงความเห็นแกตัวและขาดความเคารพตอความจริง อาจเปนไปไดวาทําตามที่นักแขงนกทําอยูโดยปกติ วิทยจึงเปนตัวแทนของคนเหลานี้ นอกจากวิทยดูแลเอาใจใสที่อยูอาศัยและอาหารแลว เขายังคอยสอดสอง กันทาและไลตีสุนัขในบานที่เขาใกลนก คําสบถและการไลตีหมาแสดงความหยาบกระดางในจิตใจของเขา เมื่อนกบินกลับมาถึงกรง มันตรงไปที่อางน้ําดวยความหิว วิทยกลับรีบเขาไปตะครุบจนมันตกใจและบินหนีจนบอบช้ําและขาหัก หลังจากนกพลาดรางวัล เขาก็มีพฤติกรรมตางจากเดิมอยางส้ินเชิงคือ โยนนกเขากรงโดยไมปดประตู ทิ้งใหมันนอนซมโดยปราศจากน้ําและอาหาร(55 – 56) การที่วิทยไมสนใจนก ซึ่งประสบชะตากรรมเพราะการกระทําของเขา ช้ีวาเขาขาดความรับผิดชอบ หลังจากนั้นเขาเห็นความพิการของนกที่กระโดดหาอาหารขาเดียววาเปนเรื่องขบขัน ความเห็นแกตัวและความไมรับผิดชอบของเขา สรางหายนะแกชีวิตอื่นอยางนาสลด ความบกพรองดานจริยธรรมของมนุษย ความโหดรายของการคุกคามชีวิตสัตวตัวเล็กๆ นั่นคือ การวิจารณธรรมชาติของมนุษยในสวนบกพรองเพ่ือเรียกหามนุษยธรรมซึ่งถูกทําลายไป นอกจากขอออนดอยอันไดแก ความกลัว ความเห็นแกตัว และความโลภ จะสรางปญหาแลว วิทยก็ยังมีความเขลาหรือความไมรูเทาทันอันเปนขอบกพรองอีกอยางหนึ่ง ความพินาศเพราะความเขลายังปรากฏในเรื่อง “มากับลมฝน” (2512) ซึ่งช้ีวา มนุษยไมสามารถตัดขาดจากสังคมได ตัวเอกเปนชายหนุมผูตอตานชีวิตในสังคมเมืองและปลีกตัวมาอยูในชนบท เพราะอยากจะหลีกหนีความวุนวาย ชีวิตที่ไกลผูคนสําหรับเขามีสวนดีที่ “ไมตองถูกรุมเราดวยปญหาเกาซ้ําซาก เขาอึดอัดใจกับทาที พฤติกรรมและคานิยมแบบตางๆ ของคนในเมือง เมื่อปลดตัวออกจากมันได เขารูสึกปลอดโปรง และอิสระ” (26) ความคิดปฏิเสธสังคมและไมเห็นประโยชนของการอยูรวมกันของมนุษยเกิดขึ้นตั้งแตเปนนักศึกษา ดังที่เขาเคยพูดวา

“ความวุนวายทุกวันนี้ ลวนเกิดจากคานิยมและความเคยชินผิดๆ มนุษยจับกลุมเปนสังคม สรางกติกาเรื่องความดี ความเลว ความถูก ความผิดขึ้น เพ่ือปลอบประโลมตัวเอง และประณามผูอ่ืน ถาแยกมนุษยออกจากกัน ก็จะ ไมมีปญหาอยางนี้” (26 - 27)

การที่ตัวละครคิดวา ถา “แยกมนุษยออกจากกันก็จะไมมีปญหาอยางนี้” นับเปนความเขาใจผิดและขัดแยงกับความเปนสัตวสังคมของมนุษย ดังเห็นไดวา เมื่อถูกงูกัด เขาตองตายอยูตามลําพัง ถึงแมอยากใหคนมาชวยก็ดูจะสายเกินไป วิเคราะหไดวา การยึดมั่น

Page 30: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

49

ในอุดมการณที่ตัดขาดจากความเปนจริงอยางสุดโตง เปนปญหาอยางหนึ่งของมนุษย อีกทั้งการปฏิเสธสังคมก็ไมใชทางออกของปญหา แตเปนวิธีการของคนที่รูเทาไมถึงการณมากกวา ความไมรูเทาทันความจริงของตัวเอกเปนความบกพรองของมนุษย เขาเขาใจผิดวาจะมีความสุขเมื่อปลีกตัวมาอยูคนเดียวทามกลางธรรมชาติ แตการอยูคนเดียวกลับทําใหเขารูสึกเปลาเปลี่ยวอยางรุนแรง (28) นั่นแสดงวาเขาหลีกหนีไมพนธรรมชาติภายในของมนุษยโดยเฉพาะความตองการเพื่อน ตองการความปลอดภัย การไมเขาใจความตองการของตนเปนที่มาของปญหาดวย อันที่จริงการอยูทามกลางธรรมชาติทําใหมนุษยมีโอกาสตรวจสอบและทําความรูจักตัวตนในสวนลึก แตเขามิไดมุงมั่นคนหาตัวเองเพราะเขาเชื่อมั่นวาปญหาทั้งหมดเกิดจากผูอ่ืนและสังคม ความไมเขาใจตัวเองเปนสิ่งเดียวกับความไมเขาใจระบบธรรมชาติ กลาวคือ ถึงเขาชื่นชอบธรรมชาติ เพราะธรรมชาติ “…งดงาม…รมรื่น ผิดกับในเมืองที่ชุลมุนวุนวายและอึกทึก” (26) แตเขามิไดเรียนรูระบบธรรมชาติและการดํารงอยูของสัตวเลย เมื่อเขาเห็นงูกับพังพอนสูกัน เขาก็ดวนสรุป ส่ิงที่เขาคิดคือ “ชางโงแทๆ” และ “อยูอยางสงบตางคนตางหากิน มีความสุขดี ไมชอบ ตองมาเขนฆากันใหเดือดรอน ทําไมตองกัดกันดวยนะ” (28) เขาขาดความเขาใจวา การตอสูเปนกฎธรรมชาติตามสัญชาตญาณการเอาตัวรอดของสัตว แตมนุษยมีวัฒนธรรม ซึ่งอาจปรับเปลี่ยนสัญชาตญาณใหเปนการสรางสรรคได ขณะที่ตัวเอกรังเกียจการเบียดเบียนของมนุษย และมองการตอสูของสัตววาเปนสิ่งเลวราย เขากลับหาความสุขดวยการตกกบ ซึ่งเปนการเบียดเบียนทําราย ที่ไรเหตุผลเสียยิ่งกวาการตอสูของสัตว ความขัดแยงระหวางความคิดกับการกระทําของตัวละครจึงเปนเรื่องที่นาเยยหยัน เมื่องูกัดเขา เขาฉงนวา “ทําไม ทําไมมันตองมากัดฉันดวย” (29) การตั้งคําถามของเขาคลายเปนการทวงถามความยุติธรรมเพราะเขาไมไดทํารายงูกอน ความเจ็บปวดและความกลัวตายทําใหเขาหวังจะให “มีใครสักคนผานมาพบ” เพ่ือพาไปหาหมอในหมูบาน เพราะบรรดาสัตว เชน มด นก ลูกเขียด “…มันไมมีทีทาจะสนใจเขาเลยแมแตนอย…” (30) แมเขาพยายามตอสูเพ่ือพยุงรางเพื่อกลับหมูบานแตพิษงูแลนเขาสูรางกายอยางรวดเร็วและเขาก็เสียชีวิต กอนตายเขานึกถึงงู พังพอน เพ่ือน และรําพึงวา “…เดี๋ยวนี้มีแตฉันอยูที่นี่คนเดียว…” (30 – 31) แสดงวา ตัวละครเริ่มตระหนักถึงการอยูรวมกันเปนสังคมเพื่อชวยเหลือกัน การเรียนรูดวยตนเองของตัวละครที่ตองแลกกับชีวิตก็เปนสิ่งที่เตือนสติผูอานได จะเห็นวาในจุดนี้ นิคมเห็นแยงกับคนยุคแสวงหาที่มักแปลกแยกกับสังคม โดยช้ีวา การหลีกหนีปญหาหรือปฏิเสธสังคมมิใชทางออกของปญหา เพราะปญหาอยูที่ปจเจกบุคคลดวย โดยเฉพาะการยึดมั่นความคิดของตนโดยไมคํานึงถึงสภาพจริงของสังคม แตกระนั้น ผูแตงก็คาดหวังวาผูอานจะเขาใจชีวิตและแสวงหาหนทางเพื่อปรับตัวเขากับผูอ่ืน

Page 31: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

50

ความตายเปนสวนหนึ่งของกฎธรรมชาติ แตนอยคนนักที่จะยอมรับความตาย โดยเฉพาะเมื่อไมรูวาจะมาถึงเมื่อใด ความไมรูของมนุษยในขอนี้เองทําใหมนุษยแสวงหาวิธีการดํารงตนอยูเหนือธรรมชาติ เอาชนะความเจ็บ ความตาย โดยปราศจากความรูที่แทจริง ดังปรากฏใน “ตนทาง” (2516) สําเริงไมยอมผากระสุนปนออกจากรางกาย เพราะเชื่อวากระสุนนั้นจะทําใหหนังเหนียว นั่นคือวิธีเดียวที่จะชวยใหทนทานตออันตรายจากมิจฉาชีพซึ่งคุกคามชีวิตและทรัพยสินของผูคนอยูเสมอ สําเริงเช่ือวาถาหนังเหนียวจะรอดตาย แตจะไดภาวะเหนือธรรมชาติก็ตองเส่ียงตอความตายเสียกอน การปลอยใหลูกปนอยูในรางกาย จึงเทากับ“ความเปนอมตะกับความตายของเขา มันเปนสิ่งเดียวกัน” (91) หมายความวา วิธีการสรางอํานาจของมนุษยเพ่ือเอาชนะกฎธรรมชาติกลับกลายเปนการเสี่ยงตอการทําลายชีวิต เห็นไดวา ถึงแมธรรมชาติอาจจะเปนปฏิปกษตอมนุษยแตมนุษยก็ตองรูจักธรรมชาติไมนอยกวารูจักตนเอง การแกปญหาดวยการฝนธรรมชาติก็ยอมเปนที่มาของความพินาศซึ่งแพร กระจายอยูทั่วไป ดังที่เย้ือนกลาววา “คนที่กําลังหาอมตะแบบนี้ มีทั้งในปา ในเมือง ในบริษัทธุรกิจ ในสนามรบ ในรัฐสภา” (91) 3.1.4 ความขัดแยงในชีวิต นิคมแสดงวา ความขัดแยงซึ่งเปนปญหาของบุคคล มีทั้งความขัดแยงภายในจิตใจและความขัดแยงกับผูอ่ืน ความขัดแยงภายในของมนุษยเปนการตอสูของสํานึกใฝดีกับความออนแอ ขณะที่ผูออนแอมักพายแพตอปญหาและตองเผชิญชะตากรรมที่ชวนสลด แตผูแข็งแกรงสามารถยืนหยัดตอสูปญหาอยางมีศักดิ์ศรี ใน “ศึก” (2512) สีเทิ้ม เปนตัวละครที่แสดงความขัดแยงภายในจิตใจไดอยางชัดเจน สีเทิ้มอาศัยอยูกับลุงบุญปลูกซึ่งเปนเพื่อนพอของเขา ลุงบุญปลูกมีอาชีพทํานา สีเทิ้มมักประพฤติตนนอกลูนอกทาง เปนนักเลง “ลักเล็กขโมยนอย…รวมกับเพื่อนเขาปลนชาวบาน ตลอดจน…ยิงกันในวงไพ” (41) และเพ่ิงพนโทษจําคุกออกมา เขาตั้งใจจะเลิกส่ิงไมดีหลายครั้ง แตก็กลับไปประพฤติอยางเดิมอีก หลังออกจากคุกเขาขยันเอาการเอางาน ชวยขนขาวลงเรือ และเดินทางไปขายขาวกับลุงบุญปลูก ระหวางเดินทางเขาทบทวนตัวเองและอยากเปนคนดี แตพอนึกถึงคําชวนไปตางจังหวัดของเพื่อน เขาคิดแยงเงินลุงบุญปลูก นิคมใชกระแสสํานึกของ ตัวละครแสดงการขับเคี่ยวระหวางสองความคิดอยางเขมขน การตอสูภายในจิตใจทําใหเขารูสึกคลายไดยินจระเขฟาดหางอยางรุนแรง ขณะเดินทางน้ําเหนือไหลบาแรงเรือเขาฝงไมไดเพราะมีไมซุงเขามาชิดกราบเรือ ลุงบุญปลูกค้ําซุงแลวลื่นไถลตกน้ําจมใตแพ พอโผลมาก็มีแพซุงขนาบแกไว สีเทิ้มกระโจนไปชวยจนแกขึ้นบนแพได สวนเขาพยายามตามขึ้นมาทีหลังแตขาขางหนึ่งถูกแพหนีบไว คนบนเรือพยายามชวยทุกวิถีทางแตสายน้ําเช่ียวกรากและซุงหนุนเนื่องมา เมื่อเรือใกลมุมโคงน้ําเขาตัดสินใจฟนขอเทาตรงที่ถูกหนีบเพื่อไมใหเรือชนตลิ่ง การเสี่ยงชีวิต การ

Page 32: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

51

เอาชนะความคิดชั่วรายที่จะฆาความเปนคนของเขา แลกกับความเจ็บปวดอยางกลาหาญนี้ แสดงคุณคาของมนุษยอยางสําคัญ สวนใน “คนดําน้ํา” (2514) นิคมไดแสดงความขัดแยงของคนถือฉมวก ระหวาง ความเชื่อมั่นในวิถีทางของตนกับความคาดหวังผลสูงสุด เขาเลือกใชฉมวก โดยคิดวาเมื่อรอใหเห็นปลาชัดๆ ก็จะแทงไดปลาขนาดที่ตองการ สําหรับเขาวิธีนี้ดีกวาการตกเบ็ดซึ่งเปนการเดาสุม และไมไดใชความสามารถ อาศัยแคความบังเอิญ สวนคนเลี้ยงผักบุงในความคิดของเขาก็เปนผูประกอบอาชีพที่ “งายเกินไปไมตองคิดอะไรเลย” คนถือฉมวกลืมคิดวาตนก็ไดแตเง้ือฉมวกคางอยูและไมไดแทงสักที ความหวั่นไหวของเขาเกิดขึ้นเมื่อคนดําน้ํามาถึงและกระทําเสมือนรูวามีส่ิงมีคาอยูในบึง ซึ่งตองหาใหพบ จึงดําอยูนานไมโผลข้ึนมา คําพูดของคนถือฉมวกที่ตอบคําถามคนตกเบ็ดกอนหันหลังกลับ บงบอกวาเขาเกรงจะเสียหนาถาคนดําน้ํา “ถือทองหรือเพชรกอนเบอเรอข้ึนมาจากน้ํา” เทากับการเล็งผลเลิศของเขาทําลายความมั่นใจของเขาเอง จากที่เห็นวาวิธีการของตนดีที่สุดกลายเปนความไมแนใจแลวจึงลมเลิกการคนหา ความขัดแยงดังกลาวทําใหเขาเลือกเดินทางกลับไปโดยไมแนใจวาถากลับมาอีก “จะมีประโยชนอะไร…มาก็มีคาเหมือนไมไดมา ผมก็ยังไมแนใจวาจะใชฉมวกดีหรือดําน้ําดี ผมยังงงอยู” (77) หากจะตีความตัวละครวาเปนตัวแทนของผูที่ยึดถือวิธีการตางกันในการคนหาสิ่งมีคาในชีวิต คนถือฉมวกจัดวาเปนผูมีความคิดเชิงวิจารณสูงกวาคนอ่ืนๆ ในที่นั้น แตเขากลับมีความหวั่นไหวมากที่สุดจึงไมอาจทนดูความสําเร็จของคนดําน้ํา เมื่อยกพฤติกรรมของคนเหลานี้มาเทียบกันก็จะเห็นวาคนถือฉมวกเปนคนที่ลังเลมากที่สุด ดังนี้

ทําไมคุณไมใชเบ็ดอยางผม มันสะดวก เบาแรงกวา แถมยังปลอยอารมณไดดวย

ขอบคุณ คนถือฉมวกพูด ผมไมชอบทําอะไรแบบเดาสุม เพียงแตหยอนสายเบ็ดลงในน้ําแลวนั่งรอ ไมมีทางเลือกไดวาจะเอาปลาชนิดไหน มันแลวแตวา มีปลาอะไรมาติด ไมวาตัวเล็กตัวใหญก็ตองเอา จะไดหรือไมข้ึนอยูกับความบังเอิญ ไมใชความสามารถ

แตตองรูเหมือนกันนะ คนตกเบ็ดพูด จะตองชํานาญ ตั้งแตเลือกเหย่ือเก่ียวเบ็ด หาบึง ดูความลึกของน้ํา แลวยังตอนตวัดคันเบ็ดที่ปลากิน โอยสารพัดแหละ ไมเหมือนของคุณ นอกจากมือขางที่ถือฉมวกนั่นแลวก็ไมไดใชอะไรอีก ไมตองรูอะไรดวยซ้ํา

แทงฉมวก คุณจะตองเขาใจใหมากที่สุด คนถือฉมวกพูด ไมใชสักแตแทงเอา แทงเอา แตจะแทงเฉพาะปลาที่เลือกแลว ผมไมสนใจพวกปลาหมอ ปลากระดี่ ผมจะแทงเฉพาะตัวใหญๆ เทานั้น คุณไมคิดบางหรือ คนตกเบ็ดพูด การใชฉมวกมันทําใหประสาทเครียด เหมือนใบหนาคุณ

Page 33: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

52

นั่นแหละ มันเหนื่อยเกินไป และไมเคยเห็นผล มาใชเบ็ดดีกวา มันไมเปลืองแรงมากนัก ใชความเยือกเย็น เทากับพักผอนไปดวย

แตฉันวาเล้ียงผักบุงดีกวา คุณจะไมมีวันอดเลย หญิงเล้ียงผักบุงพูด ไมตองทนทรมาน การเลี้ยงผักบุงกําลังเปนที่นิยมนะ

นั่นเปนอาชีพของพวกคุณ คนถือฉมวกพูด ผมไมทําหรอก มันงายเกินไป ไมตองคิดอะไรมากเลย

งายเกินไปหรือ คนตกเบ็ดตะโกนเสียงดังดวยความไมพอใจ ผมวาคุณยังใชเบ็ดไมเปนเสียดวยซ้ํา ดีแตวางทา ถามทีเถอะ อายที่เง้ืองาอยูนั้น คุณเคยแทงลงไปสักทีแลวหรือยัง

ผมจะไมแทงจนกวาจะแนใจ ผมไมเดาสุมแบบชุยๆ คนถือฉมวกพูด แมจะยังไมมีโอกาส แตผมก็ปลื้มใจ ถาแทงเหมาะๆ ตรงที่หมายสักครั้ง ไมใชเดาสุมแบบหยอนสายเบ็ด ผมไมตองการทําอะไรเลื่อนลอยไมมีที่หมาย การแทงฉมวกเปนงานที่จริงจังและตองคอย

แลวเมื่อไหรจะไดแทงสักทีละ หญิงเล้ียงผักบุงถาม ไมตองเง้ืออยูอยางนั้นจนแกตายไปหรือ คุณทนไดไมนานหรอก ถึงคุณจะแข็งแรง อีกไมนานก็เมื่อย แลวเลิกราไปเอง นาจะเลิกคิดเรื่องแทงฉมวกแลวหันมาสนใจเรื่องผักบุงดีกวา คุณตองทําไดแนๆ ไมนาปลอยเวลาใหผานเลยไปเปลาๆ ผักบุงขยายเร็ว มันแตกยอดแตกใบทุกๆ นาที ถาเล้ียงผักบุง เวลาทุกนาทีของคุณจะมีราคานะ (68 - 69)

ความหวั่นไหวของคนถือฉมวกนาจะตีความไดวา เปนเพราะไมแนใจตอส่ิงที่ตนกระทําวาจะไดผลตอบแทนสูงสุดหรือไม พฤติกรรมของคนถือฉมวกนี้ก็เปรียบเสมือนผูใชอํานาจเพ่ือประโยชน ถึงแมจดจอกับผลประโยชน แตที่แทแลวก็ไมไดใชอํานาจอยางแทจริงและไมไดรับผลประโยชนอยางที่หวัง หากเปรียบบึงเปนสังคม เขาก็ไมรูจักสังคมเลย จึงเพียงแตใชสายตาที่ผิวเผินและอํานาจในมือที่ไรประสิทธิภาพ 3.1.5 คานิยมที่เปนปฏิปกษตอคุณคาของชีวิต

นิคมไดแฝงทัศนะวา การฝากความหวังไวกับสิ่งเหนือธรรมชาติ โดยไมคิดจะพยายามดวยตนเองไมใชทางออกที่เหมาะสมและนาช่ืนชม ดังปรากฏใน “เชาวันหนึ่ง” (2512) “ตนทาง” (2516) และ“ฝนแลง” (2516)

“เชาวันหนึ่ง” (2512) เปนเรื่องที่แสดงวา ความหวาดกลัวในสวนลึกตออํานาจเหนือธรรมชาติอาจมาจากการปลูกฝงกันมาในวัฒนธรรม ดังบทสนทนาของตัวละคร ที่วา

Page 34: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

53

“แปลกจริงๆ กูไมเคยเห็น เขาวางูมันกลัวหาน แมแตข้ีหานมันยังไมกลาเขาใกลเลย แลวนี่ทําไมมันเปนอยางนี้ได”

…………… “…นี่มันไมธรรมดาแลว” …………… “…นากลัวจะเปนงูเจา อยาไปดาวาหรือตีเขาเชียวนะ บนตัวนั่นมีทั้ง

ลายดี ลายชั่ว ถาตีถูกลายชั่วละก็ซวยเลย” แกหันไปมองหนานอม “มีใครดาเขาไหม”

“ก็ไมไดวาอะไรนี่” นอมพูดเสียงออนในใจรูสึกหวาดกลัว “แลวจะทําอยางไรดีละลุง”

“เอาใสแพกลวยลอยน้ําไปซิ” ลุงแมนพูด “อยาลืมขอขมาเขากอนนะ แลวหาเชือกกลวยมาสักเสน มันแพเชือกกลวย จะไดคลองติดแพไว เชือกธรรมดามัดมันไมอยูหรอก”

………… นอมรีบขึ้นบนเรือนจุดธูป แลวรีบลงมาขางลางดวยทาทางงงๆ “อยาไดโกรธเคืองฉันเลย” หลอนพึมพําเบาๆ หานนั้นนะ อยากกินก็

กินไปเถอะ ไมมีใครวาอะไรแลว” (22 - 23) สวนความเชื่อเร่ืองการอยูยงคงกระพันดวยการเสี่ยงตอความเจ็บปวด หรือแมแตความตายก็ปรากฏใน “ตนทาง” (2516) สําเริงเจตนาใหกระสุนฝงตามรางกายเพื่อใหหนังเหนียวอยางคําเลาลือเร่ืองหนังเหนียวของกํานัน เขาเคยถูกยิงและอยากปลอยลูกปนไวในตัว แตหมอผาออก เลยโกรธ พอเขาถูกเย้ือนยิงอยางบังเอิญเขากลับพอใจและแข็งขืนไมยอมไปโรงพยาบาล เขายินดีจะรักษาตามวิถีชาวบาน คือการใหหมอน้ํามนตทาน้ํามันเลียงผาให เย้ือนจึงไดแตมอง “…รางสําเริงที่นอนคว่ําบนเสื่อ แผนหลังเปลือยเห็นรอยกระสุนกระจาย ทาทางสงบและพึงพอใจอยูตอหนาหมอ” (89) ความเชื่อของสําเริงเกิดจากสภาพบีบคั้นทางสังคมที่ขาดหลักประกันในชีวิต และถูกผูมีอํานาจเหนือกวาคุกคาม แตการเลือกตอสูกับความไมเปนธรรมดวยวิธีที่เส่ียงเชนนี้ขัดแยงกับวิธีคิดในแนวพุทธศาสนา อีกทั้งการทําใหหนังเหนียวเพื่ออยูยงคงกระพันก็เปนหนทางแสวงหาอํานาจมิใชการแกปญหาท่ีสอดรับกับศักยภาพของมนุษย เมื่อมนุษยสรางความเช่ือมั่นในอํานาจของตนวาอยูเหนือกฎธรรมชาติ คือ อยูเหนือความตายก็ทะนงตนและอาจกอปญหาขมเหงผูที่ออนแอกวา ทั้งๆ ที่ตนเองก็รังเกียจการถูกขมเหงเหมือนกัน

Page 35: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

54

ใน “ฝนแลง” (2516) นิคมไมเพียงแตคัดคานความเชื่อเร่ืองโชคลาภจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แตยังโยงไปถึงการวิพากษความเชื่อลมๆ แลงๆ ตอคําโฆษณาของรัฐอีกดวย บัวคําและชาวบานเปนตัวแทนของกลุมคนในสังคมไทยที่หลงอยูกับความฝนเพราะความยากจน แตคุดไมนิ่งเฉย เขาตัดฟนสงขายในเมือง ความขัดแยงเกิดขึ้นเมื่อคุดฝนเห็นไหบรรจุทองคําฝงอยูในดินสามคืนติดตอกัน เมื่อเลาใหบัวคําฟง บัวคําปกใจเชื่อและรบเราใหคุดไปขุดหา คุดลังเลใจเพราะกลัวเพื่อนบานหัวเราะเยาะ แตบัวคําจัดแจงไปขุดเอง คุดจึงตองตามไป ทั้งสองชวยกันขุดอยูนานจนเจอไหอยูในดิน แตพอเปดดู “…เห็นดินแข็งเปนงบกลมๆ วางซอนเรียงกัน เหมือนงบน้ําออย พอแตะถูกก็ปนเปนผง เขากอบดินออกทิ้งทีละกํา แลวลวงกลับเขาไปใหมจนกระทั่งถึงกนไห ควานมือไปทั่วภายในที่วางเปลา” (97) ภาวะอารมณของตัวละครที่ยินดีแลวผิดหวังอยางรวดเร็ว เปนสิ่งที่นาเห็นใจ บัวคําขมความรูสึก แบกจอบกลับบาน ขณะที่คุดนําไหไปไวบนบาน แลวหยิบขวานไปตัดฟนในปา เร่ืองทองกลายเปนดินยังเปนหัวขอวิพากษวิจารณในกลุมชาวบานที่รูขาว บางวาเกิดจากการไมเคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ บางก็อางถึงบุญกรรมตามวิถีชาวบานวา คุดบุญไมถึง “…ทีนี้แกตองหัดมือออนตีนออน เซนไหวผีสางเทวดาใหมากสักหนอย เขาจะไดสงสาร ปะเหมาะเคราะหดีเขาอาจจะมาเขาฝนอีก” (99) คําพูดของเพื่อนบานเปนสวนหนึ่งของความเชื่อตอส่ิงเหนือธรรมชาติ ซึ่งดํารงอยูในสังคมไทย คําวิพากษวิจารณ “ไห” สรางความวุนวายใจแกคุด เขาจึงตัดสินใจ “ดึงขวานจากซอกเอว แลวกระหน่ําลงไปจนสุดแรง” (99) แลวลงจากเรือนไป “ปลอยใหทุกคนตะลึงอยูกับเศษไหที่กระจายเกลื่อน บัวคํางุนงงพูดอะไรไมออก” (99- 100) การทําลายไหเปนสัญลักษณของการหักลางความเชื่องมงายที่รบกวนจิตใจ เปนการกระทําดวยความเชื่อมั่นในตัวเองของคุด ขณะที่เพ่ือนบานและบัวคําไมเขาใจในสิ่งที่คุดทําและลงความเห็นวาเปนการกระทําที่โงเขลาเพราะจะทําใหไมมีใครมาเขาฝนอีก แตคุดบอกวาเขาไมอยากใหใครมาเขาฝน ความมีเหตุผลและเชื่อมั่นในตนเองทําใหคุดมิไดหวั่นวิตกวา การทําลายไหเปนการลบหลูส่ิงศักดิ์สิทธิ์จนไมมีใครมาเขาฝนอีก ความเชื่อมั่นที่วา “ชางเถอะ ฉันไมอยากใหใครมาเขาฝน” (101) บงบอกถึงการเรียนรูความผิดพลาดของตนเอง เมื่อบัวคําเพอฝนถึงชีวิตที่สมบูรณ หลังทราบวาความเจริญที่ “เขาวา”จะเขามาสูหมูบาน เขาก็เตือนสติบัวคําอยางมั่นใจวาเขาเชื่อเร่ืองชวยตัวเอง และถาตื่นอยูก็ไมมีใครมาเขาฝนได บัวคําและชาวบานเปนตัวแทนของคนซึ่งเช่ือวาความฝนจะนําไปสูโชคลาภ ทีค่าดวาส่ิงศักดิ์สิทธิ์จะบันดาลให ขณะที่คุดไดเรียนรูวา การรอคอยผลตอบแทนโดยไมไดลงมือทําเองนั้นเปนความสูญเปลา เขาจึงเช่ือมั่นการทํามาหากิน เชน ตัดฟนขายดวยตนเองมากกวาการหวังพ่ึงส่ิงศักดิ์สิทธิ์ และหากจะฝนก็ขอฝนดวยตนเอง อันเปนการเสนอทัศนะใหมทามกลางความเชื่อในคําโฆษณาเรื่องความเจริญซึ่งไมตางจากความเชื่อในส่ิงเหนือธรรมชาติที่ครอบงําสังคมไทย

Page 36: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

55

นอกจากนี้ ใน “ปลอยนก” (2514) ผูแตงไดช้ีใหเห็นการมุงทําบุญของคนที่เขาไมถึงแกนการทําบุญ การปลอยนกเพื่อสรางความสบายใจ กลายเปนการสนองผลประโยชนของคนขายนกและเปนบุญที่ใชเงินแลกซื้อเอา อีกทั้งช้ีความฉาบฉวยของผูคนที่เรียกวา นักทัศนาจร การปลอยนกปลอยปลาถือเปนการปลอยสัตวจากที่กักขัง หรือใหอิสรภาพ แตหากหวังวาจะสบายใจ ทั้งๆ ที่ทําบาปอยางอ่ืนมากอน ก็นาจะเปนไปไดยาก นอกเหนือจากไมไดเฉลียวใจวา การปลอยนก ซึ่งหมดเรี่ยวแรงและมิอาจใชชีวิตในโลกภายนอก จะถือเปนการทําบุญที่แทจริงหรือไม ผูมาทําบุญขาดความสังเกตและไมไดเวทนาเลยที่มันถูกกักขังอยู “ในกรงไมอันเล็กๆ มีที่วางจํากัด ใหมันหันตัวไปมา แตไมพอสําหรับกระโดดโลดเตนหรือแมแตกางปก เสียงที่รองแหบพรา ไมกังวานแจมใส นัยนตาของมันเซื่องซึม” (59) กิจกรรมปลอยนกจึงสงเสริมการทําลายธรรมชาติของนกที่มีความราเริง อิสระ นกที่ถูกปลอยออกจากกรงแตไมอาจบินไดไกล บงบอกวา การปลดปลอยมิอาจเกิดขึ้นจริงตราบเทาที่ยังมีกรงซึ่งเปนสัญลักษณของการจํากัดอิสรเสรีภาพ สภาพของนกทําใหตัวละครชายไมรูสึกวา การทําบุญดังกลาวชวยใหจิตใจปลอดโปรงอยางที่เพ่ือนสาวบอก เขากลับรูสึกอึดอัด สวนการอธิษฐานขณะทําบุญก็แสดงวา ผูปลอยนกหวังผลตอบแทนจากการทําบุญ การปลอยโดยตองกักขังเสียกอนจึงเปนสิ่งที่นาเยยหยัน ขณะที่มนุษยแสวงหาวิธีการทําบุญตางๆ แตกลับละเลยเพื่อนมนุษยที่ตกทุกขไดยาก เกิดคําถามขึ้นมาวา ระหวางการเขาวัดทําบุญกับการชวยเหลือเพ่ือนมนุษยที่เปนทุกข ส่ิงไหนชวยใหเปนสุขกวากัน อาการปราศจากความสุขหลังปลอยนกของตัวละครชายนาจะกระตุนใหผูอานเกิดสํานึกตอความหมายที่แทจริงของการทําบุญ ความตัดกันของความสนุกสนานของคนหนุมสาวที่ไปทัศนาจรกับภาพชีวิตของคนยากไรบริเวณวัด ชวนใหคิดวา วัดกลายเปนสถานที่แสวงหาปจจัยยังชีพของขอทาน วณิพก โดยคาดหวังความอยูรอดจากการทําบุญของผูอ่ืนที่มุงผลบุญ ตางฝายไมไดมีความสัมพันธกันอยางแทจริง 3.2 ศักยภาพของคน นิคมไดแสดงทัศนะเกี่ยวกับปญหาของคนผานความคิดและพฤติกรรมตัวละคร ทั้งสวนที่เกิดจากความออนแอภายในและปจจัยทางสังคมอยางหลากหลาย แตกระนั้น นิคมยังมองโลกในแงดีวา คนมีศักยภาพในการขจัดความขลาดเขลาเพื่อดํารงอยูอยางรูเทาทันโดยการเรียนรูชีวิต เรียนรูธรรมชาติและสังคม ศักยภาพของคนที่วิเคราะหไดจากเรื่องสั้นของนิคม รายยวา ในชวงป 2510 – 2516 ไดแก การตอสูกับอํานาจฝายต่ํา การเรียนรู ความเปนตัวของตัวเอง และการขบคิดและการใชเหตุผล 3.2.1 การตอสูกับอํานาจฝายต่าํ ใน “ศึก” (2512) นิคมไดแสดงการตอสูภายในจิตใจของสีเทิ้ม ตัวละครที่มีแรงกระตุนจากเพื่อนใหหวนกลับไปกระทําผิด เขาตองตอสูระหวางความตองการเงินกับสํานึกที่

Page 37: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

56

จะเลิกประพฤติช่ัว เขาพยายามสลัดความคิดฝายต่ําที่จะขโมยเงินลุงบุญปลูกเพ่ือหนีไปตางจังหวัดกับเพื่อน เมื่อคิดวาอาจจําเปนตองปองกันตัวหากลุงบุญปลูกจับไดและแกสู เขาก็ไมสบายใจ แทที่จริง ส่ิงที่เขาตองตอสูไมใชคําชักชวนของเพื่อนแตเปน “ความตองการลึกลับที่แฝงอยูเสมอ” และเขาก็แพมันอยูเสมอดวย แตคราวนี้สีเทิ้มคิดหนักกวาทุกคราว ดังปรากฏในบทประพันธวา

...สีเทิ้มพยายามขมประสาท แตไมอาจหลับ ความคิดที่เคยผุดขึ้นครั้งหนึ่งหวนกลับมาหลอนอีก เขารูสึกอึดอัดกระสับกระสาย

“อยาไปคิดอยางนั้น” เขาพร่ําบอกตัวเอง “เราตองไมทําอยางนั้น” “เราตองเคารพแก” เขาพูดกับตัวเอง “ตองดีตอลุงบุญปลูก เราทํา

อยางนั้นไมได วันพนโทษแกยังไปรับเราถึงประตูเรือนจํา แกรักเราเหมือนลูก”

…………. “เราไมตองทํารายแกก็ได” สีเทิ้มบอกตัวเอง “เราเอาเฉพาะเงินอยาง

เดียวก็พอ” “แตถาแกสูละ” อีกใจหนึ่งถาม “แกไมสูหรอก” เขาแกตัว “แกตองสูแนนอน “แกมีดาบอยูขางตัวดวย” “ถาอยางนั้นก็จําเปน” ใจหนึ่งบอก “เราตองปองกันตัว แทงสักทีก็คงอยู” “อยาคิดอยางนั้นเลยนา” “คราวกอนติดคุกก็เพราะเรื่องอยางนี้ เรานาจะเลิกไดแลว”

…………. “อยางนอยเราตองเห็นแกพอ เขาอุตสาหฝากเราไวกับลุงบุญปลูก

แลว” …………. “เราตองไมทาํอยางนัน้อีก” (40 – 41)

จิตใจของสีเทิ้มวุนวาย เพราะ“ความคิดเกา” ที่เขาพยายามสลัดทิ้ง เขามารบกวนคราวนี้เมื่อคิดไดวาจะ “ตองไมทํา” อยางเดิมอีก เขาก็ยังคิดถึง “จระเข” ดวยความหวาดกลัว การพยายามเอาชนะความชั่วของสีเทิ้มเปนสิ่งที่ผูอานเอาใจชวย เพราะแสดงวาเขาไมใชคนเลวรายเสียทีเดียว การขับเคี่ยวตอสูของความคิดสองฝายอยางหนักหนวง ชวนใหติดตามวา เขาจะเอาชนะความคิดชั่วรายไดหรือไม อยางไร ความสํานึกในบุญคุณของลุงบุญปลูก ซึ่งบรรเทาความปนปวนของความคิดที่กอตัวในจิตใจ ช้ีวา ความกตัญูเปนเกราะปองกันมนุษยใหรอดพนจากการรุกเราของอํานาจ

Page 38: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

57

ฝายต่ํา สีเทิ้มพยายามขมความอยากที่กอตัวภายในใจ แตไมสําเร็จ ความหวาดกลัวตอความคิดฝายต่ํา แสดงออกเปนความหวาดผวาจนเพื่อนรวมทางตกใจ แตมีลุงบุญปลูกคอยปลอบใจ

ความขัดแยงภายในของสีเทิ้มเปนปจจัยใหผูอานรับรูความรูสึกนึกคิดของ ตัวละครที่ทวีความเขมขนจนถึงจุดที่สีเทิ้มเขาใจวาตนเปนคนออนแอและตองแกไขใหได ดังที่วา

สีเทิ้ม ลืมตาโพลงในความมืด พยายามคิดในทางที่ดี เขาอยากใหคนรักแตมักจะทําตรงขามเสมอ เขาเกลียดมัน แตแพมัน เขาออนแอเกินไป

“คราวนี้เราตองชนะ” สีเทิ้มบอกตัวเอง “เราจะไมออนแออีกตอไป” ไมนานความรูสึกอยากก็เกิดขึ้นมาอีก เขาสลัดหัว “อายเข” เขาพูด

เบาๆ ขณะคิดถึงความโหดรายของจระเข “ออกไปใหพน” (42 – 43) (เนนโดยผูวิจัย)

การที่เขาทําความรูจักตัวเองและรูขอออนดอยของตน นับเปนการตั้งตนที่ถูกตอง ความตั้งใจอยางแนวแนวาจะเอาชนะความออนแอ เปนความหวังสูงสงทามกลางการคุกคามของ “เสียงจระเขฟาดหางดังสนั่นในความรูสึกตลอดเวลา” (43) อํานาจลึกลับนี้ทาทายความแข็งแกรงภายในจิตใจของตัวละครวาจะยืนหยัดตอสูหรือยอมจํานน สีเทิ้มเอาชนะอํานาจฝายต่ํา ดวยการชวยลุงใหพนจากการถูกซุงหนุนกระแทกเพราะเสียหลักลงไปในแมน้ํา นั่นเปนเพราะความรักอยางแทจริง ซึ่งเปนเหตุใหสีเทิ้มถูกซุงกระแทกเทาจนแหลกและซุงยังดึงเขาใหจมน้ําลงไปทีละนิด สีเทิ้มตอสูกับกระแสน้ําที่ดึงใหเขาจมลึกลงไป แตกระนั้นเขาก็ยังมีสติพอที่จะตัดสินใจบางอยาง เมื่อเรือลองใกลมุมโคงอาจชนตลิ่งจนพลิกคว่ําได เขาจึงตัดสินใจ “ฟนฉับลงบนขอเทาของตัวเอง ตรงสวนที่ถูกหนีบ ปากก็พรํ่าพูดไมเปนจังหวะ “อายเข” เขาตะโกน “จะมาดึงขาลงน้ําอีกหรือ” (45) การกระทําของเขาสรางความตระหนกแกเพ่ือนรวมทางอยางย่ิง การเอาชนะอันตรายแหงชีวิตดวยความตั้งใจมั่นและ เด็ดเดี่ยว พิสูจนวา สีเทิ้มเอาชนะความคิดชั่วรายของตนไดอยางนาช่ืนชม แมการตอสูตองแลกกับความเจ็บปวดและการสูญเสียเทา แตสีเทิ้มไดแสดงพลังแข็งแกรงดวยการเอาชนะตนเองไดอยางเต็มภาคภูมิ 3.2.2 การเรียนรู การตอสูของตัวละครใน “มากับลมฝน” (2512) ประสบความลมเหลวเพราะมีอคติปดกั้นปญญา ถึงกระนั้นผูอานก็ไดประจักษวาความรูที่เหมาะสมเปนสิ่งจําเปนสําหรับความอยูรอด ความรูที่สําคัญก็คือ มนุษยเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติแตก็ตองมีความสัมพันธกับมนุษยดวยกัน นอกจากนี้ใน “ฝนแลง” (2516) นิคมก็ไดแสดงความเชื่อมั่นตอสติปญญาที่จะกําหนด

Page 39: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

58

วิธีการและเปาหมายที่คนเราควรยึดถือ แทนที่จะปลอยตนใหหลับใหลกับความงมงาย ไมวากับส่ิงเหนือธรรมชาติหรือการพัฒนาจากรัฐ การเรียนรูความหมายชีวิตเมื่อประสบอันตรายจากธรรมชาติของตัวละครใน “มากับลมฝน” (2512) แมจะเกิดขึ้นในวาระสุดทายของชีวิตก็เปนบทเรียนสําหรับผูอาน ตัวละครเอกในเร่ืองนี้ปฏิเสธสังคมของมนุษย เพราะคิดวาการรวมตัวของมนุษยเปนสาเหตุของปญหาทั้งปวง ซึ่งเปนการมองเพียงดานเดียว แมการรับรูในวาระสุดทายจะสายไป แตความเขาใจดังกลาวย้ําความสําคัญของการมองชีวิตอยางรอบดาน ดังที่เพ่ือนของตัวละครเอกซึ่งเปนตัวแทนความคิด ผูแตงกลาวถึงการดํารงอยูของมนุษยในสังคม วา

“ในสังคมแมจะมีปญหาและความบกพรองอยูบาง ผมก็ไมเกลียดชังหรือคิดหลีกหนี เราตองรับรูไว เพราะนั่นเปนสวนหนึ่งของสังคม เปนลักษณะหนึ่งของมนุษย การแกปญหาตองยืนอยูบนพื้นฐานอันน้ีไมใชฝน เราตองอยูเปนสังคม เพราะสิ่งน้ีเองที่ทําใหมนุษยมีวิวัฒนาการเหนือสัตวอ่ืนๆ” (27) (เนนโดยผูวิจัย)

การเผชิญปญหาความบกพรองของสังคมโดยไมหลีกหนี นําไปสูการแกปญหาอยางเขาใจวาปญหาเกิดจากมนุษย การแกปญหาจึงควรเร่ิมที่ตัวมนุษย ซึ่งไมอาจตัดความสัมพันธจากผูอ่ืนได การเสนอความคิดในแงนี้ของผูแตงทวงติงความตองการอิสรภาพอยางสุดโตง และเพอฝนโดยไมคํานึงถึงสภาพจริง การเรียนรูจากความผิดพลาดของคุดใน “ฝนแลง” (2516) โดดเดนในการแสดง คุณคาของมนุษยไดอยางนาช่ืนชม เมื่อขุดพบไหเปลาแลวถูกเพ่ือนบานวิจารณตางๆ นานา คุดไดเรียนรูวาการรอคอยโชคลาภจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์เปนสิ่งที่เปลาประโยชน เขาจึงเช่ือมั่นการทํามาหากินที่อาศัยกําลังแรงกายของตน ดังที่เขากลาวอยางมั่นใจวา

“ฉันเช่ือเรื่องชวยตัวเอง ไมมีใครชวยเราได ถาเราไมชวยตัวเอง” “เราคงตองทํางานหนักมากกวาน้ีอีก” “และตองไมคอยแตบนบานศาลกลาวใหใครเขามาเขาฝน” (102)

(เนนโดยผูวิจยั)

ความเชื่อมั่นในการสรางทําของตนดังกลาว เปนโลกทัศนที่ย่ิงใหญของมนุษยทามกลางกลุมคนที่ใฝใจกับสิ่งเหนือธรรมชาติอยางงมงาย แมวาความฝนชวยปลุกปลอบชุบชูใจของมนุษยใหดํารงอยูในความจริงได แตการยึดความฝนเปนสรณะโดยไมลงมือกระทําและ

Page 40: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

59

รอคอยสิ่งศักดิ์สิทธิ์ถายเดียว ยอมลดทอนศักยภาพของมนุษยอยางรายแรง ความเชื่อมั่นอยางมีเหตุมีผลของคุดนาจะชวยใหผูอานเขาใจปญหาอยางถองแท ถึงกระนั้นการคาดหวังใหชาวบานที่เช่ือตางจากคุดตื่นข้ึนจากความหลับใหลได ก็ตองเกิดจากความตระหนักของแตละคนดวยตนเอง นอกจากนี้ ใน “เชาวันหนึ่ง” (2512) นิคมแสดงความคิดเกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ (งูเจา) อันเปนความเชื่อดั้งเดิมของคนชนบทอีกเร่ืองหนึ่ง แมตัวละครหลักทั้งสาม คือนอม สามี และลุงแมน เปนตัวแทนของคนในสังคมที่หลงเช่ืออยางงมงาย แตการสรางตัวละครทิดลัก ซึ่งเปนความจงใจของผูแตงที่ตองการเสนอความคิดคัดคานการครอบงําของความเชื่อ อันกระตุนใหผูอานไดฉุกคิด นิคมใหทิดลักแสดงความคิดเห็นตอการปลอยงูวา “นาเสียดาย” ดวยเหตุผลวา “ถาลอกหนังขายก็ไดหลายสิบบาท คงคุมคาหานสบาย” (24) คําพูดของทิดลักแสดงความคิดที่สัมพันธกับการดําเนินชีวิต คือ การฆางูเพื่อเอาหนังไปขายมีความหมายทางเศรษฐกิจสําหรับคนยากจนมากกวาการปลอยงูไป ความคิดของทิดลักเปนความคิดที่แปลกแตกตางกับคนสวนใหญในสังคมที่เนนย้ําวา ความคิดบางอยางปลูกฝงใหมนุษยกลัวอยางไรเหตุผล ขณะที่เย้ือนตัวละครใน “ตนทาง” (2516) ไดแสดงทัศนะแยง ทามกลางสังคมที่มีความเชื่ออยางงมงาย ดังเห็นจากสําเริง ซึ่งมีความเชื่อฝงใจท่ีจะมีหนังเหนียวอยางกํานันจึงลอใหเย้ือนยิงตน แลวไมยอมผากระสุนออก เย้ือนเปนตัวแทนของคนเมือง มีวิธีคิดที่แตกตางจาก คนชนบท แตเหตุการณดังกลาวก็มิไดทําใหเย้ือนแปลกใจ เขาเห็นวาคนที่ยอมเสี่ยงอันตรายเพื่อจะอยูไดทนทานมีอยูทั่วไป “ทั้งในปา ในเมือง ในบริษัทธุรกิจ ในสนามรบ ในรัฐสภา” (91) ผูแตงแสดงทัศนะผานเยื้อนที่ปลอยใหคนเหลานี้เส่ียงกับความตาย ดวยการกลาวทิ้งทายอยางทอดถอนใจวา “คนเรานี่ก็แปลก ดูเผินๆ เหมือนกับทุกคนมีทางที่จะเขาใจกันได แตความจริงตางคนตางก็มีกําแพงของตัวเอง ไมมีใครสามารถเขาถึงใครไดจริงๆ เลย” (92) (เนนโดยผูวิจัย) วิเคราะหไดวา การทําความเขาใจกันอยางแทจริงไมใชส่ิงงาย การที่มนุษยมิอาจทําความเขาใจกันไดเพราะแตละคนมี “กําแพงของตัวเอง” นาสนใจวากําแพงที่ ผูแตงกลาวนี้หมายถึงส่ิงใด อาจหมายถึง ความกลัว ความเกลียดชัง ความไมไววางใจ การถือตน ความหลง ฯลฯ เห็นไดวา เร่ืองส้ันของนิคมที่แสดงปญหาความครอบงําของความเชื่อจะมี ตัวละครกลุมหนึ่งที่แสดงศักยภาพการเรียนรูเพ่ือกระตุนเตือนใหผูอานใชปญญา ใชเหตุผลครุนคิดไปกับประเด็นปญหาและการหาทางออก 3.2.3 ความเปนตวัของตัวเอง “ฝนแลง” (2516) โดดเดนในการแสดงความคิดแนวแนของตัวเอก ที่จะดํารงความเปนตัวของตัวเอง นิคมสรางตัวละครที่เรียนรูความผิดพลาดจนเชื่อมั่นในความคิดของตน ที่จะดําเนินชีวิตอยางมีศักดิ์ศรี ถึงแมมีความเปนอยูอยางแรนแคน จนอดไมไดที่จะคลอยตามไปกับความฝน หากสังเกตจะพบวา กอนที่คุดจะไปขุดทองตามความฝนเขาลังเลหลายครั้ง

Page 41: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

60

เพราะเกรงเพื่อนบานเยาะความไรเหตุผลของตน ส่ิงนี้ช้ีวา คุดใสใจตอการวิพากษวิจารณ แตเขากลับเปนคนที่ตอตานความไรเหตุผลมากกวาคนอื่น การหยุดคิดอยางใครครวญที่เกิดขึ้นทั้งกอนขุดไห และการดูของในไหกอนนํากลับบานยอมแสดงความรอบคอบ และมีสติไมหลงยินดียินรายตอส่ิงที่ประสบจนขาดการควบคุม พฤติกรรมของคุดแสดงการใชวิจารณญาณคิดไตรตรองกอนตัดสินใจ ไมปลอยใหอารมณมีอิทธิพลเหนือกวา ดังเห็นจากเหตุการณที่เขาพลาดหวังจากการขุดเจอไหเปลา ในคําบรรยายของผูแตงที่วา

คุดหิ้วไหเปลาไปตั้งไวบนบาน หยิบขวานมาเหน็บที่เอว เหมือนอยางเคย แลวมุงหนาเขาปา เขาตัดฟนมากองรวมกับกองที่ตัดไววันกอน เพ่ือรอบรรทุกเกวียนเขาไปขายในตลาดเมื่อไดมากพอ (98) (เนนโดยผูวิจัย)

คุดรูจักปลอยวางความทุกขและความผิดหวัง จึงอยูกับความจริงและมุงมั่นทํางาน ความพลาดหวังมิไดรบกวนจิตใจของเขา เทาเสียงวิพากษวิจารณของเพื่อนบานตามความเชื่อของพวกเขา ดังคําบรรยายของผูแตงวา

คุดสลัดหัวคลายกับจะใหคําพูดเหลาน้ันหลุดออกไป เขาทําทาเหมือนจะตะโกนอะไรออกมาสักอยาง แตเสียงกลับจมหายลงไปในคอ เขาวางกระบวยและเดินตรงไปยังไหที่ตั้งอยูกลางบาน ดึงขวานจากซอกเอวแลวกระหน่ําลงไปจนสุดแรง (99) (เนนโดยผูวิจัย)

คุดรูสึกคับแคนใจตอคําพูด ซึ่งซ้ําเติมวาตนงมงาย เขารูสึกวาถูกทํารายจิตใจอยางรุนแรง การตัดสินใจทําลายไห ซึ่งเปนสัญลักษณของความงมงาย สรางความตระหนกตกใจแกผูอ่ืนอยางมาก เมื่อคุดปรับเปล่ียนจากการพะวงกับความคิดเห็นของผูอ่ืนมาเปนเชื่อมั่นในความคิดของตน ผูอานก็ไดเห็นพัฒนาการทางความคิดของตัวละครที่แหวกกรอบความคิดของคนสวนใหญ แมชาวบานยอมรับไมไดจนพากันประณามการกระทําของคุดวาเปนสิ่งที่โงเขลา แตคุดกลับโลงใจที่ มิตองพะวงกับเสียงติฉิน ความเชื่อมั่นนี้เกิดขึ้นหลังจากความพลาดหวังและเห็นวากองฟนที่เขาตัดสะสมทุกวันเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจริงโดยมิไดรอใหใครบันดาล แมการกระทําของคุดแปลกแยกจากคนสวนใหญ แตแสดงศักยภาพของมนุษยที่ไมยอมเดินตามคานิยมความเชื่อที่เปนปฏิปกษตอคุณคาชีวิต นับเปนการนําเสนอทัศนะใหมที่เห็นแยงกับคานิยมของสังคม ดวยการมองปญหาอยางมีเหตุผลและกระตุนใหผูอานไดใครครวญเพงพินิจตอไป

Page 42: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

61

เชนเดียวกับทิดลัก ใน “เชาวันหนึ่ง” (2512) ที่แสดงความคิดอันเอื้อตอการดํารงชีวิตยิ่งกวาความเชื่ออยางงมงาย ที่วาการฆางูเพ่ือลอกหนังไปขายนาจะชวยใหครอบครัว คนยากจนมีปจจัยในการดําเนินชีวิต แทนการปลอยงูไปโดยเปลาประโยชน ทั้งๆ ที่เพ่ิงสูญเสียหานที่มีคาทางจิตใจและมีไวเฝาบาน ความแปลกแยกทางความคิดของตัวละครในเรื่องส้ันทั้งสองแสดงความเปนตัวของตัวเองโดยไมพะวงกับสิ่งที่เช่ือตามๆ กันมา 3.2.4 การขบคิดและการใชเหตผุล การพิจารณาสิ่งที่ประสบดวยเหตุผลทําใหตัวละครสามารถแยกแยะสิ่งจริงและส่ิงลวงออกจากกัน ในเรื่องส้ันของนิคมผูอานจะเห็นความครอบงําของความเชื่อดั้งเดิมที่เปนคูขนานกับการขบคิดอยางมีเหตุมีผล ใน “ฝนแลง” (2516) นิคมแสดงใหเห็นวา ตัวละครลบลางความงมงายของตนดวยการเลิกฝนแลวหันมาทุมเทกับการลงมือลงแรง มิใชการรอคอยการบันดาลจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรืออางวา “บุญไมถึง” แลวกราบไหววิงวอนตอไป คุดพูดใหบัวคําฟงเหมือนผูที่คนพบความจริงแหงชีวิต แตบัวคําไมเขาใจสิ่งที่คุดพูด จนถามวา “แกเปนอะไรไปแลวคุด” (102) บัวคําไมเขาใจความหมายของคุดอยางที่คุดเขาใจ เชนเดียวกับที่คุดไมคลอยตามคําบอกเลาของบัวคําเร่ืองความเจริญ ที่จะเขามายังหมูบานของตน คุดกลับคัดคานวา “มีแตไหเปลานะซิ” นั่นหมายความวา การรอคอยความเจริญ ความเพียบพรอมหรือความอุดมสมบูรณมิตางจากการขุดเจอไหเปลา คือเปนสิ่งที่ไมมีอยูจริง หรือไกลเกินจริง หลังจากทําลายไหแลว คําพูดของคุดที่แสดงความประจักษรับรูทางปญญาทําใหความคิดเขาแปลกแยกจากผูอ่ืน การกลาววา “เพราะเราหลับนะซิ เขาถึงไดมาเขาฝน ถาเราตื่นอยู มันก็ไมเปนอยางนี้” (102) แสดงนัยะทางปญญาที่ใหความเขาใจอยางลุมลึกวา การหลับคือภาวะที่ตกอยูในภวังค ปราศจากการพินิจพิจารณา อันงายตอการถูกชักจูง ขณะที่การตื่นคือการรับรูทุกส่ิงอยางดวยความรูสึกสํานึกของตัวเอง เมื่อคนเราตื่น ก็มีสติในการคิดใครครวญ ยากท่ีใครจะหลอกลอได ความคิดที่มีเหตุผลจึงนําไปสูการยืนหยัดตอสูความยากจนอยางมีศักดิ์ศรี ใน “ตนทาง” (2516) ความเชื่อฝงใจเรื่องวิธีการทําใหหนังเหนียวของสําเริง เช่ือมโยงกับการเสี่ยงตอความตายของคนในหลายสถานะวาดํารงอยูเพราะปราศจากความเขาใจกฎธรรมชาติ มนุษยที่ขลาดเขลาคิดเอาชนะธรรมชาติเพ่ือการดํารงอยูเปนนิรันดร ปรารถนาใหตนดํารงอยูเหนือธรรมชาติ จึงเสาะหาส่ิงที่เปนอันตรายเพื่อสรางอํานาจ ตนทางของการแสวงหาอมตะอาจเปนสิ่งเดียวกับปลายทางคือความตาย เพราะวิธีการแสวงหาความเปนอมตะเส่ียงตอชีวิต แทนที่จะฝนกฎธรรมชาติมนุษยนาจะทลายกําแพงซึ่งขังตนเองไวกับความกลัว กําแพงเปนสิ่งที่ขวางกั้นความสัมพันธกับผูอ่ืน จึงเปนตนเหตุของปญหาแตคนก็มองไมเห็น

Page 43: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

62

3.3 คุณคาของความเปนคน แมวานิคมไดแสดงปญหาทั้งที่เกิดจากตัวคนเองและสิ่งแวดลอม แตกระนั้นเขา

ยังแสดงความเชื่อมั่นในศักยภาพการเรียนรู การดํารงตนอยางมีความหมายทามกลางปญหาที่หนักหนวง ศักยภาพมักพัฒนาขึ้นทามกลางปญหาและความผันผวนของชีวิต กลาวคือเมื่อมีความทุกขอันเกิดจากความหยั่งรูจํากัด คนก็ยังมุงฝาฟนอุปสรรค อันแสดงคุณคาของมนุษยที่แสดงวาแมสังคมเลวรายเพียงใด แตคนกลุมเล็กๆ ไมยอมละทิ้งคุณธรรมหรือสัญชาตญาณใฝดีเพ่ือค้ําจุนใหสังคมดํารงอยูได เร่ืองส้ันของนิคมไดทิ้งนัยประหวัดที่ทาทายใหผูอานขบคิดและคนหาคุณคาที่แฝงเรนอยูในเนื้อหาอยางจริงจัง ในหัวขอนี้ผูวิจัยจะแบงเปน 7 ประเด็นคือ ความเห็นอกเห็นใจ มิตรภาพและความเกื้อกูลตอกัน ความรับผิดชอบและความมานะบากบั่น ความรักความเมตตาในครอบครัว ความกตัญูและความกลาหาญ การมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคม การเรียนรูระบบสังคมและการดํารงอยู ความสํานึกเชิงมนุษยธรรม 3.3.1 ความเห็นอกเห็นใจ มิตรภาพและความเกื้อกูลตอกัน ใน “คนบนตนไม” (2510) แมชาวนากลายเปนเหยื่อกระบวนการเอาเปรียบในสังคม และระบบเศรษฐกิจผลักดันใหชาวนา กลายเปนสวนหนึ่งของวงจรแหงการเบียดเบียน แตความเห็นอกเห็นใจและการปลอบประโลมจากเพื่อนบานที่มีชะตากรรมไมตางกัน ก็ชวยผอนคลายความทุกขลงไดบาง สวน “ตนทาง” (2516) แสดงมิตรภาพของคนที่มีความแตกตางทั้งดานความคิดและทัศนะที่มีตอชีวิต เย้ือนเปนคนกรุงเทพฯ ที่ไดรับการศึกษาและมีวิสัยทัศนกวางไกล เขาซ้ือที่ดินปลูกสมในชนบทจึงไดรูจักกับสําเริง ความแตกตางมิไดก้ันมิตรภาพของคนทั้งสอง ความไวเนื้อเช่ือใจซึ่งเปนสิ่งที่หาไดยากในสังคมที่เต็มไปดวยการแขงขันเพื่อความมั่งคั่งทางวัตถุ เปนสิ่งที่ทั้งสองหยิบยื่นใหกันอยางสนิทใจ เย้ือนมีสวนสมซึ่ง “…สําเริงคอยเปนธุระจัดการใหตั้งแตหาซื้อที่ถางปา เพาะกลา ปลูก ใสปุย และคอยดูแลพืชผล” (84) ความชอบพอกันและไววางใจกันของตัวละครทั้งสองเปนลักษณะที่งดงามทามกลางสังคมหวาดระแวง ความเคารพตอกันนี่เองที่ทําใหเย้ือนรูสึกผิดที่ยิงสําเริง (แมไมไดเจตนาก็ตาม) ขณะไปลาสัตวกันในปา เขาจึงพยายามชวยชีวิตสําเริงดวยการพาไปหาหมอ แตความพยายามของเยื้อนไรผลเพราะสําเริงมีความเชื่อที่ฝงใจเกินจะโนมนาวได 3.3.2 ความรับผดิชอบและความมานะบากบัน่ ในเรื่องส้ันของนิคมคุณคาแงนี้ปรากฏคอนขางชัด ทั้งนี้เพราะเรื่องส้ันชุดนี้เนนชีวิตของผูคนในชนบทที่ผูกพันกับธรรมชาติที่ปรวนแปร การตอสูดิ้นรนเพื่อความอยูรอดจึงเปนทางออก ใน “คนบนตนไม” (2510) ชาวนาเปนตัวอยางของหัวหนาครอบครัวที่ขวนขวายแสวงหาหนทางทํามาหากินโดยไมยอมยนระยอตอความยากลําบาก การประสบชะตากรรมจาก

Page 44: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

63

ปจจัยภายนอก อันไดแก ภัยธรรมชาติที่ยากจะเลี่ยง กับการคุกคามเอาเปรียบของผูมีอํานาจ ในขณะที่เขามีเพียง “นาผืนเล็กแปลงหนึ่ง” ซึ่ง “เปนทุกส่ิงทุกอยางในชีวิตของเขาเปนเกราะคุมภัย เปนที่อยูที่กิน…” (9) เปนสมบัติชิ้นเดียวที่มีอยูเพ่ือประทังชีวิตและเลี้ยงชีวิตคนในครอบครัว ประกอบกับปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดซ้ําซากไดทําให “ความเชื่อมั่นในตัวเองของเขาคอยๆ ลดลง…” (10) การทํานาไมไดผล คนในบานเจ็บปวย เปนหนี้เปนสิน ขาดแคลนขาวกิน มิหนํายังถูกพอคากดราคาขาวเวลาขาวผลิตผลดี สิ่งที่ซ้ําเติมอยางหนักหนวงทําใหเขาคิดวาตองหางานเสริมดวยการตัดฟนจากปาหรือเผาถาน การแบกรับภาระครอบครัวมิใชเร่ืองเลนๆ สําหรับผูมีทางเลือกจํากัด เมื่อรูวาผูรับซื้อลูกนกสาลิกาใหราคาดี เขาก็ไมลังเลท่ีจะออกหามาขาย เพราะนั่นคือ ทางเลือกใหมที่สรางความหวังใหเขา คุณธรรมเปนเรื่องที่เขามิไดคํานึงเทาปากทองของคนในครอบครัว การหานกก็ไมงายนักเพราะเขาตองเสี่ยงปนตนไมสูงเพ่ือเอาลูกนกในรังลงมา แตก็ดูจะดีกวาการลงแรงอยางอ่ืน แมการกระทําของเขาเปนการเบียดเบียนชีวิตผูอ่ืน แตความรับผิดชอบตอความหิวโหยของลูกเมียเปนสิ่งที่เขาตองระลึกถึง สภาพบีบคั้นสรางความอึดอัดและความสะเทือนใจแกผูอาน การกระทําของเขาดูสมจริง ในฐานะที่เขาเปนมนุษยคนหนึ่งตองดิ้นรนเพื่อความอยูรอด แตในสวนลึกเขาก็ยังหวังชีวิตที่ ดีงามทางคุณธรรม ดูเหมือนวา เขาก็ยังพอมีสํานึกอยูบาง ดังคําบรรยายวา “เขารูสึกหัวใจเตนแรง ขณะเอื้อมมือเขาไป” ในโพรงไมที่มีลูกนกเล็กๆ สามตัว (13) สวนนอมใน “เชาวันหนึ่ง” (2512) เปนตัวละครที่แสดงความรับผิดชอบในการรับภาระหนาที่ของครอบครัว การแกปญหาครอบครัวดวยตัวเองของนอม แสดงความมานะอดทน และเขมแข็งของผูหญิงชนบทที่แมถูกจํากัดบทบาทใหเปนผูตาม แตมิไดลดละหนาที่ลงไปเลย ใน “ฝนแลง” (2516) ความบากบั่นของคุดที่มีเพ่ือครอบครัวไมตางจากชาวนาใน “คนบนตนไม” (2510) ย่ิงยากไรปจจัยในการดํารงชีวิต ความรับผิดชอบของเขาก็ดูจะยิ่งมากข้ึน ถึงแมพลาดหวังที่ขุดเจอไหเปลา เขาก็ไมไดทอถอยจนหยุดตัดฟน เขายังมุงหนาเขาปาเพ่ือตัดฟนเตรียมขายในตลาด ย่ิงเมื่อเขาตระหนักถึงการเรียนรูความจริง เขาย่ิงตั้งใจมุงมั่นจะทํางานหนักกวาเดิมแทนการรอโชคชะตาบันดาลที่ไมมีจริง 3.3.3 ความรัก ความเมตตาในครอบครัว เร่ืองส้ันของนิคม อาจไมไดแสดงความรักอยางโจงแจง แตคําพูดของตัวละครและอากัปกิริยาในคําบรรยายชี้วา นิคมมิไดละเลยคุณคาที่หลอเล้ียงจิตใจมนุษยในขอนี้เลย ใน “ศึก” (2512) นิคมแสดงคุณคาดานนี้ของมนุษยที่ชวยใหการตอสูของสีเทิ้ม ตัวละครเอกสัมฤทธิ์ผลและประสบชัยชนะ ผูอานไดรับรูวาพอสีเทิ้มเสียชีวิตและฝากฝงเขาไวกับ ลุงบุญปลูกซึ่งใหความเมตตาตอสีเทิ้มไมตางจากลูกของตน แมแกจะเปลี่ยนพฤติกรรมของสีเทิ้ม

Page 45: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

64

ไมได แตการใหโอกาสสีเทิ้มกลับตัวเปนคนดี และการไปรับสีเทิ้มออกจากเรือนจํา มีพลังโนมเหนี่ยวจิตใจของสีเทิ้มใหตระหนักถึงบุญคุณและความเมตตาของแก บทสนทนาระหวางเมียกับลุงบุญปลูกตอไปนี้ก็แสดงวาลุงบุญปลูกเห็นความสําคัญของการใหโอกาสแกผูผิดพลาด

“รูจักทํางานทําการอยางนี้คอยเบาใจหนอย” หลอนเอยขึ้นเบาๆ พลางถอนหายใจ…

“ …ไมรูจะเปนคนดีไปไดสักก่ีวัน…” ………………… “คิดวาเห็นแกพอของมันก็แลวกัน” แกพูด “เราพอจะชวยมันไดก็

ชวย เมื่อกอนจะตายพอของมันอุตสาหออกปากฝากฝงไวแลว” “ถามันกอเร่ืองข้ึนอีก” หลอนเอยปากถามขึ้นดวยเสียงที่มีกังวล “คงไมเปนอยางนั้นหรอก” แกพูด “มันคงรูจักคิดบาง พ่ึงออกจากคกุ

มาหยกๆ อีกวันสองวันก็จะสามสิบอยูแลว” ทั้งๆ ที่พูดออกไปอยางนัน้ แตลุงบุญปลูกก็ไมมีความแนใจอะไรเลย

(35) ตลอดการเดินทางจิตใจสีเทิ้มถูกรบกวนเมื่อความตองการเงินไปตางจังหวัดกับเพ่ือน จนคิดวาจะยอมแมจะตองทํารายลุงบุญปลูก ความโลภกับความสํานึกในบุญคุณของแก ตอสูกันอยางรุนแรง ความหวาดกลัววาความคิดชั่วรายจะครอบงําจิตใจสงผลเปนอาการตื่นตระหนกและตัวสั่น แตมีลุงบุญปลูกคอยปลอบ การเสี่ยงชีวิตชวยลุงบุญปลูกขณะมีซุงขนาบไวจนยอมสูญเสียเทาของตัวเองเพื่อชวยชีวิตลุงบุญปลูก ผัน ปาน และขาวในเรือ สรางความรูสึกตื้นตันแกผูอาน สภาพของสีเทิ้มทําให “…ลุงบุญปลูกรองไห เมื่อเขาไปเห็นรางเขาน่ิงอยูบนเตียง แผลถูกพันดวยผาสีขาว ใบหนาซีดเผือด” (46 – 47) อาการกลั้นน้ําตา กล้ันสะอื้นของลุงบุญปลูกขณะพูดกับสีเทิ้มสรางผัสสะทางอารมณใหไหวสะเทือนพรอมกับความตระหนักในความย่ิงใหญของตัวละคร ใน “ฝนแลง” (2510) คุดและบัวคํามิไดแสดงความรักอยางโจงแจง แตก็พบความหวงใยกันในการแสดงออกในชวงความขัดแยง ดังที่คุดยอมตามบัวคําไปขุดไหทองตามฝนทั้งๆ ที่ยืนกรานจะไมไป

...บัวคํากินขาวอีกสองสามคํา ก็ยกสํารับเขาครัวไปลางเก็บ แลวตรง

ไปหยิบจอบที่พิงอยูขางฝา…

Page 46: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

65

บัวคําคลี่ขอบผานุงออก ขมวดปมใหกระชับเขากับเอว แลวแบกจอบข้ึนบาลงกระไดไปขางลางมุงหนาตรงไปยังรมทุงชายปา คุดยืนนิ่งเฉยครูหนึ่ง จึงกาวลงเรือนตามไป

…เมื่อเขาเดินมาเคียงขาง… เขาฉวยจอบจากหลอนมาแบกแทน... (94 – 95)

พฤติกรรมเล็กนอยที่ดูคลายเปนสิ่งเหลานี้แสดงความใสใจแบงเบาความทุกข คุดเองก็เขาใจความอยากไดทองของบัวคํา นอกจากความสูญเสียลูกเพราะไมมีเงินรักษา อันเปนความสูญเสียที่รุนแรง ทั้งสองคนยังมีหนี้สิน ตองทนหนาวเพราะไมมีเส้ือผาที่หนาพอ หลังคาก็เปอยจนกันฝนไมได จะทํานาก็ตองไปเชาควายคนอื่นมาไถนา (95 – 96) ใน “ส่ิงที่หลอนพอจะทําได” (2515) ตัวละครชายมุงมั่นหาปลา แตพอภรรยาบนปวดหัวก็ปลุกปลอบใจ รับปากจะซื้อยาใหตอนกลับ ละจากการพายเรือมา “ใชชายเสื้อชุบน้ําแนบหนาผากของหลอน” (81) การแสดงความรักความหวงใยที่มีตอกันทั้งที่อยูทามกลางความ ตึงเครียดของบริบทโนมนําใหผูอานรูสึกรวม และเช่ือมโยงไปถึงความรักระดับมนุษยชาติที่คนทั้งสองเห็นใจในชะตากรรมของผูบริสุทธิ์ในประเทศเพื่อนบานที่ถูกภัยสงครามคุกคาม 3.3.4 ความกตญัูและความกลาหาญ สีเทิ้ม ตัวละครใน “ศึก” (2512) เปนตัวละครที่แสดงคุณคาขอนี้ไดอยางนาช่ืนชม การตัดเทาตัวเองทิ้งหลังจากเสี่ยงชวยชีวิตลุงบุญปลูกผูดูแลตนแทนพอ เปนการกระทาํขณะตอสูกับความคิดฝายต่ํา การตัดสินใจเด็ดเดี่ยวอันเปนผลมาจากความมีสติปรากฏในคําบรรยายของผูแตงวา “เขาขบกรามแนน หนาตาถมึงทึง พยายามตอสูจนสุดขีดกับความเจบ็ปวด เรือลองใกลตรงมุมหักโคงของสายน้ําเขาไปทุกที ถาปลอยไปตามยถากรรมแบบนี้ คงถูกสายน้ําพัดชนตลิ่งพลิกคว่ํา” (45) เขาจึงใชมีดดาบฟนบนขอเทาเพ่ือความปลอดภัยของทุกคน นับเปนความกลาหาญที่ยอมเจ็บปวดเพื่อผูอ่ืน 3.3.5 การมีจิตสํานึกรับผดิชอบตอสังคม ปฏิเสธไดยากวา เร่ืองส้ันของนิคมซึ่งเขียนในยุคแสวงหาจะเลี่ยงบรรยากาศทางสังคมและการเมืองไปได โดยเฉพาะความคิดสํานึกขบถของคนรุนใหมที่คัดคานคานิยมเดิม การนําเสนอความคิดดังกลาวในเรื่องส้ันชุดนี้ มีเสนหตรงที่ผูอานตองคนหาความหมายที่แฝงเรนลึกซึ้งกวางานที่เสนอภาพสังคมอยางผิวเผิน ใน “ปลอยนก” (2514) นิคมไดกระตุนสํานึกรับผิดชอบตอสังคม โดยนอกจากจะสรางความตัดกัน ระหวางความสนุกสนานของคนหนุมสาวนักทัศนาจร กับความทุกขของคนยากไร ขอทาน ในบริเวณวัดก็ยังแฝงการวิพากษตอการ “ทําบุญ”ที่ไรสาระทั้งการปลอยนกและการทําทานของคนหนุมสาวเหลานั้น

Page 47: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

66

ตัวละครชายเปนตัวแทนของผูแตงที่ส่ือสารวา การปลอยนกและการอธิษฐานไมทําใหเขาสบายใจเพราะเปนสิ่งหลอกลวงตางจากความคิดของตัวละครหญิงที่วา ปลอยนกแลวจิตใจจะดีข้ึน (60) และอธิษฐานทําใหใจสบาย (61) ซึ่งเปนความคิดพื้นๆ ของคนในสังคม การประจักษแจงของตัวละครชายที่เห็นวา การปลดปลอยมิอาจเกิดขึ้นถายังมีกรงเปลารอขังนก ชวนใหผูอานคิดเชื่อมโยงกับการชวยเหลือขอทานดวยการใหทาน ซึ่งมิอาจชวยคนเหลานั้นใหพนจากความทุกขอยางแทจริง หากกรง หมายถึง กรอบแหงการกักขังเพ่ือพิธีกรรมที่เรียกวา “บุญ” อยางหลอกลวง วิธีการแกปญหาก็ไมใชเพียงการปลดปลอยชีวิตจากการกักขังเพ่ือผลประโยชนของผูปลอย แตตองกระทําดวยการทําลายการกักขังอยางถาวร บทบาทของชายหนุมที่เปนตัวแทนความคิดนี้ สอดรับกับความคาดหวังใหคนหนุมสาวเปนผูนําทางความคิดในสังคมดวยความเขาใจปญหาสังคมอยางแทจริง คําพูดของหญิงสาวหลังฟงเพ่ือนชายกลาวถึงการปลดปลอยดวยการพังกรง วา “เธอบาแน…ยังไมมีใครเคยทําอยางนั้น ถาทําเธอตองบาแน” (61) เปนการปฏิเสธความคิดที่มิเคยไดยินไดฟงหรือไดรับการปลูกฝงมากอน ในมุมกลับผูอานจะคิดไดวาการปลดเปลื้องความหลงที่ครอบงําคนสวนใหญเปนส่ิงจําเปน นาสนใจที่นิคมปดเรื่องดวยการบรรยายภาพเด็กขอทานที่มีสภาพไมตางจากตอนที่นักทัศนาจรเดินทางมาถึงวา “มือขวาถือจานที่สกปรกปราศจากเมล็ดขาว ในนั้นมีเหรียญสลึงอยูอันหนึ่ง ดวงตาที่ฝงอยูในเบากลวงลึกนั้นไรประกายอยูอยางเดิม” (62- 63) การแสดงน้ําใจดวยการใหเหรียญสลึงชวยเหลือขอทานเปนการชวยเหลือที่เปลาประโยชน และสรางความขมขื่นแกผูรับ เนื่องจากปจจัยแคนั้นมิไดชวยใหทองอ่ิม การแกปญหาจึงควรแกที่สาเหตุคือระบบสังคมเศรษฐกิจที่เปนตัวการของความเหลื่อมล้ําในสังคม 3.3.6 การเรียนรูระบบสังคมและการดาํรงอยู ใน “มากับลมฝน” (2512) ผูแตงใชเพ่ือนของตัวละครเอกสื่อความคิดอยางเขาใจการดํารงอยูของสังคมมนุษย ช้ีใหยอมรับความเปนสังคมของมนุษยและปญหาในสังคม โตแยงความคิดตอตานสังคมอยางสุดโตงของตัวละครเอก การแสดงทัศนะของผูแตงผาน ตัวละครนี้ เปนความจงใจซึ่งมีน้ําหนักหักลางอคติตอสังคมไดอยางมีเหตุผล ทั้งนี้มิไดหมายความวา ผูแตงจะเห็นดวยกับกฎระเบียบของสังคมทุกอยาง แตความหวังวาการรวมตัวจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงก็เปนการมองโลกในแงดี ดังที่เพ่ือนของตัวละครเอกกลาววา

“จําเปนที่มนุษยตองอยูรวมกันเปนหมู ระบบเกิดขึ้นเพราะมีสังคม เราตองปรับตัวใหเขากับคนอื่น ไมใชปลีกตัวออกหาง ถาทุกคนตางแยกกันอยู ตัดขาดจากกัน ทุกสิ่งก็จะคงที่จะไมมีการเปลี่ยนแปลง” (27) (เนนโดยผูวิจัย)

Page 48: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

67

ความคิดขางตนนี้ เปนไปไดวาแฝงทัศนะของผูแตงในแงที่ช้ีใหเห็นพลังของการรวมกลุมอันเกี่ยวเนื่องกับการขับเคลื่อนตอไปขางหนา เปนที่ทราบวาสมัยเปนนักศึกษานิคมเปนสมาชิกกลุมพระจันทรเส้ียว ที่มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนทัศนะตอสังคมและวรรณกรรมอยางกวางขวาง และอาจเล็งเห็นวา การรวมกลุมเพื่อนําเสนอความคิดใหมตอสังคมชวยใหสังคมดํารงอยูได และการชวยแกปญหาสังคมเปนสิ่งที่จําเปนในยุคสมัยนั้น นอกจากนี้ ตัวละครยังช้ีแนะความสําคัญของการเผชิญลักษณะของสังคมทุกดาน วาเปนพื้นฐานของการแกปญหา

“ในสังคมแมจะมีปญหาและความบกพรองอยูบาง ผมก็ไมเกลียดชังหรือคิดหลีกหนี เราตองรับรูไว เพราะนั่นเปนสวนหนึ่งของสังคม เปนลักษณะหนึ่งของมนุษย การแกปญหาตองยืนอยูบนพื้นฐานอันนี้ ไมใชฝน เราตองอยูเปนสังคม เพราะสิ่งน้ีเองที่ทํา ใหมนุษยมีวิวัฒนาการเหนือสัตวอ่ืนๆ” (27) (เนนโดยผูวิจัย)

ทัศนะที่ช้ีวา ปญหาหรือความบกพรอง เปนสวนหนึ่งของสังคม และการรับรูความจริงขอนี้ชวยใหมนุษยรับมือกับปญหาที่อาจเกิดขึ้นกับตนได ก็เปนการแกปญหาบนพื้นฐานความจริง ความเห็นวา “เราตองอยูเปนสังคม เพราะส่ิงนี้เองที่ทําใหมนุษยมีวิวัฒนาการเหนือสัตวอ่ืนๆ” เปนวาทะที่แสดงคุณคาของความสัมพันธระหวางมนุษย สอดคลองกับการประจักษของตัวละครเอกที่คนพบในทายสุดวา มีเพียงสังคมมนุษยเทานั้น ที่มีการชวยเหลือเก้ือกูลตอกันยามเผชิญหายนะ การเผชิญชะตากรรมเพียงลําพังเปนสิ่งที่ชวนหดหูใจเพราะหมูสัตวหลายชนิดมิไดชวยใหเขารอดพนจากความเจ็บปวดอันเกิดจากพิษงูไดเลย ความรูสึกเปนมิตรหรือความเห็นอกเห็นใจดูจะเปนคุณธรรมขั้นสูงที่คนเทานั้นสามารถมีได นิคมสื่อทัศนะนี้แกผูอาน ในชวงที่มีความตื่นตัวทางการเมืองและนักศึกษาเร่ิมตน ตั้งคําถามตอบทบาทหนาที่ของตน และการแสวงหาความหมายที่แทจริง ความผิดพลาดของตัวละครนับเปนการเตือนสติผูที่ยึดความคิดทางอุดมการณ จนอาจละเลยความเปนจริงของสังคมและชีวิตให ยอมรับความบกพรองของสังคมอันเกิดจากคนอยางรูทัน และมิดวนสรุปสิ่งที่ตนไมเห็นดวยอยางมีอคติ 3.3.7 ความสํานึกเชิงมนุษยธรรม ความสํานึกนี้เปนสิ่งที่ช้ีถึงความสํานึกรวมอันยิ่งใหญที่มนุษยมีใจเผื่อแผตอกัน โดยไรเสนแบงทางชาติพันธุ

Page 49: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

68

ใน “ส่ิงที่หลอนพอจะทําได” (2515) ตัวละครมีอาการปวดหัวอยางรุนแรง อาการดังกลาวมิอาจใชยาแกปวดบรรเทาได ในบทสนทนาผูอานถูกกระตุนใหคิดตีความวา อาการปวดหัวอยางมากเปนเรื่องผิดปกติ คําพูดของตัวละครที่วา เธอไมไดปวดหัวเพราะแดด ทําใหผูอานตองคนหา สาเหตุของอาการที่ยาแกปวดมิอาจแกได ถึงแมวาใครๆ แถวนี้เจอแดดรอนก็ปวดหัวกันทั้งนั้น การฉายภาพสลับไปมาระหวางอาการทรมานของตัวละครหญิง และการทิ้งระเบิดปูพรมทําลายอยางโหดเหี้ยมในสงครามเวียดนาม ทําใหผูอานเชื่อมโยงไดวาอาการปวดหัวของตัวละคร เกิดจากความสะเทือนใจเพราะสิ่งที่ประสบอยูทุกเมื่อเช่ือวันในสายน้ําแหลงทํามาหากิน เปนศพที่ลอยตามน้ํามา สงครามในดินแดนเพื่อนบานทําลายความเปนปกติของชีวิต ความทุกขของคนอื่นไมใชส่ิงที่ ตัวละครสามารถวางเฉยได เธอกลาววา “ในปาทึบลึกเขาไปทางฝงมหาสมุทรดานโนน ความทุกขเข็ญมีมากมายกวาที่น่ีหลายเทา...” (81) (เนนโดยผูวิจัย) การที่คนธรรมดาสามัญหวั่นวิตกและหวาดกลัว รวมกับผูประสบสงครามอยางหนักหนวงบงบอกความออนไหวดวยความเมตตากรุณาอันเปนคุณธรรมสําคัญของมนุษย อีกทั้งทวงถามคุณธรรมนี้จากมหาอํานาจผูกระทําการคุกคามชีวิตผูอ่ืน ซึ่งไมวาจะดวยเหตุผลอยางใด ก็ไมนาจะมีความชอบธรรม สวนใน “ความเปลี่ยนแปลง” (2514) นิคมแสดงความเห็นแกตัวของคนที่แสวงหาประโยชนดวยการเบียดเบียนสัตวอยางไรจริยธรรม เช่ือมโยงกับความโหดรายในสงครามเวียดนามดวยการแทรกบทบาทพอของวิทยที่จดจอกับขาวการรบในเวียดนาม อาจตีความไดวามีการเบียดเบียนกันทุกระดับดวยสมุฏฐานเดียวคือความโลภและการถือสิทธิวามีอํานาจเหนอื สรุปไดวา เร่ืองส้ันของนิคมในยุคแสวงหาป 2510 – 2516 เอาใจใสตอปญหาของคน ศักยภาพของคน และคุณคาของคน โดยชี้วาปญหาของบุคคลเกิดจากปจจัยทางสังคมและความออนแอภายในของมนุษย ทั้งนี้ความยากจนเปนปญหาพื้นฐานที่มีผลตอการตัดสินใจแกปญหาของบุคคลซึ่งถูกบีบคั้นจากสภาพสังคมและเศรษฐกิจ ตัวละครในบางเรื่องยอมจํานนตอเง่ือนไขของสังคม เชน “คนบนตนไม” ขณะที่ตัวละครบางเรื่องยืนหยัดตอสูอยางมีศักดิ์ศรี เชน “ศึก” และ “ฝนแลง” ตัวแปรของพฤติกรรมก็คือความแข็งแกรงทางจิตใจและมโนธรรมของแตละบุคคล นิคมเห็นวาปญหาความยากจนเปนขอจํากัดที่กอใหเกิดความทุกข และทําใหคนตองดิ้นรนเพื่อความอยูรอดจนอาจทํารายผูอ่ืนอยางไมทันคิด นอกจากคนจนตองเผชิญปญหาธรรมชาติไมเอ้ืออํานวย ความบกพรองระดับโครงสรางของสังคม การเอารัดเอาเปรียบของคนดวยกันก็ย่ิงซ้ําเติมปญหาใหหนักหนวงข้ึน นิคมเห็นวาในสังคมที่ผูปกครองและองคกรของรัฐไมไดกระทําหนาที่อยางเหมาะสมผูคนยอมขาดหลักประกันในชีวิต เขาไดแสดงปญหานี้หลายระดับตั้งแตในสังคมเล็กๆ จนถึงการคุกคามของมหาอํานาจขามทวีป นอกจากปจจัยภายนอกจะสรางขอจํากัดแกมนุษยแลว นิคมชี้วาความออนแอภายในก็ทําลายความเปนมนุษยลงไดไมย่ิงหยอนไปกวากัน ความบกพรองดานจริยธรรมของ

Page 50: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

69

บุคคล เชน การขาดเมตตากรุณาเพราะความโลภเปนที่มาของความโหดราย ดังปรากฏใน เร่ืองส้ัน “ความเปลี่ยนแปลง” ขณะเดียวกันความไมเขาใจตัวเองซ่ึงเปนสิ่งเดียวกับความไมเขาใจระบบธรรมชาตินั้น ก็สรางหายนะแกมนุษยได ดังเห็นจาก “มากับลมฝน” ในเรื่องเดียวกันนี้นิคมไดเสนอทัศนะที่แยงกับคนในยุคแสวงหาที่มักแปลกแยกกับสังคม โดยชี้วา การหลีกหนีปญหาหรือปฏิเสธสังคมมิใชทางออกของปญหา นิคมโตแยงการยึดมั่นความคิดใดความคิดหนึ่งอยางสุดโตง โดยไมคํานึงถึงสภาพจริงของสังคม ความคิดดังกลาวแสดงวาผูแตงคาดหวังวาผูอานเขาใจชีวิตและแสวงหาหนทางปรับตัวเขากับผูอ่ืน โดยมีศรัทธาวาสังคมมนุษยยังดํารงอยูไดดวยคุณธรรม แมนิคมแสดงขอจํากัดของคนอยางหลากหลาย แตเขายังมองโลกในแงดีวาคนมีศักยภาพในการขจัดความขลาดเขลาเพื่อดํารงอยูอยางรูเทาทัน โดยอาศัยการเรียนรูชีวิต ธรรมชาติ และสังคม ศักยภาพของคนที่ปรากฏในเรื่องส้ันยุคแสวงหานี้ ไดแก การตอสูกับอํานาจฝายต่ํา ภายในจิตใจ การเรียนรู และการเปนตัวของตัวเอง นิคมยืนยันวาความรูที่เหมาะสมเปนสิ่งจําเปนสําหรับความอยูรอด ความรูที่สําคัญก็คือ คนเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ และตองมีความสัมพันธกับคนดวยกัน เขาเชื่อมั่นในสติปญญาที่จะกําหนดวิธีการและเปาหมายที่ควรยึดถือแทนที่จะปลอยตนใหหลงใหลไปกับความงมงาย ไมวาจะเปนสิ่งเหนือธรรมชาติหรือการพัฒนาจากรัฐ นิคมชี้วา ความเชื่อมั่นในแนวทางของตนทามกลางสังคมที่หลงเช่ือส่ิงไรเหตุผลเปนสิ่งจําเปน อีกทั้งผูที่ตอตานคานิยมที่เปนปฏิปกษตอคุณคาของชีวิต อาจตองมีทัศนะใหมที่เจาะลึกจนเห็นตนตอของปญหา การมองปญหาอยางมีเหตุมีผลของตัวละคร เชนใน “ปลอยนก” และ “ตนทาง” กระตุนใหผูอานไดเพงพินิจความจริงที่อาจถูกมองขาม แมนิคมแสดงปญหาของคนทั้งที่เกิดจากตัวเองและสิ่งแวดลอม แตกระนั้นเขาก็ยังมีความเชื่อมั่นในศักยภาพการเรียนรู การดํารงตนอยางมีความหมายทามกลางปญหาที่ หนักหนวง กลาวไดวา เมื่อมีความทุกขซึ่งเกิดจากความหยั่งรูอันจํากัด ความมุงมั่นฝาฟนอุปสรรคก็แสดงคุณคาที่วา แมสังคมเลวรายเพียงใดแตคนกลุมเล็กๆ ไมยอมละทิ้งคุณธรรมหรือสัญชาตญาณใฝดีเพ่ือค้ําจุนใหสังคมดํารงอยู เร่ืองส้ันในยุคแสวงหาของนิคมเนนชีวิตของคนในชนบทที่เผชิญกับธรรมชาติและระบบสังคมที่ไมเก้ือกูล การตอสูดิ้นรนเพื่อความอยูรอดประกอบกับความมั่นใจในคุณธรรมจึงเปนทางออกที่สําคัญ ดังวิเคราะหไดวาคุณคาของคนที่ปรากฏในเรื่องส้ันยุคแสวงหา ไดแก ความเห็นอกเห็นใจ มิตรภาพ และความเกื้อกูลตอกัน ความรับผิดชอบและความมานะบากบั่น ความรัก ความเมตตาในครอบครัว ความกตัญูและความกลาหาญ และการมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคม การที่นิคมชี้วาการมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคมเปนคุณคาของคน อาจอภิปรายไดวา เร่ืองส้ันของนิคม ซึ่งเขียนในยุคแสวงหายากจะเลี่ยงขอถกเถียงทางสังคมและการเมืองไปได โดยเฉพาะความสํานึกขบถของคนรุนใหมที่ไมเห็นดวยกับคานิยมเดิม แมนิคมเคยวิจารณการสรางงานของตนเองวา งานในชวงแรก เขาเขียนโดย “ใชความรูสึกนึกคิดของ

Page 51: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

70

ตัวเอง ตัดสินอะไรก็คิดไปโดยไมมีฐานความจริงรองรับ” เทาใดนัก (“นิคม รายยวา”, 2531 : 13) แตเมื่อพิจารณางานเขียนของนิคมในยุคแสวงหา ผูอานก็จะพบวา เขาไมไดแสดงทศันะเพือ่ช้ีนําหรือปลุกระดมใหผูอานรู สึกเปนขบถอยางสุดโตง การเสนอความคิดของนิคมผานวรรณกรรม มีเสนหตรงที่

ตองคนหาความหมายซอนเรนมากกวาการบอกกลาวอยางโจงแจง เร่ืองส้ันบางเรื่องกระตุนคนหนุมสาวใหสนใจปญหาสังคมไดอยางแยบคาย และมีพลังปลุกเราใหผูอานตระหนักถึงหนาที่ตอสังคมเพื่อยกระดับคุณคาของบุคคลและสังคมที่ลุมลึกกวาปญหาปากทอง นอกจากนี้เขายังมีความหวังในสังคมมนุษย เรื่องสั้นในยุคศัตรูที่ลื่นไหล (2525 – 2527) 1. บริบททางสังคมและวฒันธรรม ระยะเวลาในป พ.ศ. 2516 จนถึง ป พ.ศ. 2519 เรียกไดวา เปนชวงที่ประชาชนไทยมีความสํานึกทางการเมืองสูง ประชาชน นิสิตนักศึกษารวมกันเรียกรองอํานาจอธิปไตยจากรัฐบาลเผด็จการในเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 หลังจากนั้นก็ไดรับสิทธิเสรีภาพทางการเมือง ตามรัฐธรรมนูญที่รางข้ึนในป 2517 แตผูสูญเสียอํานาจทางการเมืองก็พยายามตอตานความเปลี่ยนแปลงดวยวิธีการตางๆ ทั้งทางสื่อวิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ บัตรสนเทหขมขู และการกอตั้งหนวยงาน เชน นวพล 1กระทิงแดง 2ลูกเสือชาวบาน 3 โดยใชการ “ปลุกผีคอมมิวนิสต” โจมตีฝายตรงขาม

1 นวพล เปนหนวยสงครามจิตวิทยา ท่ีรวบรวม คหบดี นายทุน ภิกษุท่ีไมอยากเห็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมตอตานพลังนักศึกษา กรรมกร ดวยการปลุกปนวาหากมีการเปลี่ยนแปลงทรัพยสินของบุคคลเหลานี้จะสูญหาย คนกลุมนี้ใชการประชุม ชุมนุม เขียนบทความเปนเครื่องมือ 2 กระทิงแดง เปนหนวยงานที่ฝายทหาร กอ. รมน. (กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในประเทศจัดตั้งขึ้นจากนักเรียนอาชีวะ ตั้งแตกลางป 2517 เพ่ือหักลางพลังนักศึกษา ฝายทหารกอ. รมน.เปนผูจัดตั้ง ฝกอาวุธ นําอาวุธมาให และสนับสนุนเงินเลี้ยงดูจากเงินราชการลับ หนวยกระทิงแดงพกพาอาวุธปน ระเบิดไดอยางเปดเผย โดยไมมีตํารวจจับกุมหรือหามปราม แมกลุมนักศึกษาจะเรียกรองโดยสันติวิธี ก็มักถูกหนวยกระทิงแดงตอตาน ขมขูดวยอาวุธ จนมีผูบาดเจ็บลมตายเสมอ (เก็บความจาก ปวย อ๊ึงภากรณ, 2541 : 61,63) 3 ลูกเสือชาวบาน จัดตั้งเพ่ือชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย มีวัตถุประสงคจะไมเก่ียวของกับการเมือง แตแทจริงเปนเครื่องมือทางการเมืองของกลุมนายทุนขุนศึก ดังปรากฏในการเลือกตั้ง 2519 ท่ีชักจูงใหชาวบาน และสมาชิกเลือกตั้งแบบลําเอียงโดยใชความเท็จเปนเครื่องมือ กระทรวงมหาดไทยมีสวนสําคัญในการจัดตั้งลูกเสือชาวบาน และมักใชคหบดีเปนผูออกเงินและเปนหัวหนาลูกเสือ (เก็บความจาก ปวย อ๊ึงภากรณ, 2541 : 63)

Page 52: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

71

วา ไมรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย (ปวย อ๊ึงภากรณ, 2541 : 50 – 51) ในขณะที่นักศึกษาเริ่มเห็นวาประชาธิปไตยไมสามารถแกปญหาของสังคมได จึงหันไปหาแนวคิดสังคมนิยม (วิทยากร เชียงกูล, 2538 : 145) ความสนใจความคิดในลัทธิมารกซมาจากการเล็งเห็นความลมเหลวของระบบการปกครองบานเมือง และเห็นความสําเร็จในการปลดแอกในจีน เวียดนาม กัมพูชา และลาว นอกจากนี้ความหยอนศรัทธาในพุทธศาสนาและสถาบันทางสังคมโดยเฉพาะระบบการศึกษาและระบบทุนนิยม ก็เปนปญหาจิตวิทยาใหคนรุนใหมละทิ้งคุณคาวัฒนธรรมดั้งเดิมหันไปหาลัทธิใหม เมื่อคนรุนใหมเห็นทางออก ที่จะเปลี่ยนแปลงสังคมและมวลชนเพื่อความยุติธรรม ก็ยอมอุดมการณใหมโดยงาย แมบางคนไมเห็นดวยกับการตอสูดวยวิธีการรุนแรง แตจํายอมรับเพราะถูกคุกคาม ทํารายรางกายจนคงความเปนพลเมืองดีตอไปไมได (นิพนธ แจมดวง(บรรณาธิการ), 2529 : 177 – 178) แมนักศึกษาหวังดีตอบานเมือง แตความออนดอยประสบการณ และทัศนะผิดๆ เร่ืองชัยชนะของพวกตนก็เปนเหตุใหตกเปนเครื่องมือของทั้งฝายซายและฝายขวา ความพยายามรวมตัวกับกลุมกรรมกรมักไรผล เพราะคนหนุมสาวตองการเปลี่ยนแปลงสังคมอยางรวดเร็ว โดยยึดเพียงคัมภีรเฉพาะกิจ จึงขาดความรอบคอบ เมื่อไมเช่ือมั่นการตอสูอยางสันติวิธีนักศึกษาซึ่งถูกลอใหเก่ียวของกับเหตุการณตางๆ ก็ขัดแยงกันเอง(เสกสรรค ประเสริฐกุล, 2531 : 29) ในอีกแงหนึ่งคนสวนใหญที่ยังไมมีความเขาใจในความซับซอนทางการเมือง ก็คิดวานักศึกษากลายเปนภัยของบานเมือง โดยเฉพาะเมื่อไดรับขาวสารขอมูลที่เบี่ยงเบนจากความจริง ประชาธิปไตยก็ยุติลงดวย การนองเลือดและรัฐประหารในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 รัฐประหาร 6 ตุลาคม วิเคราะหไดวา เปนหัวเลี้ยวหัวตอของการเมืองไทยสอง ประเด็น คือ ผูนําฝายซายเขารวมขบวนการจรยุทธในปา และการรัฐประหารครั้งนี้ฝายขวาใชเวลากวา 2 ปในการวางแผนการ รณรงคขมขู คุกคามทําราย และลอบสังหารอยางเปดเผย ความรุนแรงของเหตุการณ 6 ตุลาคม เกิดจากวิกฤตการณทางสังคมวัฒนธรรม คือการกอตัวของชนชั้นใหมกับความปนปวนทางอุดมการณ ชนชั้นใหมเปนสวนหนึ่งของเศรษฐกิจขยายตัวที่เกิดจากสงครามเวียดนาม มีเงินตราตางประเทศหลั่งไหลเขาสังคมไทยอยางที่ไมเกิดขึ้นมากอน ชนชั้นใหมนี้เปนพันธมิตรกับขบวนการฝายขวา สวนความปนปวนทางอุดมการณก็มาจากความคิดกาวหนาของคนหนุมสาวซึ่งถูกฝายขวาจัดตอบโต (แอนเดอรสัน, 2541 : 99 – 101)

หลังรัฐธรรมนูญรางเสร็จในป พ.ศ. 2521 มีการเลือกตั้งวันที่ 22 เมษายน 2522 รัฐบาลเสียงขางนอยกุมอํานาจไดโดยอาศัยเสียงจากวุฒิสภา ซึ่งเปนสภาที่รัฐบาลแตงตั้งและควบคุมโดยฝายทหาร การปกครองที่เรียกวา ประชาธิปไตยครึ่งใบ มีนโยบายผอนปรนใหมีเสรีภาพทางการเมืองมากขึ้น ในป พ.ศ. 2522 ขบวนการนักศึกษาฟนบทบาทขึ้นมาใหม มีการกอตั้งองคกรประสานงานของนักศึกษา เรียกวา “องคการนักศึกษา 18 สถาบัน” กลุมกรรมกรโดยสหภาพแรงงานมีบทบาทขึ้น แตรัฐบาลแทรกแซง ควบคุมการเคลื่อนไหวของขบวนการ

Page 53: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

72

กรรมกร ขณะเดียวกัน รัฐบาลเปลี่ยนนโยบายตางประเทศ จากการเผชิญหนากับประเทศเพ่ือนบานที่เปนสังคมนิยม เปนการเปดเจรจา โดยเฉพาะการเจรจาใหรัฐบาลลดความชวยเหลือพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย สถานการณภายในประเทศจึงลดความตึงเครียดลง (จํารัส ลาภเจริญสุข, 2537 : 207 –209) ในป 2523 เกิดวิกฤตการณราคาน้ํามัน เนื่องจากความผันผวนในตลาดโลก นักศึกษาประชาชน ชุมนุมประทวงใหญที่สนามหลวง นําไปสูการขอเปดประชุมสภาสมัยวิสามัญของฝายคาน เพ่ือซักฟอกนโยบายของรัฐบาลและเตรียมลงมติไมไววางใจ รัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท จึงลาออกในวันที่ 29 กุมภาพันธ 2523 พลเอกเปรม ติณสูลานนท ผูบัญชาการทหารบกไดรับการแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรี ขณะที่วิกฤตการณทางการเมือง ผอนคลายลง เนื่องจากความแตกแยกของขบวนการคอมมิวนิสตสากล ที่สืบเนื่องจากเวียดนามรุกราน และลมลางรัฐบาลเขมรแดงของกัมพูชาตนป 2522 และจีนบุกเวียดนาม (จํารัส ลาภเจริญสุข, 2537 : 209)

ความขัดแยงระหวางประเทศสังคมนิยมแถบอินโดจีนทําใหลาวขับไลคนของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทยออกจากดินแดนทั้งหมด รัฐบาลกระชับสัมพันธไมตรีกับจีน สถานภาพของพคท. ก็ส่ันคลอน นักศึกษาประชาชนที่เขารวมขบวนการไมมั่นใจความสามารถของพคท. ประกอบกับเกิดความขัดแยงดานความคิดทางการเมือง จึงเร่ิมทยอยออกจากปา ดังที่เสกสรรค ประเสริฐกุล ไดกลาวถึงสาเหตุที่ทําใหการทํางานของพรรคคอมมิวนิสตลมเหลววา

…เปนเพราะทางพรรคนําอุดมการณลัทธิมารกซิสม มาลวงประชาชน โดยสรางจินตนาการใหเห็นดีเห็นงามวา จะไดรับประโยชนจากผลผลิตที่ลงแรงไป แตในความเปนจริง พรรคควบคุมทุกส่ิงทุกอยาง แตอุดมการณไมอนุญาตใหสะทอนขอเท็จจริง อันนี้กลับพยายามทําใหเช่ือวา ประชาชนเปนผูควบคุม เมื่อปากทองยังหิวอยู ประชาชนจึงพากันหันไปหาจินตคติเกา โดยเฉพาะดานศาสนา เปนการหลีกหนีจากระบบสังคมนิยมไป (เสกสรรค ประเสริฐกุล, 2527 : 183 – 185 อางถึงใน สมหญิง เมืองแมน, 2537 : 60)

นอกจาก ความแตกแยกของขบวนการคอมมิวนิสตสากล ความขัดแยงภายใน

พรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทยแลว นโยบาย “การเมืองนําการทหาร” ตามคําส่ังสํานักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523 ในสมัยพลเอกเปรมเปนนายกรัฐมนตรียังเอ้ือใหนักศึกษาที่เขารวมขบวนการกับพรรคคอมมิวนิสตเดินทางออกจากปา (เสถียร จันทิมาธร, 2525 ก : คํานํา)

Page 54: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

73

2. บริบททางวรรณกรรม วรรณกรรมเพื่อชีวิตของไทยในชวงแรก กําเนิดขึ้นในบริบทชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ขณะที่ผูกุมอํานาจทางการเมืองใชอํานาจในทางที่ไมชอบธรรม วรรณกรรมเพื่อชีวิตมีจุดมุงหมายจะใชวรรณกรรมนําการเปลี่ยนแปลงความคิดที่เปนปฏิปกษตอสังคมใหมตามแนวคิดสังคมนิยมของลัทธิมารกซ ดังเห็นในขอเขียนเรื่อง ศิลปะเพื่อชีวิต ศิลปะเพื่อประชาชน ของ ทีปกร หรือจิตร ภูมิศักดิ์ วรรณกรรมเพื่อชีวิตมีเนื้อหาตอตานการแบงแยกทางชนชั้น เชิดชูคุณคาของชนชั้นกรรมาชีพ เปดโปงการเอารัดเอาเปรียบทางเศรษฐกิจดวยอํานาจทางการเมือง กระแสความคิดทางการเมืองสุดขั้วของขบวนการนักศึกษาหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 มีสวนทําใหพัฒนาการทางวรรณกรรมของไทยชะงักลง ดังที่การทดลองรูปแบบใหมๆ ดวยมุมมองที่หลากหลายของนักเขียนรุนกอน 14 ตุลาคม ถูกประณามวาเปนเสรีนิยม เมื่อถูกเรียกรองใหผลิตงานตามสูตรสําเร็จ นักเขียนรุนใหมก็สนใจการทดลองนอยลงหันไปเนน “สาร”ที่ตองการจะเผยแพรและโฆษณาชวนเชื่อ นักเขียนรุนกอนตองปรับตัวกับกระแสเรียกรองของขบวนการนักศึกษาที่ตองการสรางศิลปะเพื่อ“รับใชประชาชน” แมแตวิทยากร เชียงกูล ก็ไดรับอิทธิพลจากกระแสนี้ จนตองออกมาวิจารณตนเอง (ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย, 2536 : 128) หลังเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519 นโยบายกวาดลางจับกุมผูตองสงสัยวาเปนคอมมิวนิสตอยางเขมงวดของรัฐ กดดันใหนักศึกษาประชาชนจํานวนมากเขาปารวมขบวนการกับพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย นอกจากนี้ ยังมีการควบคุมเสรีภาพของหนังสือพิมพและประกาศรายชื่อหนังสือตองหาม มีการฝง เผา ทําลายวรรณกรรมเพื่อชีวิตจํานวนมาก (ร่ืนฤทัย สัจจพันธุ, 2544 : 22) ความผันผวนทางการเมือง อันมีผลตอความสลายตัวของขบวนการนักศึกษาทําใหความสนใจวรรณคดีวิจารณแนว “เพ่ือชีวิต” หยุดชะงักลง การวิจารณที่เนนปลุกเราการตอสูทางการเมืองก็ลดนอยลงมาก ไดมีการหยิบยกเอางานทฤษฎีวรรณคดีแนวการเมืองมาพินิจทบทวนใหม เชน “กลับไปอานศิลปเพื่อชีวิต ศิลปเพื่อประชาชน” ของ ‘ทีปกร’ ของ ดวงมน จิตรจํานงค (2523) และมีการถกเถียงในวารสารทางวรรณกรรมเชน โลกหนังสือที่ทวงติงการประเมินคาที่ยึดเกณฑเปาหมายทางการเมือง (ดวงมน จิตรจํานงค, 2541 : 238) หลังจากความขัดแยงระหวางฝายซายและขวาคลี่คลายลง วรรณกรรมแสดงสํานึกทางสังคมยังดํารงอยูโดยไมเนนความคิดทางชนชั้น ประกอบกับรัฐบาลพลเอกเปรมใชนโยบาย66 / 2523 เปดโอกาสใหผูเขาปากลับคืนมาใชชีวิตอยางเดิม ปญญาชนนักคิดนักเขียนซึ่งขัดแยงกับแนวทางของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย ที่มองขามคุณคาทางจิตใจ ก็นํางานเขียนมาพิมพรวมเลม เชน รวมเรื่องส้ันและบทกวี ฤดูกาล (2524) ของ เสกสรรค ประเสริฐกุล (ร่ืนฤทัย สัจจพันธุ, 2544 : 23 – 24) ในการรวมเลมนี้ผูแตงไดแถลงวา มุงจะแสดงคุณคาที่ไมอยู

Page 55: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

74

ในกรอบสําเร็จรูปของความคิดของฝายใด (เสกสรรค ประเสริฐกุล, 2539 : 23) หลังป 2519 เปนตนมา วรรณคดีจึงหันเหสูทิศทางใหม นักเขียนทั้งเกาและใหมสรางสรรคผลงานที่มีความหลากหลายขึ้น นาสนใจวา นักเขียนสวนใหญในชวงหลังป 2519 เปนคนหนุมสาวและไดรับประสบการณจากเหตุการณนองเลือดทั้งสองคร้ัง ทั้งที่เปนผูรวมเหตุการณโดยตรงและเปนผูเฝามองเหตุการณที่เกิดขึ้น ประสบการณอันเขมขนจากเหตุการณนองเลือดทั้งสองคร้ัง ไดทิ้งมรดกทางปญญาและอารมณความรูสึกใหแกพวกเขา (เจตนา นาควัชระ, 2530 : 4) แมผูสรางงานสนใจปญหาความอยุติธรรมในสังคม ซึ่งเปนแกนของวรรณกรรมแหงความสํานึกเชิงสังคม แตภาพศัตรูของประชาชนก็ไมใชภาพตายตัว เนื่องจากนักเขียนตระหนักวา ปญหาซับซอนเกินกวาจะระบุวา ใครเปนผูสรางปญหา ดังขอสังเกตวา “…ศัตรูของประชาชนไมปรากฏตัวใหเห็นอยางแจมชัด…เรียกไดวา เปนศัตรูที่ล่ืนไหล” (เจตนา นาควัชระ, 2530 : 6) ความตระหนักวาปญหามีความซับซอนเปนเหตุใหนักเขียนไมแสดงผูสรางปญหาอยางตายตัว เชน ตะกวดกับคบผุ (2526) และ ตล่ิงสูงซุงหนัก (2527) ของ นิคม รายยวา ซึ่งมีเนื้อหาใหคนหาคุณคาที่แทจริงของชีวิตที่แฝงอยูในชะตากรรมของมนุษย ลักษณะวรรณกรรมที่เรียกวา วรรณกรรมแหงความสํานึกเชิงสังคม ชวงหลังป 2519 จึงเนนเนื้อหาและวิธีการทางปรัชญามากขึ้น ดังกลาวไดวา

วรรณกรรมแหงความสํานึกเชิงสังคมมิไดหยุดอยูกับที่ในชวงหลัง พ.ศ. 2519 แตในแงหนึ่งมีวิวัฒนาการที่อาจจะดูจากภายนอกวา “นิ่ง” ข้ึนทุกที คือ เปนการนําเอาปญหาของสังคมมาวิเคราะหดวยวิธีการที่เปนปรัชญา ความโหดเหี้ยมของชีวิต การที่คนในสังคมประทุษรายซึ่งกันและกัน ยังเปนประเด็นที่นักเขียนนํามาเปนแกนเรื่อง แตวรรณศิลปไดเปลี่ยนแปรความรุนแรงเหลานี้ใหกลายเปนความโหดเหี้ยมทางปรัชญาไปเสียแลว… (เจตนา นาควัชระ, 2530 : 11)

ในชวงนี้ ชาติ กอบจิตติ มีผลงานสําคัญคือ จนตรอก (2523) ซึ่งถือเปนวิวัฒนาการของวรรณกรรมแหงความยากไรที่สรางแรงกระทบทางอารมณแกผูอานสูง ชาติสรางความประทับใจดวยเนื้อหาท่ีรุนแรง แตการใหภาพความยากไรของ “ผูถูกกระทํา” อยางชัดเจน จนละเลยกลุม “ผูกระทํา” ทําใหการวิเคราะหสาเหตุความพิการของสังคมไมถึงแกน จึงจําเปนตองอธิบายสาเหตุของปญหาดวยความเชื่อเ ร่ืองกฎแหงกรรมแบบชาวบาน ใน คําพิพากษา (2524) ผูแตงมองปญหาไดกวางข้ึน คือใหภาพทั้งผูถูกกระทําและผูกระทํา แมฟกเปนผูพายแพ แตผูกระทําตอเขาก็ถูกเผยใหเห็นวามีอคติ สวน ครูบานนอก (2521) ของ

Page 56: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

75

คําหมาน คนไค วิเคราะหสังคมไดอยางเฉียบคม “ภาพของศัตรูของประชาชนในนวนิยายเรื่องนี้คอนขางจะชัดเจน และการตอสูระหวางประชาชนกับศัตรูของประชาชนก็ดําเนินไปอยางเราใจ ดวยกลวิธีการแตงที่มีศิลปะราวกับจะเปนโศกนาฏกรรมในความหมายสากล…” (เจตนา นาควัชระ, 2530 : 18) เร่ืองส้ันบางเรื่องของลาว คําหอมในชุด ฟาบกั้น (2516) ซึ่งจัดเปนวรรณกรรมแหงความสํานึกเชิงสังคมก็เปนงานที่ตีแผสภาพยากไรของชีวิตชนบทอยางตรงไปตรงมา และสามารถเรียกรองความเห็นใจจากผูอานโดยไมรูสึกวาผูแตงเขามาชี้นํา แตงานที่ใชวิธีภววิสัยอยางเดนชัดโดยไมตั้งประเด็นวาใครเปนผูกระทําหรือผูถูกกระทําแตก็สรางความออนไหวทางอารมณแกผูอานไดดวยความยากแคนของตัวละครในการดําเนินชีวิต ก็คือลูกอีสาน (2518) ของ คําพูน บุญทวี (เจตนา นาควัชระ, 2530 : 24 – 25) ดวยเหตุที่ศัตรูของประชาชนอาจมิใชแคบุคคลหรือกลุมบุคคล แตอาจเปนคานิยมหรือความเชื่อที่ครอบงําประชาชนจนมองไมเห็นวาแกนแทของความเปนมนุษยอยูที่ใด เร่ืองส้ัน“แลวหญาแพรกก็แหลกลาญ” ของอัศศิริ ธรรมโชติ ในชุด ขุนทองเจาจะกลับเมื่อฟาสาง ช้ีวาศัตรูในรูปของความเชื่องมงายดูจะเปนศัตรูที่มีพลังกวาศัตรูที่เปนบุคคล การเอาชนะศัตรูจึงมิใชเปนเรื่องการตอสูในระดับบุคคลหรือสังคม แตเปนการใชปญญามนุษยเอาชนะความเขลาของมนุษย (เจตนา นาควัชระ, 2530 : 29 – 30) งานเขียนในทศวรรษ 2520 จนถึงปจจุบัน เปนขอบงช้ีความเขาใจวาวรรณคดีมีภารกิจที่ซับซอนเกินกวาที่จะคาดหวังใหรับภาระในการแกปญหาสังคมแตถายเดียว โดยไมคํานึงถึงธรรมชาติของวรรณคดี ดวยเหตุผลที่

…คุณคาของวรรณกรรมเปนคนละเรื่องกับความลึกซึ้ง และความแมน

ตรงของสังคมศาสตร วรรณกรรมที่จับใจคนอาจจะไมสามารถสงผลปฏิบัติที่เห็นทันตาได…

…หนาที่ทางสังคมของวรรณกรรมอาจจะมิใชการแกปญหาสังคมในเชิงปฏิบัติ หรือเปล่ียนพฤติกรรมของมนุษยในระยะสั้น แตเปนหนาที่ของการใหแสงสวางทางปญญาดวยการสรางความประทับใจ… (เจตนา นาควัชระ, 2530 : 30 – 31)

กลาวไดวา เนื้อหาวรรณกรรมในยุคศัตรูที่ล่ืนไหลเปนพัฒนาการทางวรรณกรรมที่เปนผลมาจากมรดกทางปญญาจากเหตุการณนองเลือดทั้งสองคร้ัง คือ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 โดยพัฒนาเนื้อหาจากวรรณกรรมตอสูทางการเมืองไปสูเนื้อหาเชิงปรัชญา

Page 57: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

76

3. ความคิดของผูแตง

หลังจากหยุดเขียนราว 9 ป นิคมก็มีผลงานตีพิมพ คือ เร่ืองส้ัน “บายของหมอกควัน” (2525) นวนิยายอีกสองเร่ือง คือ ตะกวดกับคบผุ (2526) ตล่ิงสูงซุงหนัก (2527) และเร่ืองส้ัน “เปนลม” (2527) “อุหมัง” (2527) และลาสุด “สาบเสือ” (2542)

เรื่องส้ันในระยะ 2525 – 2527 บงบอกวา นิคมไดครุนคิดถึงปญหาการดํารงอยูอยางมีศักดิ์ศรีของมนุษยอยางจริงจังและรอบดานมากขึ้น กลาวไดวา นิคม ไมเคยผูกพันตัวเองกับระบบความคิดเรื่องการตอสูระหวางชนชั้นอยางที่เนนกันในวรรณกรรมเพื่อชีวิต ความคิดของเขาจึงไมเจาะจงเฉพาะปญหาการกดขี่หรือเอารัดเอาเปรียบ ที่คนจนตกเปนผูถูกกระทําเทานั้น แตในแงที่ส่ิงนี้เปนความจริงสวนหนึ่งที่หลีกเล่ียงไดยาก นิคมก็ยังมีวิธีมองปญหาอยางถ่ีถวน จึงไดแสดงความซับซอนของปญหาที่ชวนขบคิด นอกจากปญหาและปฏิปกษของชีวิต นิคมยังแสดงศักยภาพของคน และคุณคาของความเปนคนอยางลุมลึกมากขึ้น

3.1 ปญหาและปฏิปกษของชีวิต เร่ืองส้ันของนิคม ในระยะป 2525 เปนตนมา ไดแสดงปญหาและปฏิปกษของชีวิต โดยเพิ่มความรุนแรงของปญหาที่ผูกโยงกับชะตากรรม ทามกลางความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและความกาวหนาทางเทคโนโลยี ดังจําแนกเปนหัวขอตอไปนี้ ความยากจนและความไมเปนธรรมทางสังคม ธรรมชาติภายในของคนกับคานิยมของสังคม และการขาดความเขาใจแกนแทของชีวิต

3.1.1 ความยากจนและความไมเปนธรรมทางสังคม นิคมไดแสดงวา ฐานะทางเศรษฐกิจของคนจนเปนขอจํากัด ที่ทําใหคนเหลานั้นมีทางเลือกนอย จนถึงไมอาจเลือกได การไรอํานาจตอรองของคนจนสงผลเปนภาวะ จํายอม โดยเฉพาะเมื่อเผชิญกับอํานาจของผูมีสถานะเหนือกวา ทั้งทางกฎหมาย การปกครอง หรือทาง การเงิน ชีวิตของคนจนจึงดูไรคา ดังเชน ใน “บายของหมอกควัน” (2525) ยุยและเพ่ือนบานอีก 3 คนขึ้นไปทําแรบนภูเขาสูงหางไกลจากชุมชนและถูกฆา โดยญาติเขาใจวา“ถูกเก็บ” สวน “เปนลม” (2527) จอม จากบานมารับจางขับรถแทรกเตอรเพ่ือจะนําเงินไปไถที่ดิน ซึ่งนําไปจํานองตอนพอปวย แตเขาจบชีวิตอยางอนาถเพราะอุบัติเหตุ พอของเขาไดรับคาทําขวัญเทากับเงินที่จะนําไปไถที่ดินคืนได แตเจาหนี้ปฏิเสธโดยอางวาที่ดินผืนดังกลาวหลุดไปเปนปแลว ใน “บายของหมอกควัน” เมื่อรูขาวความตายของยุยและเพื่อนบานอีก 3 คน หลังเกิดเหตุรวม 17 วัน กลุมญาติของผูตายเดินทางไปยังที่เกิดเหตุเพ่ือนําศพไปทําพิธี การดั้นดนและเสี่ยงไปทําแรในที่หางไกลของยุยและเพื่อนบานเปนความมานะบากบั่นเพื่อเล้ียงครอบครัว แตก็ตองลมเหลว ดังที่ลุงผิวพูดอยางปลงอนิจจังวา “พวกเขาอุตสาหซอกซอนมาตั้งไกลก็เพ่ือ

Page 58: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

77

แคนี้เองแหละ…เพ่ือจะทําแรใหพอคาทําศพของตัวเองแคนั้น” (121) แตย่ิงนาเศราที่ความตายของพวกเขากลายเปนสิ่งที่สูญเปลา แรเถ่ือนที่พวกเขาซอนไวและแลกมาดวยชีวิตก็ตกอยูในมือของตํารวจ ใน “บายของหมอกควัน” ถึงแมมีทรัพยากรแรใหขุดหาแตการไดสัมปทานก็ไมอยูในความคาดหวังของชาวบาน เสิดที่เพ่ิงพนโทษจากคุกก็โดนขอหาขุดแร ชาวบานเองอาจตองแยงชิงหรือปลนกันเอง หรือแมแตตํารวจก็ถูกระแวงวามีสวนฆาคนเหลานี้ การที่ลูก 3 คนของยุยและซิ้วไปรับจางกรีดยางในหมูบานหางไกลแสดงใหเห็นวา ความยากจนเปนปญหาพ้ืนฐานที่บีบคั้นใหมนุษยดิ้นรนเพื่อความอยูรอด แตผูมีอํานาจกระทําเพ่ือเพ่ิมพูนทรัพยและอํานาจของตน โดยไมไยดีตอความทุกขของผูอ่ืน ดังคําบรรยายฉากวา

ขางลางตรงเชิงเขา เคยมีถนนคดเคี้ยวทอดผาน แตเดี๋ยวนี้เห็นเพียงโขดหิน และหลุมลึกในพื้นดินซึ่งเกิดจากน้ําฝนเซาะจนเปนรองยาว มีตนไมข้ึนปกคลุมหนาแนน ไมมีใครใสใจวามันเปนถนนมากอนตอไปอีกแลว เชนเดียวกันกับกองทรายที่ขวางอยูขางหนานั้น กอนนี้บริเวณนั้นเปนลําธารที่มีน้ําใสลนปริ่มตลอดป ปลาปูชุกชุม มีเรือจากทะเลแลนเขามาถึงหมูบานขางใน แตเดี๋ยวนี้ดินทรายจากเหมืองของบริษัททําแรทะลักออกมาทับถมจนน้ําตื้นเขินและแหงขอด ไมมีใครในหมูบานพูดถึงเร่ืองปู ปลา หรือเรือจากทะเลอีกเลย (122)

ใน “เปนลม” (2527) จอมเปนคนขับรถแทรกเตอรรับจางเปดปา ที่หวังจะนําเงิน

กลับไปไถที่ดิน เขาลางานกลับบานชวงตรุษจีนเกินวันลา 4 วัน นายจางไมพอใจถึงข้ันจะไลออก หากเขายังไมกลับมา เขากลับจากบานดวยความเหนื่อยเพลีย เพราะอดนอนจากการออกไปลากอวนปูและรีบกลับมาทํางาน การทํางานเปดปาของพวกเขาสุมเสี่ยงหลายดาน คือ “…ลมแรงจนเต็นทปลิวบอย อาหารการกินไมสะดวก ไขมาลาเรียชุม บางทีเจอปญหาจี้ปลน ขมขูเอาน้ํามัน และแยงชิงรถแทรกเตอร” (133) แมเส่ียงตอความปลอดภัยในชีวิตเชนนี้ แตจอมตองอดทนเพราะหวังจะไดกลับไปอยูพรอมหนาครอบครัว นอกจากนี้ การขับแทรกเตอรก็เปนงานที่จอมรัก “จอมเคยฝนที่จะขับแทรกเตอรตั้งแตเด็ก เขาเฝาดูแทรกเตอรขุดดินครั้งละนานๆ แปลกใจในความใหญโตและแข็งแรงของมัน เขารูสึกวาไมมีอะไรสามารถตานทานกําลังมันได เขาอยากขับมัน เขารูสึกมีความสุขที่ไดอยูใกลมัน” (134) จอมใชเวลาหลายปกวาจะไดขับมัน แตเปนเรื่องที่ชวนสลดยิ่งนัก เมื่อเขาตองมาเสียชีวิตเพราะสิ่งที่เขารักและรูสึกมีความสุขที่ไดอยูใกล ความหวังของจอมพังลง เมื่อพักงีบแลวถูกเพ่ือนขับแทรกเตอรซึ่งเปนสิ่งที่เขารักทับจนรางแหลก นายจางขอรองไมใหครอบครัวของจอมแจงความเพราะกลัวยุงยาก เขารับผิดชอบคาทําขวัญ

Page 59: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

78

เทากับเงินที่จะนําไปไถที่และจัดการงานศพให เมื่อพอของจอมนําเงินดังกลาวไปไถที่ดิน เจาหนี้ก็ปฏิเสธวา

“ที่ดินนั้นหลุดไปตั้งปแลว จะมาไถไดยังไง” “ผมพึ่งมี เลยเอามาคืน” เขาย่ืนหอเงินดวยมือส่ันเทา “ไมไดหรอก” เจาหนี้มองดูมือที่ย่ืนคางอยูตรงหนา “มันผิดสัญญา

แลวเดี๋ยวนี้ที่ดินราคาเพิ่มขึ้นกวาเกาตั้งสองเทา เงินแคนี้ไมพอหรอก ลุงมาชาไปตั้งปแนะ” (139)

ชีวิตของจอมจึงกลายเปนสิ่งสูญเปลา เมื่อเขาไมมีชีวิตอยูทํางานหาเงินมาปลด

เปลื้องหนี้สิน เงินที่ไดเปนคาชดเชยก็ยังไรความหมาย หากชะตากรรมกําหนดใหเขาตาย ครอบครัวเขาก็โชครายที่เขาตายชาไปเสียอีก ดังที่พอของจอมพูดกับลูกชายคนเดียวของจอมวา “ตายชานะซิ…ถามันตายกอนนี้สักป ก็ทันไดไถที่คืนมาใหมึงแลว” (140)

นิคมไดแสดงความขัดกันของผูมีสถานะทางเศรษฐกิจเหนือกวากับคนยากจน ซึ่งไรอํานาจตอรอง ทั้งนายจางและเจาหนี้ที่รับจํานองลวนแตยึดผลประโยชนเปนหลักโดยปราศจากความยืดหยุน คุณคาที่แทของคนจึงไมใชส่ิงที่คนเหลานี้มองเห็น การลากลับบานเกินวันลาสรางความไมพอใจแกนายจาง ทั้งๆ ที่จอมไมเขาใจวาการกลับไปเยี่ยมบานเยี่ยมลูกจะสรางปญหาในการทํางาน ดังบทสนทนาระหวางจอมกับบาวที่วา

“ก็ – ก็ หยุดตรุษจีน กูคนบะ – บานไกล มึงก็รู” “เออ ไมรูละ ใครๆ ก็กลับทัน เวนมึงคนเดียว สงกรานตนี้นายหัว

วาจะไมใหหยุดอีกแลว” “คนระ – เรามีบาน อยูยังไง มะ- ไมกลับ” จอมพยายามเปลงเสียง

อยางยากเย็น (129)

คนจนจึงมีคาไมตางจากเครื่องมือแสวงหาประโยชนของผูมีอํานาจทางเศรษฐกิจ ซึ่งละเลยความรูสึกของเพื่อนมนุษย การกลาววา “คนเรามีบานอยูยังไงไมกลับ” เปนขอกังขาของจอม ที่ความหวังของการกลับไปอยูพรอมหนาพรอมตาคนในครอบครัวถูกมองขาม ผูอานยอมจะยิ่งเจ็บปวดแทนเขาเมื่อเจาหนี้ปฏิเสธการไถที่ดินคืน แตการกลาววาที่ดินหลุดไปเปนปและราคาที่ดินเพิ่มเปนสองเทา ช้ีวาชีวิตของจอมมีคาผันแปร ตามกลไกการคาและการกําหนดราคาวัตถุภายนอกอันเปนมายา

Page 60: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

79

คําวา “ตายชา” เหมือนผูพูดยินดีจะใหลูกชายตายเร็วกวานั้น บอกความขมขื่นของคนยากจนซึ่งไมมีโอกาสแกปญหา จึงยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้นอยางปวดราว ความตายของ ตัวละครบงช้ีวานิคมไดเพ่ิมความรุนแรงของปญหาที่มนุษยกระทําตอกันอยางเฉยเมย มากกวาการเนนเฉพาะสถานะทางเศรษฐกิจของตัวละคร และดูเหมือนวิธีการนี้มีพลังโนมเหนี่ยวใหผูอานเห็นใจตัวละครและครุนคิดถึงการกระทําของคนดวยกันที่ช้ีใหเห็นความโหดรายของมนุษยที่ขัดแยงกับความเจริญ และการพัฒนาทางวัตถุ การปลอยใหวัตถุตัดสินการดํารงอยูของมนุษยในสังคมที่มีปญหาเชนนี้เปนสิ่งที่เลวราย เพราะแสดงวามนุษยธรรมไมมีอยูจริง ถึงกระนั้นก็เปนวิธีการกระตุนสํานึกเชิงจริยธรรมแกผูอานที่มีตอเพ่ือนมนุษยไดเปนอยางดี

กลาวไดวาผูแตงอาศัยความนาหดหูที่ดูเหมือนกลายเปนเรื่องธรรมดาใน “บายของหมอกควัน” และ “เปนลม” แสดงวาส่ิงที่เปนปฏิปกษของชีวิตคนธรรมดา ก็คือสภาพที่ดูเหมือนปกติแตหาเหตุผลชัดเจนไมได การคุกคามของคนตอคนก็ดูเหมือนมีกฎระเบียบรองรับเชนราคาที่ดิน สวนนายจางก็ไมไดเอาเปรียบจนเกินไป ดังที่จายคาทําขวัญใหและที่พอของจอมยอมไมไปแจงความก็ดวยความเห็นใจเพื่อนของจอมที่เปนคนขับแทรกเตอร และเปนการปฏิบัติโดยทั่วไปในสังคมไทยอยูแลว

ใน “บายของหมอกควัน” คนเสียชีวิตไปสี่คน โดยที่ไมมีใครระบุสาเหตุไดแนชัดแตก็ไมมีใครคิดจะสืบสาว อาจเปนเพราะสังคมที่พวกเขาอยูมีปญหาหลายดานทั้งเรียกคาคุมครอง ขัดแยงผลประโยชน ลักษณะเชนนี้แสดงใหเห็นวา สังคมชนบทนี้มีความขัดแยงของคนหลายกลุม และเปนสังคมที่ขาดความปลอดภัยในชีวิต เมื่อกลุมคนที่สรางปญหามีหลากหลาย ทั้งนายทุน ผูมีอิทธิพล รวมถึงเจาหนาที่ของรัฐ ดังที่โลดไดแสดงความไมแนใจถึงสาเหตุการตายของเพื่อนบานวา “ยังไมแนใจ อาจปลนหรือแยงที่ทําแร หรือเก่ียวกับเจานาย” (100)

สภาพปญหาซับซอนเชนนี้สรางความหวั่นไหวแกผูที่อยูในสังคม ดังเห็นวา ผูพบศพเมื่อข้ึนไปยิงคางก็ยังไมกลาไปบอกกํานันกระทั่งเหตุการณผานไป 17 วัน ญาติผูตายก็คิดจะนําศพกลับไปเทานั้นไมไดสนใจสืบเสาะวาใครเปนคนฆา สวนตํารวจที่มาตามหนาที่ ก็ปดความรับผิดชอบ เมื่อเจาทุกขเอยถึงผูตายวาไมตั้งใจข้ึนมาตายบนเขาเพราะ “เขาไมคิดวาถูกเก็บ” ตํารวจก็กลาวปองกันตัวเอง โดยกลาวหาอยางใชอารมณวา “…พวกแกกอปญหากันเอง ปลนแรกัน แยงชิงที่ทําแรกัน หักหลังกันแลวมาโทษคนอื่นใหเขาเดือดรอนไปดวย” (113)

จะเห็นวา ในสังคมเชนนี้ ประชาชนขาดที่พ่ึงอยางแทจริง การไปแจงเจาหนาที่เมื่อเกิดเหตุรายอาจเปนเพียงการแสดงหนาที่ของพลเมืองที่ดี เมื่อเจาหนาที่ขาดความตระหนักในหนาที่บําบัดทุกขบํารุงสุขเปนเบื้องแรก และเห็นความทุกขของประชาชนเปนภาระที่สรางความเดือดรอนแลว ก็ยากที่ประชาชนจะไววางใจใหเจาหนาที่ดูแลความเปนความตายของพวกตนตามหนาที่ได การตามตํารวจไปชันสูตรศพบนภูเขา อาจเปนเพราะตองการทราบใหแนชัดวาเปน

Page 61: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

80

ญาติของพวกตนหรือไม แตในที่เกิดเหตุกลุมญาติๆ หาขอสังเกตกันเอง โดยสังเกตจากรอยสักที่แขนของศพหนึ่งซึ่งเปนสามีของซิ้ว และสรุปวา 3 ศพที่เหลือ นาจะเปนเพื่อนบานที่เดินทางมาทําแรดวยกัน คือ หลานโลด ลูกลุงผิว และลุงบู (ลุงของรอหีม) สวนตํารวจก็ปลีกตัวไปดื่มน้ําที่ลําธาร

นิคมไดเนนย้ําความรุนแรงของปญหา ที่คนยากจนไมมีสิทธิ์ตามที่พึงมีพึงไดของตน จนยอมรับสภาพที่เปนอยูอยางปวดราวใจ ดังเร่ืองส้ัน “บายของหมอกควัน” ผูมีอํานาจอยางตํารวจเจาหนาที่ของรัฐฉวยโอกาสยึดแรของกลุมชาวบานไปตอหนาตอตา

การละเวนหนาที่ของเจาหนาที่ตํารวจปรากฏในเรื่องส้ันนี้ เห็นจากอากัปกิริยาของตํารวจคนอวนที่แสดงทาทีรําคาญ ไมพอใจที่ตนตองเดินทางอยางลําบากไปเก็บหลักฐานเก่ียวกับผูตายบนภูเขา ดังเห็นจากคําพูดของตัวละคร ดังนี้

“…รอนอยางกับอะไร ทางก็ชันเหมือนปนกําแพง ทําไมตองใหคนอืน่เดือดรอนดวยก็ไมรู”

……………….. “ไมไดตั้งใจเรอะ” ตํารวจอวนตะคอก “ง้ันข้ึนมาบนนี้ทําไม ไมได

ข้ึนมาทําแรเถ่ือนหรือไง” ……………….. “ระวังปากใหดี อยาโอหังมากนัก พวกแกกอปญหากันเอง ปลนแร

กัน แยงชิงที่ทําแรกัน หักหลังกัน แลวมาโทษคนอื่นใหเขาเดือดรอนไปดวย”

……………….. “นิสัยไมดี” ตํารวจอวนพูด “เมื่อเชาก็ทีหนึ่งแลว นั่งรออยูบนโรงพัก

หนอยเดียวก็ไมพอใจ จะใหวิ่งจี๋ตามมันมาทันที ทํายังกะใหญโตมาจากไหน” (112 – 113)

คําพูดที่แสดงอํานาจขมขูประชาชน และเห็นความเปนความตายของผูอ่ืนวาสราง

ความเดือดรอนและเพิ่มภาระ บงช้ีความขาดไรความรับผิดชอบของขาราชการซึ่งมีหนาที่ดูแลทุกขสุขของประชาชนโดยตรง กลับไมคํานึงถึงสภาพจิตใจของผูที่สูญเสีย คําพูด อากัปกิริยา ของเจาหนาที่ซ้ําเติมใหจิตใจของผูสูญเสียยิ่งสลดหดหู การทํางานอยางลาชาและไมพอใจที่ชาวบานเรงเราช้ีความบกพรองในหนาที่ของตํารวจอยางชัดเจน แมตํารวจมีหนาที่รับผิดชอบหลายอยาง แตการใชคําพูดอยางเปนมิตร ก็นาจะกระทําไดหากจิตใจของเขายังเห็นใจผูอ่ืน

Page 62: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

81

นอกจาก เจาหนาที่ใชวาจาคุกคามตะคอกอยางไรสํานึกแลว ยังพบวา เขาขาดความอดทน และปดความรับผิดชอบประหนึ่งวา ชีวิตของชาวบานเปนสิ่งไรคา การกลาววา “ทํายังกะใหญโตมาจากไหน” ชวนใหคิดตอวา หากเปนคนใหญคนโตเขาก็จะรีบดําเนินการใหอยางนั้นหรือ คําพูดเชนนี้ยอมเผยการเลือกปฏิบัติไดประการหนึ่ง

เมื่อไมเขาใจความรู สึกของผู สูญเสียเพราะคนที่ตายมิใชเปนญาติของตน ตํารวจจึงไมรูสึกสะเทือนใจกับการเสียชีวิตของชาวบานการกระทําของเจาหนาที่ตํารวจในเรื่องส้ันนี้สะทอนการละเวนการปฏิบัติหนาที่และขาดจรรยาบรรณของผูพิทักษสันติราษฎรอยางรุนแรง โดยเฉพาะการฉวยโอกาสซึ่งสรางความงุนงงแกชาวบาน ดังคําบรรยายและบทสนทนาระหวางกลุมญาติกับตํารวจที่วา

เมื่อถึงถนนหลวง ตํารวจอวนบอกใหพวกเขาเอาแรขึ้นรถที่จอดอยู “หมูจะไปสงพวกเราใชไหม” ลุงผิวถามหลังจากวางถุงแรทั้งหมดไวบน

รถแลว “ลุงไปรถประจําทางเถอะนะ รออีกสักพักก็คงจะมา” ตํารวจอวนพูด

“ผมอยากจะไปสงเหมือนกัน แตตองรีบกลับ มีงานอื่นตองทําอีกเยอะ” ตํารวจทั้งสองขึ้นรถและขับออกไป …บริเวณนั้นเงียบสงัด พวกเขายืนเกๆ กังๆ อยูริมถนนทามกลาง

หมอกควันยามบายที่บดบังเสนทางขางหนาจนมืดมิด (124 –125) (เนนโดยผูวิจัย)

การบอกใหญาติผูตายนําแรดีบุกวางบนรถตํารวจ ทําใหเขาใจไดวา ตํารวจจะพา

ชาวบานทั้ง 11 คนไปดวย แตตํารวจบอกใหญาติเดินทางกลับกันเองหลังจากที่วางแรบนรถแลว พฤติกรรมของเจาหนาที่ชวนใหคิดตอวา การไมจดบันทึกหรือถายรูปขณะชันสูตรศพ และแรดีบุกที่อยูบนรถจะตกเปนของใคร ในเมื่อญาติของผูตายวางแรไวบนรถตํารวจ การฉวยโอกาสของผูพิทักษสันติราษฎรที่ชาวบานฝากความหวังไว ดูจะสรางความปวดราวทางจิตใจแกชาวบานย่ิงนัก ผูเลาทิ้งใหผูอานคิดวาญาติๆ ของผูตายคงไมไดรับแรคืน การเสียชีวิตของยุยและเพื่อนบานอีก 3 คนเปนสิ่งที่สูญเปลาและสรางความปวดราวไวกับญาติของพวกเขาอีกดวย

ในตอนจบของเรื่องส้ัน นิคมไดแสดงใหเห็นวา ผูที่สรางปญหาอาจมิใชผูรายอยางที่เคยเปนมาเทานั้น แตศัตรูของประชาชนอาจหมายถึงกลุมบุคคลที่มีหนามีตาในสังคม เชน เจาหนาที่ของรัฐที่ละเลยหนาที่และรวบรัดจัดการผลประโยชน โดยไมคํานึงถึงความรูสึกของประชาชน สวนแรที่อยูในรถตํารวจคงมิใชของกลางเพราะไมมีการจดบันทึกหรือถายรูป เปนหลักฐานจากการชันสูตร หากเจาหนาที่ตํารวจจะยึดแรดังกลาวเปนของตนก็มิใชวาจะเปนไปไมได

Page 63: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

82

ย่ิงพิจารณาพฤติกรรมของตัวละครตํารวจที่แสดงตอประชาชนดวยแลวก็ย่ิงทําใหขอสันนิษฐานนี้มิใชส่ิงเกินจริง

นาสังเกตวา นิคมแสดงปญหาซับซอนข้ึน ตัวละครสมจริงที่มิอาจแบงแยกฝายดี ฝายชั่วออกจากกันไดอยางชัดเจน แตแสดงธรรมชาติของมนุษยที่มีทั้งความดีความชั่วอยูในตัวคนคนเดียวกัน เชน กลุมชายใบหนาเกรียมแดงที่มีลักษณะเปนผูราย หนึ่งในจํานวนนั้นเพิ่งพนโทษจําคุกมา นอกจากนี้พวกเขายังคะย้ันคะยอใหโลดดื่มเหลาขาว โดยที่โลดไมอาจปฏิเสธได แมลักษณะภายนอกและพฤติกรรมที่ช้ีไดวาเปนผูมีอิทธิพล แตชายใบหนาเกรียมแดงยังมีน้ําใจถามความเปนมาของเรื่องที่เกิดขึ้น แสดงความเห็นใจ และแนะนําใหฝากลูกคนเล็กของซิ้วไวกับยาย หวินชาวบานที่อยูระหวางทางขึ้นเขา ขณะที่ตัวละครที่นาจะชวยบําบัดทุกขและคลี่คลายปญหากลายเปนผูสรางปญหาแกประชาชน การสรางตัวละครที่แสดงธรรมชาติของมนุษยทั้งสองดานของนิคม รายยวา แสดงความเขาใจความจริงที่วา มนุษยมีทั้งสวนที่ดีและชั่วราย เปนการยากที่จะแบงแยกความดีความชั่วออกจากกันไดอยางเด็ดขาด ความตระหนักขอนี้เปนผลจากความครุนคิดของนิคมตั้งแตยุคแสวงหา ดังที่เราเห็นวา ใน “คนบนตนไม” (2510) ตัวเอกท่ีเปนชาวนาซึ่งถูกกระทําก็ยังกลายเปนผูกระทํา ใน “คนบนตนไม” (2510) เพราะลืมเผื่อแผความเห็นใจตอชีวิตอื่น เมื่อประกอบกับการเรียนรูความผิดพลาดจากเหตุการณนองเลือดทั้งสองครั้ง จึงเห็นไดวา ผลงานเรื่องส้ันทั้ง 2 เร่ืองนี้เปนลักษณะรวมของวรรณกรรมแหงสํานึกเชิงสังคมหลังเหตุการณนองเลือด 6 ตุลาคม 2519

ปญหาการคุกคามชีวิตและทรัพยสินในชนบทอาจพิจารณาเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตที่อาศัยความสัมพันธระหวางคนกับคน ใน “เปนลม” (2527) ขณะที่จอมและเพื่อนรวมงานรับจางเปดปาในหุบเขาไกลหมูบาน พวกเขาประสบปญหามากมาย “…จี้ปลน ขมขูเอาน้ํามัน และแยงชิงรถแทรกเตอร” (133) นิคมไดแสดงปญหาที่จอมและเพื่อนรวมงานประสบอยางชัดเจนดังนี้

คนทองถ่ินบางคนสุภาพ นุมนวลและเอื้ออารี มีอยูครั้งหนึ่งคนในหมูบานห้ิวกลวยมาฝากหวีหนึ่ง “เอาไวกินตอนหิว” เขาพูดดวยสําเนียงหวงใย “ถามีปญหาอะไรใหชวย บอกนะ” แลวมองไปที่ถังน้ํามันพรอมกับย่ืน ถังเปลาที่ห้ิวติดมือออกมาขางหนา “ชวยถายน้ํามันใหสักถังซิ”

พวกเขาบางคนมาเยี่ยมและพูดคุยดวยบอย บางคนก็มากินขาวดวย ถือปนติดตัวตลอดเวลา เมื่อรูสึกวาสนิทสนมพอสมควรแลวก็พูดอยางเปนกันเองวา “ไปดันที่ใหผมหนอยซิ” “ชวยโคนตนไมในไรผมสักแปดตนเกาตนซิ” “ไปลากซุงออกจากคลองหลังบานผมหนอย” การทํางานของรถแทรกเตอรคิดคาจางเปนรายชั่วโมง แตคนเหลานี้ขอใหทําฟรี ไมตอง

Page 64: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

83

จายเงิน สถานที่ที่จอมและเพื่อนทํางานมักเปนที่หางไกลและเปลี่ยว มีโจรชุกชุม จอมมักจะกลัวและไมกลาปฏิเสธคําขอของพวกเขา (133)

การทํางานที่เส่ียงตอความไมปลอดภัยในชีวิตเชนนี้ ผานพนมาไดดวยการ

อนุโลมอยางอะลุมอลวย “จอมมักจะกลัวและไมกลาปฏิเสธคําขอของพวกเขา” นอกจากการถูกคุกคามอยูบอยครั้งแลว จอมยังเคยถูกจับกุมแทนนายจางคนเกาขณะทํางานในปาสงวนโดยที่เขาไมรูเร่ือง เขาถูกจับกุมแตโรงพักไมมีที่ขัง “…เขาถูกลามไวใตตนไม รองไหตากยุงอยูหลายคืน…” (134) ขณะที่จอมประสบปญหาจากผูมีอิทธิพล และถูกจํากัดเสรีภาพ นายจางของเขาก็ใชเงิน “วิ่งเตนประกันตัว ตํารวจจึงปลดโซใหเขาไปอยูในเพิงพักช่ัวคราว” (134) การบุกรุกปาสงวนซึ่งเปนการกระทําที่กระทบสวนรวม กลายเปนความผิดเล็กนอยที่ผูกระทําอาจพนผิดไดโดยงายนี้ ฟองความหละหลวมของระบบราชการไทยที่กฎหมายไมเด็ดขาด ความอยุติธรรมตกอยูกับลูกจางซึ่งมักเปนชาวบานธรรมดา แตตัวการใหญเชนผูวาจาง ผูมีอํานาจ ยังลอยนวลอยูในสังคมและอาจกลับมากระทําผิดไดอีกไมรูจบ ตราบเทาที่กฎหมายเปดชองทางใหและเจาหนาที่ละเลยหนาที่

จะเห็นวา ในสภาพสังคมที่หมิ่นเหมตอความปลอดภัยและประชาชนถูกคุกคามอยูเปนนิจ การหวังพ่ึงหนวยงานราชการก็ไมนาจะชวยใหอุนใจ เพราะสถานที่ราชการอยางโรงพักยังถูกบุกเผา เมื่อการณเปนเชนนี้ชาวบานตองพ่ึงพาตัวเองและแกไขปญหาเฉพาะหนา ดังเห็นวา จอมยอมทําตามคําขอรองแกมขูจากคนในทองถ่ินที่เขามาตีสนิทเพราะหวังผลอยางอ่ืน การกระทําดังกลาวก็นาจะเปนวิธีการเอาตัวรอด ทามกลางสังคมที่เต็มดวยปญหาเชนนี้ ผูอานก็คงมิอาจกลาวไดวาการยินยอมของจอมลดทอนคุณคาของความเปนมนุษย ส่ิงที่ลดทอนศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของจอม คือ ความเย็นชาของผูมีสถานะเหนือกวาซึ่งถือผลประโยชนเปนที่ตั้งเหนือความทุกขรอนของคนดวยกัน

เห็นไดวา นิคมแสดงวาปญหาความยากจนและความไมเปนธรรมยังเช่ือมโยงกับปญหาการขาดหลักประกันในชีวิตและการคุกคามของคนตอคนที่ซับซอนข้ึน ส่ิงที่นาสนใจคือ การนําฉากในชนบทภาคใตที่มีปญหาการคุกคาม และความไมปลอดภัยในชีวิต มาแสดงในเรื่องส้ัน สวนหนึ่งเปนไปไดวา ผูแตงนําประสบการณตรงของตนที่ประสบปญหาและความขัดแยงในสังคมเชนนี้ และปรารถนาใหเพ่ือนมนุษยที่จําเปนตองดํารงอยูในสังคมที่มีความขัดแยงไดแสวงหาวิธีการดํารงอยูไดอยางปกติ โดยสรางความแข็งแกรงทางจิตใจและไมละทิ้งคุณคาทีเ่ก้ือกูลชีวิต 3.1.2 ธรรมชาติภายในของคนกบัคานิยมของสังคม

เร่ืองส้ันของนิคม ในชวง 2525 เปนตนมามีจํานวนสี่เร่ืองที่แสดงความบกพรองภายในจิตใจซึ่งสรางปญหากระทบผูอ่ืน ไดแก ความเห็นแกตัว ความโลภ ความกลัว โทสะ

Page 65: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

84

และความออนแอ ใน “บายของหมอกควัน” (2525) และ “เปนลม” (2527) นิคมไดแสดงความเห็นแกตัวของกลุมนายทุนที่บุกรุกทําลายธรรมชาติอยางไมรูคา เพราะมุงสรางความมั่งคั่งใหแกตนเอง เห็นไดวาสภาพชุมชนดั้งเดิมที่อาศัยแหลงน้ําธรรมชาติเปนแหลงอาหารและเลี้ยงชีวิต มีอันตองสลายลง เพราะการรุกลํ้าของผูที่หวังประโยชนจากธรรมชาติอยางไมรูจักพอ ใชเครื่องมือที่ทันสมัยโดยไมคํานึงถึงระบบธรรมชาติที่มีอยูเดิม ถนนซึ่งเปนเครื่องหมายการไปมาหาสูของคนในชุมชนรกเรื้อดวยตนไมที่ข้ึนปกคลุม แสดงวาชุมชนที่เคยสมบูรณถูกทิ้งรางไป ในขณะท่ีมีกองทรายแทนลําธารที่อุดมสมบูรณ ความเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการเขามาหาผลประโยชนของนายทุน ไดทําลายวิถีชีวิตของชาวบานที่อาศัยแหลงน้ําธรรมชาติหลอเล้ียงชีวิตเมื่อ “น้ําตื้นเขินและแหงขอด ไมมีใครในหมูบานพูดถึงเร่ืองปู ปลา และเรือจากทะเลอีกเลย” ปรากฏการณเชนนี้ยอมตอกย้ําวาเมื่อธรรมชาติเส่ือมลงมนุษยก็มิอาจดํารงชีวิตอยูได ชุมชนจึงสลายตัวโดยไมมีใครสนใจอีกตอไป แมนายทุนมีอํานาจในการจัดการทรัพยากรซึ่งอาจไดจากการสัมปทานอยางถูกตองตามกฎหมาย แตก็สรางความเดือดรอนแกเพ่ือนมนุษยดวยความเห็นแกประโยชนสวนตน

ในเรื่องส้ัน “เปนลม” นิคมไดแสดงความเห็นแกตัวของคนไดอยางชัดเจน โดยช้ีวา การมุงผลประโยชนของตนจนละเลยคุณคาของเพื่อนมนุษย เปนสิ่งเลวรายมาก นายจางของจอมโกรธที่จอมหยุดงานเกินวันลา เปนไปไดวาการลางานของจอมซึ่งเปนคนขับมือหนึ่งจะกระทบตอรายไดของเขาที่คิดคาจางเปนชั่วโมงนายจางของจอมจัดหาน้ํามันและขาวสารมาใหคนงานเทานั้น (129) แตขาดความเขาใจลูกนองในแงที่ตองรับผิดชอบตอครอบครัวและคิดถึงบาน นอกจากนายจางของจอมจะเห็นแกตัวแลวเขายังขาดความรับผิดชอบและสํานึกดานมนุษยธรรมอยางมากดวย ดังเห็นวา เมื่อจอมตายเพราะอุบัติเหตุความทุกขรอนของนายจางอยูที่ความพะวงและหวั่นวิตกวาจะเกิดความยุงยาก ดังคําบรรยายและ บทสนทนาของตัวละครที่วา

มีความยุงยากและตกใจกลัว แตในที่สุดก็ผานไปได นายจางของเขาติดตอพอและเมียของจอม พรอมกับพูดจาใหทุกส่ิงทุกอยางจบลง เขาขอรองไมใหแจงตํารวจ กลัวเร่ืองยุง บาวจะตองติดคุก ตัวเขาเองก็ตองถูกสอบสวนวุนวาย

“ไหนๆ จอมก็ตายแลว ฟองไปก็ไมทําใหมันฟนขึ้นมาได ไมมีใครตั้งใจ” เขาหวานลอมใหพอของจอมคิดถึงที่เคยชวยเหลือกันมา และมอบเงินคาทําขวัญใหจํานวนหนึ่ง พรอมกับจัดการเรื่องงานศพใหเสร็จ

“แลวจะบอกวามันเปนไรตาย” พอของจอมถามเรื่องที่ตองตดิตออําเภอ

Page 66: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

85

“บอกวาเปนลมตายกไ็ด” “เปนลม” แกทวนคําเบาๆ นึกถึงรางที่แหลกเหลวของลูกชาย (138 –

139) (เนนโดยผูวิจัย)

การแสดงน้ําใจของนายจางดวยเงินและการหวานลอม ทวงบุญคุณ “ที่เคยชวยเหลือกันมา” นาจะฟงดูสมเหตุสมผลในโลกธุรกิจ อยางไรก็ตามการกําหนดใหแจงสาเหตุการตายของจอมวา “เปนลม” ทั้งๆ ที่รางแหลกเละก็สะทอนความไรคาของชีวิตในทัศนะของคนเชนนี้ ซึ่งเปนทัศนะบนพื้นฐานของความลวงที่ชวนขันอยางนาขมขื่น

ความเห็นแกตัวและความโลภซึ่งถูกกระตุนดวยการพัฒนาดานวัตถุมีสวนทําใหมนุษยออนแอ ไมกลาเผชิญความจริง มุงแสวงหาวัตถุจนยึดอยูแตกับวัตถุ โดยไมคิดวามันเปนเปลือก วัตถุจึงกลายเปนที่ปองกันภัยและสําคัญเหนือกวาชีวิต ดังปรากฏใน “อุหมัง” (2527) สํารวยเปนตัวแทนของคนรุนใหมในสังคมเมือง เปนคนคร่ําเครงกับการทํางานเพื่อใหไดมา ซึ่งส่ิงอํานวยความสะดวกเชนรถ จนเห็นวา การพักผอนเพื่อความสุขทางจิตใจเปนสิ่งเกินจําเปน

นิคมเปรียบปูเสฉวน หรือที่เรียกวาอุหมัง ที่หลบอยูแตในเปลือก กับบุคลิกของ ตัวละครนี้ เปลือกของอุหมังก็คือความมั่งคั่งทางวัตถุ ดังเห็นจากคําบรรยายและบทสนทนาที่วา

“…เขาหวงงานจนไมอยากไปไหน” คร่ําเครงอยูกับตัวเลขซื้อขายทั้งวัน “ผมไมมีเวลาเที่ยวเตรหรอก” เขาบอกเธอ “มันเสียเวลาทํางาน เจานายผมไมชอบ และอีกอยางผมไมอยากตกงาน ผมตองหาเงินจายดอกเบี้ยแบงคและผอนรถดวย ผมไมยอมใหรถผมถูกยึดเด็ดขาด” (149) (เนนโดยผูวิจัย)

สํารวยพะวงอยูกับงานเพราะเปนปจจัยที่ชวยใหเขาไดครอบครองรถ เขาไมมี

เวลาเที่ยวเตรเพราะกลัวตกงาน เขาคํานึงถึงเจานายหรือหนาที่การงานไมใชเพราะรักงานที่คุณคาของงานแตยึดกับงานเพียงเพราะกลัววาจะไมมีเงินผอนรถ จายดอกเบี้ยธนาคาร เมื่อเขากลาวอยางหนักแนนวา “ไมยอมใหรถถูกยึดเด็ดขาด” เราก็ไดเห็นการเนนย้ําเปาหมายและความมุงมั่น อันแสดงวาเขาใสใจตอปจจัยภายนอกที่ทําใหเขามีระดับสถานะสูงในสังคมตามคานิยมของคนในยุคที่เนนการพัฒนาทางเศรษฐกิจ จึงเห็นคาของวัตถุมากกวาความสุขทางใจ นี่เปนเหตุใหสํารวยจํากัดตัวเองอยูในกรอบ เราจึงเห็นความกลัวและความออนแอของเขาจากคําบรรยายบุคลิก ตัวละครนี้วา

Page 67: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

86

นอกจากเปนคนรักรถแลว เขายังเปนคนแตงตัวสะอาด ผมของเขาขริบเปนระเบียบ ใสน้ํามันเหนียวหนับ และเรียบแปร เส้ือกางเกงไรรอยยับ เน็คไททันสมัย รองเทาเปนมันเงา เขารับปากที่จะไปเที่ยวทะเลกับเธอดวย แตก็ไมวายแสดงความกังวล มีแมงกะพรุนไฟไหม เขาถาม ร้ินกับยุงชุมไหม ผมแพลมทะเล มีฉลามไหม น้ําลึกไหม คลื่นแรงรึเปลา เรือจะไมลมหรือ แลวเราจะกินอะไร มีน้ําจืดอาบไหม คุณเอาครีมกันแดดไปดวยนะ ผมกลัวเปนมะเร็งผิวหนัง (149)

ในสังคมที่คนเนนตัวเองเปนศูนยกลาง ละทิ้งความเอื้อเฟอเก้ือกูลซึ่งชวยธํารง

สังคม ความผูกพันกลายเปนความเพิกเฉย ไมสนใจกัน มนุษยแปลกแยกตอกันและหางเหินจากธรรมชาติ คานิยมใหมนี้บอนทําลายความแข็งแกรงภายในจิตใจของมนุษยจนกลายเปนคนข้ีขลาด ดังขอตางของคนไขชาวประมงกับคนไขอ่ืนตรงที่ชาวประมงดูเหมือน “ไมกลัวอะไรบางเลย” (143) เมื่อมีปญหามากระทบ คนเมืองก็มักหนีปญหา เชนเพื่อนนักธุรกิจของตัวเอกที่เลือกดื่มยาพิษแกปญหา ลมละลาย เพราะยึดความสําเร็จในชีวิตเหนือกวาชีวิต การสูญเสียเปลือกกลายเปนวิกฤตชีวิตที่ชวนหวาดกลัวและมิอาจยอมรับได

นิคมสรางใหเพ่ือนนักธุรกิจของตัวละครเอกพบวิกฤตชีวิตที่หนักหนวงและหนีปญหาดวยการฆาตัวตาย เพ่ือช้ีวาการกระทําดังกลาวแสดงภาวะจิตใจออนแอ และลดทอนคุณคาของมนุษยในแงที่ไมสามารถใชสติปญญาแกปญหาชีวิตได นิคมวิพากษวิจารณสังคมในยุคพัฒนาที่ยึดถือประโยชนทางวัตถุเปนสรณะเพราะตกอยูในความลวง และยึดมั่นกับคุณคาเทียมจนไมรูจักตัวเอง

เมื่อมนุษยถูกกระแสวัตถุนิยมครอบงํา ก็เกิดเง่ือนไขในชีวิตมากมาย การแสวงหาวัตถุหรือส่ิงอํานวยความสะดวกตามคานิยมของคนในสังคม เชน รถยนต บาน หรือเครื่องอํานวยความสะดวก ไมตางจากสํารวยที่รักรถมาก ตองทํางานอยางหนักเพ่ือ “หาเงินจายดอกเบี้ยแบงคและผอนรถดวย…” (149) สํารวยเปนตัวแทนของมนุษยที่ยึดมั่นในวัตถุและยอมรับกฎเกณฑตางๆ ของสังคมโดยมิใครครวญวาคุณคาที่แทจริงคือส่ิงใด อยางไรก็ตาม เขารักที่จะอยูในสังคมที่บีบรัดและขลาดกลัวเกินกวาที่จะทําความรูจักกับสิ่งใหมๆ ในชีวิต

ในเรื่องส้ัน “สาบเสือ” (2542) นิคมนําเสนอวาจุดออนภายในของคน คือ การปกปองตนเองและกลาวโทษผูอ่ืนเมื่อเกิดความกลัว ความกลัวเมื่อโยงกับความโกรธเปนเหตุของการปดความรับผิดชอบ ตัวการที่ทําลายมิตรภาพระหวางเพ่ือนคือจุดออนนี้ เถินกับธนาเปนเพ่ือนที่สนิทสนมกันมาตั้งแตเด็ก พอเติบโตธนากลายเปนคนเมืองทํางานอยูในกรุงเทพฯ เขาจางเถินใหดูแลสวนปาลมที่กระบี่ ในวันที่เกิดเหตุธนาบินมาลงที่ภูเก็ต และข้ึนรถเถินมายังสวน ทั้งสองคนขึ้นบนเขาดวยความมุงหมายที่ตางกัน เถินข้ึนเขาเพื่อจะได “มองลงมา...เห็นภาพ

Page 68: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

87

กวางไกลลิบตา” แตธนาบอกไมไดวาจะขึ้นไปทําไม แรงจูงใจที่ทําใหธนาขึ้นเขาคราวนี้คือการตามไกฟาหนาเขียว อยางที่เขาเคยเลี้ยงตอนเปนเด็กแลวหลุดจากกรงไป เขาหยุดพักเหนื่อยเมื่อไกฟาหายลับตาไป จนเถินเดินตามทันและชวนธนาขึ้นไปบนยอดเขาอีกครั้ง ทั้งสองเดินทางสูยอดเขา เสนทางที่ทั้งสองตองฝานั้นยากลําบาก ดังคําบรรยายที่วา

…พอพนลานหินก็เขาสูพุมหญารกและแนวตนไมใหญที่รมครึ้ม เขาเดินลัดเลาะไปตามพื้นที่ลาดชันไมมีแนวทางเดิน ตองกําหนดเสนทางเอาเอง หลบหลีกพุมไมหนามแหลมคม ออมโขดหินสูงชัน ผานเขาในซอกโตรกธาร และลอดเขาไปใตเงามืดทึบของตนไมสูง…

....................... เขาเดินข้ึนชันไปเรื่อยๆ ปลายเทาเหยียบตามเหลี่ยมหิน ปนข้ึนหนา

ผา เมื่อถึงยอดเนินก็นั่งลงกับพื้น คอยๆ ไถลลงทางดานถัดไป มีเนินเล็กเนินนอยซอนทับกันอยูมากมาย ที่เขาตองข้ึนและลง ซอกเนินบางแหงมีรองลําธารมีน้ําไหลริน เขาท้ังสองวักน้ําข้ึนลางหนา และนั่งพักที่นั่น… (153)

ความยากลําบากทําใหธนาไมยอมไปตอ ในขณะที่ฝนทําทาจะตกหนัก จึงคิดวา

จะลงทางเกาไมได ธนาเจ็บปวดตามตัวเพราะลื่นกระแทกพงหนาม โดนผึ้งตอย ทั้งสองเหนื่อยจนยกเทาแทบไมไหว “หันมาเผชิญหนากัน ตางก็เดินไปดวยอาการโกรธ” ถกเถียงกันวาอีกฝายเปนตนเหตุแหงปญหา

ทั้งสองคนตองบุกดงหญา ออกแรงเปนเวลานานจนมืดค่ํา ตองทนตอความหิว นอกจากถูกผึ้ง มด และทากกัดยังโดนฝนจนหนาวสั่น และตกอยูในความมืดหาทางออกไปตอไมได การประสบชะตากรรมดังกลาวกระตุนใหทั้งสองโทษอีกฝายวาเปนตนเหตุใหตนตองมาลําบาก และนําไปสูการกลาวหากันถึงความไมซื่อสัตยตอกันและการทํางานอยางฉอฉล เมื่อทั้งสองไมสามารถควบคุมอารมณที่พลุงพลานได จึงใชกําลังตอสูกันจนพลัดตกไปติดแรวดักเสือของชาวบาน

ความคิดหลักของเรื่องส้ันนี้ คือสัญชาตญาณฝายต่ําของมนุษยอาจทําลายคุณคาของความเปนมนุษยลงไดหากมนุษยไมรูเทาทันและขาดการควบคุม มนุษยจึงกลายเปนเสือ สัตวปา ดุราย หรือกลาวไดวาความกลัว ความโกรธจากการปกปองตนเอง คือโอกาสของการเผยสัญชาตญาณสัตวปาของคน ถึงแมวาตัวละครทั้งสองมีนิสัยตางกันและมีความยึดถือในสิ่งตางกัน

เถินเปนตัวแทนคนชนบทที่ผูกพันกับธรรมชาติ เขาจึงช่ืนชมคุณคาและความงามของธรรมชาติ ดังเห็นจากเหตุผลที่เขาตองการขึ้นไปยอดเขาคือ “…สูดอากาศบริสุทธิ์ ไป

Page 69: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

88

ใหมันใกลเมฆอีกหนอยหนึ่ง ไปขางบนเพื่อมองลงมาขางลางเห็นภาพกวางไกลลิบตา และเพ่ือรูวาเราไดข้ึนไปแลว” (151) เถินมีความผูกพันกับอุดมคติที่จะไปถึงที่ที่จะเห็นภาพกวางไกล สําหรับเถินนั้นมนุษยควรจะขึ้นสูที่สูงเพ่ือจะเห็นใหกวางและไกลจากสภาวะจําเจ การเห็นมีคาสําหรับเขา แตกลับถูกธนาคอนแคะวาไรสาระ ธนาสนใจแตส่ิงที่มีประโยชน ประโยชนของเขาก็คือส่ิงที่ขายได เถินจึงอางเหตุผลท ี่จะขึ้นเขาใหสอดรับกับวิธีคิดของธนา คือ บนเขามีตนกฤษณาที่ขายไดราคา และสมควายที่อยูในกระแสวาสกัดเปนยาลดไขมันได เนื้อความนี้ย่ิงเนนวาธนาสนใจแตประโยชนเฉพาะหนา ส่ิงที่อยูในกระแสยอมเปนสิ่งที่ปรวนแปรไมแนนอน ชีวิตในเมืองทําใหเขาซึมซับวิธีคิดแบบทุนนิยมที่ปลูกฝงใหคํานึงถึงผลตอบแทนที่จะไดรับมากกวาความสุขใจ ธนามักจะกระตือรือรนทําในสิ่งที่จะเอื้อประโยชนแกเขา เชน การวาจางใหชาวบานทําแรวดักเสือเพ่ือนํามาปลอยในวันเปดโรงงานสกัดน้ํามันปาลมตามขอเสนอของผูถือหุน การสรางกรงนกและเรงติดตามไกฟาหนาเขียวอยางไมยอทอเพ่ือชดเชยความสูญเสียในวัยเด็ก แมพฤติกรรมของธนาเปนคนจริงจังและมุงมั่นตอส่ิงที่ตนตองการ แตอีกแงมุมหนึ่งก็แสดงวาธนาเปนคนที่ขาดความเขาใจองคประกอบของชีวิต ดังเห็นวาเขาสรางกรงนกเปนสิ่งแรกขณะเขาทําสวนปาลม แสดงการหมกมุนกับการใชอํานาจกักขังนกที่ตนครอบครอง นาสนใจวาความกระตือรือรนของธนาขัดแยงกับการบายเบี่ยงที่จะเดินทางไปยอดเขาทั้งๆ ที่เขาปรารภขึ้นเอง พอเถินชวนธนาขึ้นไปบนยอดเขา ธนามักแสดงอาการวาอยากไปแตผัดผอนเรื่อยมา บงช้ีวาธนาขาดความมุงมั่นอยางแทจริง และเขาเปนคนคิดฉาบฉวย ความไมเขาใจยังสงผลใหธนาไมอาจตอบคําถามของชาวบานที่วา เมื่อตองการปลอยเสือ แลวทําไมตองจับเสือในปามากอน ทั้งๆ ที่การปลดปลอยก็เกิดขึ้นไดโดยไมตองจับมาพันธนาการ ผูอานอาจตีความไดวาการจับไดก็คือการมีและใชอํานาจนั่นเอง

นาสนใจวา ธนาตองการจะไปสูโลกอุดมคติแตคานิยมในสังคมที่เขาดํารงอยูปลูกฝงความคิดใหเขาตระหนักวาเงินตราเปนคุณคาสูงสุดในชีวิต อุดมคติจึงไมใชส่ิงที่เขาตองการอยางแทจริง เมื่อเขาเล็งเห็นผลตอบแทนเปนรูปธรรมดังกลาว เขาจึงถามหา “สาระ” ของการขึ้นยอดเขา ดังบทสนทนาที่วา “ …เล่ือนลอย ไมมีสาระเลย…เอาที่มันเห็นไดและกนิไดซิ ถาแลกเปนเงินไดก็ย่ิงดีใหญ (151) (เนนโดยผูวิจัย) เมื่อเถินชวนธนาขึ้นยอดเขาธนาแสดงอาการวาอยากไปแตผัดผอนเรื่อยมาทั้งๆ ที่เขาเปนคนตนคิด สําหรับธนาอุดมคติจึงเปนเพียงความปรารถนาที่เกิดขึ้นอยางฉาบฉวย กระทั่งธนาเหลือบเห็นไกฟาหนาเขียวและติดตามไปอยางกระทันหัน

ในขณะที่มนุษยพยายามจัดการธรรมชาติใหอยูในอาณัติของตน แตกลับไมพยายามขจัดความชั่วรายภายในตัวตนของตน คนทั้งสองที่มีเปาหมายชีวิตตางกันก็ยังมีลักษณะรวมที่พายแพสัญชาตญาณสัตวปาในตัวเอง เมื่อเขาเริ่มโกรธและตอสูกันก็ไดกล่ินสาบเสือ ซึ่งย่ิงรุนแรงขึ้นขนาดที่เรียกวา “ฉุน...จน...แทบสําลัก”

Page 70: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

89

3.1.3 การขาดความเขาใจแกนแทของชีวิต ใน “เปนลม” ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ประกอบกับความเจริญทางเทคโนโลยี

ทันสมัยเปดโอกาสใหมีการทําลายธรรมชาติรุนแรงขึ้น กลุมนายทุนที่มีอํานาจและโอกาสทางเศรษฐกิจสูงเปนตัวการทําลายธรรมชาติดวยการขยายพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน ปาลมน้ํามัน จนเกิดการบุกรุกพ้ืนที่ปาสงวน โดยมิไดหวงใยวาจะมีผลกระทบตอระบบนิเวศ นาสังเกตวา นายทุนที่เขาบุกรุกเขตปาหรือธรรมชาติ มักมิใชกลุมบุคคลในทองถ่ิน หากแตเปนคนถิ่นอื่นเขามาทําประโยชน ในขณะที่คนจนมักตองสูญเสียที่ดินดวยเหตุที่มีหนี้สินและแกปญหาไมไดเชนกรณีของจอม เปนตน

นายจางของจอมเปนตัวแทนของนายทุนที่มุงสรางประโยชนสวนตน โดยไมเขาใจแกนแทของชีวิต เขาจึงปฏิบัติตอจอมในฐานะลูกจางมิใชเพ่ือนมนุษย นอกจากนี้ นายจางไมเขาใจวาสังคมมนุษยดํารงอยูไดเพราะการแบงปนน้ําใจและเกื้อกูลกัน เขาจึงไมรูสึกเดือดรอนนักกับการเสียชีวิตของจอม เขามิไดคํานึงวา ครอบครัวที่ขาดหัวหนาครอบครัวจะอยูกันอยางไร และเงินคาทําขวัญที่เขามอบใหเพียงพอตอการดํารงชีวิตของคนทั้งสามหรือไม ความไมเขาใจแกนแทของชีวิตนี้ทําลายความสัมพันธระหวางคนกับธรรมชาติและทําลายระบบสังคม

“บายของหมอกควัน” ก็แสดงวาบริษัทเหมืองแรรุกลํ้าแหลงธรรมชาติอันเปนที่อยู ที่กินของชาวบาน ทําลายความเปนชุมชนอยางรุนแรงเพราะหวังเม็ดเงินจากแรในดินจนทําลายวิถีชีวิตของชาวบาน นอกจากนี้ ความไมสํานึกในคุณคาของการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ตํารวจ ก็บงบอกวาคนเหลานี้ไมเขาใจคุณคาของชีวิตจึงไมพยายามใชโอกาสท่ีตนรับผิดชอบในการงานชวยเหลือผูอ่ืนที่เดือดรอน เมื่อคนในสังคมตางคํานึงถึงผลประโยชนของตนเปนที่ตั้ ง เพิกเฉยตอความทุกขยากของผู อ่ืน ก็ เ กิดการทํารายกันอยางโหดเหี้ยม ความสัมพันธของคนในสังคมจึงลดลง

ใน “บายของหมอกควัน” ซิ้วและเพื่อนบานตางเศราเสียใจกับการสูญเสียคนในครอบครัว แลวยังถูกเจาหนาที่ตํารวจฉวยโอกาสนําแรที่แลกกับชีวิตของคนทั้งส่ีไปอยางไมละอายใจ เมื่อผูพิทักษสันติราษฎรที่ชาวบานหวังใหคลี่คลายปญหากลายเปนศัตรูของประชาชน ความทุกขที่ซิ้ว โลด รอหีม และลุงผิวไดรับจากการสูญเสียญาติอยูแลว ก็ย่ิงทวีความรุนแรง สภาพสังคมที่ไร ความปลอดภัยยอมบั่นทอนใหคนในสังคมสิ้นหวัง ความทุกขของผูคนที่ถูกกระหน่ําซ้ําเติมอยางซ้ําซาก ไมตางจากหมอกควันที่บดบังเสนทางไวจนมืดมิด

เมื่อชีวิตของคนธรรมดาสามัญถูกตีคาตอยต่ํา ทั้งๆ ที่ทุกชีวิตมีคาเทากัน การทํารายกันเพราะขาดความสํานึกในคุณคาของความเปนมนุษยนี้สรางความสลดใจแกผูอาน

3.2 ศักยภาพของคน

ขณะที่นิคมแสดงวาปญหาของคนเพิ่มข้ึนอยางซับซอนดวยความเปลีย่นแปลง ทางสังคม เขายังยืนยันวาบคุคลมีศักยภาพที่จะดาํรงตนอยูในสังคมที่เปลี่ยนแปลงได ศักยภาพที่

Page 71: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

90

นิคมยืนยันและแสดงในเรื่องส้ันระยะนี้ไดแก การดาํรงชีวิตอยางรูเทาทันกฎธรรมชาติ การเรียนรู และการมุงมั่นในวิถีปฏิบตัิของตน 3.2.1 การดํารงชีวิตอยางรูเทาทนักฎธรรมชาต ิ

ใน “บายของหมอกควัน” (2525) ภาวะไรความปลอดภัยอันเกิดจากความซับซอนของปญหา ทําใหชาวบานดําเนินชีวิตอยางขาดความเชื่อมั่น อยางไรก็ตาม แมบรรยากาศไรความปลอดภัย เศราโศก และผันผวนบอยครั้ง แตบุคคลที่แข็งแกรงก็จะยอมรับความเปลี่ยนแปลงได ลุงผิวสูญเสียลูกชายซึ่งเดินทางไปทําแรกับยุย ความตายของลูกที่เกิดอยางกระทันหันยอมสรางความทุกขแกพอแม แตลุงผิวมิไดคร่ําครวญหรือกลาวโทษผูชักชวนคือยุย ใหซิ้วซึ่งเปนภรรยาลําบากใจ

การผานชีวิตมามากพบเห็นความเปลี่ยนแปลงของชีวิตทั้ง เกิด แก เจ็บ ตายบอยครั้ง ทําใหลุงผิวขมใจยอมรับชะตากรรมอันขมขื่นได การกลาววา “พวกเขาอุตสาห ซอกซอนมาตั้งไกลก็เพ่ือแคนี้เองแหละ…เพ่ือจะทําแรใหพอคาทําศพของตัวเองเทานั้น…” (121) วิเคราะหไดวา ในกรณีนี้การดิ้นรนเพื่อความอยูรอดเปนสิ่งที่ไรความหมาย เพราะปญหาที่พวกเขาควบคุมไมไดใหญโตเกินกวาจะคาดคิด แตถึงจะยากลําบากอยางไรก็ตาม ญาติมิตรก็ตองดูแลกันแมรางที่ไรชีวิต เฉพาะอยางย่ิงเมื่อพิจารณาบทสนทนาระหวางรอหีมกับลุงผิวที่วา

“ฝงตรงนี้เถอะ” รอหีมพูด “ไมได” ลุงผิวเสียงแข็ง “มันเนาหมดแลวนี่” “ตองพาเขากลับบานไปสงใหถึงวัด” (117 – 118)

ลุงผิว ตองการนําศพไปประกอบพิธีกรรมทางศาสนาใหถูกตอง ความตั้งใจ

ดังกลาวแสดงวา ความเชื่อความศรัทธาในศาสนาฝงลึกอยูในความคิดของคนไทย เฉพาะอยางย่ิง ในสังคมที่มนุษยดํารงอยูอยางไรความปลอดภัย คลุมเครือ ขาดที่พ่ึง ศาสนาเปนสถาบันหลักที่พอจะยึดเหนี่ยวจิตใจ จึงกลาวไดวา ศาสนาเปนที่พ่ึงในยามที่เกิดความผันผวนในชีวิต การเขาใจสัจธรรมชีวิตอยางลึกซึ้งชวยใหวางเฉยตอความทุกขในระดับหนึ่ง

สวนรอหีม ตัวละครที่เปนมุสลิม เขาสูญเสียลุงที่ ข้ึนไปทําแรพรอมยุยดวย รอหีมเปนคนไปตามตํารวจมาดูที่เกิดเหตุ แมผูอานจะพบวา เขาเปนคนมุทะลุ ใจรอน และพูดตรงไป ตรงมา จนทําใหตํารวจไมพอใจหลายครั้ง แตคําพูดของชายใบหนาเกรียมแดงที่วา “…คนนั้นผมรูจัก…นิสัยดีมากนะ” (109) ยืนยันวารอหีมเปนคนดี ย่ิงพิจารณาตัวละครนี้อยางละเอียด ก็จะพบวารอหีมเปนตัวละครที่เขาใจชีวิตและเขาถึงแกนศาสนาอยางแทจริง เขายอมรับความแตกตางของศาสนา ขณะเดียวกันก็เขาใจลักษณะรวมในระดับลึกของศาสนาที่เปนที่พ่ึงทาง

Page 72: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

91

ใจและสอนความจริง ในตอนที่ชาวบานชวยกันยางศพที่เนาเปอยเพื่อใหแหงพอที่จะนําใสถุงกลับลงไปได ทามกลางความปวดราวรอหีมไดแสดงความคิดเกี่ยวกับสัจธรรมของความเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งไวอยางนาช่ืนชม ดังบทสนทนาที่วา

“แยแลว ผมลืมคิดถึงลุงบ”ู “จริงซิ” ลุงผิวพูดคลายรูวาโลดกําลังคดิอะไร “เขาถือแขก” “เราก็ไมรูวาใครเปนใครแลวดวยซี” “ทําอยางไรด ี จะแยกอยางไร” “ทําไมตองแยกละ” รอหีมหลานลุงบูพูด “ตอนนี้ยังมีอะไรตางกัน

อยูอีกหรือ” เขาหันไปมองหนาคนโนนคนนี้ดวยทาทางเครงเครียดแลวจองมองลุงผิวกับโลดอยางถมึงทึง พลางตะโกนเสียงดัง

“ยังมีอะไรที่ตางกันบางไหม มีไหม มีไหม” เขาผลุนผลันออกไปหยิบกระสอบเปลาที่ทิ้งลงบนพื้นเมื่อสักครูข้ึนถือ

ใชก่ิงไมกวาดชิ้นสวนของศพกองรวมกัน แลวโกยใสเขาไปในกระสอบ คนอื่นที่ยืนนิ่งเงียบอยูตางรีบรี่เขามาชวย ศพทั้งส่ีรวมกันไดราวๆ ครึ่งกระสอบ รอหีมใชเถาวัลยผูก แลวยกข้ึนตั้งบนโขดหิน (118 – 119) (เนนโดยผูวิจัย)

คําพูดของรอหีม แสดงความเขาใจภาวะการแตกดับสังขารของมนุษยโดยไม

เลือกศาสนาใด เพราะความตายเปนกฎธรรมชาติ เมื่อมนุษยตายไปก็จะเปนหนึ่งเดียวกันไมมีเสนแบง คือ เหลือเพียงกระดูก สวนพิธีกรรมทางศาสนาไมวาจะเปนแบบใดลวนเปนสิ่งที่มนุษยกําหนดขึ้น เพ่ือนํามนุษยกลับคืนสูธรรมชาติ อันเปนการเตือนสติใหผูอานตระหนักถึงการแตกดับของสังขารของสรรพสิ่งวาเปนอนิจจัง และมนุษยมิควรยึดมั่นสิ่งใดอยางสุดโตงนั่นเอง นิคมจงใจใหรอหีมซึ่งเปนมุสลิมตั้งคําถามวา “ทําไมตองแยกละ” “ตอนนี้ยังมีอะไรตางกันอยูอีกหรือ” “ยังมีอะไรตางกันบางไหม มีไหม มีไหม” แทนตัวละครอื่นที่เปนไทยพุทธเพื่อใหผูอานเห็นวา ความเขาใจชีวิตเกิดไดโดยไมเลือกกลุมคนหรือศาสนา นาสนใจวา รอหีมเปนมุสลิมที่อยูรวมสังคมเดียวกับไทยพุทธ อาจเปนเพราะผูแตงตองการเนนย้ําวา การยืดหยุนเปนสิ่งจําเปนตอการอยูรวมกันในสังคมที่แตกตางทางความคิดความเชื่อ

การสรางตัวละครที่มีความแตกตางทางศาสนาใหดําเนินชีวิตรวมกันได เปนความตั้งใจของผูแตงที่ตองการยืนยันวา บุคคลสามารถทําความเขาใจและอยูรวมกันไดอยางเปนสุข เพ่ือกระตุนใหผูอานตระหนักถึงความสัมพันธและการปฏิบัติตอกันของคนในสังคม กลาวคือ

Page 73: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

92

หากทุกฝายลดทิฐิมานะ และกาวขามการสมมุติในความคิดของตน ความเขาใจก็จะเปนหนทางที่ชวยจรรโลงสังคมใหสงบสุข 3.2.2 การเรียนรู

นิคมไดเนนย้ําความสัมพันธของคนกับธรรมชาติหนักแนนข้ึน โดยเฉพาะการเรียนรูความหมายจากธรรมชาติ คนไขชายชาวประมงใน “อุหมัง” (2527) เปนตัวแทนของบุคคลที่ใชชีวิตกลมกลืนและสํานึกในคุณคาของธรรมชาติ เขาอาศัยอยูบนเกาะ มีอาชีพหาปลาและหยุดชวงที่มีคลื่นแรง เขาไมเคยเจ็บหนักแตคราวนี้เขาตองเขารักษาตัวโรงพยาบาลในเมืองที่ ตัวเอกเปนพยาบาลอยู การคลุกคลีอยูกับธรรมชาติตระหนักวา ธรรมชาติเปนผูใหและเก้ือกูลมนุษย เขาจึงสามารถบรรยายเกาะซึ่งสวยงามใหตัวละครเอกอยางสุขใจวา

...ที่นั่นน้ําใสสะอาด มีปะการังสีสวยมากมาย มันเปนเกาะไกลฝงที่สุดในแถบนี้ ถาคุณวางลองไปซิ…ที่นั่นสวยมาก เงียบสงบ ไมมีคนอยู มีหอยตีนชางมาก บางทีปลาโลมาเปนฝูงหลบลมเขามาจากขางนอก (142)

และ “…วางๆ ไปเที่ยวที่นั่นซิ ผมจะพาไปงมหอยมุก แลววายน้ําเลนกับ

ปลาโลมา ดวย…” ใบหนาเขาสดใส เธอรูสึกเหมือนไดกล่ินน้ําเค็ม ไดยินเสียงคล่ืนและลมพัด เธอมองไปยังเตียงคนไขรอบหองที่เต็มไปดวยภาพเศรา พอหันกลับมาที่ตัวเขา เสียงคล่ืนก็ปรากฏขึ้นแผวๆ ลมเย็นเขาหอรางจนหัวใจเตนแรง (144)

การประกอบอาชีพหาปลาโดยอาศัยความสมบูรณของทะเลทําใหเขาเห็นความ

เก้ือกูลของธรรมชาติ “ผิวหนาดําคล้ํา” ของเขามิไดลดทอนความเปนมิตรที่มีตอผูอ่ืน เปนไปไดวา เมื่อเขาไดเรียนรูคุณคาของการใหและเก้ือกูลจากธรรมชาติ เขาก็ไมลังเลที่จะหยิบยื่นความเปนมิตรและปรารถนาดีแกผูอ่ืน

สวนหญิงชราที่รูจักและคุนเคยกับตัวละครเอกนั้น เปนตัวละครที่สังเกตและเรียนรูชีวิตจากธรรมชาติ ดังเห็นจากการสังเกตธรรมชาติของอุหมัง เมื่อหญิงชราเห็นกลุมหญิงสาวเก็บอุหมังเพ่ือ “…เอาไวดูเลน มันสวยดี” (145) หญิงชราก็กลาวอยางไมเห็นดวยวา

“ไมเห็นสวยตรงไหน” หญิงชราพูด “มันข้ีขโมยดวย” ……………….. “ขโมยเปลือกหอย” ………………..

Page 74: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

93

“บางทีหอยยังไมตาย มันก็ฆากินเนื้อแลวชิงเปลือก” (145) และ

“มันรักเปลือกมาก” หญิงชราพูด “ยอมตายมากวาทีจ่ะทิ้งเปลือก” ………………. “มันชอบความสวยงามดวยนะ” คนหนึ่งพูด “ดูซิเปลอืกหอยที่มันอยู

มีแตสวยๆ แปลกๆ ทั้งนั้น มันคงจะแขงขันเอามาอวดกัน” “บางตัวกไ็มสวย” หญิงชราพูด “ผุๆ พังๆ แตพอเจอเปลือกสวยที่

วาง มันจะรีบเปลี่ยนทันท”ี (147)

ขณะที่กลุมหญิงสาวตัดสินอุหมังเพียงรูปลักษณภายนอกเทาที่เห็น คือ ดูที่เปลือกหอยที่มันเขาไปอาศัยอยู จึงกลาววา “มันสวยดี” “มันชอบความสวยงามดวยนะ” “มันคงจะแขงขันเอามาอวดกัน” ความคิดนี้อิงกับคานิยมที่เนนวัตถุเปนสําคัญ แตหญิงชรา ซึ่งใชชีวิตทํามาหากินอยูกับทะเล สังเกตเห็นพฤติกรรมดานลบของอุหมังหลายอยาง เชน การฆาหอยกินเนื้อแลวชิงเปลือก วิเคราะหไดวา ความแตกตางทางความคิดของคนสองกลุมเกิดจากสภาพแวดลอม ขณะท่ีหญิงสาวซึ่งใชชีวิตในสังคมเมืองตัดสินคุณคาเพียงผิวเผินตามทัศนะที่ตนยึดถือ แตหญิงชราเฝาสังเกตพฤติกรรมของอุหมังเปนนิจ จึงเขาใจธรรมชาติของสัตวชนิดนี้

หญิงชรายังเปนคนที่รูเทาทันชีวิต ดังเห็นไดในบทสนทนาระหวางหญิงชรากับ ตัวละครเอกที่วา

“ไมเหนื่อยบางหรือหนู” แกเอยถามในวันหนึ่ง “ทุมตัวใสคลื่นอยาง

นั้น คงสนุกมากเลยใชไหม” “ไมสนุกหรอกยาย” เธอตอบพลางหอบหายใจปนหัวเราะขบขัน “แต

คลื่นมันทุมใสตัวหนูเอง” “คลื่นมันก็เปนอยางนั้นแหละ” หญิงชราพูด “มันไมเคยเปนอยางอ่ืน

หรอก” (142)

ขอชวนคิดที่แฝงไว คือ หากตีความวาคลื่นในที่นี้หมายถึงปญหาหรืออุปสรรคที่มนุษยตองประสบและตอสูเปนปกติธรรมดาก็ตองยอมรับวา “คลื่นมันก็เปนอยางนั้นแหละ…มันไมเคยเปนอยางอ่ืนหรอก” แสดงวา ปญหาเปนสวนหนึ่งของชีวิตมนุษย และมนุษยมิอาจหลีกหนีการเผชิญปญหาได แตมนุษยก็ควรมีวิธีจัดการปญหาอยางรูเทาทัน คําพูดของหญิงชราอาจเปน

Page 75: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

94

ทัศนะของผูแตง ที่ยอมรับวาปญหาเปนสวนหนึ่งของชีวิตและตองพรอมเผชิญและตอสูปญหาดวยแกนแทของตัวเองไมใชหลบเลี่ยงเขาไปอยูแตในเปลือก

สวนตัวละครเอก ซึ่งมีอาชีพเปนพยาบาลหดหูกับความทุกขของคนไขจนตองกลับ ไปหาธรรมชาติ เพ่ือคนหาคุณคาภายในของตนเอง เมื่ออยูคนเดียวก็มีโอกาสทบทวนตัวเอง ตลอดจนคนรอบขาง อยางกลุมเพื่อนของเธอที่ยอมตกอยูในเง่ือนไขของสังคมและหนาที่การงาน ซึ่งจํากัดกรอบชีวิตโดยไมพยายามฝาออกมา ตัวละครเอกไดคนพบความจริงของชีวิตโดยสังเกตชีวิตอื่นและใครครวญดวยตัวเอง เร่ิมจากอุหมัง กลุมเพื่อนของเธอ และคนไขชายชาวประมง เธอนึกถึงคนไขชายชาวประมงที่เจ็บหนักแตยังลงจากเตียงไปปลอบคนไขอ่ืนที่กลัวความเจ็บไข ชาวประมงปลดน้ําเกลือลงจากเสาแลวชูไวขณะที่เดินไป เมื่อเขาชวนเธอไปเที่ยวทะเล เธอคิดวา “มันจะเปนไปไดยังไง…ก็ตัวเขามีสายน้ําเกลือหอยระโยงระยางอยางนั้น เขาไปไมไดหรอก เขาชางไมรูเร่ืองนี้เลยนะ” แลวเธอก็กลับแยงตัวเอง “แตวาที่จริงสายน้ําเกลือมันก็คงไมติดตัวเขาอยูอยางน้ันตลอดไปหรอก เธอเผลอยิ้มออกมา เมื่อคิดถึงตรงนี้” (151) (เนนโดยผูวิจัย) พอเธอเร่ิมเขาใจวาสายน้ําเกลือเปนเพียงพันธะภายนอกที่ถอดไดเมื่อหายปวย เธอจึงกลาวขึ้นวา “ไมเห็นแปลกอะไรเลย …ไมเห็นแปลกอะไรเลยสักนิดเดียว” (151) ผูอานอาจคิดตอไปไดวาส่ิงภายนอกเปนสิ่งที่มาทีหลังชีวิต การปลอยวางก็อยูที่ตัวคนแตละคนนั่นเอง

ตัวละครคนพบความคิดนี้ขณะที่อยูคนเดียวทามกลางธรรมชาติ จึงกลาวไดวา ธรรมชาติชวยบําบัดจิตใจมนุษยใหเขมแข็งและชวยใหมนุษยเขาใจชีวิตได แมในตอนจบเรื่องเธอยังรูสึกโดดเดี่ยวเพราะตองอยูคนเดียว แทนที่จะเดินทางไปยังเกาะตามคําชวนของคนไขชายชาวประมง เกาะที่ชาวประมงพูดถึงเปรียบเหมือนภาวะอิสระเมื่อตัดขาดจากสิ่งทั้งปวง เธอคิดวา สักวันจะตองไปจริงๆ แตขณะนี้เธอคิดจะ “เอาทะเลกลับไปโรงพยาบาลเพื่อใหความเครงเครียดนอยลง” นั่นหมายความวา เธอกําลังประสานความสงบทางใจกับภาระหนาที่อันวุนวายและนาเศรา

เห็นไดวา นิคมไดยืนยันความสัมพันธระหวางธรรมชาติกับคน โดยแสดงใหเห็นวา ธรรมชาติชวยกลอมเกลาจิตใจใหละเอียดออนออนโยน การเรียนรูความหมายจากธรรมชาติชวยใหคนเราเขาใจชีวิต และพรอมตอสูปญหาที่ตนเผชิญอยูได 3.2.3 การมุงมั่นในวิถีปฏิบตัิของตน

นิคมชี้วา การดํารงชีวิตอยางมีคุณคา มิไดหมายถึงการคลอยตามคานิยมที่สับสนในคุณคา แตการปฏิบัติตนอยางเปนตัวของตัวเองโดยคํานึงถึงคุณคาภายในจิตใจเปนสิ่งที่ควรยึดถือ ตัวเอกใน“อุหมัง” (2527) เปนพยาบาลในเมือง มีหนาที่การงานคลุกคลีกับคนไขซึ่งมีอาการเจ็บปวยตางๆ จนรูสึกหดหูใจ ความเครงเครียดที่เกิดขึ้นอยางซ้ําซากนี้เซาะกรอนความแข็งแกรงภายในจิตใจ จนตองหาโอกาสไปพักผอนชายทะเลอยูบอยๆ ดังคําบรรยายวา

Page 76: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

95

เมื่อมีวันหยุดหลายวัน เธอจะออกทะเลไปกับเพื่อนๆ เตรียมอาหารและเคร่ืองนอนลงเรือ มุงไปเกาะที่พวกเธอสรางกระทอมไวใตเงาสน พักอยูสักวันหรือสองวันกับคลื่นและแสงแดด วายน้ําเลนจนลืมความเครียดแลวจึงกลับไปทํางานตอ บางครั้ง เมื่อรูสึกอึดอัด เธอจะเปลี่ยนเวรกับเพ่ือนและออกทะเลกอนถึงวันหยุด (144)

เมื่อตัวละครเอก “รูสึกอึดอัด” ก็มักหาเวลาไปอยูในที่ธรรมชาติอยูบอยครั้ง เพ่ือ

“ลืมความเครียด” วิเคราะหไดวาตัวเอกพยายามบรรเทาความบีบคั้นของสภาพนาหดหูจนเกิดความเครียด ตัวละครเอกเปนตัวแทนของคนในเมืองที่รูสภาพจิตใจของตัวเอง เธอเลือกตรวจสอบและจัดการตัวเองโดยใหธรรมชาติเยียวยา

จะเห็นวา ตัวละครเอกแตกตางจากเพื่อนที่อยูในเมือง เธอพรอมจะหยุดงานหรือเปลี่ยนเวรกับเพื่อนเพื่อมาพักผอนได ขณะที่เพ่ือนของเธอตองทํางานลวงเวลา หนาที่การงานจึงเปนเง่ือนไขของชีวิตที่มิอาจผละออกมาได “การทํางานลวงเวลา” เปนคําศัพทใหมในสังคมที่เนนการพัฒนา หมายถึงการทํางานมากกวาเวลาปกติเพ่ือใหไดเงินซื้อหาวัตถุมาครอบครอง จนละเลยความสุขทางใจ การยอมจํากัดตัวเองในกรอบแคบๆ เชนนี้ ทําใหมนุษยติดอยูกับเปลือกจนขาดความเปนตัวของตัวเอง

การที่เธอไมเลิกลมความตั้งใจที่จะเดินทางไปทะเลแสดงจุดยืนที่นาช่ืนชม เธอเลือกที่จะกลับไปใหธรรมชาติประโลมจิตใจที่ออนแอใหเขมแข็งดังเดิม แมเธอมิใชผูรูแจงและปลดปลอยตนเองไดโดยสิ้นเชิงจนละทิ้งพันธนาการไดอยางถาวร แตเธอก็เปนตัวอยางของมนุษยที่พรอมจะทําความรูจักตัวเอง

3.3 คุณคาของความเปนคน

ถึงแมวา ปญหาซ่ึงบั่นทอนความสัมพันธระหวางคนรุนแรงขึ้นมากเพียงใด คนก็ยังมิไดละทิ้งคณุธรรมที่ชวยธํารงสังคมและชุบชูใจใหดํารงชีวิตอยูได นคิมไดแสดงและยืนยันคุณคา ของมนุษยในเรื่องส้ันระยะป 2525 เปนตนมา ดงัตอไปนี ้ ความเห็นอกเห็นใจ ความมีน้ําใจและความปรารถนาดตีอกัน ความแข็งแกรงภายในจติใจ ความรักความผูกพันในครอบครัว ความรับผดิชอบและความมานะบากบั่น 3.3.1 ความเห็นอกเห็นใจ ความมีน้ําใจ และความปรารถนาดีตอกัน

ชาวบานใน “บายของหมอกควัน” ที่เดินทางไปดูศพบนภูเขาสูง ตางเปนทุกขเพราะเกรงวาศพที่เลาลือนั้นจะเปนญาติของพวกตนจริงๆ โดยเฉพาะซิ้ว เสนทางที่คดเคี้ยวและหางไกลทําใหซิ้วรูสึกเหมือนมีหมอกมาบังเสนทางเอาไว

Page 77: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

96

บทสนทนาระหวางโลดกับซิ้วในตอนแรกทําใหเขาใจวา “หมอกควัน” ที่พวกเขากลาวถึงเปนหมอกควันจริงๆ อยางเดียว ตอเมื่อซิ้วกลาวถึงการเสียชีวิตของคนในครอบครัว และโลดปลอบวา “แกอยาพ่ึงคิดใหมากไป…เรายังไมเห็น อาจไมใชพวกเขาก็ได” ซิ้วก็มีอาการดีข้ึน “ตอนนี้ตาฉันคอยยังช่ัวแลวละ ไมมืดเหมือนเมื่อก้ี” ในตอนนี้เองทําใหผูอานพบวา หมอกควันที่ซิ้วพูดถึงเปนความทุกขที่บดบังใจ วิเคราะหไดวาความเห็นอกเห็นใจตอกันนี้ชวยบรรเทาทุกขโศกใหบรรเทาลงได

แมสามีของซิ้วเปนคนชักชวนเพื่อนบานทั้งสามคน คือ หลานโลด ลูกลุงผิว และลุงของรอหีม แตไมมีใครคนใดคาดโทษกับซิ้ว ในทางกลับกันพวกเขาเห็นใจซิ้วที่สูญเสียหัวหนาครอบครัว ดังเห็นวาลุงผิวไดตักเตือนวา

“ซิ้ว คอยดูลูกหนอยนะ เดี๋ยวมันไดตกน้ําตายอีกคนหรอก” (106) และ

“คิดแลวนาสงสาร เด็กคนนัน้นะ ลูกเจายุยมัน ดซูิ ยังไมรูเร่ืองอะไรเลย”

………………. “ทีแรกก็จะไมใหมา” ลุงผิวบอก “แตซิ้วมันทิ้งไวไมได ที่บานมันไมมี

คนอยู ลูกคนโตอีกสามคนออกไปรับจางตัดยางที่บอดาน ยังไมรูเร่ืองเลย” (110 – 111)

เห็นไดวา คนที่รวมชะตากรรมเดียวกันแสดงความอาทรตอกันอยางนาช่ืนชม ถึงแมวาไมมีหนทางชวยเหลือใหรอดพนจากความทุกขไดอยางหมดจด แตความหวงใยและน้ําใจที่หยิบยื่นใหกันมีคุณคาชวยใหคนมีความหวังข้ึนมาได

สวน ใน “เปนลม” แมนิคมแสดงปญหาที่คนดอยโอกาสถูกคนที่มีอํานาจคุกคามรังแก แตนิคมก็ไมละเลยที่จะชี้ใหเห็นวา คนธรรมดาสามัญยังหยิบยื่นความปรารถนาดีตอกันดวยการรับฟง และปรับทุกขกัน แมมิอาจชวยเหลืออะไรไดมากไปกวาการปลอบประโลม แตส่ิงเล็กนอยนี้ก็ชวยใหมนุษยรูสึกวามิไดอยูอยางโดดเดี่ยว เมื่อบาวไดยินจอมบนวางวงนอนหลายครั้ง บาวสอบถามจนรูวาจอมตองชวยลากอวนทั้งคืน พอข้ึนฝงก็รีบขึ้นรถกลับมาทํางาน เมื่อจอมขอรองใหบาวทํางานแทน บาวก็ไมมีทาทีอิดเอื้อน แตนาสลดที่การทํางานแทนครั้งนี้เปนการทําลายชีวิตของเพื่อนรวมงานอยางไมตั้งใจ บาวรวมรับรูถึงความรักที่จอมมีตอครอบครัว และความฝนที่วาเก็บเงินไถที่คืน “แลว ออ - ออกจากงาน ไปทะ - ทําสวนที่บาน” การรับรูความฝนของจอมยิ่งทําใหบาวสะเทือนใจที่กลายเปนคนทําลายชีวิตและความฝนของเพื่อน เมื่อบาวเห็นวาเขาขับรถทับจอม เขามีอาการ “…หนาซีด ตัวสั่น ทําอะไรไมถูกกับรางที่แหลก เขาหวาด

Page 78: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

97

ผวาอยูนาน แมเมื่อเจาของรถแทรกเตอร นายจางเขามาถึง เขาก็ยังตื่นตระหนก” (138) อาการตื่นตระหนกอยางรุนแรงของบาว แสดงวาเขารูสึกไหวสะเทือนไปกับชะตากรรมของจอม แตบาวก็ขลาดเกินไปที่จะยอมรับความผิดและใหทุกอยางเปนไปตามครรลองของกฎหมาย

คนไขชายชาวประมงใน “อุหมัง” (2527) เปนตัวละครที่แสดงคุณคาดานนี้ไดอยางชัดเจน กลาวคือ ขณะที่สภาพทางกายของเขาบาดเจ็บและตองรับน้ําเกลือ แตเขายังมีน้ําใจปลอบคนไขอ่ืนที่อาการหนัก การแบงปนน้ําใจของตัวละครนี้ปรากฏผานสายตาของตัวละครเอกที่วา

เธอสังเกตเห็นคนไขชาวประมงคนนี้ครั้งแรก เมื่อวันที่เขาลุกจากเตียงทั้งที่สายน้ําเกลือติดอยูที่แขน เขาปลดขวดน้ําเกลือจากเสา ชูไวเหนือหัวแลวเดินไปยังคนไขที่กําลังครวญคราง เขาปลอบดวยเสียงซื่อๆ เห็นอกเห็นใจ เจ็บมากใชมั้ย กลัวหรือ ผมก็เหมือนกัน อยารองเลยมันจะแยลง บางครั้งเสียงเขาติดตลก ทนไว ทําใจแข็งเขา อยากลัว ไมมีอะไรหรอก (143) (เนนโดยผูวิจัย)

จะเห็นวา แมสภาพรางกายของเขาย่ําแยอาการหนัก แตเขายอมเดินถือขวด

น้ําเกลือเดินลงจากเตียงเพื่อไปปลอบคนไขที่รองครวญคราง คําปลอบของคนที่รวมชะตากรรมเดียวกันนี้นาจะชวยปลุกฟนจิตใจของคนที่ทอถอยได การกระทําของเขาสรางความไมพอใจแกพยาบาลเพราะเปนการ“กอความยุงยาก” แตกระนั้นเขาใหเหตุผลวา “คุณพยาบาล คนนั้นเขากลัวมาก เขาเจ็บหนักดวย” สังเกตไดวา ขณะที่เขาปวยหนักเขายังหวงใยคนอื่น เขาแบงปนน้ําใจและเปนมิตรกับทุกคน ไมเวนแมกระทั่งพยาบาลที่ไมพอใจการกระทําของเขา ผูอานจะพบวา เขามิไดมีอาการขึ้งโกรธพยาบาลที่ตอวาเขา ในทางกลับกันเขายังชวนพยาบาลไปเที่ยวเกาะในฝน ความมีน้ําใจที่สวนทางกับอาการปวยของเขาทําใหตัวละครเอกกังขาวา “…ทําไมชางไมกลัวอะไรบางเลยนะ… หรือเปนเพราะเขายังหนุม แตคงไมใช คนไขหนุมอื่นๆ ก็นอนซมกันทั้งนั้น หรือเขาไมรูจักคิด…” (143) การแสดงความเห็นใจตอเพ่ือนมนุษยทั้งที่ไมรูจักมักคุนอยางจริงใจ ชวยหลอเล้ียงจิตใจของคนออนแอใหตื่นฟนยืนหยัดตอสูกับความเจ็บปวดหรือความสิ้นหวังได แววตา และเสียงหัวเราะของเขาชวยให คนอื่นมีความหวังไปดวย เชนเดียวกับการชวนเธอไปเที่ยวเกาะที่มีความสมบูรณ อันเปนความหวังที่ทาทายมนุษย จึงกลาวไดวา ความรักความปรารถนาดีตอกัน แมจะเกิดกับคนอื่นที่ไมรูจักมักคุน ก็สรางความอบอุนใจแกผูรับไดเสมอ

Page 79: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

98

3.3.2 ความแข็งแกรงภายในจติใจ นิคมแสดงชีวิตของคนหลายแงมุมทั้งความบกพรองและคุณคาที่นาช่ืนชม แต

เมื่อเกิดความผันผวนของชีวิต ความแข็งแกรงภายในจิตใจเปนคุณคาที่ทาทายใหบุคคลตอสูปญหาไดอยางเขมแข็ง

ใน “อุหมัง” นิคมชี้วา หากมีความเขมแข็งภายในจิตใจแลว หายนะในชีวิตก็ มิอาจคุกคามมนุษยได เชน คนไขชายชาวประมงที่เจ็บปวยหนักตองนอนแบบบนเตียง เขาปวยหนักจนตัวละครเอกไมเช่ือวาเขาจะหายเปนปกติไดในเร็ววัน เธอจึงไมเช่ือวาเขาจะพาเธอเที่ยวเกาะตามที่ชวนไว

นอกจากคนไขชายชาวประมง ตอสูกับความเจ็บปวดทางกายของตัวเองแลว เขายังเอื้อเฟอความแข็งแกรงไปสูผูอ่ืนดวยการปลอบใจคนไขที่รองครวญคราง การตอสูความเจ็บปวยทางกายอยางมีความหวัง คือ แมเขาปวยหนักแตแววตาและน้ําเสียงยังเต็มดวยความหวัง อากัปกิริยานี้มีสวนสําคัญที่ชวยใหคนรอบขางซึมซับกําลังใจจากเขาได เปนไปไดวา การดํารงชีวิตอยางรูคุณคาของตัวเอง และสํานึกคุณคาของธรรมชาติชวยใหจิตใจเขาเขมแข็ง

สวนโลด ตัวละครใน “บายของหมอกควัน” (2525) สูญเสียหลานซึ่งเดินทางไปทําแรกับยุยบนภูเขาสูงแตเขาไมไดแสดงอาการโศกเศรา ความมีสติของตัวละครนี้ชวยใหซิ้ว ซึ่งสูญเสียสามีรูสึกดีข้ึน ทามกลางบรรยากาศสังคมที่อึมครึม อันกอใหเกิดความหวาดระแวงตอกัน ประกอบกับพบกลุมชายใบหนาเกรียมแดง ซึ่งมีประวัติติดคุกขอหาแรเถ่ือนและเรียกคาคุมครอง โลดเปนคนเดียวในกลุมที่พูดคุยกับกลุมชายใบหนาเกรียมแดงโดยไมตื่นกลัว เมื่อถูกชวนดื่มเหลาขาว โลดปฏิเสธ แตพอถูกคะยั้นคะยอเปนครั้งที่สองเขาก็ยอมดื่ม เพราะเขาใจสังคมที่ตนอาศัย โลดจึงยอมในสิ่งที่ไมเหลือบากวาแรง แสดงวาเขาใชความเขาใจเปนพื้นฐานในการปฏิบัติตอผูอ่ืน

3.3.3 ความรักความผูกพันในครอบครัว นิคมไดยืนยันวา ความรักเปนคุณคาที่มีพลังใหมนุษยสามารถตอสูอุปสรรค

หรือปญหาได จอมตัวละครใน “เปนลม” (2527) เส่ียงทํางานในที่ไรความปลอดภัย เพ่ือรวบรวมเงินไปไถที่คืน และกลับไปอยูพรอมหนาพรอมตาครอบครัว จอมเปนคนติดอาง แตเมื่อพูดถึงลูกชายเขาจะพูดอยางสุขใจ ดังนี้

“มันพะ – พูดเกงจังเลย ถะ - ถามโนนนี่แปลกๆ มันถะ – ถามวากะ- กลางคืน ดวงอาทิตยหะ - หายไปไหน แลวถะ - ทําไมมันมีดวงเดียว” จอมหัวเราะในลําคอ

“แลวมึงตอบวาไง”

Page 80: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

99

“กูก็ไมระ - รูเหมือนกัน” จอมยิ้มเห็นฟน “คะ – คิดถึงมันจึง กูไมยะ– อยากมาที่นี่เลย แตก็ตองทน”

“เบื่อรถแทรกเตอรรึ” “ไมเบื่อ กุ - กูรักมัน แตก็คะ - คิดถึงลูก ไมยะ - อยากมาไกล” จอม

พูดติดตอกันทีละคํา “กูจะระ - รวมเงินไปไถที่คืน แลวจะทะ - ทําสวนกาแฟนิดหนอย เงอะ - เงินไมพอ พอปวย บานมะ - ไมมีเงินรักษาเลย อะ - เอาท่ีไปจํานองเขา”

“จะทําสวนกาแฟรึ” “ใช ทําสะ - สักย่ีสิบสามสิบไรก็พอ กูจะรวมเงินอีกสะ – สักหนอยแลว

ถะ - ไถที่คืน แลวออกจากงาน ไปทะ - ทําสวนที่บาน” (136 – 137)

นิคมแสดงใหเห็นวา ความรักมีคุณคาย่ิงใหญ ความรักครอบครัวทําใหจอมยอมนําที่ดินที่มีอยูไปจํานองเพื่อนําเงินมารักษาพอ ความรักเปนคุณคาที่ความยากไรมิอาจลดทอนลงได ความรักความผูกพันของคนธรรมดาสามัญชวยหลอเล้ียงชีวิตใหดํารงอยูทามกลางความยากจนและผันผวนไดอยางนาช่ืนชม การเสียชีวิตของจอมพลอยทําใหความหวังของครอบครัวสลายไปดวย ความรักที่คนในครอบครัวเล็กๆ นี้ หยิบยื่นตอกันโนมเหนี่ยวใจผูอานใหรูสึกไหวสะเทือนไปกับชะตากรรมของตัวละคร 3.3.4 ความรับผดิชอบและความมานะบากบัน่

แมเร่ืองส้ันในระยะ 2525 – 2527 ของนิคม เนนปญหาที่เก่ียวกับความสัมพันธของคนในสังคม จนบางครั้งคนจนซึ่งมีทางเลือกจํากัดตองเอาชีวิตเขาเส่ียง แตนิคมก็ยืนยันวาปญหาที่จะตองสูเพ่ืออยูรอดมิไดทําใหมนุษยยอทอ ดังเชน ยุย ตัวละครใน “บายของหมอกควัน” เขาเปนหัวหนาครอบครัวที่ตองรับผิดชอบเลี้ยงดูลูก 4 คน แมลูกคนโตทั้งสามคนทํางานรับจางไดแลวแตเขาก็ไมนิ่งเฉยยอมเสี่ยงไปทําแรบนภูเขาสูงและหางไกล เพ่ือนําแรมาขายจุนเจือครอบครัวอีกทางหนึ่ง สวนจอม ใน “เปนลม” เปนเสาหลักของครอบครัว แมที่บานเกิดเขามีอาชีพลากอวนปู แตคาแรงคงไมเพียงพอกับสมาชิกในครอบครัวอีกสามคน คือ พอ ภรรยา และลูก เขาจึงตองหางานอ่ืนทํา แมงานขับแทร็กเตอรเปนสิ่งที่เขารักและใฝฝนมานาน แตการจากบานและครอบครัวมาไกลมิไดทําใหเขามีความสุข อยางไรก็ตาม ความรับผิดชอบที่ตองไถที่ดินคืนทําใหเขาอดทนทํางานในที่เส่ียงตอชีวิตเพื่อรวบรวมเงิน ความรับผิดชอบตอครอบครัวทําใหจอมอดทนทํางานที่ไรความปลอดภัยและตองเสียชีวิต

Page 81: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

100

เปรียบเทียบความคิดผูแตง ในเรื่องสั้นยุคแสวงหากับยุคศัตรูที่ลื่นไหล

ในเรื่องส้ันยุคแสวงหา (2510 – 2516) นิคมแสดงปญหาของคนทั้งที่เกิดจากปจจัยทางสังคมและความออนแอภายใน วิเคราะหไดวา ถึงแมความยากจนเปนขอจํากัดที่กอใหเกิดทุกขแตการทํารายเบียดเบียนผูอ่ืนเพื่อความอยูรอดก็ยังไมใชการยุติปญหาที่แทจริง ไมวาจะมีปญหาเชิงโครงสรางจากการพัฒนาเศรษฐกิจทามกลางธรรมชาติที่ไมอํานวย การเอารัดเอาเปรียบของคนที่มีอํานาจ เชน เจาหนาที่ของรัฐ และโจรผูราย ซึ่งซ้ําเติมปญหาใหรุนแรงขึ้น จนตองดิ้นรนตอสูเพ่ือปกปองชีวิตและทรัพยสินของตน การหาทางออกเมื่อตองเผชิญปญหาอยางหนักหนวงปรากฏเปนสามแนวทางคือ ยอมตกอยูในวงจรของการเบียดเบียน ดวยการกระทําตอผูออนแอกวา เพราะไมไดฉุกคิด ดังเชนในเรื่อง “คนบนตนไม” หรือการฝากความหวังไวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพ่ึงพาส่ิงเหนือธรรมชาติ ซึ่งเทากับละเลยศักยภาพของตน เชนใน “ตนทาง” สวนแนวทางที่สามคือ การ ยืนหยัดตอสูโดยคงคุณคาและศักดิ์ศรีของความเปนคน นับเปนแนวทางที่ใหพลังทางปญญาวาบุคคลสามารถแปรความรูเทาทันตอปญหาและเสริมสรางความเชื่อมั่นในคุณคาของความเปนคนขึ้นมาเปนหลักยึดเหนี่ยว ดังในเรื่อง “ศึก” และ “ฝนแลง” หากพิจารณาเจตนาของผูแตง กลาวไดวา ในชวงแสวงหานี้นิคมยังไมเนนแนวทางที่เหมาะสมในการแกปญหาเทากับกระตุนความพินิจพิจารณาตอปญหา โดยเฉพาะปญหาขอออนดอยบางประการของธรรมชาติภายในของคน เชน ความกลัว ความเห็นแกตัว ความโลภ ความไมรูเทาทันชีวิต ดังเชน เร่ือง “เชาวันหนึ่ง” “มากับลมฝน” “ความเปลี่ยนแปลง” “คนดําน้ํา” “ปลอยนก” และ “ตนทาง”

เนื้อหาที่แสดงความสําคัญของความรู บงช้ีวานิคมเชื่อมั่นในศักยภาพการเรียนรูของคน กลาวคือ แมมีทุกขอันเกิดจากความหยั่งรูจํากัด แตเมื่อกลาหาญพอที่จะตอสูปญหาอยางเขมแข็งโดยมิยอทอก็อาจจะเกิดความรูข้ึนได อีกทั้งสายสัมพันธอันเกิดจากความเห็นอกเหน็ใจ ความรักและความเมตตาในครอบครัว ความกตัญูและความกลาหาญ ยังเปนสิ่งสําคัญที่ปลุกปลอบและหลอเล้ียงใจใหบุคคลยืนหยัดตอสูทามกลางความผันผวนของชีวิตได ขณะเดียวกันนิคมเห็นวา แมการจัดการปญหาชีวิตเปนสิ่งจําเปน แตคนก็ควรสนใจสังคมดวยเพราะความสํานึกรับผิดชอบตอสังคมเปนคุณคาที่ชวยจรรโลงสังคมใหดํารงอยู อีกทั้งความสํานึกเชิงมนุษยธรรมที่เผื่อแผแกเพ่ือนมนุษยโดยปราศจากเสนแบงใดๆ เปนสํานึกรวมที่กระตุนความใฝดีไดเสมอ

สวนเรื่องส้ันในยุคศัตรูที่ล่ืนไหลจนถึงปจจุบัน (2525 – 2542) ผูแตงแสดงใหเห็นวา ปญหามีความซับซอนและรุนแรงขึ้น สังคมถูกกระแสวัตถุนิยมเขาครอบงํา คุณคาทางจิตใจที่บุคคลควรยึดถือถูกละเลยจนกลายเปนสิ่งเกินจําเปน นิคมชี้วา การเนนพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีใหเจริญกาวหนากระทบการดําเนินชีวิตของคนและทําลายธรรมชาติ การมุงแกงแยง

Page 82: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

101

แขงขัน ยึดตนเองเปนสําคัญ ไมสนใจผูอ่ืน สรางความรูสึกแปลกแยกแกกัน และยังมีการฉวยโอกาสจากความเจริญเรงรุกเขาทําลายธรรมชาติอยางไรสํานึก

ผูแตงแสดงวา ความยากจนยังคงเปนปญหาในวงจรของความชั่วราย คนยากจนตกเปนเครื่องมือของผูมีอํานาจทางเศรษฐกิจ และกลายเปนสวนหนึ่งของการแกงแยง ในขณะที่ยังไมอาจสรางหลักประกันในชีวิต ปญหานี้เกิดขึ้นจากการขาดสํานึกในคุณคาของมนุษย ดังเห็นในเร่ือง “บายของหมอกควัน” และ “เปนลม” ซึ่งแฝงการเสียดสีความตกต่ําทางคุณคาไวอยางรุนแรง

นอกจากปจจัยภายนอกที่สรางปญหา ยังเห็นไดวา ความบกพรองภายในของมนุษยนาจะเปนตนตอของปญหาหรือเปนตัวการที่สรางปญหา คือ ความเห็นแกตัว ความโลภ และโทสะทําใหคนกระทําหรือปฏิบัติตอกันอยางขาดสํานึกทางจริยธรรม ดังเห็นใน “สาบเสือ” สวนการพะวงกับวัตถุซึ่งเปนเปลือกทําลายความผูกพันของคนกับธรรมชาติ ดังเห็นใน “อุหมัง” นอกจากนั้น ความออนแอและความกลัวก็ทําใหบุคคลไมกลาตอสูปญหาในแนวทางที่ถูกตอง ความสับสนในคุณคาที่วา การครอบครองวัตถุเปนเปาหมายของชีวิตกระทบตอการดําเนินชีวิตของมนุษย จนสูญเสียความสุขทางใจ เมื่อประสบปญหาใดๆ ผูท่ีมีจิตใจเปราะบางก็ยอมจํานนหรือหนีปญหาโดยละเลยศักยภาพของตน

นิคมยืนยันอยางหนักแนนวา แมปญหาซับซอนและหนักหนวงข้ึน แตคนสามารถเรียนรูและทําความเขาใจปญหาเมื่อเผชิญความผันผวนของชีวิตได ความแตกตางทางความคิดหรือความเชื่อ อาจไมไดเปนอุปสรรคของความเขาใจและการอยูรวมกันไดอยางประนีประนอมและยืดหยุน เร่ืองส้ันในระยะนี้ นิคมเนนความยิ่งใหญของธรรมชาติในแงที่เก้ือหนุน ชีวิตและสังคมชัดเจนขึ้น อีกทั้งมนุษยสามารถเรียนรูความหมายจากธรรมชาติ อันชวยใหเขาใจชีวิต และดํารงอยูทามกลางภาวะไรความหมายได จึงไมเอาแตหนีไปหลบในเปลือกของชีวิต เชน ใน “อุหมัง”

ขณะเดียวกัน นิคมก็ยังคงย้ําวา ส่ิงที่ชวยปลุกกระตุนใจคนเล็กๆ ใหเผชิญปญหาที่หนักหนวงได คือ สายใยของความรักและความเมตตาในครอบครัว ความเห็นอกเห็นใจและความปรารถนาดีตอกัน แมมีขอจํากัดจนเหลือทางเลือกนอย แตบุคคลสามารถใชความแข็งแกรงภายในจิตใจยืนหยัดตอสูปญหาอยางมีศักดิ์ศรี สวนความรับผิดชอบและความมานะบากบั่นเปนคุณคาของคนที่ไมยอมแพแกโชคชะตาหรือปฏิปกษของชีวิต

สังเกตไดวา เร่ืองส้ันของนิคมระยะ 2510 – 2516 จํานวน 10 เร่ือง แสดงภาพชีวิตของคน 2 กลุม คือ ชีวิตของคนในชนบท และคนหนุมสาว ปญหาที่คนในชนบทประสบ ไดแก ปญหาความยากจนที่เกิดจากการพัฒนา ความไมเทาเทียมกันหรือความเหลื่อมล้ําต่ําสูงในสังคม ความคิดความเชื่อบางอยางที่เปนปฏิปกษตอคุณคาของชีวิต เชน ความเชื่อส่ิงเหนือธรรมชาติ ดังปรากฏใน “เชาวันหนึ่ง” “ฝนแลง” “ตนทาง” ขณะเดียวกันนิคมปลุกสํานึกของคนหนุมสาวที่นาจะมีพลังในการรวมสรางสรรคสังคมและรวมรับผิดชอบตอสังคมใหคํานึงถึง

Page 83: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

102

คุณธรรมที่บงช้ีคุณคาของความเปนคนบนพื้นฐานของความจริง ดังปรากฏในเรื่องส้ัน “ความเปลี่ยนแปลง” “ส่ิงที่หลอนพอจะทําได” “ปลอยนก” อีกทั้งกระตุนเตือนใหเห็นความสําคัญของความสัมพันธของคนในสังคม ใน “มากับลมฝน” เร่ืองส้ันบางเรื่องของนิคม รายยวาในระยะนี้ ซึ่งตีพิมพในชวงที่เขาเปนนักศึกษามหาวิทยาลัย ทามกลางบรรยากาศความตื่นตัวทางสังคมและการเมือง ยอมมิอาจเลี่ยงความรูสึกรวมกับคนในยุคสมัย เชนการตอตานสงครามเวียดนาม อยางไรก็ตาม เขาไดช้ีใน “คนดําน้ํา” วา นักศึกษาถูกระแวงเพราะทําลายความมั่นใจของผูมีอํานาจดวยพฤติกรรมการคนหาอยางเอาจริงเอาจัง ที่คนกลุมอื่นไมเขาใจ

เมื่อศึกษาความคิดของนิคม รายยวา จากเรื่องส้ัน ผูวิจัยพบวา เขามิไดคลอยตามหรือเห็นดวยกับกระแสความคิดที่เช่ียวกรากในสมัยนั้นเสียทีเดียว ดังเห็นวา นิคมนําเสนอทัศนะใหมที่เห็นแยงกับคนหนุมสาวในยุคแสวงหาซึ่งรูสึกแปลกแยกกับสังคมวา การปฏิเสธสังคมหรือหนีปญหามิใชทางออกของปญหา อีกทั้งการยึดมั่นในความคิดของตนโดยไมคํานึงถึงสภาพจริงของสังคมเปนสิ่งที่ไมถูกตอง กลาวไดวา แมนิคมเสนอปญหาชีวิตของคนในยุคแสวงหาที่คาบเกี่ยวกับปญหาสังคม แตเขาก็ไมไดละเลยที่จะกระตุนใหผูอานเขาใจชีวิต หรือแสวงหาหนทางที่เหมาะควรในการดําเนินชีวิต แมบริบททางวัฒนธรรมแหงยุคสมัยที่ผูแตงนําเสนออาจมี “ความเปนอื่น” กับผูอานอยูบาง แตประสบการณรวมที่เช่ือมโยงถึงกันนี้ ทําใหผูอานประจักษในคุณคาของความเปนมนุษยที่ ผูแตงส่ือแสดง และดูเหมือนวา นิคมไดเสาะหาลักษณะและความหมายที่แทจริงในสังคมของตนมาแสดงเพื่อช้ีวา เขามีความสนใจและรับผิดชอบตอสังคมซึ่งเปนสิ่งที่นาช่ืนชม นิคมแสดงปญหาสังคมเพื่อนําผูอานไปสูความเขาใจชีวิตที่ลึกซึ้งดวย เชน เร่ืองส้ัน “ปลอยนก” นิคมคงมิไดหวังจะกระตุนใหคนหนุมสาวมีบทบาทและจิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคม หรือการแสดงความเหลื่อมล้ําต่ําสูงของคนในสังคมเพื่อเรียกรองความเทาเทียมทางโอกาสเทานั้น เขายังตั้งคําถามเกี่ยวกับจุดมุงหมายของการทําบุญที่แทจริง ปรัชญาของการปลดปลอยโดยไมตองกักขัง ซึ่งเช่ือมโยงกับความสัมพันธเชิงอํานาจ การตั้งคําถามที่ชวนครุนคิดนี้ เปนผลมาจากความตระหนักถึงปญหาการเขาไมถึงแกนของสิ่งที่กระทําอยูจนเคยชินนั่นเอง แมนิคมมิไดมีบทบาทในขบวนการตอสูเพ่ือความเปนธรรม แตความเคลื่อนไหวทางความคิดและจิตสํานึกขบถของคนหนุมสาวแหงยุคสมัย ก็นาจะมีสวนกระตุนให นิคมใสใจความเปนไปของสังคมและวิพากษวิจารณสังคมตามอยางที่เขาเห็นและรูสึก

ขณะที่เร่ืองส้ันในยุคศัตรูที่ล่ืนไหล จํานวน 3 เร่ืองและท่ีเขียนในชวงโลกา- ภิวัตนอีก 1 เร่ือง นิคมแฝงปรัชญาชีวิตไวในการวิพากษจุดออนของมนุษยไดอยางลุมลึก ปญหาของมนุษยที่ปรับเปลี่ยนผันแปรตามกระแสบริโภคนิยม แสดงการขยายปญหาทางจิตวิญญาณ ที่ชวยใหผูอานเขาใจการดํารงอยูในสังคมที่เปลี่ยนแปลง และพรอมรับมือกับปญหาดวยความสํานึกในคุณคาของความเปนคน เนื้อหาในเรื่องส้ันระยะนี้ นิคมเนนผลที่เกิดจากการกระทําตอกันของมนุษย ซึ่งเกิดจากความหมกมุนกับมายาหรือความลวงอันหางไกลจากสัจธรรม

Page 84: ประวัติผู งโดยสแตังเขปkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6848/8/Chapter2.pdf · 2010-12-07 · 21 คนบนต นไม (2527) ส วนงานเข

103

นิคม สามารถแสดงปญหามนุษย ทั้งที่เกิดจากความออนแอภายใน และจุดออนในความสัมพันธของมนุษยไดอยางกระทบใจมากขึ้น ทั้งนี้นาจะเปนผลมาจากการเรียนรูที่สอดคลองกับความจริงของผูแตง กลาวคือ นิคมไดส่ังสมบมเพาะประสบการณตั้งแตเร่ิมทํางาน การทํางานที่ผลักดันใหเขาตองเดินทางไปหลายถิ่นที่ ยอมทําใหเขาพบเห็นปญหาอันซับซอน เห็นความขัดแยง และตองเรียนรูที่จะดํารงอยูทามกลางความแตกตาง การพินิจปญหาอยางรอบดาน และพยายามทําความเขาใจปญหาอยางถองแท ชวยใหเขาแสดงความหมายในระดับประสบการณรวมของมนุษยไดอยางชวนคิดและกระตุนการตีความมากขึ้น

.