ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา...

8
ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลักที่ยึดถือกันในทางการเมืองระบบประชาธิปไตยประการหนึ่งคือ การใหประชาชนปกครองตัวเองในทาง พระพุทธศาสนาพระพุทธเจาก็ไดทรงถือหลักนี้เปนสําคัญที่สุด หลักและวิธีการประชุม 1.องคคณะและองคประชุม เนื่องจากสังฆกรรมแตละอยางมีความสําคัญแตกตางกัน ฉะนั้นพระองคจึงทรง กําหนดจํานวนพระภิกษุสงฆซึ่งเปนสมาชิกที่จะประชุม ที่จะทํากิจกรรมแตละอยางมากนอยกวากัน ดังตอไปนีภิกษุสงฆ 4 รูป เรียกวา จตุวรรค 1

Upload: others

Post on 24-Oct-2019

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาพระพุทธเจ าก็ ...suphanburicampus.dusit.ac.th/report/19-04-55.pdf ·

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลักที่ยึดถือกันในทางการเมืองระบบประชาธิปไตยประการหนึ่งคือ การใหประชาชนปกครองตัวเองในทางพระพุทธศาสนาพระพุทธเจาก็ไดทรงถือหลักนี้เปนสําคัญที่สุด หลักและวิธีการประชุม 1.องคคณะและองคประชุม เนื่องจากสังฆกรรมแตละอยางมีความสําคัญแตกตางกัน ฉะนั้นพระองคจึงทรงกําหนดจํานวนพระภิกษุสงฆซึ่งเปนสมาชิกที่จะประชุม ที่จะทํากิจกรรมแตละอยางมากนอยกวากันดังตอไปนี ้ ภิกษุสงฆ 4 รูป เรียกวา จตุวรรค 1

Page 2: ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาพระพุทธเจ าก็ ...suphanburicampus.dusit.ac.th/report/19-04-55.pdf ·

ภิกษุสงฆ 5 รูป เรียกวา ปญจวรรค ภิกษุสงฆ 10 รูป เรียกวา ทสวรรค ภิกษุสงฆ 20 รูป เรียกวา วีสติวรรค ภิกษุสงฆเกิน 20 รูป ทําสังฆกรรมไดทุกชนิด 2.สถานที่ประชุม การทําสังฆกรรมคือ กิจของสงฆทุกอยางตองมีขอกําหนดเรื่องสถานที่ประชุม เรียกวา สีมา สีมาหรือเขตแดนสําหรับกําหนดสถานที่ประชุมนั้นไมใหเล็กเกินไปจนไมอาจใหภิกษุ 21 รูป นั่งไดและไมใหใหญเกิน 3 โยชน วัตถุอันใชกําหนดเขตสีมา ไดแก ภูเขา ปาไม จอมปลวก แมน้ํา ในยุคพุทธการนั้น การปกครองแควนวัชชี ซึ่งมนีครหลวงช่ือ กรุงเวสาลี นั้นมี ลิจฉวีสภาคือ สภาของเจาลิจฉวีมีการประชุมแบบสภาผูแทนราษฎรเชนกัน แตแตกตางตรงที่การปกครองของเจาลิจฉวีมีพระมหากษัตริยเหลานั้นหาใชประชาธิปไตย(อํานาจของทุกคน)ไมแตเปนอภิชนอธิปไตย (Aristocracy) คือกลุมชนช้ันสูงเปนใหญโดยการผูกขาดวาจะตองเปนกษัตริยราชวงศลิจฉวีและวงศมัลละ ประชาชนทั่วไปไมมีสิทธิออกเสียง 2

Page 3: ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาพระพุทธเจ าก็ ...suphanburicampus.dusit.ac.th/report/19-04-55.pdf ·

แมประวัติของประชาธิปไตยในยุคของกรีกเอง นักปราชญคนสําคัญ เชน ซอเครติส (Socrgtes) เพลโต(Plato) และ อริสโตเติล (Aristotle) ก็เปนยุคหลังพุทธปรินิพพาน คือ พระพุทธเจานิพพานกอนซอเครติสเกิดประมาณ 75 ป กอนเพลโตเกิดประมาณ 115 ป และกอนอริสโตเติลเกิดประมาณ 159 ป 3. สิทธิของผูเขาประชุม ภิกษุที่เขาประชุมในการทําสังฆกรรมทุกประเภทยอมมีสิทธิเทาเทยีมกัน ในการแสดงความคิดเห็นทั้งในทางคัดคานและในทางสนับสนุน 4. มติที่ประชุม ในสังฆกรรมทั่วไปมติที่ประชุมตองเปนเอกฉันท จะคัดคานแมแตเสียงเดียวไมได วิธีลงมติในกรณีเชนนี้ถาเห็นดวยใหนิ่งอยูถาไมเห็นดวยก็ใหคัดคาน นักปกครองที่ดีตามแนวพุทธศาสตร สวนประกอบที่สําคัญสวนหนึ่งของระบบการเมือง คือ ผูปกครองหรือรัฐบาลในระบบการเมือง เชน ระบอบประชาธิปไตยผูปกครองมาจากการเลือกตั้ง คือ ประชาชนมอบความไววางใจใหทําการปกครองและความชอบธรรมในอํานาจปกครองนั้นจะคงมีอยูตราบเทาที่ผูปกครอง ?ทรงไวซึ่งคุณธรรม? มีธรรมเปนแนวทางในการปกครอง 1. ความสําคัญของพระมหากษัตริย พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นทามกลางประเพณีนิยมอินเดียโบราณและเปนยุคที่ปกครองบานเมืองดวยระบอบประชาธิปไตย สมบูรณาญาสิทธิราชย ซึ่งพระมหากษัตริยทรงมีอํานาจเด็ดขาดและโดยที่ประเพณีนิยมถือวาพระมหากษัตริยเปนนักรบมีหนาที่ปองกันบานเมืองและเปนนักปกครอง สวนเรื่องฐานะของพระมหากษัตริย พระพุทธศาสนายอมรับวา ทรงมีฐานะเปนเทพเจาโดยสมมุติ คือโดยการยอมรับของหมูมนุษยเทานั้น ไมใชเทพเจาตามความเขาใจของพราหมณ 3

Page 4: ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาพระพุทธเจ าก็ ...suphanburicampus.dusit.ac.th/report/19-04-55.pdf ·

การแบงบทบาทของหนาที่พระมหากษัตริยในพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาแบงเทพเจาเปน 3 ประเภท 1. สมมติเทพ เทพเจาโดยสมมติ คือ โดยการยอมรับของมวลมนุษยในโลก 2. อุปบัติเทพ เทพเจาโดยกําเนิด คือ ที่สถิตอยูบนสรวงสวรรค 3. วิสุทธิเทพ เทพเจาโดยความบริสุทธ์ิ ไดแก พระอรหันตทั้งหลาย อยางไรก็ตาม พระพุทธศาสนาไดใหความสําคัญตอสถาบันพระมหากษัตริยไวมากดังที่ปรากฏอยูในพระไตรปฏก เชน ราชา รฏฐสฺส ปฺญญานํ พระราชาเปนสงาแหงแวนแควน ราชา มุขํ มนุสฺสานํ พระราชาเปนประธานของหมูมนุษย สรุปความวา ในทรรศนะขของพระพุทธศาสนาพระมหากษัตริยก็มีความสําคัญมิใชเปนเพียงผูนําในทางการเมืองเทานั้น แตเปนศูนยกลางที่สําคัญที่สุดของสังคม ในทางรัฐศาสตรถือวาพระมหากษัตริยมีความสําคัญในฐานะเปนประมุขแหงรัฐแมวาในปจจุบันจะมีรูปแบบประมุขของรัฐรูปใหม คือ ประธานาธิบดี เปนประมุขตามวิวัฒนาการทางการเมืองก็ตาม ความคิดเห็นพระมหากษัตริยดีกวาประธานาธิบดีมีเหตุผลหลายประการ คือ 4

Page 5: ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาพระพุทธเจ าก็ ...suphanburicampus.dusit.ac.th/report/19-04-55.pdf ·

1.นักรัฐศาสตรบางทานกลาววา พระมหากษัตริยเปนที่มาแหงเกียรติศักดิ์ กลาวคือ การมีราชตระกูลสูงและทรงสืบราชสันติวงคโดยไมทรงเกลือกกลั้วกับการเมืองทําใหทรงเปนที่มาแหงเกียรติศักดิ์ทั้งในสังคมแหงรัฐ 2.พระมหากษัตริยทรงเปนกลางในการเมือง ในขณะที่พระมหากษัตริยสืบราชสันติวงศตามกฎหมายโดยไมตองเลือกตั้งทําใหทรงวางพระองคเปนกลางทางการเมืองและเปนที่ยอมรับของนักการเมืองทุกฝาย 3.พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขถาวร จึงทําใหทรงมีพระปรีชาสามารถในฐานะประมุขดีกวานักการเมืองไดรับเลือกตั้งมา 4.พระมหากษัตริยทรงเปนศูนยรวมแหงความเปนชาติ และความสามัคคีแหงคนในชาติในขณะที่นักการเมืองไมอาจกระทําได เมื่อวิเคราะหเหตุผลทั้งสองฝาย จะเห็นไดวาการปกครองที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขนาจะมีผลดีกวาการปกครองที่มีประธานาธิบดี หรือประมุขของรัฐรูปอื่นเปนประมุขนาจะมีผลดีกวาการปกครองแบบประธานาธิบดีดังกลาวของ นายวอลเตอร สิปแมน ชาวอเมริกันที่วา ระบอบประชาธิปไตยซึ่งมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ดีกวาระบอบประชาธิปไตยซึ่งมีประธานาธิบดีเปนปะมุข เพราะเทาที่ผานมาระหวางสงครามโลก ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เมื่อประเทศอยูในภาวะคับขัน พระมหากษัตริยทรงแกไขวิกฤตการณไดดีกวา ประธานาธิบดี เชน อังกฤษ สวีเดน เดนมารค นอรเวย เปนตน 2. คุณธรรมของผูปกครอง โดยที่พระพุทธศาสนาเล็งเห็นความสําคัญของพระมหากษัตริยในฐานะประมุข โดยเฉพาะในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย 5

Page 6: ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาพระพุทธเจ าก็ ...suphanburicampus.dusit.ac.th/report/19-04-55.pdf ·

เปนที่มาแหงอํานาจทางการเมืองอยางแทจริงฉะนั้นในพระพุทธศาสนาจึงบัญญัติ ทศพิธราชธรรม สังคหวัตถุธรรม จักรวรรดิวัตร ดังนี้ 1.ทศพิธราชธรรม คือ ธรรมะ สําหรับพระมหากษัตริย 10 อยาง คือ 1. ทาน คือการให 2. ศีล คือการตั้งอยูในศีล 3. ปริจจาคะ คือการเสียสละ 4. อาชขวะ คือความซื่อตรง 5. มัททวะ คือความออนโยน 6. ตบะ คือความเพียร 7. อักโกธะ คือการไมแสดงความโกรธใหปรากฏ 8. อวิหิงสา คือการที่ทรงมีพระราชอัธยาศัย กอปรดวยพระมหากรุณา 9. ขันติ คือการที่ทรงมีพระราชจริยานุวัตรอันอดทนตอสิ่งทั้งปวง 10. อวิโรธนะ คือการที่ทรงตั้งอยูในขันติราชประเพณ ี 2. สังคหวัตถุ ซึ่งเปนพระราชจริยานุวัตร อันเปนที่ตั้งแหงความสงเคราะหยึดเหนี่ยวน้ําใจของประชาชน ม ี4 ขอ คือ 6

Page 7: ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาพระพุทธเจ าก็ ...suphanburicampus.dusit.ac.th/report/19-04-55.pdf ·

1. สัสสเมธะ ความที่ทรงพระปรีชาในการบํารุงธัญยาหาร ผลาหารใหบริบูรณ 2. ปุริสเมธะ ความที่ทรงมีพระปรีชาในการสงเคราะหบุรุษที่ประพฤติด ี 3. สัสสมาเปสะ ความที่ทรงพระปรีชาในการบําบัดทุกข บํารุงสุขของราษฎร 4. วาจาเปยยะ การตรัสพระวาจาจากสุภาพแกชนทุกช้ัน 3. จักรวรรดิวัตร ไดแก ธรรมะอันเปนพระราชจริยานุวัตร สําหรับพระมหากษัตริย มี 12 ประการ คือ 1. การอนุเคราะหคนในราชสํานักและคนภายนอกใหมีความสุข 2. การผูกมิตรไมตรีกับประเทศอื่น 3. การอนุเคราะหพระราชวงศานุวงศ 4. การเกื้อกูลพราหมณ คหบด ี 5. การอนุเคราะหประชาชนในชนบท 6. การอนุเคราะหสมณพราหมณผูมีศีล 7. การรักษาฝูงเนื้อ นก และสัตวทั้งหลายมิใหสูญพันธุ 8. การหามคนทั้งหลายมิใหประพฤติผิดธรรม 9. การเลี้ยงดูคนจนเพื่อมิใหประกอบการทุจริตตอสังคม 10. การเขาใกลสมณพราหมณเพื่อศึกษาบุญและบาป กุศล และอกุศล 11. การหามจิตมิใหลุอํานาจแกความกําหนดยินดีในทางที่ผิดธรรม 12. การหามจิตมิใหปรารถนาในลาภที่พระมหากษัตริยมิควรจะได 7

Page 8: ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาพระพุทธเจ าก็ ...suphanburicampus.dusit.ac.th/report/19-04-55.pdf ·

กษัตริยพระองคใด ทรงลงพระราชอาญาแกผูไมควรลงพระราชอาญาไมทรงลงพระราชอาญาชญาแกผูควรลงพระราชอาญากษัตริยพระองคนั้นเปนเหมือนคนเดินทางไมราบเรียบไมรูวาทางเรียบหรือไมเรียบและมีขอที่ควรศึกษาตอไปวา ทําไมพระพุทธศาสนาจึงตองการใหผูปกครองตองมีคุณธรรมเปนพิเศษ คําตอบคือ เพราะ พระพุทธศาสนาเห็นวา คุณธรรมเปนเครื่องสงเสริมอํานาจทางการเมืองใหมั่นคง เพราะคุณธรรมจะเปนเสมือนทีปรึกษาที่จะยับยั้งมิใหผูปกครองใชอํานาจตามใจ ทั้งนี้เพราะเปนที่ยอมรับกันในบรรดานักรัฐศาสตรทั้งหลายวา บรรดาสิ่งยั่วยวนทั้งหลายนั้น อํานาจยอมยั่วใจไดมากและรวดเร็ว อํานาจสามารถเปลี่ยนแปลงอุปนิสัย และทําใหการพิจารณาไมเที่ยงแท ทําใหคนซึ่งมีความเมตตากรุณากลายเปนคนโหดราย เพลโต ( Plato ) ไดแสดงทัศนะเกี่ยวกับราชาปราชญ ไวในหนังสืออุดมรัฐ (The Republic ) ตอนหนึ่งวา รัฐจะกาวขึ้นสูความสมบูรณได ก็ตอเมื่อนักปราชญและนักปกครองตองเปนคนเดียวกัน เพราะ มิฉะนั้นแลวมนุษยจะไมหลุดพนจากความทุกข ทั้งนี้เพราะนักปราชญเปนตนแบบแหงความดียอมจะปฏิบัติตัวดีและแสดงหาความดียิ่ง ๆ ขึ้น อางอิง http://phrabuddhasasana.com ภาพประกอบ : ธนะรัตน ทับทิมไทย 8