รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.)...

16
1 รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการ เทคโนโลยทางการสืบพันธุ์สัตว์ป่าครั้งที่ 7The 7 th Wildlife Assisted Reproductive Technology (ART) Workshop “Reproductive Biotechnology: from Basic to Applications” March 7-11, 2016

Upload: others

Post on 27-Jul-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

1

รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการ “เทคโนโลยทางการสืบพันธุ์สัตว์ป่าครั้งที่ 7”

The 7th Wildlife Assisted Reproductive Technology (ART) Workshop

“Reproductive Biotechnology: from Basic to Applications”

March 7-11, 2016

Page 2: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

2

สรุปงานประชุมเชิงปฏิบตัิการ “เทคโนโลยีทางการสืบพันธุ์สัตว์ป่า คร้ังที่ 7”

วันที่ 6 - 11 มีนาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสวนสตัว์ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “เทคโนโลยีทางการสืบพันธุ์สัตว์ป่า ครั้งที่ 7” ในหัวข้อ “จากพื้นฐานสู่การ

น าไปใช้ (Basic to Application)” โดยได้รับความร่วมมือจาก คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์แห่งชาติ

ปินตุง (National Pingtung University of Science and Technology) ประเทศไต้หวัน ซึ่งจัดขึ้นระหว่าง

วันที่ 7-11 มีนาคม 2559 โดยในวันที่ 7 มีนาคม 2559 จัดให้มีพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ และการ

บรรยายพิเศษจากผู้เชี่ยวชาญด้านการขยายพันธุ์สัตว์ป่าเพ่ือการอนุรักษ์ และวิทยาการสืบพันธุ์ ที่อาคารพิเช ษฐ์

เหลืองทองค า ชั้น 5 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และระหว่างวันที่ 8-11 มีนาคม 2559

เป็นภาคปฏิบัติการ ด้านตรวจสอบคุณภาพ และการแช่แข็งน้ าเชื้อ การเหนี่ ยวน าการเป็นสัด และการแช่แข็ง

ตัวอ่อน ณ สวนสัตว์ขอนแก่น โดยในการประชุมเชิงปฏิบัติการนี้ เน้นการศึกษาในสัตว์ป่าตระกูลกวาง

ได้แก่ ละมั่ง (Eld’s deer, Rucervus eldii) จัดเป็นหนึ่งในสัตว์ป่าสงวนของไทย ที่เคยสูญพันธุ์ไปจากป่า

ธรรมชาติ เนื้อทราย (Hog deer, Axis porcinus) ซึ่งเป็นกวางขนาดเล็ก ที่เกือบสูญพันธุ์ไปจากป่าธรรมชาติ

เมืองไทย และกวางรูซ่า (Rusa deer, Rusa timorensis) ซึ่งเป็นกวางที่น าเข้ามาเลี้ยงจากต่างประเทศ ปัจจุบัน

เป็นสัตว์เศรษฐกิจในเชิงพาณิชย์ เนื่องจากมีจ านวนประชากรมากสามารถน ามาใช้ศึกษาเป็นต้นแบบให้กับสัตว์ป่า

ตระกูลกวางที่ใกล้สูญพันธุ์ชนิดอื่นๆต่อไป

การจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการในครั้ งนี้ มีวัตถุประสงค์เ พ่ือด าเนินการตามพันธกิจหลักของ

องค์การสวนสัตว์ดังต่อไปนี้

1.) เป็นการอนุรักษ์ และวิจัยสัตว์ป่าหายากของทั้งประเทศไทย และของโลกชนิดส าคัญหลายชนิด

2.) องค์การสวนสัตว์ซึ่งเป็นผู้น าที่มีบทบาทส าคัญในการอนุรักษ์สัตว์ป่านอกถิ่นอาศัย

3.) มุ่งม่ันในการพัฒนางานวิจัยสัตว์ป่าโดยเฉพาะด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพการเพาะขยายพันธุ์

4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์ (Assisted Reproductive Technologies, ARTs) ซ่ึงเป็นเครื่องมือ

ช่วยเพิ่มศักยภาพในการเพาะขยายพันธุ์ในสัตว์ป่า

5.) พัฒนาศักยภาพการวิจัยและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางการสืบพันธุ์สัตว์ป่าในประเทศไทย

6.) เผยแพร่ความรู้ด้านเทคโนโลยีทางการสืบพันธุ์เชื่อมโยงต่อกับการอนุรักษ์สัตว์ป่า

Page 3: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

3

7.) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรและมหาวิทยาลัยทั้งในและต่างประเทศ

8.) เพ่ือพัฒนาศักยภาพของสัตวแพทย์ และพนักงานขององค์การสวนสัตว์ในการวางแผนการปฏิบัติงานเป็นทีม

ในการวางยาสลบสัตว์ป่าอย่างมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

การประชุมฯในครั้งนี้ มีวิทยากรรับเชิญ และมีผู้เข้าร่วมจากทั้งใน และต่างประเทศ มากกว่า 10 สถาบัน

คือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

มหาวิทยาลัยมหานคร กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และสวนสัตว์ต่างๆ และมีผู้เข้า ร่วมประชุม

จากสวนสัตว์ต่างประเทศ 5 สวนสัตว์ คือ สวนสัตว์โชวชาน เกาชง และสวนสัตว์ไทเป ประเทศไต้หวัน

สวนสัตว์ย่างกุ้ง สวนสัตว์เนปิดอ และสวนสัตว์มัณฑะเลย์ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ รวมทั้งหมด 104 คน

ประกอบด้วย

1.) วิทยากรภายในประเทศ (4 สถาบัน คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

มหาวิทยาลัยขอนแก่น และส านักอนุรักษ์ และวิจัย องค์การสวนสัตว์) และวิทยากรรับเชิญจากต่างประเทศ

(1 สถาบัน คือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์แห่งชาติปินตุง) รวม 11 คน

2.) ผู้เข้าร่วมประชุมภายในองค์การสวนสัตว์ (2 ส านัก และ 5 สวนสัตว์) รวม 42 คน

3.) หน่วยงานภายนอก ได้แก่ กรมอุทยานฯ และมหาวิทยาลัยในประเทศ (4 สถาบัน คือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยมหานคร) รวม 44 คน

4.) ผู้เข้าร่วมประชุมจากต่างประเทศ (2 ประเทศ คือสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และประเทศไต้หวัน)

รวม 7 คน

Page 4: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

4

การประชุม แบ่งออกเป็น 2 ภาค คือภาคบรรยาย และภาคปฏิบัติ

Program of the 7th ART Workshop 2016

6-Mar

Participants arrive Khon Kaen

7-Mar Scientific forum at Faculty of Veterinary Medicine,

Khon Kaen University

9.00-16.30

8-Mar

Workshop at Khon Kaen Zoo Welcome address: Tanachon Kensingh (Director of KKZ)

Overview of ART Workshop: Dr. Ampika Thongphakdee

Semen collection and cryopreservation

8.00-16.30 2 Thamin Eld's deer and 2 Hog Deer

Embryo collection and cryopreservation

9-Mar 4 Rusa deer 8.00-16.30

Embryo collection and cryopreservation

10-Mar 4 Rusa deer 8.00-16.30

11-Mar Conclusion

8.00-12.00

- วันที่ 7 มีนาคม 2559 จัดให้มีพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ และการบรรยายพิเศษจาก

ผู้เชี่ยวชาญด้านการขยายพันธุ์สัตว์ป่า เพ่ือการอนุรักษ์ และวิทยาการสืบพันธุ์ ที่อาคารพิเชษฐ์เหลืองทองค า ชั้น 5

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย รศ.น.สพ.ดร. ชูชาติ กมลเลิศ คณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม และนายเบญจพล นาคประเสริฐ ผู้อ านวยการองค์การ

สวนสัตว์ กล่าวเปิดประชุม ในภาคบรรยายเป็นการให้ความรู้ด้านวิทยาการสืบพันธุ์ในหัวข้อที่หลากหลาย จ านวน

ทั้งหมด 11 เรื่อง จากวิทยากรรับเชิญทั้งใน และต่างประเทศ โดยมีวิทยากรรับเชิญ ศ.น.สพ.ดร. มงคล เตชะก ำพ ุ

รองอธิกำรบดี ฝ่ำยวิจยั จฬุำลงกรณ์มหำวิทยำลยั บรรยำยพิเศษ เร่ืองวิทยำกำรสืบพนัธุ์สตัว์ จำกพืน้ฐำนสู่กำร

น ำไปใช้

Page 5: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

5

ภาพที่ 1 นายเบญจพล นาคประเสริฐ กล่าวเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการเทคโนโลยีทางการสืบพันธุ์สัตว์ป่า

ภาพที่ 2 ศ.น.สพ.ดร. มงคล เตชะก าพุ วิทยากรบรรยายพิเศษหัวข้อเทคโนโลยีชีวภาพ

ภาพที่ 3 ผู้อ านวยการองค์การสวนสัตว์ นายเบญจพล นาคประเสริฐ ถ่ายภาพร่วมกับรศ.น.สพ.ดร. ชชูาติ กมลเลิศ คณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น น.สพ.สุเมธ กมลนรนาถ ผู้อ านวยการส านักอนุรักษ์ และวิจัย

นายธนชน เคนสิงห์ ผู้อ านวยการสวนสัตว์ขอนแก่น วิทยากร และทีมงานผู้จัดงานประชุมเชิงปฏิบัติการ “วิทยาการสืบพันธุ์ในสัตว์ป่า ครั้งที่ 7”

Page 6: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

6

- ระหว่างวันที่ 8-11 มีนาคม 2559 เป็นภาคปฏิบัติ ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้รับความรู้ ในด้านต่างๆ

ได้แก่ การวางยาสลบ การจัดการสัตว์เมื่อสัตว์สลบ การเก็บตัวอ่อนในกวางรูซ่า จ านวน 9 ตัว การเก็บและ

ตรวจสอบคุณภาพน้ าเชื้อในละมั่ง จ านวน 2 ตัว และเนื้อทรายจ านวน 2 ตัว ซึ่งในการปฏิบัติการครั้งนี้

ประสบความส าเร็จในการแช่แข็งน้ าเชื้อจากละมั่ง จ านวน 92 หลอด และจากเนื้อทราย จ านวน 105 หลอด และ

พบว่าในกวางรูซ่าที่กระตุ้นด้วยฮอร์โมนนั้น ตอบสนองต่อฮอร์โมนได้ดี

กิจกรรมในงานประชุม

วันที่ 6 มีนาคม 2559 เตรียมอุปกรณ์ ความพร้อมในงานประชุม

วันที่ 7 มีนาคม 2559 งานประชุม ภาคบรรยาย ณ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วิทยากร หัวข้อบรรยาย ศาสตราจารย์ น.สพ. ดร. มงคล เตชะก าพุ Reproductive biotechnology : basic to

application นายสุเมธ กมลนรนาถ Why conservation and Wildlife ART in Thailand นายวิศิษฏ์ อาศัยธรรมกุล Health practice for captive breeding

management น.สพ. ชวิน ไชยสงคราม Best practice for wildlife anesthesia and

reproductive case น.สพ. ดร. ยศวาริศ เสมามิ่ง The role of oxidative stress in reproduction รองศาสตราจารย์ น.สพ. ดร. ธีรวัฒน์ ธาราศานิต Fundamental science of gamete

cryopreservation รองศาสตราจารย์ ดร. เทวินทร์ วงษ์พระลับ Cryopreservation of sambar deer semen ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ. สราวุธ ศรีงาม Semen evaluation and improvement of semen

quality ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สพญ. ดร. วิบัณฑิตา จันทร์กิติสกุล Preliminary study on superovulation in

Rusa deer using a split-single intramuscular administration of follicle-stimulating hormone

Prof.Dr. Yan-Der Hsuuw Embryo development and quality assessment อ. น.สพ. ดร. ศักดิ์ศิริ ศิริเสถียร Embryo cryopreservation : slow freezing aspect

Page 7: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

7

ภาพที่ 4 การลงทะเบียนเข้าร่วมงานประชุมและ บรรยากาศในห้องประชุม

ภาพที่ 5 การบรรยายในหวัข้อทีห่ลากหลายภายใต้เรืองวิทยาการสืบพันธุ์ พ้ืนฐานสู่การน าไปใช้

Page 8: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

8

วันที่ 8 มีนาคม 2559 วางยาสลบ ตรวจสุขภาพ ความสมบูรณ์พันธุ์ เก็บน้ าเชื้อ และแช่แข็งน้ าเชื้อ ในละมั่ง และ

เนื้อทราย ณ โรงพยาบาลสัตว์ สวนสัตว์ขอนแก่น

Page 9: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

9

ภาพที่ 6 สาธิตกระบวนวางยาสลบ การเก็บน้ าเชื้อ และแช่แข็งน้ าเชื้อ ในวันที่ 8 มีนาคม 2559

ภาพที่ 7 สถานีโทรทัศน์ ช่อง 5 น าเสนอการด าเนินงาน เทคโนโลยีทางการสืบพันธุ์สัตว์ป่า ครั้งที่ 7

โดยมี น.สพ.สุเมธ กมลนรนาถ ผู้อ านวยการส านักอนุรักษ์ และวิจัย ให้สัมภาษย์

Page 10: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

10

วันที่ 9 มีนาคม 2559 (ภาคปฏิบัติการ ) ตรวจสอบการกระตุ้ นการเป็นสัดและตกไข่จ านวนมาก

(superovulation) และการเก็บตัวอ่อนในกวางรูซ่า จ านวน 5 ตัว

ภาพที่ 8 สาธิตกระบวนการตรวจอวัยวะภายในด้วยเครื่องอัลตร้าซาวด์ ตรวจสอบการตอบสนองของรังไข่ภายหลัง

จากการกระตุ้นการเป็นสัด และตกไข่จ านวนมากด้วยการส่องกล้องผ่านหน้าท้อง และการเก็บตัวอ่อนในกวางรูซ่า

Page 11: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

11

วันที่ 10 มีนาคม 2559 (ภาคปฏิบัติการ) ตรวจสอบการกระตุ้นการเป็นสัดและตกไข่จ านวนมาก และการเก็บ

ตัวอ่อน ในกวางรูซ่า จ านวน 4 ตัว

ภาพที่ 9 สาธิตกระบวนการตรวจสอบการตอบสนองของรังไข่ภายหลังจากการกระตุ้นการเป็นสัด และตกไข่

จ านวนมาก และการเก็บตัวอ่อนในกวางรูซ่า

Page 12: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

12

ผลการปฏิบัติงาน

ตารางแสดงคุณภาพน้ าเชื้อเนื้อทราย และละมั่งพันธุ์พม่า ก่อน และหลังการแช่แข็ง

*NE = not evaluate

สามารถเก็บน้ าเชื้อจากละมั่งและเนื้อทราย ได้น้ าเชื้อมีคุณภาพดี มีเปอร์เซ็นต์การเคลื่อนที่และการมีชีวิต

มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ สามารถแช่แข็งน้ าเชื้อเก็บในธนาคารพันธุกรรมได้ทั้งหมด 197 หลอด เมื่อทดสอบการ

เ ค ลื่ อ น ที่ ภ า ย ห ลั ง ก า ร แ ช่ แ ข็ ง พบ ว่ า ตั ว อสุ จิ ร อ ด ชี วิ ต สู ง แ ล ะ มี ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ 8 5 เ ป อ ร์ เ ซ็ น ต์

ภาพที่ 10 ลักษณะรูปร่างตัวอสุจิเนื้อทราย

ย้อมด้วยสีดิฟควิก

ภาพที่ 11 ลักษณะรูปร่างตัวอสุจิละมั่ง

ย้อมด้วยสีดิฟควิก

Page 13: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

13

โปรแกรมการกระตุ้นฮอร์โมนด้วยวิธีให้ FSH แบบหลายเข็ม (multiple injection) ให้ FSH ทั้งหมด 8 ครั้ง

ห่างกันทุกๆ 12 ชั่วโมง และแบบออกฤทธิ์ช้า (slow release) ให้ FSH ทั้งหมด 2 ครั้ง

- ผลของการกระตุ้นฮอร์โมน FSH 2 วิธี แบบหลายเข็ม (multiple injection) จ านวน 4 ตัว มีการ

ตอบสนองของรังไข่ คือ มี corpus luteum 75 เปอร์เซ็นต์ และ แบบออกฤทธิ์ช้า (slow release) จ านวน 5 ตัว

มีการตอบสนองต่อฮอร์โมน 75 เปอร์เซ็นต์ (กวาง 1 ตัว ตั้งท้อง) ไม่พบตัวอ่อนจากการชะล้างปีกมดลูก การศึกษา

นี้แสดงให้เห็นว่า สามารถกระตุ้นให้กวางรูซ่าตกไข่หลายใบได้ โดยวิธีการให้ FSH แบบปล่อยฤทธิ์ช้า จะช่วยให้ลด

ความเครียดของสัตว์จากการถูกฉีดฮอร์โมน และลดบทบาทภาระของพนักงานในการให้ฮอร์โมนแก่สัตว์ ทุกๆ 12

ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 4 วัน ผลจากจากการศึกษานี้เป็นประโยชน์ในการน าไปใช้กระตุ้นการตกไข่หลายใบส าหรับ

การเก็บตัวอ่อนที่มีพันธุกรรมดี ส าหรับการย้ายฝากตัวอ่อน หรือการแช่เข็งซึ่ งสามารถน าไปประยุกต์กับสัตว์ป่า

ตระกูลกวางที่ใกล้สูญพันธุ์ต่อไป

Page 14: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

14

ภาพที่ 12 การตอบสนองของรังไข่ต่อการกระตุ้นให้ตกไข่หลายใบ ภาพที่ 13 รังไข่ท่ีไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น

ภาพที่ 14 ผู้เข้าร่วมงานประชุมภาคปฏิบัติการ ณ โรงพยาบาลสัตว์ สวนสัตว์ขอนแก่น

Page 15: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

15

วันที่ 11 มีนาคม 2559 (ภาคบรรยาย) สรุปการประชุม ณ โรงพยาบาลสัตว์ สวนสัตว์ขอนแก่น

ภาพที่ 15 การประชุมสรุปงาน (ภาคบรรยาย) และผู้อ านวยการสวนสัตว์ขอนแก่น

มอบของที่ระลึกให้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม

Page 16: รายงานการประชุมเชิง ... · 2016-11-28 · 4.) พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์

16

ด้วยความร่วมมือของทีมพนักงานองค์การสวนสัตว์ สวนสัตว์ขอนแก่น มหาวิทยาลัย และหน่วยงานต่างๆ

ทั้งในและต่างประเทศ ท าให้การปฏิบัติการส าเร็จได้ด้วยดี นอกจากการพัฒนาศักยภาพวิจัยด้านวิทยาการสืบพันธุ์

เพ่ือช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการเพาะขยายพันธุ์โดยเพ่ิมความหลากหลายทางพันธุกรรมแล้ว ยังเป็นการสร้างความ

เข้มแข็งของเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการ ทางด้านวิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ป่าทั้งในและต่างประเทศอีกด้วย

ขอขอบคุณองค์การสวนสัตว์เป็นอย่างสูง ส าหรับการสนับสนุนด้านงบประมาณ คณะสัตวแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่นส าหรับการสนับสนุนด้านสถานที่การประชุมภาคบรรยาย และสวนสัตว์ขอนแก่น ส าหรับ

การสนับสนุนด้านทรพัยากรสัตว์ป่า สถานที ่บุคลากร และด้านต่างๆในการจัดประชุมนี้