รูปที่ี่ประเทศไทย 1...

25
1 รูปที1 แผนที่ประเทศไทย สหภาพพมา THE UNION OF MYANMAR มาเลเซีย MALAYSIA สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว LAO PEOPLE’S DEMOCRATIC REPUBLIC ทะเลอันดามัน ANDAMAN SEA อาวไทย GULF OF THAILAND กัมพูชาประชาธิปไตย DEMOCRATIC KAMPHUCHEA

Upload: others

Post on 27-Oct-2019

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

1

รูปท่ี 1 แผนท่ีประเทศไทย

สหภาพพมา THE UNION OF MYANMAR

มาเลเซยี MALAYSIA

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว LAO PEOPLE’S DEMOCRATIC REPUBLIC

ทะเลอันดามัน ANDAMAN SEA

อาวไทย GULF OF THAILAND

กัมพูชาประชาธิปไตย DEMOCRATIC KAMPHUCHEA

Page 2: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

2

รูปท่ี 2 การแบงลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทย

ที่มา : Moorman and Rojanasoonthon (1986)

Page 3: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

3

รูปท่ี 3 แผนที่จังหวัดพิจิตร

Page 4: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

4

รายงาผลการดําเนินงานเขตพัฒนาท่ีดิน บานเขารวก หมูที ่ 5, บานเนินทราย หมูที่ 6 ตําบลวังหลุม

อําเภอตะพานหิน จังหวดัพิจิตร

1. คํานํา การสํารวจเปนการศึกษาถึงลักษณะทางกายภาพ ตลอดจนคุณสมบัติทางเคมีของดิน เชน

โครงสรางของดิน ความอุดมสมบูรณของดิน การระบายน้ําของดิน คาความเปนกรดเปนดางของ ดิน ฯลฯ

เพื่อจะไดใชเปนขอมูลประกอบสําหรับจัดชั้นความเหมาะสมของดินตอการปลูกพชื หรือการเกษตรกรรม ซึ่งจะใช

เปนขอมูลพืน้ฐานสําหรับเกษตรกรพื้นที่นัน้ ๆ นําไปใชปรับปรุงบํารุงดินแกไขดิน ตลอดจนการใชที่ดินใหถูกตอง

ตามสมรรถนะที่ดินของตนเองที่มีอยู เปนการใชประโยชนที่ดินใหยัง่ยนืและถาวรตอไป

2. วัตถุประสงค

2.1 เพื่อใหมกีารใชประโยชนที่ดินสําหรับการเกษตรเปนไปอยางมีประสิทธภิาพ

2.2 เพื่อใหการใชประโยชนที่ดินในลักษณะผสมผสานตามหลักการบริหารทรัพยากรที่ดินทางดานการอนุรักษ

2.3 เพื่อเปนการพฒันาที่ดินที่เส่ือมโทรมใหกลับฟนคืนมาใชประโยชนไดดังเดิมและดีข้ึน

2.4 เพื่อยับยัง้การบุกรุกทาํลายปาหรือการทําไรเล่ือนลอย รวมทัง้ยับยัง้การอพยพยายถิ่นฐานของราษฎร

ในบริเวณพืน้ที่นี้ดวย

2.5 เพื่อรวบรวมขอมูลทางดานกายภาพของดิน พรอมทัง้จัดชั้นความเหมาะสมของดินเปนประโยชนตอ

การนาํไปใชพฒันาดานการเกษตร สามารถเพิ่มการผลิตและเปนการใชที่ดินเปนแบบยั่งยนืตอไป

3. วิธีการดําเนนิการ

3.1 ระยะเวลาการดําเนนิการ ปฏิบัติงานภาคสนามเปนเวลา 1 เดือน คือเดือนมีนาคม 2550 และปฏิบัติงาน ณ สํานักงาน

โดยจัดทําแผนที่พรอมเขียนรายงานการสํารวจดนิชวงเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม 2550 3.2 เจาหนาที่สํารวจดิน

- นายทวีแสง พูลพุฒ

- นางสาวนิรมล เกษณา

Page 5: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

5

3.3 การสํารวจดิน เปนการสํารวจดินแบบละเอียด โดยใชแผนท่ีภาพถายออรโธสีและเสนช้ันความสูง มาตราสวน 1:4,000 แผนท่ีถือครองของฝายสํารวจเพื่อทําแผนท่ีของสํานักงานพัฒนาท่ีดินเขต 8 ซ่ึงไปสํารวจเปนแผนท่ีภูมิประเทศมาเปนแผนท่ีพื้นฐาน สําหรับการสํารวจดนิ

- วิธีการสํารวจดิน ใชพล่ัวและสวานขุดเจาะดินประมาณ 1.5 เมตร เพื่อทําการศึกษาเนื้อดนิ ช้ันดิน สีของดิน โครงสรางของดิน ปฏิกิริยาของดิน สภาพการระบายน้าํการอุมน้ําของดิน สภาพแวดลอมอ่ืน ๆ อันเกี่ยวของกับดนิและอีกหลายอยางท่ีจําเปน

Page 6: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

6

งานเขตการผลิตสินคาเกษตร บานเขารวก หมู 5, บานเนนิทราย หมู 6 ตําบลวังหลุม อําเภอตะพานหิน บานหนองอียอก หมู 5 ตําบลทับคลอ อําเภอทับคลอ จังหวดัพิจิตร ลุมน้ําหลัก แมน้ํานาน มาตราสวน 1:50,000 ลุมน้ําสาขา - เนื้อท่ี 5,900 ไร ลุมน้ํายอย คลองรองคอก ระวาง 5141 III,5141 IV

ขอบเขตพื้นท่ีโครงการ

กลุมวางแผนการใชที่ดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8

กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

รูปท่ี 4 แสดงขอบเขตพ้ืนท่ีโครงการ

Page 7: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

7

4. ขอมูลท่ัวไป 4.1 ท่ีตั้งและอาณาเขต

มีเนื้อท่ีประมาณ 5,932 ไร อยูในบริเวณ บานเขารวก หมูท่ี 5, บานเนินทราย หมูท่ี 6 ตําบลวังหลุม อําเภอตะพานหิน จังหวดัพจิิตร ตั้งอยูระหวางเสนกริดท่ี 1,792,000 mN ถึง 1,795,000 mN และ 663,200 mE ถึง 666,800 mE ความสูงจากระดับน้ําทะเลตัง้แต 38-100 เมตร ปรากฏอยูในแผนท่ีลักษณะประเทศของกรมแผนที่ทหารมาตราสวน 1 : 50,000 ลําดับชุด L.7018 ระวาง 5141III, 5141IV ช่ือระวางแผนท่ีบานเขาทราย โดยมีอาณาเขตติดตอกับพืน้ท่ีตาง ๆ ดังนี้ ทิศเหนือ จด บานหนองจกิ ทิศใต จด บานปารวกนอย ทิศตะวนัออก จด บานคลองตานม ทิศตะวนัตก จด บานหนองแสง

4.2 ลักษณะภมิูอากาศ ภูมิอากาศของจังหวดันี้ตามระบบจําแนกของ Koppen จัดเปนภูมิอากาศแบบฝนเมืองรอนเฉพาะฤดู (

Tropical Savannah climate “ Aw ” ) อากาศแหงแลงในชวงฤดหูนาว มีความแตกตางกันระหวางฤดูฝนกบั ฤดูแลงอยางเหน็ไดชัด บริเวณพื้นท่ีนี้ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ซ่ึงเร่ิมต้ังแตเดอืนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ทําใหอากาศในชวงนี้มีความช้ืนสูง ฝนตกชุก การแพรกระจายของน้ําฝนในรอบปอยูในเกณฑต่ํา ในชวงเดือนพฤศจกิายนถึงเดือนกุมภาพันธจะไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทําใหมีอากาศหนาวเยน็และแหงแลงอยางเห็นไดชัด

4.2.1 ฤดู แบงออกเปน 3 ฤดู - ฤดูหนาว เร่ิมต้ังแตกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกมุภาพันธุ เปนฤดูท่ีมีลมมรสุม

ตะวนัออกเฉียงเหนือพดัผาน มีอากาศหนาวเยน็และแหงแลงโดยท่ัวไป - ฤดูรอน เร่ิมต้ังแตกลางเดือนกุมภาพันธุถึงกลางเดือนพฤษภาคม เปนชวงท่ีมีลมจากทิศใตและ

ตะวนัออกเฉียงใตพัดปกคลุมใหมีอากาศรอน - ฤดูฝน เร่ิมต้ังแตเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เปนฤดูท่ีมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจาก

มหาสมุทรอินเดียพดัผานทําใหมีฝนตกและอากาศชุมช้ืน 4.2.2 ปริมาณนํ้าฝน

จังหวดัพิจิตรมีปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียตลอดปประมาณ 1,439.9 มิลลิเมตร และมีวนัฝนตกจํานวน 80 วัน เดือนท่ีมีปริมาณฝนตกมากท่ีสุด คือ เดือนกันยายนมีฝนเฉล่ีย 317.2 มิลลิเมตร และมีฝนตกประมาณ 15 วัน สวนเดือนท่ีมีฝนตกนอยท่ีสุดคือเดือนธันวาคม มีฝนเฉล่ีย 3.2 มิลลิเมตร

Page 8: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

8

4.2.3 อุณหภมิู จังหวดัพิจิตรมีอากาศคอนขางรอน มีอุณหภูมิเฉล่ียตลอดปประมาณ 27.4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ

สูงสุดเฉล่ีย 37.4 องศาเซลเซียสในเดือนเมษายน และมีอุณหภูมิต่ําสุด 22.7 องศาเซลเซียสในเดือนมกราคม ซ่ึงเปนชวงท่ีอากาศเยน็ท่ีสุดในรอบป

4.2.4 ความช้ืนสัมพัทธ ความช้ืนสัมพทัธเฉล่ียท้ังปมีคา 73.3 เปอรเซ็นต โดยมีคาตํ่าท่ีสุดในเดือนมีนาคม 63.3 เปอรเซ็นต

ซ่ึงอยูในชวงฤดูรอน และมีคาสูงสุดในเดอืนกันยายน ซ่ึงอยูในชวงฤดูฝนท่ีเกิดจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต

Page 9: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

9

ตารางท่ี 1 สถิติภูมิอากาศของพื้นท่ีจังหวดัพิจิตร (เฉล่ียป 2514-2543)

เดือน

ปริมาณน้ําฝน (ม.ม.)

จํานวนวันท่ี ฝนตก

อุณหภูมิ

(0ซ)

ความชื้นสัมพัทธ

(%)

ความ เร็วลม

(ก.ม./วัน)

ระยะยาวนานของ

แสงแดด (ช.ม.)

การระเหยและ คายน้ํา (ม.ม.)

ปริมาณน้ําฝนท่ีเปนประโยชน

(ม.ม.)

1/ 1/ 1/

มกราคม 2.5 7.3

16.1 58.8

189.5 125.5 147.1 231.7 273.8 128.9 28.7 11.8

1.0 1.0 4.0 7.0

14.0 14.0 18.0 20.0 19.0 13.0 4.0 2.0

25.2 26.7 29.3 30.5 30.0 29.6 28.9 28.5 28.4 28.1 26.5 24.6

68 66 67 70 75 76 78 81 81 79 75 71

60.0 95.0

112.0 104.0 95.0 78.0 86.0 86.0 86.0 60.0 52.0 60.0

8.1 8.2 8.0 8.2 7.5 5.8 4.8 4.2 5.4 6.4 7.8 8.2

99.2 112.0 145.7 153.0 151.9 126.0 120.9 111.6 114.0 111.6 102.0 96.1

0.0 0.0 0.0

25.3 126.6 75.4 92.7

160.4 194.0 78.1 7.2 0.0

กุมภาพนัธ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม รวม/เฉล่ีย

1221.7 117.0 28.0 74 81.0 6.9 1444.0 759.7 ตลอดป

ท่ีมา : กรมอุตุนิยมวิทยา ชวงป 2514-2543 1/ คํานวณโดยโปรแกรม CROPWAT (FAO, 1992)

Page 10: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

10

รูปท่ี 5 สภาพสมดุลของน้าํและชวงการเพาะปลูกพืชในพ้ืนทีจ่ังหวัดพิจิตร

0

50

100

150

200

250

300

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.

ปริมาณนํ้าฝน (ม.ม.)การระเหยและคายนํ้า0.5 การระเหยและคายนํ้า

ชวงนํ้ามากเกินพอ

ชวงเพาะปลูกพืช

เดือน

ม.ม.

ชวงขาดนํ้า ชวงขาดนํ้า

Page 11: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

11

5. อุทกวิทยา แหลงน้ําธรรมชาติท่ีสําคัญมีดังนี ้- คลองรองกอก เปนลําคลองซ่ึงไหลมาจากทางทิศตะวนัออกเฉียงใตลงสูทิศใตของแปลงสํารวจ มีน้ํา

ไหลไมตลอดป

6. ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่โดยท่ัวไปของแปลงสํารวจมีสภาพพืน้ท่ีราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต พื้นท่ีสวน

ใหญใชในการทํานาขาว ปลูกพืชไร ไมผล ไมยืนตนบางเล็กนอย ท่ีเหลือเปนท่ีอยูอาศัยและสถานท่ีราชการ ในตอนกลางแปลงสํารวจเปนพื้นท่ีภูเขา

7. การคมนาคม

การคมนาคมเขาถึงบริเวณแปลงสํารวจมีดังนี้คือ 1. ถนนสายพิจิตร – ตะพานหิน เปนทางหลวงจังหวดั ลาดยางตลอดสาย ระยะทางประมาณ 26

กิโลเมตร เล้ียวขวา 2. ถนนสายตะพานหิน – ทับคลอ เปนทางหลวงหมายเลข 113 ลาดยางตลอดสาย ถึงบานวังหลุม

ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร เล้ียวซาย 3. ถนนสายบานวังหลุม – บานเขารวก เปนทาง รพช. ลาดยางตลอดสาย ระยะทางประมาณ 4

กิโลเมตร ถึงแปลงสํารวจ 8. การใชประโยชนท่ีดนิ

การใชประโยชนในบริเวณแปลงสํารวจ ใชในการปลูกขาวนาดําเปนสวนใหญ มีปลูกมะมวง ยูคา สัก และสวนผสมบางเล็กนอย(ตารางที่ 2)

Page 12: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

12

ตารางท่ี 2 แสดงการใชประโยชนท่ีดินบานเขารวก หมูท่ี 5, บานเนินทราย หมูท่ี 6 ตําบลวังหลุม อําเภอตะพานหิน จังหวดัพิจิตร

เนื้อท่ี

สัญลักษณ สภาพการใชท่ีดิน ไร %

A101 A202 A304 A305 A401 A407

U,A401

ขาวนาหวาน ขาวโพด ยูคาลิปตัส

สัก ไมผลผสม

มะมวง ท่ีอยูอาศัยและไมผลผสม

5,700.00 42.00 20.00 25.00 75.00 10.00 60.00

96.09 0.71 0.34 0.42 1.26 0.17 1.01

รวม 5,932.00 100.00

Page 13: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

13

9. ดินและลักษณะของดิน 9.1 ลักษณะทางธรณีวิทยา

- ธรณีสัณฐานจากแผนท่ีธรณีวิทยาปรากฏวา บานหนองหลุม เปนท่ีราบใหมเกดิจากการทับถมพาตะกอนลําน้ําท่ีมีอนุภาคทราย ทรายแปง และดินเหนียว (Alluvium Sand, silt and Clay of recent flooded Plain) และแกรนิต ไดออไรท แก็บโบอิค – ไดออไรท พบอยูตามเนนิเขาโดด(Monadnock) ซ่ึงอยูในยุค Quaternary และ Mesozoic

วัตถุตนกําเนิดพบอยู 2 ลักษณะ คือ 1) บริเวณลานตะพกัลําน้ํากลางเกากลางใหม ราบเนินตะกอนรูปพดัท่ีตอเนื่อง เกิดจากการทับ

ถมของตะกอนท่ีมีอายุเกากวาบริเวณท่ีราบนํ้าทวม ตะกอนท่ีมีเนื้อละเอียด หรือละเอียดปานกลาง ไดแก ชุดดินเชียงราย ชุดดนิพิจิตร ชุดดนินครปฐม

2) เกิดจากหินดินดานหรือหินแปรอ่ืน ๆ ท่ีสลายตัวอยูกับท่ีบนพืน้ผิวท่ีเหลือคางจากการกดักรอนและบริเวณท่ีลาดเชิงเขา เนื้อคอนขางหยาบหรือละเอียดปานกลางหรือปนกรวด ไดแก ชุดดินโคราช ชุดดินเชียงคาน

9.2 การจําแนกดิน หนวยแผนท่ีดนิท่ีใชในการสํารวจนี ้ อยูในระดับประเภทของดิน ซ่ึงมีความหมายดงันี้ ชุดดิน คือ หนวยท่ีเล็กท่ีสุดของการจําแนกดิน ซ่ึงประกอบดวยดินท่ีคลายคลึงกันในลักษณะท่ี

ใชแบงแยกและการจัดเรียงช้ันดินและวัตถุตนกําเนดิ ซ่ึงระบุไวในระบบการจําแนกดนิ เชน ชุดดินเชียงราย ชุดดนิพิจิตร เปนตน

ดินคลาย (Variant) หมายถึง หนวยของการจําแนกดินท่ีไดรวบรวมดินซ่ึงมีลักษณะแตกตางพอท่ีจะแยกเปนชุดดินใหมได แตเกิดข้ึนปริมาณเนื้อท่ีไมมากพอ จึงไดแยกเปนดนิอีกหนวยหน่ึง โดยใชช่ือของดินชุดท่ีมีลักษณะใกลเคียงท่ีสุด กํากับดวยลักษณะสําคัญแสดงความแตกตางกับชุดดินนั้น ๆ เชน ดินคลายดนิชุดสระบุรี ท่ีมีเนื้อดินบนเปนดนิรวนเหนยีว

ประเภทดิน เปนหนวยยอยท่ีแยกมาจากหนวยจําแนกดนิระดับใด ๆ ก็ได โดยยดึถือเอาลักษณะท่ีมีอิทธิพลตอการใชประโยชนท่ีดินและการบํารุงรักษาเปนหลัก ลักษณะท่ีนํามาใชแยกออกเปนประเภทดินไดแก ความลาดชัน เนื้อดินบน ความต้ืนลึกของดิน การกดักรอน เปนตน เชน ดินชุดเชียงรายประเภทที่มีเนื้อดนิบนเปนดินรวนเหนียวปนทรายละเอียด

การสํารวจและการจําแนกดนิอยางละเอียด ไดใชหนวยแผนท่ีดินเปนประเภทของชุดดินและประเภทดินลักษณะท่ีนํามาใชแยกออกเปนประเภทดิน ไดแก

- เนื้อดนิบน คือ การกําหนดความหนาของดินช้ันบนสําหรับแบงความแตกตางของเน้ือดิน โดยแยกตามลักษณะเนื้อดินบนระดับไถพรวนหนาประมาณ 15 – 25 เซนติเมตร จากผิวดินบนใหบงลักษณะเนื้อ

Page 14: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

14

- ความลาดเทของพื้นท่ี หมายถึง ความลาดชันของพ้ืนท่ี โดยแบงความลาดเทออกเปนช้ันๆ

ดังนี ้

ลักษณะพื้นท่ี ความลาดเท ( % ) สัญลักษณ

ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ลูกคล่ืนลอนลาด ลูกคล่ืนลอนชันเล็กนอย ลูกคล่ืนลอนชัน เนินเขา สูงชัน สูงชันมาก สูงชันมากท่ีสุด

0 – 2 2 – 5

5 – 12 12 – 20 20 – 35 35 – 50 50 – 75 > 75

A B C D E F G H

- ช้ันความลึกของดิน หมายถึง ชวงความลึกตาง ๆ ท่ีนํามาใชแบงประเภทความลึกของดิน ( depth phase ) ของหนวยแผนท่ีดนิ ไดแก

ลักษณะพื้นท่ี ความลึก ( เซนติเมตร )

สัญลักษณ

ตื้นมาก ตื้น ลึกปานกลาง ลึก ลึกมาก

0 – 25 25 – 50

50 – 100 100 – 150 > 150

d1

d2

d3

d4

d5

Page 15: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

15

การเขียนหนวยแผนท่ีดนิ เขียนดังนี ้ ช่ือชุดดิน - เนื้อดนิบน - ความลาดชัน/ความลึก Kt – slB/d4 - Korat - Sandy Loam , % slopes,Deep ชุดดินโคราช - เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย ความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต เปนดินลึ

9.3 ลักษณะชุดดินที่พบในบริเวณโครงการ

จากผลของการสํารวจดนิ สามารถจําแนกชุดดนิ ( soil series ) ออกเปน 4 กลุมชุดดิน 6 ชุดดินและจําแนกยอยออกเปนประเภทดิน ( soil phase ) ได 7 ประเภทดิน ดังในแผนท่ีดินไดแสดงอาณาเขตของดินแตละประเภทไวแลว ไดแก

1. กลุมชุดดินท่ี 6 1.1 ชุดดินมโนรมย ( Manorom series : Mn ) มีเนื้อท่ีประมาณ 156 ไร หรือรอยละ 2.78 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด จัดอยูในพวก Fine, mixed,

semiactive, isohyperthermic Aeric (Plinthic) Endoaqualfs เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนตะพักลําน้ําหรือท่ีราบตะกอนน้ําพาสภาพพ้ืนท่ีราบเรียบ มีความลาดชันนอยกวา 1 เปอรเซ็นต ดินชุดนี้เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ําคอนขางเลว ดินมีความสามารถในการอุมน้ําสูง ความสามารถของดินท่ีใหน้ําซึมผานชา การไหลบาของน้ําบนผิวดินในอัตราชา ในฤดูฝนจะมีน้ําขังอยูบนหนาดินประมาณ 4 – 5 เดือน ระดับน้ําใตดินจะอยูลึกเกนิ 2 เมตร ในชวงฤดูแลง

ดินบนลึกไมเกิน 20 เซนติเมตร มีเนื้อดนิบนเปนดินรวนปนดินเหนียว สีเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจดัถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-7.0 ดินบนตอนลางเปนดินเหนียว สีน้ําตาล มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดนิเปนกรดจัดมากถึงกรดเล็กนอย มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-6.5 ดินลางตอนลางเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเทาถึงสีเทาหรือสีเทาออน มีจุดประสีแดงปนเหลืองและสีแดง จะพบศิลาแลงออน กอนเหล็กและแมงกานีสสะสมในดินลางหรือตลอดหนาตัดดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดเล็กนอย มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.0-6.5

ชุดดินนี้มีความอุดมสมบูรณปานกลาง ปจจุบันใชทํานาขาว ชุดดินมโนรมย ท่ีพบในบริเวณแปลงสํารวจ มี 1 ประเภท คือ

- ชุดดินมโนรมย ท่ีมีเนื้อดนิบนเปนดนิรวนปนดินเหนียว ความลาดชัน 0 – 2 เปอรเซ็นตสัญลักษณในแผนท่ี Mn-clA/d5

Page 16: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

16

1.2 ชุดดินเชียงราย ( Chiang Rai series : Cr ) มีเนื้อท่ีประมาณ 804 ไร หรือรอยละ 13.55 ของเนื้อท่ีท้ังหมด จัดอยูในพวก Fine,

kaolinitic, isohyperthermic Plinthic Paleaquults (Kandiaquults) เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณตะพักลําน้ํา สภาพพื้นที่มีลักษณะราบเรียบ มีความลาดชันนอยกวา 1 เปอรเซ็นต เปนดินลึกมาก มีการระบายนํ้าเลว ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดชา มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินชา น้ําใตดนิจะอยูลึกเกิน 2 เมตร ในชวงฤดแูลง มีน้ําขังอยูบนหนาดินในชวงฤดทํูานานาน 4 – 5 เดือน

ดินบนลึกไมเกิน 20 เซนติเมตร มีเนื้อดนิเปนดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเทาถึงสีน้ําตาลปนเทาเขมมาก มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดนิเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-6.5 ดินลางเปนดินเหนียว สีเทาออน มีจุดประ สีแดงหรือสีแดงปนเหลือง และมีศิลาแลงออนสีแดง 5-50 %โดยปริมาตร อาจพบกอนลูกรังปะปนอยูบาง ปฏิกริิยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจดั คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5

ชุดดินนี้มีความ อุดมสมบูรณต่ํา ปจจุบันใชทํานาขาว ชุดดินเชียงรายท่ีพบในบริเวณแปลงสํารวจ มี 1 ประเภท คือ - ชุดดินเชียงรายท่ีมีเนื้อดนิบนเปนดินรวนปนดินเหนียว ความลาดชัน 0 – 2 เปอรเซ็นต

สัญลักษณในแผนท่ี Cr – clA/d5

2. กลุมชุดดินท่ี 7 2.1 ชุดดินนครปฐม (Nakhon Pathom series : Np)

มีเนื้อท่ีประมาณ 3,572 ไร หรือรอยละ 60.22 ของเนื้อท่ีท้ังหมด จัดอยูใน Fine, mixed,

active, isohyperthermic Aeric Endoaqualfs เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนท่ีราบตะกอนน้ําพาหรือตะพักลําน้ํา สภาพพื้นที่ราบเรียบ ความลาดชันนอยกวา 1 เปอรเซ็นต เปนดินลึกมาก การระบายนํ้าของดินคอนขางเลว ความสามารถในการใหน้ําซึมผานชา การไหลบาของน้ําบนผิวดินชา น้ําใตดนิจะอยูลึกเกิน 2 เมตร ในชวงฤดแูลว ฤดูฝนมีน้ําฝนขังอยูนาน 4 – 5 เดือน

ดินช้ันบนหนาประมาณ 20 เซนติเมตร มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเทาหรือสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดเล็กนอย คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-6.5 ดินบนตอนลางเปนดนิเหนยีวหรือดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเทาเขม มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีน้ําตาลปนเหลืองในดินบนและดินลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงดางปานกลาง คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.5-8.0 ดินลางตอนลาง และจะพบมวลกอนกลมของเหล็กและแมงกานีสปะปนอยู พบมวลกอนกลมของปูนในดนิลางในระดับความลึก 80 ซม.จากผิวดินลงไป ปฏิกิริยาดินเปนดางปานกลาง คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 8.0 ชุดดินนี้มีความอุดมสมบูรณปานกลาง ปจจุบันใชทํานาขาว ชุดดินนครปฐมท่ีพบในบริเวณแปลงสํารวจมี 1 ประเภทคือ

Page 17: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

17

- ชุดดินนครปฐมท่ีมีเนื้อดินบนเปนดนิรวนปนดินเหนียว ความลาดชัน 0 – 2 เปอรเซ็นต สัญลักษณในแผนท่ี Np-clA/d5 2.2 ชุดดินพจิิตร ( Pichit series : Pic )

มีเนื้อท่ีประมาณ 1,231 ไร หรือรอยละ 20.76 ของเนื้อท่ีท้ังหมด จัดอยูในพวก fine, mixed, isohyperthermic, Aeric Tropaqualfs. เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ํา ในบริเวณลานตะพักลําน้ํากลางเกากลางใหม สภาพพืน้ท่ีราบเรียบ มีความลาดชันนอยกวา 1 เปอรเซ็นต เปนดินลึกมาก มีการระบายนํ้าคอนขางเลว ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดปานกลาง การไหลบาของน้ําบนหนาดนิชา ดินอุมน้าํไดปานกลาง ในฤดูฝนจะมีน้ําขังอยูบนหนาดิน 4 – 5 เดือนเนื่องจากทําคันกั้นน้ําทํานา น้ําใตดนิจะอยูลึกเกนิ 2 เมตร ในชวงฤดแูลง

ดินบนลึกไมเกิน 20 เซนติเมตร มีเนื้อดนิเปนดนิรวนปนทรายแปง สีพื้นเปนสีน้ําตาลปนเทาหรือสีออนของเทาปนนํ้าตาล จุดประสีน้ําตาลแก สีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาของดนิเปนกรดแกถึงกรดเล็กนอย คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5 – 6.5 สวนดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียวปนทรายแปง สีพื้นเปนสีออนของสีเทาปนน้ําตาล สีน้ําตาลแก สีน้ําตาลปนเหลือง จุดประสีน้ําตาลแก สีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาของดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดจัด คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0 – 6.0

ชุดดินนี้มีความอุดมสมบูรณต่ํา ปจจุบันใชในการปลูกขาว ชุดดินพจิิตรท่ีพบในบริเวณพื้นท่ีโครงการ มี 1 ประเภท คือ 1.ชุดดินพจิิตท่ีมีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง ความลาดชัน 0 – 2 เปอรเซ็นต

สัญลักษณในแผนท่ี Pic-silA/d5 3. กลุมชุดดินท่ี 35

- ชุดดินโคราช (Khorat series : Kt ) มีเนื้อท่ีประมาณ 42 ไร หรือรอยละ 0.70 ของเนื้อท่ีท้ังหมด จัดอยูในพวก Fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Typic (Oxyaquic) Kandiustults เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเน้ือหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกล่ียผิวแผนดิน สภาพพ้ืนท่ีเปนลูกคล่ืนลอนลาด มีความลาดชัน 2 - 5 เปอรเซ็นต เปนดินลึกมาก มีการระบายนํ้าดีปานกลาง ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดปานกลาง การไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลาง ความสามารถในการอุมน้ําของดินตํ่า ดินบนลึกไมเกิน 20 เซนติเมตร ท่ีมีเนื้อดนิบนเปนดินทรายปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย สีน้ําตาลเขมหรือน้ําตาล ดินลางเปนดินรวนเหนยีวปนทราย สวนใหญมีอนุภาคดินเหนียวไมเกนิ 35 % สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง อาจพบสีเทาปนน้ําตาล สีเทาหรือสีเทาปนชมพูในดนิลางลึกลงไป พบจุดประสี น้ําตาลแกหรือสีเหลืองปนแดง ภายในความลึกมากกวา 100 ซม. จากผิวดนิ อาจพบกอนเหล็กสะสมในดินลาง ปฏิกริิยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอยคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-6.5 ในดินบนและเปนกรดจดัมาก คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.0 ในดินลาง

Page 18: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

18

ชุดดินนี้มีความอุดมสมบูรณต่ํา ปจจุบันใชปลูกไมยืนตน ชุดดินโคราช ท่ีพบในบริเวณแปลงสํารวจ มี 1 ประเภท คือ - ชุดดินโคราช ท่ีมีเนื้อดินบนเปนดนิรวนปนทราย ความลาดชัน 2 – 5 เปอรเซ็นต สัญลักษณในแผนท่ี Kt-slB/d5

5. กลุมชุดดินท่ี 46 - ชุดดินเชียงคาน (Chaing Khan sereis : Ch ) มีเนื้อท่ีประมาณ 118 ไร หรือรอยละ 1.99 ของเนื้อท่ีท้ังหมด จักอยูในพวก Clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic Typic เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเน้ือละเอียดและหินท่ีแปรสภาพ เชน หินดินดาน หนิทรายแปง หนิโคลน หินชนวน หินฟลไลท เปนตน บริเวณพ้ืนท่ีภเูขา และรวมถึงท่ีเกิดจากวัสดดุินหรือหินท่ีเคล่ือนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขา สภาพพื้นท่ีมีลักษณะเปนลูกคล่ืนลอนลาด มีความลาดชัน 2 – 5 เปอรเซ็นต เปนดินต้ืน มีกอนกรวดปะปนอยูมาก มีการระบายนํ้าดี ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดนิปานกลางถึงเร็ว ตามปกติแลวระดับน้ําใตดินจะอยูลึกเกนิ 2 เมตร ตลอดท้ังป ดินบนลึกไมเกิน 20 เซนติเมตร มีเนื้อดินบนเปนดนิรวนหรือดินรวนปนดินเหนียวปนลูกรัง สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกริิยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.0-7.0 ดินลางเปนดินเหนียวปนลูกรังหนาแนนมาก สีแดงหรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5 พบจุดประสีน้ําตาล เหลืองหรือแดงในช้ันหนิท่ีผุพังสลายตัว ลูกรังในชุดดนิเชียงคานสวนใหญเปนเศษหินท่ีถูกเคลือบดวยสารประกอบออกไซดของเหล็กท่ีเรียกวาลูกรังเทียม (pseudo-laterite) โดยท่ัวไปชุดดินเชียงคาน มีความอุดมสมบูรณต่ํา ปจจุบันปลูกตนยคูาลิปตัสและรกราง อาจเกดิการกัดกรอนของดินไดหากมีการจัดการท่ีดินไมเหมาะสม ชุดดินเชียงคาน ท่ีพบสามารถแบงแยกยอยออกไดเปน 1 ประเภท ดังนี ้ - ชุดดินเชียงคาน ท่ีมีเนือ้ดินบนเปนดนิรวนเหนยีวปนกรวด มีความลาดชัน 2 – 5 เปอรเซ็นต สัญลักษณในแผนท่ี Ch-vgclB/d2

Page 19: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

19

ตารางท่ี 3 แสดงลักษณะทางกายภาพและเน้ือท่ี

ความลึกของดนิ เนื้อดินบน

ความลาดชันของพ้ืนท่ี

ดินต้ืน 155 ไร ดินลึกมาก 5,814 ไร

ดินรวนปนดินเหนียว 4,541 ไร ดินรวนปนทรายแปง 1,231 ไร ดินรวนปนทราย 42 ไร ดินรวนเหนยีวปนกรวด 115 ไร

0 – 2 5,772 ไร 2 – 5 160 ไร

Page 20: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

20

ตารางท่ี 4 แสดงกลุมชุดดิน, ชุดดิน, ประเภทที่ดิน, สัญลักษณและเนื้อที ่

เนื้อท่ี กลุมชุดดิน

ชุดดนิ ประเภทท่ีดิน

สัญลักษณในแผนท่ี ไร %

1.กลุมชุดดินท่ี 6 1.1ชุดดินมโนรมย 1.2ชุดดินเชยีงราย 2.กลุมชุดดินท่ี 7 2.1ชุดดินนครปฐม 2.2ชุดดินพจิิตร 3.กลุมชุดดินท่ี - ชุดดินโคราช 4.กลุมชุดดินท่ี 46 - ชุดดินเชียงคาน

- ประเภทท่ีมีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว ความลาดชัน 0 – 2 เปอรเซ็นต -ประเภทท่ีมีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว ความลาดชัน 0 – 2 เปอรเซ็นต -ประเภทท่ีมีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว ความลาดชัน 0 – 2 เปอรเซ็นต - ประเภทท่ีมีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง ความลาดชัน 0 – 2 เปอรเซ็นต - ประเภทท่ีมีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย ความลาดชัน 2 – 5 เปอรเซ็นต - ประเภทท่ีมีเนื้อดินบนเปนดินรวนเหนยีวปนทรายปนกรวด ความลาดชัน 2 – 5 เปอรเซ็นต การกดักรอนเล็กนอย

Mn-clA/d5

Cr-clA/d5

Np-clA/d5

Pic-silA/d5

Kt-slB/d5

Ch-gclB/d2

165.00

804.00

3,572.00

1,231.00

42.00

115.00

2.78

13.55

60.22

20.76

0.70

1.99

รวม 5,932.00 100.00

Page 21: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

21

10. การจําแนกความเหมาะสมของดนิดานการเกษตร วิธีการจําแนกความเหมาะสมของท่ีดินสําหรับพืชชนิดตางๆ ไดแบงระดับความเหมาะสม

ออกเปนช้ันและช้ันยอยดังนี้ 10.1 ช้ันความเหมาะสม ตามระบบการจําแนกไดแบงช้ันความเหมาะสมของท่ีดินสําหรับพืชตางๆ ดังตารางตอไปน้ี ตารางท่ี 5 ตารางแสดงช้ันความเหมาะสมของท่ีดินสําหรับพืช

ชั้นท่ี ชั้นความเหมาะสม นาขาว ( P ) พืชไร ( N ) ไมผล ( F ) ทุงหญาเล้ียงสัตว ( L )

1.

2. 3. 4. 5. 1. 2 3

มีความเหมาะสมดีมาก มีความเหมาะสมดี มีความเหมาะสมปานกลาง ไมคอยเหมาะสม ไมเหมาะสม มีความเหมาะสม ไมคอยเหมาะสม ไมเหมาะสม

P-I P-II P-III P-IV P-V

N-I N-II N-III N-IV N-V

F-I F-II F-III F-IV F-V

L-I L-II L-III

10.2 ช้ันความเหมาะสมยอย เปนตัวระบุถึงขอจํากัดในการใชประโยชนท่ีดนิ ขอจํากัด

ตางๆ ใชสัญลักษณเปนตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพเล็ก สัญลักษณของขอจํากัดมีดังนี ้ c : ความลึกของช้ันดาน g : ปริมาณช้ินสวนขนาดใหญท่ีเปนของแข็งในดนิ เชน หิน กรวด p : ความสามารถใหน้ําซึมผาน a : ปฏิกิริยาของดิน x : ความเค็มของดิน f : สภาพน้ําทวม e : การกัดกรอนของดิน m : อัตราเล่ียงตอการขาดแคลนนํ้า

Page 22: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

22

s : เนื้อดิน j : ความลึกของช้ันดินท่ีมีสารจาโรไซท n : ความอุดมสมบูรณของดิน o : ช้ันดินเชิงอินทรีย d : การระบายนํ้าของดิน t : สภาพภูมิประเทศ r : การมีหินโผล เม่ือทราบช้ันความเหมาะสมของท่ีดินสําหรับปลูกพืชแลว ใหระบุชนดิของขอจํากัดท่ีรุนแรงท่ีสุดเอาไวทายช้ันความเหมาะสม เชน P – II fn หมายถึง ดินมีความเหมาะสมดีสําหรับปลูกขาว แตมีปญหาเกี่ยวกับน้ําทวมและดนิขาดความอุดมสมบูรณ ตารางท่ี 6 แสดงช้ันความเหมาะสมของดินกับพืชกลุมตางๆ

ชั้นความเหมาะสม

สัญลักษณ

นาขาว (P) พืชไร (N) ไมผล (F) ทุงหญาเล้ียงสัตว (L)

หมายเหตุ

Mn-clA/d5 Cr-clA/d5

Np-clA/d5 Pic-silA/d5

Kt-slB/d5E1

Ch-vgclB/d2E1

P-t

P-lln P-lln P-lln

P-Vms P-Vms

N-Vf N-Vf N-Vf N-Vf N-l

N-ns

F-Vf F-Vf F-Vf F-Vf F-l F-l

L-IIf L-IIf L-IIf L-IIf L-l L-l

Page 23: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

23

11. การจําแนกความเหมาะสมของดนิดานวิศวกรรม การวินจิฉัยคุณภาพของดินเพื่อใชเปนวัสดุหนาดนิ ดนิถมหรือดินคันทางการใช

สรางทาง บอขุด อางเก็บน้าํขนาดเล็ก คันกั้นน้ํา บอเกรอะ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก อาคารตํ่า ๆ และใชยานพาหนะในชวงฤดูฝน แบง 3 ระดับคือ

1. หมายถึง เหมาะสมด ี (Good) 2. หมายถึง เหมาะสมปานกลาง (Fair) 3. หมายถึง ไมเหมาะสม (Poor)

10.4 การวนิจิฉัยคุณภาพของดินเพื่อใชเปนแหลงทรายและกรวด แบงเปน 4 ระดับ คือ 1. หมายถึง เหมาะสมด ี (Good) 2. หมายถึง เหมาะสมปานกลาง (Fair) 3. หมายถึง ไมเหมาะสม (Poor) 4. หมายถึง ไมเหมาะสมอยางยิ่ง (Very Poor)

10.3 อักษรยอภาษาอังกฤษท่ีกํากบัทายตัวเลข แสดงถึงขอจํากัดท่ีใหดินนั้นไมเหมาะสม หรือ เหมาะสมปานกลาง a : ลักษณะของดินตามการจําแนกดิน (Subgrade properties) b : ความหนาของวัสดุท่ีเหมาะสม (thickness of suitable material) c : ความลึกถึงหินพื้น (depth to bedrock) d : การระบายนํ้าของดิน (drainage)

f : น้ําทวมหรือแชขัง (flooding hazard) g : ปริมาณเศษหิน ท่ีมีขนาดใหญกวาทรายหยาบมาก (fragment coarser than very cosrse sand %) h : ระดับน้ําใตดินในฤดูฝน (depth to seasonal water table) j : ปฏิกิริยาของดิน (reaction) k : ความซึมน้ําของดิน (permeability or hydraulic conductivity) l : ศักยภาพในการยืดและหดตัวของดนิ (shrink – swell potential) m : ความลึกถึงช้ันท่ีมีการซาบซึมน้ํา (depth to permeable material)

o : การกัดกรอนของทอเหล็กท่ีไมเคลือบผิว (corrosivity uncosted steel) p : การมีกอนหิน (stoninass) q : ความลึกถึงช้ันทรายหรือกรวด (depth to sand and gravel) r : การมีหินโผล (rockiness)

Page 24: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

24

s : เนื้อดิน (texture) t : สภาพภูมิประเทศหรือความลาดชัน (tojpography or slope) x : ความเค็มของดิน (salinty)

ท่ีมา : รวบรวมจากเอกสารวิชาการ ฉบับท่ี 243 เร่ืองการศึกษาและวนิิจฉัยคุณสมบัติของดินตามกลุมชุดดิน เพือ่เปนแนวทางในการวางโครงการดานวิศวกรรม โดยสุวณ ี ศรีธวัช ณ อยุธยา และคณะ เหมาะสมด ี (Good) คือ ดินไมมีหรือมีขอจํากัดเล็กนอย คุณสมบัติตางๆ เหมาะสมตามท่ีกําหนดไว จะมีขอจํากัดบางก็เล็กนอยและสามารถแกไขไดงาย การดแูลรักษาและการปรับปรุงบํารุงดินทําไดงาย และเสียคาใชจายนอย เหมาะสมปานกลาง (Fair) คือ ดินท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมปานกลาง ขอจํากัดในการใชอาจมีบางซ่ึงตองแกไข โดยการวางแผนออกแบบใหเขากับสภาพและลักษณะของดนิอาจจะตองมีการบํารุงรักษาเปนพิเศษ แผนงานการกอสรางอาจจะตองแกไขดดัแปลงบางจากแผนเดิมท่ีใชกบัดินท่ีมีขอจํากัดเพยีงเล็กนอย การกอสรางรากฐาน หรือ ตอหมอควรเสริมใหม่ันคงเปนพิเศษ ไมเหมาะสม (Poor) คือ ดินท่ีมีคุณสมบัติท่ีไมเหมาะสมเพียงอยางเดยีวหรือมากกวาและมีขอจํากัดนัน้ๆ มีความยุงยากในการดัดแปลงแกไขและตองเสียคาใชจายสูง จําเปนตองมีการปรับปรุงและฟนฟดูินเปนหลัก นอกจากนัน้ตองมีการออกแบบเปนพิเศษตลอดจนมีการบํารุงรักษาดินอยางสมํ่าเสมอยิ่งข้ึน ตารางท่ี 8 แสดงช้ันความเหมาะสมของดินดานวิศวกรรม

สัญลักษณ ในแผนท่ี

วัสดุหนาดิน

แหลงทรายและกรวด

ดินถมหรือดินคันทาง

การใชสรางทาง

บอขุด

อางเก็บน้ําขนาดเล็ก

คันกั้นน้ํา

บอเกรอะ

โรงงานอุตสาหกรรม

ขนาดเล็ก

อาคารตางๆ

การใชยานพาหนะในชวงฤดูฝน

Mn-clA/d5 Cr-clA/d5

Np-clA/d5 Pic-silA/d5

Kt-slB/d5E1

Ch-vgclB/d2E1

3s 2s 2s 2s 1 2a

4a 4a 4a 4a 4a 3a

3ad 3ad 3a 3a 2a 1

4f 3af 3af 3af 2a 1

1 1 1 1

3k 3k

1 1 1 1 3k 3k

2a 2a 2a 2a 2a 2a

3kh 3kh 3kh 3kh 3k 1

3dn 3da 3da 3da 2a 1

3sd 3sd 3sd 3sd 2s 1

Page 25: รูปที่ี่ประเทศไทย 1 แผนทsoctech.sut.ac.th/it/ecir_new/upload/map.pdf · โดยจัํดทาแผนที่ อมเขีพร

25

เอกสารอางอิง

กองสํารวจดิน คูมือการจําแนกความเหมาะสมของท่ีดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ, กรมพฒันาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและ สหกรณ เอกสารทางวชิาการฉบับท่ี 28, 2538. กองสํารวจดิน รายงานการสํารวจดินจังหวดัพิจิตร กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ ฉบับท่ี 431, 2530. กองสํารวจและจําแนกดนิ คูมือแนวทางการจัดการดินสําหรับปลูกพืชตางๆ ตามกลุมดิน กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ ตุลาคม 2534. เฉลียว แจงไพร คูมือการสํารวจดินและวนิิจฉัยคุณภาพดินเพื่อใชในการวางแผนอนรัุกษดินและน้าํไรนา กองสํารวจและจําแนกดิน เอกสารวิชาการ ฉบับท่ี 73, 2530. นักบริหารงานสํารวจจําแนกและวางแผนการใชท่ีดิน คูมือการสํารวจจําแนกและวางแผนการใชท่ีดนิระดับไรนา กรมพัฒนาท่ีดิน กรกฎาคม. ประสาท เกศวพิทักษ และดิสสพันธ ธรรมภิรมย การใชปุยกับพืชตางๆ (ตามนโยบายดินและปุย). ฝายวินจิฉัยคุณภาพของดิน รายงานการวนิิจฉัยคุณภาพดิน กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ กองสํารวจและจําแนกดิน เอกสารวิชาการฉบับท่ี 11 ตุลาคม 2534. รายงานการจดัการทรัพยากรดิน เพื่อการปลูกพืชเศรษฐกจิหลัก ตามกลุมชุดดิน ดินบนพ้ืนท่ีราบตํ่า ดินบนพืน้ท่ีดอน

กรมพัฒนาท่ีดนิ เลมท่ี 1,2 กมุภาพันธุ 2541. สรสิทธ์ิ วัชโรทยาน และคณะกรรมการจัดกิจการเพ่ือเพิม่กองทุน คูมือการปรับปรุงดินและการใชปุย กรุงเทพฯ, 2535. สวณ ี ศรีธวัช ณ.อยุธยา การศึกษาและวินจิฉัยคุณสมบัติของดินตามกลุมชุดดินเพ่ือเปนแนวทางในการวาง

โครงสรางดานวิศวกรรม กองสํารวจดินและจําแนกดิน เอกสารวิชาการฉบับท่ี 243, 2535. อุดม พูลสวัสด การกําหนดมาตราฐาน งานสํารวจและวางแผนการใชท่ีดินในระดับไรนา สํานักงานพัฒนาท่ีดนิเขต

ฝายวางแผนการใชท่ีดิน มีนาคม 2537.