เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่...

58
เอกสารทางวิชาการ เรื่องที2 สภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศในประเทศไทย The Marketing and Production Condition of Muscovy in Thailand โดย ปรีชา บัวทองจันทร์ วรทัย รอดเรือง ทะเบียนวิชาการเลขที62(2)-0211-052 สถานที่ดาเนินการ ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ระยะเวลาดาเนินการ มกราคม - มิถุนายน 2562 การเผยแพร่ เว็บไซต์ กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ http://extension.dld.go.th/th1/images/stories/ 2562/research/paper2.pdf 19 มิถุนายน 2562

Upload: others

Post on 23-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

เอกสารทางวิชาการ

เรื่องที่ 2

สภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศในประเทศไทย The Marketing and Production Condition of Muscovy

in Thailand

โดย

ปรีชา บัวทองจันทร ์วรทัย รอดเรือง

ทะเบียนวิชาการเลขที่ 62(2)-0211-052 สถานที่ด าเนินการ ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ระยะเวลาด าเนินการ มกราคม - มิถุนายน 2562 การเผยแพร่ เว็บไซต์ กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ http://extension.dld.go.th/th1/images/stories/ 2562/research/paper2.pdf 19 มิถุนายน 2562

Page 2: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

1

สารบัญหน้า

สารบัญตาราง 3 สารบัญภาพ 4 สารบัญแผนภาพ 5 บทคัดย่อ 6

บทที่ 1 บทน า 9

1.1 ความส าคัญและที่มาของปัญหาที่ท าการวิจัย ............................................................... 9

1.2 วัตถุประสงค์ .............................................................................................................. 10

1.3 กรอบแนวคิดการวิจัย ................................................................................................ 10

1.4 ขอบเขตการวิจัย ........................................................................................................ 11

1.5 ข้อตกลงเบี้องต้น ....................................................................................................... 11

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ ...................................................................................................... 11

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง 12

บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย 18

3.1 ประชากรที่ท าการศึกษาวิจัย ..................................................................................... 18

3.2 กลุ่มตัวอย่างที่ท าการศึกษาวิจัย ................................................................................. 18

3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล ...................................................................... 19

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล ............................................................................................... 20

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล ................................................................................. 20

บทที่ 4 ผลและวิจารณ์ 23

4.1 ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศ .................................................................... 23

4.2 สภาพการเลี้ยง และการจัดการเลี้ยงเป็ดเทศ ............................................................. 26

4.3 การตลาด ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทน ................................................................ 35

4.4 ความคิดเห็น และความต้องการของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ ........................ 42

4.5 ปัญหาอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดเทศ ............................................................................ 44

4.6 ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคการเลี้ยงเป็ดเทศ .................................. 46

4.7 สิ่งที่ต้องการให้ภาครัฐหรือกรมปศุสัตว์ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดเทศ .......................................................................................... 46

บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 48

5.1 สรุป ........................................................................................................................... 48

5.2 ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................. 50

Page 3: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

2

เอกสารอ้างอิง 54

กิตติกรรมประกาศ 56

ภาคผนวก รายชื่อจังหวัดที่จัดเก็บข้อมูลการศึกษาสภาพการผลิตและการตลาด เป็ดเทศในประเทศไทย 57

Page 4: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

3

สารบัญตาราง หน้า

ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบลักษณะทางเศรษฐกิจของเป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมือง

และเป็ดเทศพันธุ์บาร์บารี ............................................................................................ 13 ตารางท่ี 2 เปรียบเทียบลักษณะทางเศรษฐกิจของเป็ดเทศพันธุ์ท่าพระ

และเป็ดเทศพันธุ์กบินทร์บุรี ........................................................................................ 13 ตารางท่ี 3 ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศ....................................................................... 23 ตารางท่ี 4 สภาพการเลี้ยง และการจัดการเลี้ยงเป็ดเทศ ................................................................ 27 ตารางท่ี 5 การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน ................................................................. 36 ตารางท่ี 6 ความคิดเห็น และความต้องการของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ .......................... 42 ตารางท่ี 7 ปัญหาอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดเทศ .............................................................................. 45 ตารางท่ี 8 สรุปข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ ............................................................. 46 ตารางท่ี 9 สิ่งที่เกษตรกรต้องการให้ภาครัฐสนับสนุน .................................................................... 47

Page 5: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

4

สารบัญภาพ หน้า

ภาพที่ 1 เป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมือง ........................................................................................................ 14 ภาพที่ 2 เป็ดเทศพันธุ์ท่าพระ ........................................................................................................ 14 ภาพที่ 3 เป็ดเทศพันธุ์บาร์บารี....................................................................................................... 14 ภาพที่ 4 เป็ดเทศพันธุ์กบินทร์บุรี ................................................................................................... 15 ภาพที่ 5 เป็ดเทศพันธุ์แม่ฮ่องสอน ................................................................................................. 15

Page 6: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

5

สารบัญแผนภาพ หน้า

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ........................................................................................... 11 แผนภาพที่ 2 สภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศ (รายย่อย) ....................................................... 52 แผนภาพที่ 3 สภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศ (กลุ่ม/ชมรม/สหกรณ์) .................................... 53

Page 7: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

6

สภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศในประเทศไทย

ปรีชา บัวทองจันทร์1 วรทัย รอดเรือง2

บทคัดย่อ

การศึกษาสภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการเลี้ยงและการจัดการเลี้ยงเป็ดเทศ 2) ศึกษาการตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน และ 3) ศึกษาความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค ความต้องการ และข้อเสนอแนะของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ เก็บข้อมูลโดยการสอบถามกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มเลือกจากประชากรผู้เลี้ยงเป็ดเทศทุกภูมิภาค จ านวน 342,397 ราย โดยใช้สูตรของ Taro Yamane ได้กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 400 ราย ด าเนินการระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม 2562 ท าการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน แปลผลโดยน าค่าเฉลี่ยของแต่ละประเด็นมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์การแปลความหมาย

พบว่า ผู้เลี้ยงเป็ดเทศส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย เลี้ยงมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่เลี้ยงร่วมกับการท าการเกษตรอ่ืน เพ่ือจ าหน่ายเป็นรายได้เสริม โดย เลี้ยงเฉลี่ย จ านวน 89.26 ตัวต่อราย เป็นเป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมืองมากท่ีสุด วิธีการเลี้ยงยังเป็นแบบหลังบ้าน เกือบทั้งหมดให้แม่เป็ดเทศฟักไข่ตามธรรมชาติ แหล่งอาหารส่วนมากได้จากวัตถุดิบในท้องถิ่น ด้านต้นทุนการเลี้ยงพบว่า ต้นทุนในการเลี้ยงเป็ดโตเพ่ือจ าหน่าย (น้ าหนักประมาณ 3 กิโลกรัม) เท่ากับ 215.62 บาทต่อตัว ราคาจ าหน่ายเป็ดโตเฉลี่ย 91.39 บาทต่อกิโลกรัม โดยเกษตรกรมีรายได้สุทธิเฉลี่ย 14,202.53 บาทต่อรายต่อปี ตลาดเป็ดเทศที่ส าคัญคือตลาดในชุมชน และฤดูกาลที่มีความต้องการเป็ดเทศมากท่ีสุดคือฤดูหนาว รองลงมาคือฤดูร้อน

เกษตรกรส่วนใหญ่เคยได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานกรมปศุสัตว์ ทั้งการเยี่ยมเยือน การแนะน าให้ความรู้การเลี้ยงเป็ดเทศ และความรู้เรื่องวัคซีนป้องกันโรค ปัญหาอุปสรรคการเลี้ยงเป็ดเทศในภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 1.82±0.64) โดยปัญหามากที่สุดคืออาหารสัตว์ราคาแพง รองลงมาคือด้านการตลาด และต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐมากที่สุดในด้านพันธุ์เป็ดเทศ รองลงมาคือการตลาด ส่วนข้อเสนอแนะมีความสอดคล้องกับความต้องการคือเสนอให้ภาครัฐสนับสนุนด้านการตลาดมากที่สุด รองลงมาคือด้านราคา เช่น การประกันราคา และก าหนดราคามาตรฐาน เป็นต้น

ค าส าคัญ : เป็ดเทศ การตลาด ผลตอบแทน

ทะเบียนวิชาการเลขที่ : 62(2)-0211-052 1/ กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ ถนนพญาไท ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 2/ ศูนย์วิจัยและบ ารุงพ้นธุ์สัตว์ตาก ต าบลไม้งาม อ าเภอเมือง จังหวัดตาก 63000

Page 8: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

7

The Marketing and Production Condition of Muscovy in Thailand

Preecha Buathongchan 1 Worathai Rodreong 2

Abstract

The objectives of the study on production and marketing conditions of Muscovy in Thailand were: 1) to study the conditions of raising and management of Muscovy, 2) to study marketing, production costs and returns, and 3) to study opinions, problems, obstacles, needs and suggestions of the farmers to the extension work by the government sector. Data were collected by questioning a sample of randomly selected total population size of 342,397 Muscovy farmers of all regions, using Taro Yamane's formula 400 samples were taken between January and March 2019. Data were analyzed using statistics, percentage, mean and standard deviation. Interpretation of results was performed by comparing the average value of each issue with the set criteria.

It was found that most of the Muscovy farmers were small scaled farmers. Raising was found the most in the northeast. Mostly Muscovy was raised as an additional occupation with other agricultural occupations to generate extra income. The average number of Muscovy was 89.26 per person. The most common breed found was native. The farming was of backyard in the household type. Almost all had mother-Muscovy hatched naturally. Feed sources used were mainly from local ingredients. For the cost of raising, it was found that the production cost at sale weight (about 3 kg) was 215.62 baht per head. The average Muscovy selling price was 91.39 baht per kilogram. The farmers had an average net income of 14,202.53 baht per person per year. The important Muscovy market was the market in the local community. The season with the most demand for Muscovy was winter followed by summer.

Most farmers had received extension from the Department of Livestock Development in forms of visiting and introduction to the knowledge of Muscovy raising and knowledge of vaccine against disease. Problems and obstacles in raising Muscovy as a whole, it was found at a moderate level (average 1.82 ± 0.64). The most problematic issue was expensive animal feed, followed by marketing. Assistance needed the most from the Government was Muscovy breeding stocks, followed by marketing. The suggestions from the farmers were in consistence with the needs which were in marketing support at the

Page 9: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

8

most, followed by price, such as price assurance and the standard price designation by the Government.

Keywords : Muscovy, Marketing, Economic return

Registered No : 62(2)-0211-052 1/Division of Livestock Extension and Development, Department of Livestock Development,

Phaya Thai Road, Ratchathewi, Bangkok. 10400 2/Tak Livestock Research and Breeding Center, Mai Ngam Subdistrict, Muang District, Tak 63000

Page 10: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

9

บทท่ี 1 บทน ำ

1.1 ความส าคัญและที่มาของปัญหาที่ท าการวิจัย

การเลี้ยงเป็ดเทศในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย เลี้ยงเป็นอาชีพเสริมในครอบครัวร่วมกับการท าการเกษตรอ่ืนๆ เช่น ท านา ท าไร่ ท าสวน ฯลฯ มีวัตถุประสงค์เลี้ยงไว้บริโภคในครัวเรือน มีเพียงส่วนน้อยที่เลี้ยงเป็นอาชีพหลัก หรืออาชีพรองในลักษณะเป็ดเนื้อหรือเป็ดขุน ในฟาร์ม ด้วยคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นและศักยภาพของเกษตรกร จึงนิยมน ามาเลี้ยงแบบเกษตรผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงหรือเลี้ยงไว้ร่วมกับสัตว์เลี้ยงอ่ืนๆ เช่น ไก่พ้ืนเมือง ห่าน เป็นต้น กรมปศุสัตว์ส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อยรวมกลุ่มกันเพ่ือร่วมกันผลิต ร่วมกันขาย ให้มีอ านาจต่อรองด้านการตลาด ขณะเดียวกันก็พัฒนาปรับปรุงพันธุ์เป็ดเทศให้เหมาะสม เพ่ิมผลผลิตทั้งเนื้อและไข่ และสามารถเลี้ยงได้ในเชิงการค้าตามสภาพแวดล้อมของประเทศ เช่น เป็ดเทศพันธุ์ท่าพระ พันธุ์กบินทร์บุรี เป็นต้น เป็ดเทศเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย เติบโตเร็ว สามารถใช้อาหารและวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นเลี้ยงได้เป็นอย่างดี ให้ผลตอบแทนในระยะสั้น ต้านทานโรคได้ดี ฟักไข่ และเลี้ยงลูกได้เอง ให้ลูกดก เป็นที่ต้องการของตลาดทั้งเป็ดเนื้อมีขีวิตและเป็ดเนื้อช าแหละ ข้อดีของเป็ดเทศ “เลี้ยงง่าย โตไว ไข่ดก โรคน้อย อร่อยเหลือ” (ปรีชา และคณะ, 2557) คือ

1.1.1 เลี้ยงง่าย กินอาหารไม่เลือก สามารถใช้อาหารคุณภาพต่ าเลี้ยงได้ เช่น ร าหยาบผสมปลายข้าว ฯลฯ ชอบพืชสีเขียวทั่วไป ชอบกินหญ้าขน จอก แหน และผักตบชวา

1.1.2 โตไว มีโครงร่างใหญ่ ให้เนื้อมาก ถ้าเลี้ยงเป็นเป็ดขุน จึงส่งตลาดได้เร็ว ท าให้ลดต้นทุนได้มาก 1.1.3 หากปล่อยให้เลี้ยงลูกเอง จะเลี้ยงลูกเก่ง ดูแลและป้องกันภัยแก่ลูกเป็นอย่างดี เมื่อมีภัยมา

สามารถจิกตีได้เหมือนแม่ไก ่1.1.4 ให้ไข่ดกและฟักออกมาเป็นตัวสูงมาก เฉลี่ยไข่ตัวละ 15–20 ฟองต่อชุด บางตัวไข่ถึง 30

ฟองต่อชุดก็มี ปีหนึ่งๆ จะให้ไข่ราว 4–5 ชุด 1.1.5 มีความต้านทานโรคได้ดีกว่าเป็ดพันธุ์ อื่นๆ ลูกเป็ดเล็กมีอัตราเลี้ยงรอดสูงมาก

ใช้ระยะเวลาเลี้ยงสั้นกว่า 1.1.6 เป็นที่ต้องการของตลาด เพราะเนื้อมีรสชาติดี สามารถประกอบอาหารได้หลายประเภท

แต่อย่างไรก็ตาม การเลี้ยงเป็ดเทศในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายไม่มากนัก แหล่งที่เลี้ยงเป็ดเทศจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความนิยมในการบริโภค จากสถิติปี 2560 พบว่า มีเป็ดเทศจ านวน 6.24 ล้านตัว ส่วนมากเลี้ยงอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3.44 ล้านตัว รองลงมา ภาคใต้ 1.77 ล้านตัว ภาคเหนือ 0.55 และน้อยที่สุด คือ ภาคกลาง 0.46 ล้านตัว (ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์, 2560) ปัญหาที่พบคือภาครัฐยังผลิตเป็ดเทศพันธุ์ดีไม่เพียงพอต่อความต้องการ

Page 11: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

10

ของเกษตรกร ส่งผลให้ก าลังการผลิตไม่เพียงพอที่จะพัฒนาโรงฆ่าสัตว์ขนาดเล็กมาตรฐานชุมชนได้ รวมทั้งการแปรรูปในระดับชุมชนยังไม่ถูกสุขลักษณะ และราคาที่ซื้อขายก็ไม่แน่นอนด้วย

การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเพื่อเสนอรูปแบบและแนวทางที่เหมาะสมในการเลี้ยงเป็ดเทศส าหรับเกษตรกรรายย่อย รวมทั้งการพัฒนาการตลาดเป็ดเทศให้สามารถด าเนินการเชิงธุรกิจได้ 1.2 วัตถุประสงค์

1.2.1 เพ่ือศึกษาการเลี้ยงและการจัดการเลี้ยงเป็ดเทศ 1.2.2 เพ่ือศึกษาการตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน 1.2.3 เพ่ือศึกษาความคิดเห็น ความต้องการ ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะต่อการส่ งเสริม

ของภาครัฐ 1.3 กรอบแนวคิดการวิจัย

กรอบแนวคิดการวิจัยประกอบด้วยตัวแปรที่ท าการศึกษาวิจัย ประกอบด้วย 1.3.1 ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศ ได้แก่ ภูมิล าเนา เพศ อายุ จ านวนสมาชิกใน

ครัวเรือน สถานภาพในครัวเรือน ระดับการศึกษา อาชีพหลัก อาชีพรอง รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดเทศ การถือครองที่ดิน และพ้ืนที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศ

1.3.2 สภาพการเลี้ยงและการจัดการเลี้ยงเป็ดเทศ ได้แก่ เหตุผลที่เลี้ยงเป็ดเทศ พันธุ์เป็ดเทศที่เลี้ยง จ านวนเป็ดเทศที่เลี้ยง การเลี้ยงเป็ดเทศร่วมกับสัตว์ปีกอ่ืนๆ แหล่งน้ าให้เป็ดเทศได้ลงเล่น รังไข่ในคอกเป็ดเทศ วัสดุที่ใช้ท ารังไข่เป็ดเทศ รูปแบบการเลี้ยงเป็ดเทศ วัสดุรองพ้ืนคอกเป็ด แหล่งพ่อ-แม่พันธุ์เป็ดเทศหรือลูกเป็ดเทศ วิธีหรือหลักการคัดเลือกพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์เพ่ือน ามาขยายพันธุ์ วิธีการฟักไข่ ประสบการณ์ในการใช้ตู้ฟักไข่เป็ดเทศ อัตราส่วนพ่อพันธุ์ต่อแม่พันธุ์ที่ใช้ โรงเรือนที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศพ่อ-แม่พันธุ์ โรงเรือนที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศเพ่ือขุน แหล่งอาหารที่ให้เป็ดเทศ วิธีการให้อาหาร เวลาให้อาหาร ภาชนะที่ใส่น้ าให้กิน การท าความสะอาดรางน้ าที่ให้เป็ดเทศ การท าวัคซีนเป็ดเทศ ก าหนดการท าวัคซีนป้องกันโรค การก าจัดพยาธิภายใน ผลดีผลเสียของการเลี้ยงเป็ดเทศ และลู่ทางในอนาคตของการเลี้ยงเป็ดเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด

1.3.3 การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน ได้แก่ ต้นทุนค่าพันธุ์เป็ดเทศ ต้นทุนค่าอาหาร ค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ ในรอบปี เกณฑ์ในการตั้งราคาขายเป็ดเทศ ตลาดเป็ดเทศที่ส าคัญ การจ าหน่ายเป็ดเทศ ผลของฤดูกาลต่อการจ าหน่ายเป็ดเทศ ฤดูกาลที่มีความต้องการเป็ดเทศมากที่สุด รายรับจากการจ าหน่ายเป็ดเทศในรอบปี และการบันทึกบัญชีฟาร์มและการบันทึกรายรับ-รายจ่าย

1.3.4 ความคิดเห็นและความต้องการของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ ได้แก่ การส่งเสริม แนะน าหรือให้ค าปรึกษาในการเลี้ยงเป็ดเทศ การเยี่ยมเยือนจากเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ การบริการของภาครัฐที่เคยได้รับเกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดเทศ ความต้องการให้ภาครัฐส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงเป็ดเทศด้านต่างๆ และการมีส่วนร่วมและสนับสนุนหน่วยงานของกรมปศุสัตว์

Page 12: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

11

1.3.5 ปัญหาอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดเทศ ด้านต่างๆ ได้แก่ พันธุ์เป็ดเทศ การฟักออก การคัดเลือก/ปรับปรุงพันธุ์ ราคาอาหาร วัตถุดิบอาหารในท้องถิ่น เป็ดเทศจิกขนกัน/บินออกจากคอก โรคระบาด การจัดหาวัคซีน การท าวัคซีน การควบคุมและป้องกันโรค การตลาด และ ความรู้

1.3.6 ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดเทศ

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

1.4 ขอบเขตการวิจัย 1.4.1 ประเด็นที่ท าการศึกษาวิจัย คือเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศในทุกภูมิภาค ได้แก่ ภาคเหนือ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง (รวมภาคตะวันตกและตะวันออก) และภาคใต้ 1.4.2 กลุ่มตัวอย่างที่ท าการศึกษาวิจัย คือ มาจากการสุ่มตัวอย่างจากเกษตรกรที่เลี้ยงเป็ดเทศใน

พ้ืนที่ 6 จังหวัดในแต่ละภูมิภาค รวมทั้งสิ้น 400 ราย 1.5 ข้อตกลงเบี้องต้น

เกษตรกรที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในแต่ละจังหวัดมาจากการสุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนจ านวนที่ค านวณจากแต่ละภูมิภาคตามแบบของ Taro Yamane (Yamane,1967) คือ

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 1.6.1 เป็ดเทศ หมายถึง เป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมือง พันธุ์บาร์บารี หรือลูกผสมบาร์บารี–พ้ืนเมือง หรือ

พันธุ์อ่ืนที่กรมปศุสัตว์พัฒนาปรับปรุงพันธุ์ขึ้นมาใหม่ เกษตรกรเลี้ยงไว้เป็นเป็ดเนื้อเพ่ือการบริโภคหรือจ าหน่ายเป็นรายได้ ได้แก่ พันธุ์ลูกผสมพ้ืนเมือง พันธุ์กบินทร์บุรี พันธุ์แม่ฮ่องสอน พันธุ์ท่าพระ เป็นต้น โดยจ าหน่ายเป็นลูกเป็ด เป็ดรุ่น เป็ดโต หรือ พ่อ–แม่พันธุ์

1.6.2 เป็ดเทศขุน หมายถึง เป็ดเทศที่เกษตรกรเลี้ยงไว้เพ่ือขุนเป็นเป็ดเนื้อเพ่ือจ าหน่ายหรือช าแหละจ าหน่าย โดยเลี้ยงเป็นรุ่นๆ เมื่อได้อายุและขนาดตามที่ตลาดต้องการ จะจ าหน่ายออกทั้งหมด แล้วซื้อรุ่นใหม่เข้ามาเลี้ยงขุนต่อไป

Page 13: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ปรีชา และคณะ (2557) รายงานว่า เป็ด (Duck) เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง จัดอยู่ใน Family

Anatidae เลี้ยงกันแพร่หลายทั่วโลก โดยเฉพาะในเอเซีย เช่น มาเลเซีย จีน ไต้หวัน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือบริโภคเนื้อและไข่ ส าหรับประเทศไทย มีการเลี้ยงเป็ดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ เลี้ยงมาก ในพ้ืนที่ที่มีแหล่งน้ าธรรมชาติ เป็นพื้นที่ท านาข้าวในเขตชลประทาน เช่น ชลบุรี สมุทรสาคร นครปฐม อ่างทอง ชัยนาท สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา นครสวรรค์ เป็นต้น การเลี้ยงเป็ดส่วนใหญ่ใช้แหล่งอาหารจากธรรมชาติ อาศัยอาหารจากกุ้ง หอย ปู ปลา และพืชสีเขียว เป็นการลดต้นทุนการผลิต ส าหรับพันธุ์เป็ดที่เลี้ยงในประเทศไทย แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้ประโยชน์ คือ เป็ดพันธุ์ไข่ เช่น พันธุ์กากีแคมป์เบลล์ พันธุ์นครปฐม และพันธุ์ปากน้ า (พันธุ์พ้ืนเมืองของไทย) และเป็ดพันธุ์เนื้อ เช่น พันธุ์ปักก่ิง เป็ดเทศพ้ืนเมือง เป็ดเชอรี่วัลเล่ย์ เป็นต้น

เป็ดเทศ (Muscovy) เป็นเป็ดพ้ืนเมืองพันธุ์เนื้อที่เลี้ยงง่าย เติบโตเร็ว สามาถใช้เป็นอาหาร และใช้วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นเลี้ยงได้เป็นอย่างดี ให้ผลตอบแทนในระยะเวลาสั้น ต้านทานโรคได้ดี ฟักไข่และเลี้ยงลูกได้เอง ให้ลูกดก เป็นที่ต้องการในตลาดท้องถิ่นทั้งเป็ดเนื้อมีชีวิตและเป็ดเนื้อช าแหละ เกษตกรสามารถเลี้ยงร่วมกับอาชีพเกษตรอ่ืนได้เป็นอย่างดี แบบเกษตรผสมผสาน หรือแบบเศรษฐกิจพอเพียง สามารถเลี้ยงเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง หรืออาชีพเสริมได้ ตามคุณลักษณะที่ว่า “เป็ดเทศ เลี้ยงง่าย โตไว ไข่ดก โรคน้อย อร่อยเหลือ”

พันธุ์เป็ดเทศในประเทศไทย มี 2 สายพันธุ์หลัก คือ 1. เป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมือง (Muscovy) มีถิ่นก าเนิดในทวีปอเมริกาใต้ ลักษณะส าคัญคือ

เลี้ยงในประเทศไทยมายาวนานจนเป็นเป็ดเทศพ้ืนเมือง ต่อมาในปี 2527 ศูนย์วิจัยและบ ารุงพันธุ์สัตว์ท่าพระ จังหวัดขอนแก่น ได้รวบรวมพ่อ–แม่พันธุ์จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หลายจังหวัด น ามาพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ จนได้ผลผลิตสูงกว่าเป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมืองดั้งเดิม และตั้งชื่อใหม่ว่า “เป็ดเทศพันธุ์ท่าพระ” เป็ดเทศพันธุ์พื้นเมืองมีข้อดีหลายประการที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตของเกษตรกร ได้แก่ กินอาหารตามธรรมชาติได้ดี มีความต้านทานโรค ฟักไข่และเลี้ยงลูกเก่ง ฯลฯ แต่ก็ยังมีข้อด้อยที่ควรได้รับการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ให้สามารถเลี้ยงเชิงการค้าได้ โดยเฉพาะด้านการผลิต อาทิ ให้ปริมาณไข่เพ่ิมขึ้น ชนาดไข่ใหญ่ขึ้น ให้ไข่ฟองแรกเร็วขึ้น ช่วงห่างของการไข่แต่ละชุดสั้นลง การเจริญเติบโตเร็วขึ้น อัตราแลกเนื้อสูงขึ้น กินอาหารน้อยลงแต่ระยะเลี้ยงส่งตลาดสั้น เป็นต้น ตามตารางท่ี 1

เป็ดเทศพันธุ์ท่าพระ สามารถให้ไข่เพ่ิมจ านวนจากเดิม 77 ฟอง/ปี เป็น 98 ฟอง/ปี อายุเริ่มไข่ 7 เดือน ไข่ปีละ 4–5 ชุด เฉลี่ยชุดละ 17–20 ฟอง ช่วงห่างของการไข่แต่ละชุด 52 วัน น้ าหนัก

Page 14: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

13

ไข่เฉลี่ย 75 กรัม/ฟอง ส่วนเป็ดเทศพันธุ์กบินทร์บุรี สามารถให้ไข่ได้ 160–180 ฟอง/ปี ขนาดโตเต็มที่ก็เพ่ิมมากข้ึน และระยะส่งตลาดก็เร็วขึ้นภายใน 60-70 วัน ตามตารางท่ี 2 ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบลักษณะทางเศรษฐกิจของเป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมือง และเป็ดเทศพันธุ์บาร์บารี

ลักษณะทำงเศรษฐกิจ เป็ดเทศพันธุ์พื้นเมือง เป็ดเทศพันธุ์บำร์บำรี 1. อายุเมื่อให้ไข่ฟองแรก 180 วัน 171 วัน 2. น้ าหนักตัวเมียเมื่อให้ไข่ฟองแรก 2,297 กรัม 2,474 กรัม 3. ผลผลิตไข่/ปี 56 ฟอง 72 ฟอง 4. น้ าหนักเม่ือ 12 สัปดาห์ 2,733 กรัม 2,840 กรัม 5. น้ าหนักเม่ือ 16 สัปดาห์ 3,086 กรัม 3,219 กรัม 6. น้ าหนักเพศผู้เมื่อโตเต็มที่ 4,200 กรัม 4,600 กรัม 7. น้ าหนักเพศเมียเมื่อโตเต็มที่ 2,200 กรัม 2,300 กรัม

ที่มา : กองบ ารุงพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์ (2546) ตารางท่ี 2 เปรียบเทียบลักษณะทางเศรษฐกิจของเป็ดเทศพันธุ์ท่าพระ และเป็ดเทศพันธุ์กบินทร์บุรี

ลักษณะทำงเศรษฐกิจ เป็ดเทศพันธุ์ท่ำพระ เป็ดเทศพันธุ์กบินทร์บุรี 1. อายุเมื่อให้ไข่ฟองแรก 210 วัน 180-210 วัน 2. น้ าหนักตัวเมียเมื่อให้ไข่ฟองแรก 2,152–2,454 กรัม 2,400–2,600 กรัม 3. ผลผลิตไข่/ปี 98 ฟอง 160-180 ฟอง 4. น้ าหนักเม่ือ 12 สัปดาห์ 1,889–3,474 กรัม 3,400–3,700 กรัม 5. น้ าหนักเม่ือ 16 สัปดาห์ 1,813-2,017 กรัม 2,400-2,800 กรัม 6. น้ าหนักเพศผู้เมื่อโตเต็มที่ 4,100-4,500 กรัม 4,500–5,100 กรัม 7. น้ าหนักเพศเมียเมื่อโตเต็มที่ 2,500–3,200 กรัม 2,800–3,200 กรัม 8. อัตราแลกเนื้อ 2.8 : 1 3.5 : 1

ที่มา : กองบ ารุงพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์ (2553)

Page 15: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

14

ภาพที่ 1 เป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมือง

ภาพที่ 2 เป็ดเทศพันธุ์ท่าพระ

2. เป็ดเทศพันธุ์บาร์บารี (Barbary) มีถิ่นก าเนิดในประเทศฝรั่งเศส ลักษณะส าคัญคือ ประเทศไทยน าเข้ามาปรับปรุงพันธุ์กับเป็ดเทศพันธุ์พื้นเมืองในปี 2533 โดยสถานีบ ารุงพันธุ์สัตว์บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ท าการศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาพันธุ์ให้เลี้ยงง่าย ขยายพันธุ์ได้ดี เติบโตเร็ว ต้านทานโรค และปรับตัวเข้ากับภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ต่อมาขยายการปรับปรุงพันธุ์ไปที่ศูนย์วิจัยและบ ารุงพันธุ์สัตว์กบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรีและตั้งชื่อใหม่ว่า “เป็ดเทศพันธุ์กบินทร์บุรี”

ภาพที่ 3 เป็ดเทศพันธุ์บาร์บารี

Page 16: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

15

ภาพที่ 4 เป็ดเทศพันธุ์กบินทร์บุรี

3. เป็ดเทศแม่ฮ่องสอน (Maehongson Muscovy) ชื่อวิทยาศาสตร์ Cairina moschata เป็นเป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมือง (Muscovy) ที่สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์แม่ฮ่องสอน ได้รวบรวมเป็ดเทศเพศผู้และเพศเมียจากจังหวัดต่างๆ น ามาปรับปรุงพันธุ์ มีลักษณะประจ าพันธุ์ สีขนเป็นสีด า มีขนสีขาวแซมที่ปีกและหน้าอกบ้าง หน้าเป็นปุ่ม หนังย่น สีแดง ปากสีด าแซมชมพู แข้งสีด า ตาสีด า ลักษณะทางเศรษฐกิจ ดังนี้ อายุเมื่อให้ไข่ฟองแรก 210 วัน น้ าหนักตัวเมื่อให้ไข่ฟองแรก 2,305 กรัม จ านวนไข่ 98 ฟอง/แม่/ปี น้ าหนักเพศผู้ที่อายุ 12 สัปดาห์ 3,184 กรัม น้ าหนักเพศเมียที่อายุ 12 สัปดาห์ 1,915 กรัม เพศผู้โตเต็มที่น้ าหนัก 4,100–4,500 กรัม (สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์แม่ฮ่องสอน, 2556)

ภาพที่ 5 เป็ดเทศพันธุ์แม่ฮ่องสอน

กองนโยบายเทคโนโลยีเพ่ือการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน ส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2555) รายงานว่า เป็ดเทศเป็นเป็ดพ้ืนเมืองพันธุ์เนื้อที่เลี้ยงง่าย เติบโตเร็ว สามารถใช้อาหารและวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นเลี้ยงได้เป็นอย่างดี ให้ผลตอบแทนในระยะเวลาอันสั้น สามารถจ าหน่ายได้ง่าย ทั้งที่เป็นเป็ดมีชีวิตและเนื้อเป็ดช าแหละ เนื้อเป็นที่นิยมส าหรับผู้บริโภคในท้องถิ่นโดยทั่วไป จึงสามารถจ าหน่ายได้ง่ายในตลาดท้องถิ่น เกษตรกรสามารถเลี้ยงเป็นอาชีพเสริมร่วมกับอาชีพอ่ืนๆ ได้ โดยมีเงื่อนไขความส าเร็จ เทคโนโลยีการผลิตและผลตอบแทน ดังนี้

Page 17: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

16

1. เงื่อนไขความส าเร็จ 1.1 ต้องมีตลาดรองรับที่ชัดเจน ทั้งตลาดเป็ดมีชีวิต และเนื้อเป็ดช าแหละ 1.2 ต้องมีแหล่งวัตถุดิบที่เป็นอาหารสัตว์ราคาถูกในพื้นที่ หรือมีวัสดุเหลือใช้จาก

ระบบไร่นาเพื่อใช้เป็นอาหารเลี้ยงเป็ดเทศ 1.3 ต้องมีความรู้การฟักไข่หรือประสบการณ์ในการใช้ตู้ฟัก เพ่ือฟักไข่ผลิตลูกเป็ดเทศ

2. เทคโนโลยีและกระบวนการผลิต 2.1 พันธุ์เป็ด ในปัจจุบันพันธุ์เป็ดเทศที่เกษตรกรนิยมเลี้ยงและตลาดมีความต้องการ

ได้แก่พันธุ์พ้ืนเมืองและพันธุ์บาร์บารี (ของกรมปศุสัตว์เรียก พันธุ์ท่าพระ และพันธุ์กบินทร์บุรี) 2.2 โรงเรือนและอุปกรณ์ โรงเรือนควรท าจากไม้หรือวัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น หลังคา

มุงด้วยจาก หญ้าคา หรือแฝก ขนาดของโรงเรือน 1 ตารางเมตร สามารถใช้เลี้ยงเป็ดเทศได้ 4 ตัว ลักษณะโรงเรือนที่ดีตั้งอยู่ในทิศตะวันออก–ตะวันตก ภายในโรงเรือนต้องมีภาชนะรางน้ า รางอาหารอย่างเพียงพอกับจ านวนเป็ดที่เลี้ยง ต้องมีลานปล่อยส าหรับให้เป็ดเทศออกก าลังกายและหาอาหารตามธรรมชาติกิน

2.3 การจัดการเลี้ยงดู โดยทั่วไปการเลี้ยงเป็ดเทศใช้วิธีระบบการเลี้ยงแบบกึ่งขังก่ึงปล่อย ควรเริ่มด้วยการซื้อพ่อพันธุ์มาเลี้ยง อัตราพ่อ-แม่พันธุ์ที่เหมาะสม ควรใช้พ่อพันธุ์ 1 ตัวต่อแม่พันธุ์ 5 ตัว อาหารส าหรับเลี้ยงเป็ดเทศจะใช้อาหารส าเร็จรูปหรือผสมอาหารใช้เองก็ได้ แต่อาหารต้องมีโภชนะตามความต้องการของเป็ดในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เสริมด้วยพืชผักสีเขียวหรืออาหารหยาบเพ่ือลดต้นทุนและควรมีการปล่อยเลี้ยงเพ่ือให้เป็ดหาอาหารตามตามธรรมชาติเพ่ิมเติม แม่เป็ดจะเริ่มให้ไข่ เมื่ออายุ 5-6 เดือน การฟักไข่อาจปล่อยให้แม่เป็ดฟักตามธรรมชาติหรือแยกน าไข่มาฟักโดยใช้ตู้ฟัก ซึ่งจะท าให้ผลผลิตมากข้ึนแต่ผู้เลี้ยงต้องมีความช านาญในการใช้ตู้ฟัก โดยเฉลี่ยเป็ดเทศจะให้ลูกเป็ดได้ปีละ 4 รุ่นๆ ละ ประมาณ 14–15 ตัว ในการเลี้ยงควรมีน้ าสะอาด และอาหารให้กินตลอดเวลา และหมั่นท าความสะอาดภาชนะใส่น้ าเป็นประจ า ควรดูแลสุขภาพและท าวัคซีนตามก าหนด เพ่ือให้การเลี้ยงดูประสบผลส าเร็จและได้ผลก าไรเต็มที่ ผลผลิตของเป็ดเทศที่จ าหน่ายสู่การตลาดอาจจ าหน่ายได้ทั้งลูกเป็ดที่ฟักออก หรือเลี้ยงขุนจนเป็ดมีอายุ 2-3 เดือน แล้วจ าหน่ายเป็ดเนื้อโดยจะมีขนาดน้ าหนักตัวโดยเฉลี่ยตัวละ 2.5–3 กิโลกรัม

3. ต้นทุน ผลตอบแทน ส าหรับการเลี้ยงเป็ดบาร์บารีหรือกบินทร์บุรี จ านวน 1 ชุด ประกอบด้วยพ่อพันธุ์จ านวน

10 ตัว แม่เป็ด จ านวน 50 ตัว 3.1 ต้นทุน ต้นทุนหลักซึ่งเป็นต้นทุนคงที่จะได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการสร้างโรงเรือน และ

จัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ จะมีค่าใช้จ่ายประมาณ 10,000–20,000 บาท ส่วนต้นทุนผันแปรซึ่งเป็น ค่าพันธุ์ ค่าอาหาร ค่าวัคซีน และเวชภัณฑ์ จะมีค่าใช้จ่ายประมาณ 30,000–40,000 บาทต่อปี

3.2 ผลตอบแทน จะได้จาก

Page 18: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

17

3.2.1 การจ าหน่ายลูกเป็ดเทศที่ผลิตได้ ประมาณ 50–60 ตัว/แม่/ปี ซึ่งจะจ าหน่ายได้ในราคาตัวละ 20–25 บาท คิดเป็นผลตอบแทน 1,200–1,500 บาท/แม่พันธุ์/ปี

3.2.2 การจ าหน่ายเป็ดใหญ่ที่เลี้ยงจนโต ขนาดน้ าหนักตัวโดยเฉลี่ยตัวละ 2.5–3 กิโลกรัม จ าหน่ายในราคากิโลกรัมละ 50–55 บาท คิดเป็นผลตอบแทนตัวละ 125–165 บาท อย่างไรก็ดีต้นทุนและผลตอบแทนจากการเลี้ยงสามารถเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะการตลาดและแหล่งที่เลี้ยง อาทิ ราคาพันธุ์เป็ด อาหารและราคารับซื้อผลผลิตของแต่ละตลาด และขนาดการผลิต ดังนั้น เกษตรกรจะต้องศึกษาข้อมูลและรายละเอียดให้ชัดเจนก่อนตัดสินใจเลี้ยง

ศักดาและคณะ (2547) ได้ศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเป็ดเทศที่เลี้ยงด้วยกากเนื้อในเมล็ดปาล์มระดับสูงในสูตรอาหาร เมื่อคิดเป็นร้อยละของเงินทุนและก าไรต่อตัว พบว่า เป็ดเทศที่เลี้ยงด้วยอาหารที่มีกากเนื้อในเมล็ดปาล์มร้อยละ 22, 30, 40 และ 60 ให้ผลตอบแทนและก าไรสูงกว่าเป็ดที่เลี้ยงด้วยอาหารที่มีกากเนื้อในเมล็ดปาล์มร้อยละ 80 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 33.82, 31.55, 31.23, 23.64 และ 17.55 และมีผลก าไรเฉลี่ย เท่ากับ 30.32, 29.34, 27.66, 22.37 และ 16.03 บาทต่อตัว ตามล าดับ หลังสิ้นสุดการทดลอง ศึกษาลักษณะซากของเป็ดเทศ ผลการทดลองปรากฏว่า ร้อยละซากสดเท่ากับ 79.23, 80.54, 77.72, 79.11 และ 79.79 ตามล าดับ

ปรีชาและคณะ (2557) รายงานผลการศึกษาดูงานที่ศูนย์เรียนรู้เฉพาะด้าน (เป็ดเทศ) นายสงบ หาญกล้า บ้านเลขที่ 18 หมู่ 5 บ้านดอนตะหนิน ต าบลหนองค่าย อ าเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา ตามโครงการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานในเกษตรกรรายย่อยของศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีอ านาจเจริญ ปี 2551 พบว่า ศูนย์นี้ท าการเลี้ยงเป็ดร่วมกับการเลี้ยงสัตว์และการเกษตรอ่ืนๆ เช่น ท านา ท าสวน ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงห่าน เป็ดไข่ ไก่พ้ืนเมือง ไก่ไข่ หมูหลุม โคพ้ืนเมือง เลี้ยงปลา กบ และจิ้งหรีด การด าเนินการในแต่ละกิจกรรมเป็นแบบเกื้อกูลกันตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เป็นเกษตรกรรมธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารพิษและสารเคมี รวมทั้งน าผลพลอยได้และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเลี้ยงสัตว์ ในศูนย์ดังกล่าว เลี้ยงเป็ดเทศ รวม 150 ตัว พ่อพันธุ์ 8 ตัว แม่พันธุ์ 40 ตัว เป็ดรุ่น 60 ตัว และลูกเป็ด 100 ตัว แม่เป็ดฟักลูกเอง เลี้ยงเป็ดรุ่น 3–4 เดือน จึงขาย มีลูกค้ามารับซื้อถึงฟาร์ม อาหารเป็ดเทศแรกเกิดใช้อาหารผสมปลายข้าวจนถึงอายุ 30 วัน แล้วจึงใช้ผักสดผสมปลายข้าว ต้มผสมกับร าและน้ าหมักชีวภาพให้กิน รายได้จากการขายเป็ดเทศ น้ าหนัก 3–4 กิโลกรัมๆ ละ 35–45 บาท เป็นเงิน 25,000–30,000 บาทต่อเดือน ปัญหาอุปสรรคที่พบคือ ขาดแคลนพ่อ-แม่พันธุ์ดี อาหารสัตว์มีราคาแพง การผลิตยังไม่ครบวงจร เกิดปัญหาด้านการตลาด เนื่องจากเป็นศูนย์เรียนรู้จึงเสี่ยงต่อโรคระบาดจากผู้มาเยี่ยมเยือน ยังขาดโรงฆ่าสัตว์ชุมชน ท าให้ขาดสุขลักษณะ ขาดความเชื่อมั่นในการบริโภคอาหารปลอดภัย

Page 19: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

บทท่ี 3 วิธีด าเนินการวิจัย

การศึกษาสภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศในประเทศไทย เป็นการศึกษาวิจัย

เชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้วิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research Method) และวิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) มีรายละเอียดในการก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล ดังนี้

3.1 ประชากรที่ท าการศึกษาวิจัย

ประชากรที่ท าการศึกษา มาจากเกษตรกรที่เลี้ยงเป็ดเทศในทุกภูมิภาคของประเทศไทย รวม 342,397 ราย (กรมปศุสัตว์, 2560) ดังนี้

3.1.1 ภาคเหนือ จ านวน 27,392 ราย 3.1.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ านวน 212,372 ราย 3.1.3 ภาคกลาง (รวมภาคตะวันตกและตะวันออก) จ านวน 18,551 ราย 3.1.4 ภาคใต้ จ านวน 84,082 ราย

3.2 กลุ่มตัวอย่างที่ท าการศึกษาวิจัย

กลุ่มตัวอย่างที่ท าการศึกษา ได้จากการค านวณสูตรของ Taro Yamane (Yamane, 1967) ที่มีความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างร้อยละ 5

เมื่อ n = จ านวนตัวอย่างที่จะท าการศึกษา N = จ านวนครัวเรือนผู้เลี้ยงเป็ดเทศในแต่ละภาคของประเทศไทย

e = ค่าความคลาดเคลื่อนที่จะยอมรับได้ (0.05) น าค่าดังกล่าวมาแทนในสูตรการค านวณของ Taro Yamane จะได้กลุ่มตัวอย่าง

399.529 ปัดเป็นจ านวน 400 ตัวอย่าง และค านวณเป็นสัดส่วนในแต่ละภูมิภาค ตามบัญญัติไตรยางศ์ ได้ดังนี ้

3.2.1 ภาคเหนือ จ านวน 27,392 ราย เท่ากับ 32 ตัวอย่าง 3.2.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ านวน 212,372 ราย เท่ากับ 248 ตัวอย่าง

Page 20: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

19

3.2.3 ภาคกลาง (รวมภาคตะวันตกและตะวันออก)

จ านวน 18,551 ราย เท่ากับ 22 ตัวอย่าง

3.2.4 ภาคใต้ จ านวน 84,082 ราย เท่ากับ 98 ตัวอย่าง รวม 342,397 ราย เท่ากับ 400 ตัวอย่าง

หลังจากนั้น ท าการสุ่มตัวอย่างจังหวัดในแต่ละภูมิภาค ภาคละ 6 จังหวัด รวมทั้งสิ้น 24 จังหวัด เกษตรกร 400 ราย น ามาหาสัดส่วนตามจ านวนผู้เลี้ยงเป็ดเทศในจังหวัดนั้น ตามวิธีบัญญัติไตรยางศ์ ได้ผลดังนี้

1) ภาคเหนือ จ านวน 32 ราย จาก 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย พะเยา นครสวรรค์ พิจิตร แพร่ และอุตรดิตถ์

2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ านวน 248 ราย จาก 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี อุดรธานี ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม และ เลย

3) ภาคกลาง (รวมภาคตะวันตกและตะวันออก) จ านวน 22 ราย จาก 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสุพรรณบุรี นครนายก นครปฐม เพชรบุรี ตราด และระยอง

4) ภาคใต้ จ านวน 98 ราย จาก 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี สตูล กระบี่ ระนอง และชุมพร 3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล

เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม โดยแบ่งตัวแปรออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ 3.3.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เลี้ยงเป็ดเทศ ได้แก่ ภูมิล าเนา เพศ จ านวนสมาชิกครอบครัว สถานภาพ

ครอบครัว การศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์การเลี้ยงเป็ดเทศ พ้ืนที่การถือครองที่ดิน และพ้ืนที่ที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศ

3.3.2 สภาพการเลี้ยงและการจัดการเลี้ยงเป็ดเทศ ได้แก่ เหตุผลในการเลี้ยง สายพันธุ์ที่เลี้ยง จ านวนที่เลี้ยง การเลี้ยงร่วมกับสัตว์อ่ืน สถานที่เลี้ยง รูปแบบการเลี้ยง แหล่งที่ได้มา หลักและวิธีคัดเลือกพันธุ์ อัตราส่วนพ่อ–แม่พันธุ์ ประสบการณ์การใช้ตู้ฟักไข่ แหล่งอาหาร วิธีการให้อาหาร ภาชนะและวิธีท าความสะอาด การป้องกันโรคและพยาธิ ปัญหาอุปสรรคในการเลี้ยงและข้อเสนอแนะต่อภาครัฐ

3.3.3 การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน ได้แก่ แหล่งจ าหน่าย ฤดูกาลที่จ าหน่าย เกณฑ์ในการตั้งราคาจ าหน่าย ต้นทุนค่าพันธุ์ ต้นทุนค่าอาหาร และค่าใช้จ่ายอื่นๆ รายรับและรายจ่าย การท าบัญชีฟาร์ม และการบันทึกรายรับ–รายจ่าย

3.3.4 ความคิดเห็น ความต้องการ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ ได้แก่ การส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ การรับบริการจากภาครัฐ การมีส่วนร่วมกับกรมปศุสัตว์ ความต้องการช่วยเหลือจากภาครัฐหรือกรมปศุสัตว์ เป็นต้น

Page 21: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

20

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล มีรายละเอียดและข้ันตอน ดังนี้

3.4.1 จัดส่งแบบสอบถามให้ส านักงานปศุสัตว์จังหวัด จ านวน 24 จังหวัด รวม 400 ชุด 3.4.2 ส านักงานปศุสัตว์จังหวัดมอบหมายให้กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ สุ่มรายชื่อ

เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศในพ้ืนที่ตามจ านวนที่ค านวณไว้ในแต่ละจังหวัด (ภาคผนวก) 3.4.3 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์นัดหมายเกษตรกรเพ่ือสอบถามข้อมูลตามเครื่องมือที่

ก าหนด ระหว่างเดือนมกราคม ถึง มีนาคม 2562 แล้วรวบรวมกลับมาตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ แล้วจัดส่งกลับไปยังผู้ศึกษาวิจัย

3.4.4 ผู้ศึกษาวิจัยตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน จัดหมวดหมู่ แล้วบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3.5 การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล

3.5.1 วิเคราะห์ข้อมูล โดยโปรแกรมส าเร็จรูปและแสดงค่าทางสถิติ ดังนี้ 3.5.1.1 ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard

deviation) ใช้ส าหรับวิเคราะห์เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป สภาพการเลี้ยง การจัดการ ผลตอบแทน ความคิดเห็น และความต้องการของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ

3.5.1.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้วิเคราะห์ข้อมูลระดับของปัญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดเทศด้านต่างๆ โดยก าหนดคะแนนในการวิเคราะห์ข้อมูลเป็น 3 ระดับ (สุชาติ, 2546) ดังนี้

ระดับของปัญหาน้อย ให้คะแนนเท่ากับ 1 ระดับของปัญหาปานกลาง ให้คะแนนเท่ากับ 2 ระดับของปัญหามาก ให้คะแนนเท่ากับ 3

3.5.2 การแปลผล เกี่ยวกับระดับปัญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดเทศของเกษตรกรด้านต่างๆ โดยใช้วิธีน าค่าเฉลี่ยของแต่ละประเด็นมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์การแปลความหมายหรืออันตรภาคชั้น โดยก าหนดระดับค่าคะแนนเกณฑ์เฉลี่ย (สุชาติ, 2546) ดังนี้

ค่าคะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.66 ระดับของปัญหาน้อย ค่าคะแนนเฉลี่ย 1.67 – 2.33 ระดับของปัญหาปานกลาง ค่าคะแนนเฉลี่ย 2.34 – 3.00 ระดับของปัญหามาก

Page 22: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

บทท่ี 4 ผลและวิจารณ์

การศึกษาสภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศในประเทศไทย โดยการสอบถามเกษตรกร

ผู้เลี้ยงเป็ดเทศทั่วประเทศ จ านวนทั้งหมด 400 ราย ผลการศึกษาปรากฏดังตารางและรายละเอียดต่อไปนี้ 4.1 ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศ

จากการศึกษาข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศ พบว่า ส่วนใหญ่ผู้เลี้ยงเป็ดเทศมีภูมิล าเนาอยู่ในพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 62.00 รองลงมาอยู่ในพ้ืนที่ภาคใต้ ร้อยละ 24.50 ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 66.50 อายุเฉลี่ย 47.64 + 12.10 ปี ส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษาร้อยละ 37.00 มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.35 คน ส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าครอบครัว ร้อยละ 59.00 ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.00ประกอบอาชีพหลักด้านการปลูกพืช (ท านา-ท าไร่-ท าสวน) และประกอบอาชีพรองด้านการเลี้ยงสัตว์ (โคเนื้อ สุกร แพะ เป็ด ไก่) ร้อยละ 55.75 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,001-10,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 36.25 รองลงมา มีรายได้ต่ ากว่า 5,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 30.25 มีประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดเทศเฉลี่ย 5.66 + 5.50 ปี ร้อยละ 86.00 ของเกษตรกร มีที่ดินเป็นของตนเอง และมีพ้ืนที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศเฉลี่ย 1.25 + 2.10 ไร่ ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศ

n = 400 ข้อมูลทั่วไป จ านวน (ราย) ร้อยละ

1. ภูมิล าเนา - ภาคเหนือ 32 8.00 - ภาคกลาง 22 5.50 - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 248 62.00 - ภาคใต้ 98 24.50

2. เพศ - ชาย 266 66.50 - หญิง 134 33.50

Page 23: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

23

ตารางท่ี 3 (ต่อ) ข้อมูลทั่วไป

จ านวน (ราย) ร้อยละ 3. อายุ

- ไม่เกิน 30 ปี 40 10.00 - 31–40 ปี 81 20.25 - 41–50 ปี 106 26.50 - 51–60 ปี 116 29.00 - มากกว่า 60 ปี 57 14.25

(เฉลี่ย 47.64 + 12.10 ปี มากท่ีสุด 82 ปี น้อยที่สุด 20 ปี)

4. ระดับการศึกษา - ประถมศึกษา 148 37.00 - มัธยมศึกษา 138 34.50 - ปวช. 20 5.00 - ปวส. 31 7.75 - ปริญญาตรี 62 15.50 - สูงกว่าปริญญาตรี 1 0.25

5. จ านวนสมาชิกในครัวเรือน - ไม่เกิน 3 คน 106 26.5 - 4-6 คน 271 67.75 - มากกว่า 6 คน 23 5.75

(เฉลี่ย 4.35 คน มากที่สุด 10 คน น้อยที่สุด 1 คน)

6. สถานภาพในครอบครัว - หัวหน้าครอบครัว 236 59.00 - ภรรยา 101 25.25 - บุตร 59 14.75 - อ่ืนๆ (ผู้อาศัย) 4 1.00

Page 24: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

24

ตารางท่ี 3 (ต่อ) ข้อมูลทั่วไป จ านวน (ราย) ร้อยละ

7. อาชีพหลัก - ปลูกพืช (ท านา-ท าไร่-ท าสวน) 284 71.00 - เลี้ยงสัตว์ (โคเนื้อ สุกร แพะ เป็ด ไก่) 20 5.00 - รับราชการ 13 3.25 - พนักงาน/ลูกจ้าง 19 4.75 - ธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย 28 7.00 - รับจ้างทั่วไป 33 8.25 - อ่ืนๆ 3 0.75

8. อาชีพรอง - ปลูกพืช (ท านา-ท าไร่-ท าสวน) 59 14.75 - เลี้ยงสัตว์ (โคเนื้อ สุกร แพะ เป็ด ไก่) 223 55.75 - ธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย 48 12.00 - รับจ้างทั่วไป 70 17.50

9. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน - ไม่เกิน 5,000 บาทต่อเดือน 121 30.25 - 5,001-10,000 บาทต่อเดือน 145 36.25 - 10,001-15,000 บาทต่อเดือน 81 20.25 - 15,001-20,000 บาทต่อเดือน 25 6.25 - มากกว่า 20,000 บาทต่อเดือน 28 7.00

10. ประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดเทศ - ไม่เกิน 10 ปี 359 89.75 - 11-15 ปี 19 4.75 - มากกว่า 15 ปี 22 5.5

(เฉลี่ย 5.66 + 5.50 ปี มากที่สุด 53 ปี น้อยที่สุด 1 ปี)

Page 25: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

25

ตารางท่ี 3 (ต่อ) ข้อมูลทั่วไป จ านวน (ราย) ร้อยละ

11. การถือครองที่ดิน - เป็นของตนเอง 344 86.00

- ไม่เกิน 10 ไร่ 244 70.93 -11–20 ไร่ 62 18.02 - 21–30 ไร่ 21 6.10 - มากกว่า 30 ไร่ 17 4.95

(เฉลี่ย 9.65 + 11.23 ไร่ มากที่สุด 75 ไร่ น้อยที่สุด 0.10 ไร่) - ไมเ่ป็นของตนเอง 56 14.00

- ไม่เกิน 10 ไร่ 42 75.00 - 11–20 ไร่ 9 16.07 - 21–30 ไร่ 5 8.93 - มากกว่า 30 ไร่ 0 0

(เฉลี่ย 7.3 8 + 7.09 ไร่ มากที่สุด 25 ไร่ น้อยที่สุด 0.25 ไร่)

12. พ้ืนที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศ - ไม่เกิน 2 ไร่ 329.00 82.25 - 2-4 ไร่ 56.00 14.00 - มากกว่า 4 ไร่ 15.00 3.75

(เฉลี่ย 1.25 + 2.10 ไร่ มากที่สุด 30 ไร่ น้อยที่สุด 0.07 ไร่) จากตารางที่ 3 พบว่า ส่วนใหญ่มีการเลี้ยงเป็ดเทศมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

เนื่องจากการบริโภคเนื้อเป็ดเทศเป็นที่นิยม แต่การเลี้ยงเป็ดเทศยังเป็นอาชีพเสริมของเกษตรกรรายย่อยโดยเสริมจากการประกอบอาชีพเกษตรอ่ืนๆ เช่น ท านา ท าไร่ ท าสวน ส่วนภาคใต้ก็ได้รับความนิยมในการบริโภคเช่นกัน โดยเฉพาะในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนที่มีชาวไทยมุสลิมอาศัยอยู่ เนื่องจากเนื้อเป็ดเทศเป็นสัตว์ปีกที่ไม่ได้เป็นข้อห้ามทางศาสนา ขณะที่การเลี้ยงสัตว์ใหญ่ (โค กระบือ) เพ่ือการบริโภคเนื้อยังมีน้อย ท าให้เนื้อมีราคาแพง จึงใช้เนื้อเป็ดเทศซึ่งมีราคาถูกกว่ามาบริโภคทดแทน อีกทั้งยังพบว่า เป็ดเทศเป็นสัตว์เศรษฐกิจใหม่ที่มีการเลี้ยงมาไม่นานนัก กว่าครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 51.50) เลี้ยงมาไม่เกิน 5 ปี รองลงมาเลี้ยง 6-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 38.25 นับว่าการเลี้ยงเป็ดเทศเป็นอาชีพทางเลือกที่ส าคัญ สามารถทดแทนอาชีพปลูกพืชเศรษฐกิจที่ประสบปัญหาราคาตกต่ าในอนาคตได้ ประกอบกับพ้ืนที่ภาคใต้มีแหล่งน้ าธรรมชาติและมีความชุ่มชื้นมาก จึงเหมาะในการเลี้ยงเป็ดเทศเป็นอย่างดี

Page 26: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

26

4.2 สภาพการเลี้ยง และการจัดการเลี้ยงเป็ดเทศ จากการศึกษาเหตุผลที่เกษตรกรท าอาชีพเลี้ยงเป็ดเทศ พบว่า เกษตรกรเลี้ยงไว้เป็นรายได้เสริม

ร้อยละ 39.25 รองลงมาเลี้ยงไว้เพ่ือบริโภคในครัวเรือน เมื่อเหลือจากการบริโภคแล้วจ าหน่าย ร้อยละ 24.25 พันธุ์เป็ดเทศที่เลี้ยงเป็นพันธุ์พ้ืนเมืองร้อยละ 38.93 รองลงมาพันธุ์บาร์บารี่ ร้อยละ 23.91 เกษตรกรทั้ง 400 ราย เลี้ยงเป็ดเทศเฉลี่ย 89.26 + 209.81 ตัว/ราย ซึ่งบางรายไม่ได้เลี้ยงเป็ดทุกรุ่นหรือทุกประเภท โดยเลี้ยงพ่อพันธุ์เฉลี่ย 5.36 + 15.35 ตัว แม่พันธุ์เฉลี่ย 17.51 + 64.41 ตัว เป็ดรุ่นเพศผู้เฉลี่ย 21.55 + 68.60 ตัว เป็ดรุ่นเพศเมียเฉลี่ย 24.54 + 69.72 ตัว และลูกเป็ดคละเพศเฉลี่ย 55.54+158.95 ตัว ส่วนใหญ่เลี้ยงเป็ดเทศร่วมกับสัตว์ปีกอ่ืนๆ (ไก่พ้ืนเมือง ไก่งวง ห่าน) ร้อยละ 58.25 ส่วนใหญ่ร้อยละ 71 มีแหล่งน้ าให้เป็ดเทศได้ลงเล่น มีรังไข่ในคอกเป็ดร้อยละ 91.25 โดยมีรังไข่เฉลี่ย 7.85+9.66 รัง ท ามาจากยางรถยนต์ ร้อยละ 34.25

รูปแบบการเลี้ยงเป็ดเทศของเกษตรกร พบว่า เลี้ยงแบบหลังบ้านในครัวเรือน ร้อยละ 42.00 ส่วนใหญ่ใช้แกลบเป็นวัสดุรองพ้ืนร้อยละ 55.25 พ่อ-แม่พันธุ์เป็ดเทศหรือลูกเป็ดเทศได้มาจากญาติพ่ีน้องเลี้ยงไว้ ร้อยละ 32.50 เกษตรกรส่วนใหญ่มีวิธีหรือหลักการคัดเลือกพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ เพ่ือน ามาขยายพันธุ์ โดยดูจากการเจริญเติบโตเป็นหลัก ร้อยละ 58.75 วิธีการฟักไข่ พบว่าเกือบทั้งหมดใช้แมฟั่กตามธรรมชาติ ร้อยละ 95.75 เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 90.25 ไม่มีประสบการณ์ในการใช้ตู้ฟักไข่

อัตราส่วนพ่อพันธุ์ต่อแม่พันธุ์ พบว่า เกษตรกรใช้อัตราส่วน 1 : 5 ร้อยละ 47.75 รองลงมาใช้อัตราส่วน 1 : 3 ร้อยละ 34.50

โรงเรือนที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศพ่อ-แม่พันธุ์ พบว่า ส่วนใหญ่โรงเรือนห่างจากบ้าน มีที่กันแดดกันฝน มีตาข่ายล้อมรอบ ร้อยละ 52.19

โรงเรือนที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศเพ่ือขุน พบว่า โรงเรือนห่างจากบ้าน มีที่กันแดดกันฝน มีตาข่ายล้อมรอบ ร้อยละ 47.49

แหล่งอาหารที่ให้เป็ดเทศ พบว่า เกษตรกรใช้วัตถุดิบอาหารในท้องถิ่น เช่น ร าข้าว ข้าวเปลือก ต้นหม่อน ต้นสาคู ฯลฯ ร้อยละ 44.00 วิธีให้อาหารส่วนใหญ่ให้อาหารโดยใส่ภาชนะ ร้อยละ 89.50 เวลาในการให้อาหารส่วนใหญ่ให้เช้า-เย็น ร้อยละ 88.00 ส าหรับภาชนะท่ีใส่น้ าให้เป็ดกิน พบว่า ภาชนะที่ใส่น้ ามากที่สุด คือล้อยาง ร้อยละ 35.25 รองลงมาคือกระปุกน้ า ร้อยละ 25.25 โดยท าความสะอาดภาชนะใส่อาหาร ทุกๆ 2-3 วัน ร้อยละ 39.75 และท าความสะอาดรางน้ าที่ให้เป็ดเทศ โดยล้างท าความสะอาดวันละ 1 ครั้งแล้วเติมใหม่ ร้อยละ 65.50

การใช้วัคซีนในเป็ดเทศ พบว่า เกษตรกรมีการท าวัคซีน โดยท าบ้างเป็นครั้งคราว และท าวัคซีนตามก าหนดในสัดส่วนที่ใกล้เคียง ร้อยละ 37.75 และ 34.00 ตามล าดับ และมีการก าจัดพยาธิภายใน ร้อยละ 74.00

ผลดี ผลเสีย ของการเลี้ยงเป็ดเทศ พบว่า ผลดีคือท าให้เกษตรกรมีรายได้เสริม ร้อยละ 39.50 และผลเสียคือเกษตรกรเลี้ยงแล้วจ าหน่ายไม่ได้ ร้อยละ37.25 และเกษตรกรคิดว่าการเลี้ยง

Page 27: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

27

เป็ดเทศให้เกิดประโยชน์สุงสุดคือควรเลือกสายพันธุ์ที่จะเลี้ยงให้เหมาะสม (เลี้ยงง่าย ลงทุนต่ า) ร้อยละ 33.25 ดังแสดงในตารางที่ 4 ตารางท่ี 4 สภาพการเลี้ยง และการจัดการเลี้ยงเป็ดเทศ

n = 400 สภาพการเลี้ยง การจัดการ จ านวน (ราย) ร้อยละ

1. เหตุผลที่เลี้ยงเป็ดเทศ - เลี้ยงไว้ใช้เศษอาหารให้เกิดประโยชน์ 56 14.00 - เลี้ยงไว้เพ่ือเป็นรายได้เสริม 157 39.25 - เลี้ยงเพ่ือเป็นรายได้หลัก 19 4.75 - เลี้ยงไว้เพ่ืออนุรักษ์สายพันธุ์ 0 0.00 - เลี้ยงไว้เพ่ือบริโภคในครัวเรือน เมื่อเหลือจากการ

บริโภคแล้วจ าหน่าย 97 24.25

- ตอบมากกว่า 1 ข้อ 71 17.75

2. พันธุ์เป็ดเทศที่เลี้ยง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) - พันธุ์พ้ืนเมือง 197 38.93 - พันธุ์ท่าพระ 33 6.52 - พันธุ์กบินทร์บุรี 43 8.50 - พันธุ์บาร์บารี่ 121 23.91 - พันธุ์ลูกผสมบาร์บารี่ พ้ืนเมือง 78 15.42 - ลูกผสมอ่ืนๆ 34 6.72

3. จ านวนเป็ดเทศท่ีเลี้ยง - พ่อพันธุ์ - ไม่มี 37 9.25 - มี 363 90.75

- 1-5 ตัว 302 83.20 - 6–10 ตัว 44 12.12 - 11–15 ตัว 6 1.65 - มากกว่า 15 ตัว 11 3.03

(เฉลี่ย 5.36 + 15.35 ตัว มากท่ีสุด 250 ตัว น้อยที่สุด 1 ตัว)

Page 28: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

28

ตารางท่ี 4 (ต่อ) สภาพการเลี้ยง การจัดการ

จ านวน (ราย) ร้อยละ - แม่พันธุ์

- ไม่มี 36 8.18 - มี 364 91.00

- 1-20 ตัว 317 87.09 - 21–40 ตัว 38 10.44 - 41–60 ตัว 3 0.83 - มากกว่า 60 ตัว 6 1.64

(เฉลี่ย 17.51 + 64.41 มากที่สุด 1,100 ตัว น้อยที่สุด 1 ตัว)

- เป็ดรุ่น เพศผู้ - ไม่มี 136 34.00 - มี 264 66.00

- 1-30 ตัว 239 90.53 - 31–60 ตัว 17 6.44 - มากกว่า 60 ตัว 8 3.03

(เฉลี่ย 21.55 + 68.60 มากที่สุด 1,000 ตัว น้อยที่สุด 1 ตัว)

- เป็ดรุ่น เพศเมีย - ไม่มี 143 35.75 - มี 257 64.25

- 1-30 ตัว 220 83.33 - 31–60 ตัว 25 9.47 - มากกว่า 60 ตัว 12 4.55

(เฉลี่ย 24.54 + 69.72 มากที่สุด 1,000 ตัว น้อยที่สุด 2 ตัว)

- ลูกเป็ดคละเพศ - ไม่มี 137 34.25 - มี 263 65.75

- 1-100 ตัว 248 94.30 - 101–200 ตัว 5 1.90 - มากกว่า 200 ตัว 10 3.80

(เฉลี่ย 55.54 + 158.95 มากที่สุด 1,500 ตัว น้อยที่สุด 3 ตัว)

Page 29: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

29

ตารางท่ี 4 (ต่อ) สภาพการเลี้ยง การจัดการ จ านวน (ราย) ร้อยละ

- รวมจ านวนเป็ดเทศท่ีเลี้ยงทั้งหมด - 1–100 ตัว 329 82.25 - 101–200 ตัว 52 13.00 - มากกว่า 200 ตัว 19 4.75

(เฉลี่ย 89.26 + 209.81 ตัว มากท่ีสุด 2,450 ตัว น้อยที่สุด 1 ตัว)

4. เลี้ยงเป็ดเทศร่วมกับสัตว์ปีกอ่ืนๆ - แยกต่างหาก 167 41.75 - รวมกันกับสัตว์ปีกอ่ืนๆ (ไก่พ้ืนเมือง ไก่งวง ห่าน) 233 58.25

5. แหล่งน้ าให้เป็ดเทศได้ลงเล่น - ไม่มี 116 29.00 - มี 284 71.00

- สระหรือคลองตามธรรมชาติ 93 32.75 - สระที่ขุดขึ้นมา 163 57.39 - แม่น้ า 3 1.06 - อ่ืนๆ (ได้แก่ อ่างน้ า กระบะปูน บ่อน้ าตื้น รางน้ า 25 8.80

6. รังไข่ในคอกเป็ดเทศ - ไม่มี 35 8.75 - มี 365 91.25

- ไม่เกิน 5 รัง 143 39.18 - 5-10 รัง 172 47.12 - 11-15 รัง 21 5.75 - มากกว่า 15 รัง 29 7.95

(เฉลี่ย 7.85 + 9.66 รัง มากที่สุด 100 รัง น้อยที่สุด 1 รัง)

7. รังไข่เป็ดเทศท าจาก - อิฐบล็อก 26 7.12 - กล่องกระดาษ 36 9.86 - ไม้อัด 17 4.66 - ยางรถยนต์ 125 34.25

Page 30: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

30

ตารางท่ี 4 (ต่อ) สภาพการเลี้ยง การจัดการ จ านวน (ราย) ร้อยละ

- โอ่ง 48 13.15 - อ่ืนๆ (ได้แก่ ตะกร้าสาน ตะกร้าพลาสติก เข่ง กะละมัง

และตอบมากว่า 1 ข้อ) 113 30.96

8. รูปแบบการเลี้ยงเป็ดเทศ - เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์เพ่ือจ าหน่ายลูกเป็ดเพียงอย่างเดียว 30 7.50 - เลี้ยงเป็ดเทศขุนเพ่ือจ าหน่ายเป็นเป็ดเนื้อเพียงอย่างเดียว 78 19.50 - เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์เพ่ือผลิตลูกและขุนจ าหน่ายเอง 107 26.75 - เลี้ยงแบบหลังบ้านในครัวเรือน 168 42.00 - อ่ืนๆ (จ าหน่ายไข่ และตอบมากกว่า 1 ข้อ) 17 4.25

9. วัสดุรองพ้ืนคอกเป็ด - ขี้เลื่อย 23 5.75 - แกลบ 221 55.25 - ซังข้าวโพด 3 0.75 - พ้ืนดินอัดแน่น 109 27.25 - อ่ืนๆ (พ้ืนดินธรรมชาติ และตอบมากกว่า 1 ข้อ) 44 11.00

10. แหล่งพ่อแม่พันธุ์เป็ดเทศ หรือลูกเป็ดเทศ - ญาติพ่ีน้องเลี้ยงไว้ 130 32.50 - รวบรวมจากเกษตรกรรายย่อยที่เลี้ยงเป็ดเทศ 65 16.25 - ฟาร์มเลี้ยงเป็ดเทศทั่วไป 99 24.75 - หน่วยราชการที่เลี้ยงเป็ดเทศจ าหน่าย 60 15.00 - อ่ืนๆ (โครงการของรัฐ และตอบมากกว่า 1 ข้อ) 46 11.50

11. วิธีหรือหลักการคัดเลือกพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ เพ่ือน ามาขยายพันธุ์ - ดูจากลักษณะแต่ละสายพันธุ์ 91 22.75 - เลือกสีขนเป็นหลัก เช่น ขาว ด า หรือขาวล้วน 35 8.75 - ลักษณะสีผิวของซาก 7 1.75 - การเจริญเติบโตเป็นหลัก 235 58.75 - อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 32 8.00

Page 31: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

31

ตารางท่ี 4 (ต่อ) สภาพการเลี้ยง การจัดการ จ านวน (ราย) ร้อยละ

12. ถ้าเลี้ยงแม่พันธุ์เป็ดเทศเพ่ือผลิตลูก ใช้วิธีการฟักไข่วิธีใด - แม่ฟักตามธรรมชาติ 383 95.75 - ใช้ตู้ฟักไข่ 17 4.25

- ไม่เกิน 500 ฟอง 11 64.71 - 501-1,000 ฟอง 2 11.76 - มากกว่า 1,000 ฟอง 4 23.53

(เฉลี่ย 1,869.87 + 3,298.78 ฟอง มากท่ีสุด 10,000 ฟอง น้อยที่สุด 20 ฟอง)

13. ประสบการณ์ในการใช้ตู้ฟักไข่เป็ดเทศ - ไม่มี 361 90.25 - มี 39 9.75

- ไม่เกิน 5 ปี 31 79.49 - 5-10 ปี 4 10.26 - มากกว่า 10 ปี 4 10.26

(เฉลี่ย 2.05 + 4.39 ปี มากท่ีสุด 30 ปี น้อยสุด 1 ปี)

14. อัตราส่วนพ่อพันธุ์ต่อแม่พันธุ์ที่ใช้ - 1 : 3 138 34.50 - 1 : 5 191 47.75 - 1 : 10 60 15.00 - อ่ืนๆ (ได้แก่ 1 : 2 1 : 4 1 : 6 1 : 8) 11 2.75

15. โรงเรือนที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศพ่อแม่พันธุ์ - ใต้ถุนบ้านท าเป็นเล้าเป็ดเทศ 15 4.37 - เพิงต่อจากบ้านพักท าเป็นเล้าเป็ดเทศ 64 18.66 - โรงเรือนห่างจากบ้านมีที่กันแดดกันฝน มีตาข่ายล้อมรอบ 179 52.19 - โรงเรือนห่างจากบ้านมีที่กันแดดกันฝน มีตาข่ายล้อม

ภายใน ภายนอกมีรั้วกันสัตว์ต่างๆ เข้าไปรบกวนเป็ดเทศได้ 67 19.53

- โรงเรือนเลี้ยงเป็ดเทศ รวมทั้งอุปกรณ์ระบบต่างๆ ในการเลี้ยงเป็ดเทศผ่านการรับรองระบบการจัดการฟาร์มที่ดี (GFM) ของกรมปศุสัตว์

3 0.87

Page 32: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

32

ตารางท่ี 4 (ต่อ) สภาพการเลี้ยง การจัดการ จ านวน (ราย) ร้อยละ

- โรงเรือนเลี้ยงเป็ดเทศ รวมทั้งอุปกรณ์ระบบต่างๆ ในการเลี้ยงเป็ดเทศ (เป็ดพันธุ์เนื้อ) ผ่านการรับรองระบบมาตรฐานฟาร์ม (GAP) ของกรมปศุสัตว์

1 0.29

- อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 14 4.08

16. โรงเรือนที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศเพ่ือขุน - ใต้ถุนบ้านท าเป็นเล้าเป็ดเทศ 7 2.70 - เพิงต่อจากบ้านพักท าเป็นเล้าเป็ดเทศ 42 16.22 - ปล่อยลานกว้าง หรือบริเวณสระน้ า 22 8.49 - โรงเรือนห่างจากบ้านมีที่กันแดดกันฝน มีตาข่ายล้อมรอบ 123 47.49 - โรงเรือนห่างจากบ้านมีที่กันแดดกันฝน มีตาข่ายล้อม

ภายใน ภายนอกมีรั้วกันสัตว์ต่างๆ เข้าไปรบกวนเป็ดเทศได้ 52 20.08

- โรงเรือนเลี้ยงเป็ดเทศ รวมทั้งอุปกรณ์ระบบต่างๆ ในการเลี้ยงเป็ดเทศผ่านการรับรองระบบการจัดการฟาร์มที่ดี (GFM) ของกรมปศุสัตว์

2 0.77

- โรงเรือนเลี้ยงเป็ดเทศ รวมทั้งอุปกรณ์ระบบต่างๆ ในการเลี้ยงเป็ดเทศ (เป็ดพันธุ์เนื้อ) ผ่านการรับรองระบบมาตรฐานฟาร์ม (GAP) ของกรมปศุสัตว์

1 0.39

- อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 10 3.86

17. แหล่งอาหารที่ให้เป็ดเทศ - ผสมเอง โดยค านวณโปรตีนให้ตามความต้องการโภชนะ

ของเป็ดเทศแต่ละระยะ 27 6.75

- ซื้อจากร้านค้า เป็นอาหารส าเร็จรูป 38 9.50 - วัตถุดิบอาหารในท้องถิ่น เช่น ร าข้าว ข้าวเปลือก

ต้นหม่อน ต้นสาคู ฯลฯ 176 44.00

- อาหารส าเร็จรูปร่วมกับวัตถุดิบอาหารในท้องถิ่น 61 15.25 - ปล่อยให้หากินเองตามธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ และเสริม

อาหารส าเร็จรูปหรือวัตถุดิบอาหารท้องถิ่นเป็นบางครั้ง 50 12.50

- อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 48 12.00

Page 33: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

33

ตารางท่ี 4 (ต่อ) สภาพการเลี้ยง การจัดการ จ านวน (ราย) ร้อยละ

18. วิธีการให้อาหาร - หว่านบนพื้นลาน 18 4.50 - ใส่ภาชนะ 358 89.50 - กองไว้ให้เป็ดมากินได้อย่างอิสระ 20 5.00 - อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 4 1.00

19. เวลาให้อาหาร - เช้าเวลาเดียว 9 2.25 - เช้า-เย็น 352 88.00 - สายๆ เวลาเดียว 9 2.25 - เย็น เวลาเดียว 28 7.00 - อ่ืนๆ (ให้ตลอดเวลา และไม่เป็นเวลา) 2 0.50

20. ภาชนะท่ีใส่น้ าให้กิน - กระถาง 77 19.25 - ล้อยาง 141 35.25 - กระปุกน้ า 101 25.25 - ภาชนะท่ีท าจากอุปกรณ์อ่ืนๆ เช่น ไม้ไผ่ 20 5.00 - อ่ืนๆ (ได้แก่ รางท่อพีวีซี แกลลอน ถัง และ

ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 61 15.25

21. การท าความสะอาดภาชนะใส่อาหาร - ทุกวันหลังเป็ดกินอาหาร 81 20.25 - ทุกๆ 2-3 วัน 159 39.75 - สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 47 11.75 - เมื่อเห็นว่าภาชนะสกปรก 107 26.75 - อ่ืนๆ (ก่อนให้อาหาร และตอบมากกว่า 1 ข้อ) 6 1.50

22. การท าความสะอาดรางน้ าที่ให้เป็ดเทศ - เติมน้ าอย่างเดียวทุกวัน 64 16.00 - ล้างท าความสะอาดวันละ 1 ครั้งแล้วเติมใหม่ 262 65.50 - ล้างท าความสะอาดวันละ 2 ครั้งแล้วเติมใหม่ 49 12.25 - อ่ืนๆ (ได้แก่ 2-3 วัน/ครั้ง สัปดาห์ละ 1 ครั้งเมื่อเห็นว่าสกปรก) 25 6.25

Page 34: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

34

ตารางท่ี 4 (ต่อ) สภาพการเลี้ยง การจัดการ จ านวน (ราย) ร้อยละ

23. การท าความสะอาดรางน้ าที่ให้เป็ดเทศ - เติมน้ าอย่างเดียวทุกวัน 64 16.00 - ล้างท าความสะอาดวันละ 1 ครั้งแล้วเติมใหม่ 262 65.50 - ล้างท าความสะอาดวันละ 2 ครั้งแล้วเติมใหม่ 49 12.25 - อ่ืนๆ (ได้แก่ 2-3 วัน/ครั้ง สัปดาห์ละ 1 ครั้งเมื่อเห็นว่า

สกปรก) 25 6.25

24. การท าวัคซีนเป็ดเทศ - ท า 136 34.00 - ไม่ท า 113 28.25 - ท าบ้างเป็นครั้งคราว 151 37.75

25. ก าหนดการท าวัคซีนป้องกันโรค - ท าวัคซีนตามค าแนะน าของกรมปศุสัตว์ทุกชนิด และ

ท าซ้ าตามเวลาที่ก าหนด 105 26.25

- ท าวัคซีนตามค าแนะน าของกรมปศุสัตว์ทุกชนิด ท าเฉพาะเป็ดเล็กเพียงครั้งเดียว

27 6.75

- ท าบ้างเป็นครั้งคราว 151 37.75 - ไม่เคยมีการท าวัคซีนป้องกันโรคเลย 113 28.25 - อ่ืนๆ (ตอบมากว่า 1 ข้อ) 4 1.00

26. การก าจัดพยาธิภายใน - ไม่มีการก าจัด 104 26.00 - ก าจัด 296 74.00 - ยาแผนปัจจุบัน 226 76.35 - ยาสมุนไพร 57 19.26 - อ่ืนๆ 13 4.39

27. ผลดี ผลเสียของการเลี้ยงเป็ดเทศ - ผลดี

-เก็บรักษาสายพันธุ์ 8 2.00

-ท าให้มีรายได้เสริม 158 39.50

-บริโภคในครัวเรือน ถ้าเหลือจึงจ าหน่าย 133 33.25

Page 35: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

35

ตารางท่ี 4 (ต่อ) สภาพการเลี้ยง การจัดการ จ านวน (ราย) ร้อยละ

-เป็นรายได้หลัก 9 2.25

-อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 92 23.00

- ผลเสีย -หาพันธุ์ยาก 55 13.75

-ขาดความรู้ 119 29.75

-เลี้ยงแล้วจ าหน่ายไม่ได้ 149 37.25

-อ่ืนๆ (ต้นทุนเยอะ ก าไรน้อย และตอบมากกว่า 1 ข้อ) 77 19.25

28. คิดว่าลู่ทางในอนาคต หากจะเลี้ยงเป็ดเทศให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต้องท าอย่างไร

- อาศัยวิชาการและองค์ความรู้มากขึ้น 48 12.00 - มีการจัดการที่ดีเลี้ยงแบบฟาร์ม (ใช้ระบบความปลอดภัย

ทางชีวภาพ Biosecurity) 33 8.25 - เลือกสายพันธุ์ที่จะเลี้ยงให้เหมาะสม (เลี้ยงง่าย ลงทุนต่ า) 133 33.25 - การตลาดน าการผลิตในบ้านเรา

(หาตลาดก่อนค่อยผลิตส่งให้) 77 19.25 - ท าเป็นธุรกิจส่งออกขายต่างประเทศ (เพ่ือนบ้าน ลาว เขมร) 4 1.00 - อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 105 26.25

จากตารางที่ 4 พบว่า สภาพการเลี้ยงเป็ดเทศในประเทศไทย ส่วนใหญ่เลี้ยงไว้เพ่ือจ าหน่าย

เป็นรายได้เสริม รองลงมาเลี้ยงไว้เพ่ือการบริโภค และจ าหน่าย ตามล าดับ การเลี้ยงเป็นแบบเลี้ยงหลังบ้านในครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อย โดยให้แม่พันธุ์ฟัก และเลี้ยงลูกเอง อาหารที่ใช้เลี้ยงเป็นวัตถุดิบในท้องถิ่นเป็นหลัก มีโรงเรือนให้เป็ดเทศอาศัย กันแดดกันฝน การป้องกันโรคท าโดยใช้วัคซีนเป็นครั้งคราว เป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมืองเป็นที่ต้องการมากกว่าเพราะเลี้ยงง่าย ฟักลูกเอง ทนทานต่อโรคมากกว่าสายพันธุ์อ่ืน สอดคล้องกับปรีชา และคณะ (2557) รายงานการศึกษาดูงานที่ศูนย์เรียนรู้เฉพาะด้าน (เป็ดเทศ) ที่เกษตรกรเลี้ยงเป็ดเทศโดยให้แม่ฟัก และเลี้ยงลูกเอง และใช้อาหารจากวัตถุดิบในท้องถิ่นเป็นหลัก

4.3 การตลาด ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทน

จากการศึกษาการตลาด ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทน พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ซ่ึงเลี้ยงเป็ดเทศเฉลี่ย 89.26 + 209.81 ตัวต่อราย มีต้นทุนค่าพันธุ์เป็ดเฉลี่ย 6,180 + 20,129.02 บาทต่อปี

Page 36: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

36

มีต้นทุนค่าอาหารเฉลี่ย 9,870.83 + 26,542.32 บาทต่อปี ส าหรับค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ ในรอบปี เฉลี่ย 3,196.04 + 4,787,88 บาท พบว่า เกษตรกรมีค่าใช้จ่ายมากที่สุด คือค่าอุปกรณ์ ร้อยละ 36.03 รองลงมา ค่ายาและเวชภัณฑ์ ร้อยละ 32.79

เกณฑ์ในการตั้งราคาจ าหน่าย พบว่า ส่วนใหญ่จะจ าหน่ายตามน้ าหนัก ร้อยละ 82.25 โดยมีตลาดเป็ดเทศท่ีส าคัญ คือ คนในชุมชนซื้อไปบริโภค ร้อยละ 55.25

ราคาจ าหน่ายลูกเป็ดเทศต่ าสุดเฉลี่ย 33.19 + 17.35 บาทต่อตัว สูงสุดเฉลี่ย 48.55 + 30.98 บาทต่อตัว ราคาจ าหน่ายเป็ดโตต่ าสุดเฉลี่ย 75.15 + 18.84 บาทต่อกิโลกรัม สูงสุดเฉลี่ย 91.39 + 21.78 บาทต่อกิโลกรัม ราคาจ าหน่ายเป็ดพ่อพันธุ์ต่ าสุดเฉลี่ย 87.74 + 20.32 บาทต่อกิโลกรัม สูงสุดเฉลี่ย 100.87 + 22.06 บาทต่อกิโลกรัม ราคาจ าหน่ายเป็ดแม่พันธุ์ต่ าสุดเฉลี่ย 82.61 + 19.08 บาทต่อกิโลกรัม สูงสุดเฉลี่ย 96.94 + 18.41 บาทต่อกิโลกรัม

ฤดูกาลที่มีความต้องการเป็ดเทศมากที่สุด คือ ฤดูหนาว ร้อยละ 38.00 มีรายรับจากการจ าหน่ายเป็ดเทศเฉลี่ย 22,919.37 + 54,151.54 บาทต่อปี และมีรายได้สุทธิเฉลี่ย 14,202.53 + 29,704.69 บาทต่อปี เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการบันทึกบัญชีฟาร์มและบันทึกรายรับ-รายจ่าย ร้อยละ 74.75 มีเกษตรกรเพียงร้อยละ 25.25 ที่มีการบันทึก โดยบันทึกเป็นราย เดือน ร้อยละ 32.67 ดังแสดงในตารางที่ 5 ตารางท่ี 5 การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน

n = 400

การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน จ านวน (ราย)

ร้อยละ

1. ต้นทุนค่าพันธุ์เป็ดโดยประมาณ 1 ปี

- ไม่เกิน 10,000 บาท 366 91.50 - 10,001–15,000 บาท 5 1.25 - 15,001–20,000 บาท 5 1.25 - มากกว่า 20,000 บาท 24 6.00 (เฉลี่ย 6,180 + 20,129.02 บาท มากที่สุด 200,000 บาท น้อยที่สุด 500 บาท)

2. ต้นทุนค่าอาหารโดยประมาณใน 1 ปี - ไม่เกิน 10,000 บาท 333 83.25 - 10,001–15,000 บาท 20 5.00 - 15,001–20,000 บาท 15 3.75 - มากกว่า 20,000 บาท 32 8.00 (เฉลี่ย 9,870.83 + 26,542.32 บาท มากที่สุด 300,000 บาท น้อยที่สุด 400 บาท)

Page 37: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

37

ตารางท่ี 5 (ต่อ)

การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน จ านวน (ราย)

ร้อยละ

3. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ในรอบปี (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) - ค่ายาและเวชภัณฑ์ 203 32.79 - ค่าอุปกรณ์ 223 36.03 - ค่าคอก/ โรงเรือน 188 30.37 - อ่ืนๆ (ค่าไฟ ค่าน้ ามันเชื้อเพลิง) 5 0.81 - ค่าใช้จ่ายในรอบปี รวมทุกประเภท

- ไม่เกิน 5000 บาท 336 84.00

- 5001–10,000 บาท 38 9.50

- 10,001–15,000 บาท 11 2.75

- 15,001–20,000 บาท 11 2.75

- มากกว่า 20,000 บาท 4 1.00

(เฉลี่ย 3,196.04 + 4,787.88 บาท มากที่สุด 30,000 บาท น้อยที่สุด 200 บาท)

4. เกณฑ์ในการตั้งราคาขายเป็ดเทศ - ขายตามน้ าหนัก 329 82.25 - ขายตามสายพันธุ์ 2 0.50 - ขายตามช่วงอายุลูกเป็ด เป็ดรุ่น เป็ดหนุ่ม พ่อ-แม่พันธุ์ 26 6.50 - ขายตกลงราคาเป็นรายตัว 16 4.00 - อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 27 6.75

5. ตลาดเป็ดเทศที่ส าคัญ - คนในชุมชนซื้อไปบริโภค 221 55.25 - พ่อค้าคนกลางมาซ้ือเพ่ือน าไปขายต่อ 77 19.25 - น าไปขายโรงเชือดเอง 8 2.00 - ฆ่าขายเองตามท้องตลาด 12 3.00 - ประเทศเพ่ือนบ้าน 2 0.50 - อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 80 20.00

Page 38: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

38

ตารางท่ี 5 (ต่อ)

การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน จ านวน (ราย)

ร้อยละ

6. การจ าหน่ายเป็ดเทศ - จ าหน่ายลูกเป็ดราคาต่ าสุด

- ไม่จ าหน่าย 287 71.75 - จ าหน่าย 113 28.25

- ไม่เกิน 20 บาทต่อตัว 38 33.63 - 21–40 บาทต่อตัว 50 44.25 - 41–60 บาทต่อตัว 13 11.50 - มากกว่า 60 บาทต่อตัว 12 10.62

(เฉลี่ย 33.19 + 17.35 บาทต่อตัว มากที่สุด 80 บาทต่อตัว น้อยที่สุด 15 บาทต่อตัว)

- จ าหน่ายลูกเป็ดราคาสูงสุด - ไม่จ าหน่าย 283 70.75 - จ าหน่าย 117 29.25

- ไม่เกิน 25 บาทต่อตัว 19 16.24 - 26–50 บาทต่อตัว 65 61.54 - 51–75 บาทต่อตัว 6 5.13 - มากกว่า 75 บาทต่อตัว 20 17.09

(เฉลี่ย 48.55 + 30.98 บาทต่อตัว มากที่สุด 120 บาทต่อตวั น้อยที่สุด 20 บาทต่อตัว)

- จ าหน่ายเป็ดโตราคาต่ าสุด - ไม่จ าหน่าย 108 27.00 - จ าหน่าย 292 73.00

- ไม่เกิน 50 บาทต่อกิโลกรัม 48 16.44 - 51–100 บาทต่อกิโลกรัม 240 82.19 - มากกว่า 100 บาทต่อกิโลกรัม 4 1.37

(เฉลี่ย 75.15 + 18.84 บาทต่อกิโลกรัม มากท่ีสุด 120 บาทต่อกิโลกรัม น้อยที่สุด 35 บาทต่อกิโลกรัม)

Page 39: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

39

ตารางท่ี 5 (ต่อ)

การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน จ านวน (ราย)

ร้อยละ

- จ าหน่ายเป็ดโตราคาสูงสุด - ไม่จ าหน่าย 148 37.00 - จ าหน่าย 252 63.00

- ไม่เกิน 50 บาทต่อกิโลกรัม 7 2.78 - 51–100 บาทต่อกิโลกรัม 203 80.56 - มากกว่า 100 บาทต่อกิโลกรัม 42 16.67

(เฉลี่ย 91.39 + 21.78 บาทต่อกิโลกรัม มากท่ีสุด 150 บาทต่อกิโลกรัม น้อยที่สุด 45 บาทต่อกิโลกรัม)

- จ าหน่ายเป็ดพ่อพันธุ์ราคาต่ าสุด - ไม่จ าหน่าย 283 70.75 - จ าหน่าย 117 29.25

- ไม่เกิน 50 บาทต่อกิโลกรัม 9 7.69 - 51–100 บาทต่อกิโลกรัม 95 81.20 - มากกว่า 100 บาทต่อกิโลกรัม 13 11.11

(เฉลี่ย 87.74 + 20.32 บาทต่อกิโลกรัม มากท่ีสุด 150 บาทต่อกิโลกรัม น้อยที่สุด 35 บาทต่อกิโลกรัม)

- จ าหน่ายเป็ดพ่อพันธุ์ราคาสูงสุด - ไม่จ าหน่าย 314 78.50 - จ าหน่าย 86 21.50

- ไม่เกิน 50 บาทต่อกิโลกรัม 3 3.49 - 51–100 บาทต่อกิโลกรัม 53 61.63 - มากกว่า 100 บาทต่อกิโลกรัม 30 34.88

(เฉลี่ย 100.87 + 22.06 บาทต่อกิโลกรัม มากท่ีสุด 150 บาทต่อกิโลกรัม น้อยที่สุด 50 บาทต่อกิโลกรัม)

Page 40: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

40

ตารางท่ี 5 (ต่อ)

การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน จ านวน (ราย)

ร้อยละ

- จ าหน่ายเป็ดแม่พันธุ์ราคาต่ าสุด - ไม่จ าหน่าย 298 74.50 - จ าหน่าย 102 25.50

- ไม่เกิน 50 บาทต่อกิโลกรัม 11 10.78 - 51–100 บาทต่อกิโลกรัม 84 82.35 - มากกว่า 100 บาทต่อกิโลกรัม 7 6.86

(เฉลี่ย 82.61 + 19.08 บาทต่อกิโลกรัม มากท่ีสุด 130 บาทต่อกิโลกรัม น้อยที่สุด 40 บาทต่อกิโลกรัม)

- จ าหน่ายเป็ดแม่พันธุ์ราคาสูงสุด - ไม่จ าหน่าย 320 80.00 - จ าหน่าย 80 20.00

- ไม่เกิน 50 บาทต่อกิโลกรัม 2 2.50 - 51–100 บาทต่อกิโลกรัม 59 73.75 - มากกว่า 100 บาทต่อกิโลกรัม 19 23.75

(เฉลี่ย 96.94 + 18.41 บาทต่อกิโลกรัม มากท่ีสุด 130 บาทต่อกิโลกรัม น้อยที่สุด 50 บาทต่อกิโลกรัม)

7. ฤดูกาลมีผลต่อการจ าหน่ายเป็ดเทศ - มี 245 61.25 - ไม่มี 155 38.75

8. ฤดูกาลที่มีความต้องการเป็ดเทศมากท่ีสุด - ฤดูฝน 83 20.75 - ฤดูหนาว 152 38.00 - ฤดูร้อน 133 33.25 - อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 32 8.00

Page 41: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

41

ตารางท่ี 5 (ต่อ)

การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน จ านวน (ราย)

ร้อยละ

9. รายรับจากการจ าหน่ายเป็ดเทศในรอบปีที่ผ่านมา - รายรับจากการจ าหน่ายเป็ดเทศ

- ไม่มีรายรับ 74 18.50 - มีรายรับ 326 81.50

- ไม่เกิน 15,000 บาท 225 69.02 - 15,001–20,000 บาท 30 9.20 - มากกว่า 20,000 บาท 71 21.78

(เฉลี่ย 22,919.37+54,151.54 บาท มากที่สุด 450,000 บาท น้อยที่สุด 1,000 บาท)

- รายได้สุทธิ - ไม่เกิน 15,000 บาท 250 76.69 - 15,001–20,000 บาท 28 8.59 - มากกว่า 20,000 บาท 48 14.72

(เฉลี่ย 14,202.53 + 29,704.69 บาท มากที่สุด 313,250 บาท น้อยที่สุด 900 บาท)

10. บัญชีฟาร์มและการบันทึกรายรับ-รายจ่าย - ไม่มีการบันทึก 299 74.75 - มีการบันทึก 101 25.25 - เป็นรายวัน 29 28.71 - เป็นรายสัปดาห์ 20 19.80 - เป็นรายเดือน 33 32.68 - อ่ืนๆ (เป็นรุ่น เป็นรายปี) 19 18.81

ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรรายย่อยที่เลี้ยงพ่อ-แม่พันธุ์พื้นเมือง เพื่อผลิตลูกจะมีต้นทุน

ค่าพันธุ์เป็ดค่อนข้างต่ า อีกทั้งพ่อ-แม่พันธุ์มีอายุการให้ลูกนาน 4-5 ปี ขณะที่ผู้เลี้ยงขุนจะเปลี่ยนพันธุ์ใหม่ทุกๆ รุ่น จึงมีต้นทุนค่าพันธุ์เป็ดสูงกว่า ส่วนต้นทุนค่าอาหารก็เช่นกัน เกษตรกรที่เลี้ยงพ่อ-แม่พันธุ์ เพ่ือผลิตลูกจะเลี้ยงปล่อยและเสริมด้วยวัสดุในท้องถิ่น จึงมีต้นทุนค่าอาหารค่อนข้างต่ า จะเห็นว่าต้นทุนการผลิตรวมต่ ากว่ารายงานของกองนโยบายเทคโนโลยีเ พ่ือการเกษตรและเกษตรกรรมที่ยั่งยืน ส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2555) ที่เลี้ยงสายพันธุ์บาร์บารีหรือกบินทร์บุรีมีค่าพันธุ์เป็ดสูงและใช้อาหารจากท้องถิ่นน้อยกว่า จึงมตี้นทุนสูงกว่า

Page 42: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

42

ช่วงฤดูกาลที่มีความต้องการเป็ดเทศมากที่สุดคือฤดูหนาว เนื่องจากเป็นฤดูแห่งการท่องเที่ยวและมีเทศกาลต่างๆ อย่างต่อเนื่อง นั่นคือเดือนตุลาคม ถึง พฤศจิกายน เป็นช่วงงานบุญออกพรรษา งานบุญกฐิน งานลอยกระทง และอยู่ในช่วงเก็บเกี่ยวข้าว เดือนธันวาคม ถึง มกราคม เป็นช่วงงานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ รวมทั้งเทศกาลตรุษจีน มีนักท่องเที่ยวเป็นจ านวนมาก และเดือนกุมภาพันธ์ เป็นช่วงงานบุญเดือน 3 งานวันมาฆบูชา ท าให้ช่วงเวลาดังกล่าวมีความต้องการเนื้อเป็ดเทศเพ่ิมมากขึ้น เพราะราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์เล็กและสัตว์ใหญ่ ขณะที่ฤดูร้อน มีความต้องการเป็ดเทศรองลงมา ช่วงเดือนเมษายน เป็นเทศกาลสงกรานต์ที่เป็นวันครอบครัว มีการใช้เนื้อเป็ดเทศ มาประกอบอาหารมากขึ้น ต่อมาช่วงเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงต้นฝน เริ่มมีการปักด า หว่านไถ และเพาะปลูก การบริโภคเนื้อเป็ดเทศในท้องถิ่นก็จะมากขึ้นด้วย ช่วงนี้ยังมีงานเทศกาลบุญเดือน 6 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีบุญบั้งไฟ และต่อด้วยงานบุญเข้าพรรษา ซึ่งล้วนแต่ต้องการเนื้อเป็ดเทศเพ่ิมมากขึ้นด้วยเช่นกัน 4.4 ความคิดเห็น และความต้องการของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ

ความคิดเห็น และความต้องการของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ พบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดส่วนใหญ่เคยได้รับการส่งเสริม แนะน า หรือให้ค าปรึกษาในการเลี้ยงเป็ดเทศ ร้อยละ 75.50 โดยเกือบทั้งหมดเคยได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานปศุสัตว์ในพ้ืนที่ (อ าเภอ, จังหวัด, เขต, ศูนย์ฯ) ร้อยละ 90.40 ส่วนใหญ่เคยได้รับการเยี่ยมเยือนจากเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ ร้อยละ 76.50 และเคยได้รับการบริการของภาครัฐ ร้อยละ 74.50

การส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงเป็ดเทศของภาครัฐ พบว่า เกษตรกรต้องการให้ภาครัฐฝึกอบรมเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้น าไปสร้างมูลค่าเพ่ิม ร้อยละ 22.79 รองลงมา การอ านวยความสะดวกในการตรวจโรคและการเคลื่อนย้าย ร้อยละ 20.28

มีเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศที่มีส่วนร่วมและสนับสนุนงานของกรมปศุสัตว์ ร้อยละ 38.25 โดยเป็นอาสาปศุสัตว์มากที่สุด ร้อยละ 41.18 ดังแสดงในตารางที่ 6

ตารางท่ี 6 ความคิดเห็น และความต้องการของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ n = 400

ความคิดเห็น และความต้องการ ของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ

จ านวน (ราย)

ร้อยละ

1. การส่งเสริม แนะน า หรือให้ค าปรึกษาในการเลี้ยงเป็ดเทศ จากภาครัฐ

- ไม่เคยได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานใด 98 24.50 - เคย 302 75.50

- หน่วยงานปศุสัตว์ในพ้ืนที่ (อ าเภอ, จังหวัด, เขต, ศูนย์ฯ) 273 90.40

- สถาบันศึกษาในพ้ืนที่ (มหาวิทยาลัย, วิทยาลัย, โรงเรียน) 5 1.66

Page 43: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

43

ตารางที่ 6 (ต่อ) ความคิดเห็น และความต้องการ

ของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ จ านวน (ราย)

ร้อยละ

- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต. อบจ. เทศบาล) 13 4.30

- อ่ืนๆ 11 3.64

2. การเยี่ยมเยือนจากเจ้าหน้าที่ (กรมปศุสัตว์) - ไม่เคย 94 23.50 - เคย 306 76.50

3. การเยี่ยมเยือนจากเจ้าหน้าที่ (กรมปศุสัตว์) - ไม่เคย 94 23.50 - เคย 306 76.50

4. การบริการของภาครัฐที่เคยได้รับเกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดเทศ - ไม่เคย 102 25.50 - เคย (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 298 74.50

- วัคซีนป้องกันโรค 282 29.53 - ยาถ่ายพยาธิภายใน 147 15.39 - ยาถ่ายพยาธิภายนอก 192 20.10 - วิตามินและแร่ธาตุ 95 9.95 - เอกสารค าแนะน า 101 10.58 - พันธุ์เป็ดเทศ131 131 13.72 - อ่ืนๆ (เช่น ฝึกอบรม ศึกษาดูงาน) 7 0.73

5. ภาครัฐควรส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงเป็ดเทศ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) - การฝึกอบรมเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้น าไปสร้างมูลค่าเพ่ิม 227 22.79 - การสร้างฟาร์มเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ 164 16.47 - การจัดตั้งตลาดนัด เพ่ือซื้อ-ขายในชุมชนและส่งออก 80 8.03 - การอ านวยความสะดวกในการตรวจโรคและการเคลื่อนย้าย 202 20.28 - การสนับสนุนให้มีโรงฆ่าช าแหละขนาดเล็กในท้องถิ่น 164 16.47 - การสนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มหรือชมรมผู้เลี้ยงเพ่ือร่วมกันซื้อ

ร่วมกันขาย 86 8.63 - อ่ืนๆ (สนับสนุนพันธุ์สัตว์) 73 7.33

Page 44: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

44

ตารางที่ 6 (ต่อ) ความคิดเห็น และความต้องการ

ของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ จ านวน (ราย)

ร้อยละ

6. การมีส่วนร่วมและสนับสนุนหน่วยงานของกรมปศุสัตว์ - ไม่มีส่วนร่วม/ สนับสนุน 247 61.75 - มีส่วนร่วม 153 38.25

- เป็นอาสาปศุสัตว์ 63 41.18

- เป็นฟาร์มสาธิต/ แหล่งศึกษาดูงาน 31 20.26 - เป็นเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ 21 13.73 - อ่ืนๆ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) 38 24.84

ผลการศึกษาพบว่า หน่วยงานกรมปศุสัตว์ในพ้ืนที่มีบทบาทส าคัญมากในการส่งเสริม

แนะน า หรือให้ค าปรึกษาแก่เกษตรกร โดยเฉพาะส านักงานปศุสัตว์อ าเภอที่เข้าไปเยี่ยมเยียน ให้บริการเวชภัณฑ์และแนะน าความรู้การเลี้ยงเป็ดเทศ ขณะที่เกษตรกรส่วนใหญ่มีความต้องการจากภาครัฐคือองค์ความรู้ในการสร้างมูลค่าเพ่ิมและการอ านวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย ตลอดจนเป็ดพันธุ์ดีจากฟาร์มเครือข่าย เนื่องจากภาครัฐยังไม่สามารถผลิตเป็ดเทศพันธุ์ดีให้เพียงพอต่อความต้องการได้ อีกท้ังยังต้องการให้มีโรงฆ่าชุมชนเพ่ือให้ถูกสุขลักษณะ สร้างความเชื่อม่ันแก่ผู้ซื้อ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้อีกด้วย สอดคล้องกับที่ปรีชา และคณะ (2557) รายงานการศึกษาดูงานที่ศูนย์เรียนรู้เฉพาะด้าน (เป็ดเทศ) ที่ยังขาดแคลนพ่อ-แม่พันธุ์ และการช าแหละยังไม่ถูกสุขลักษณะ 4.5 ปัญหาอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดเทศ

ปัญหาอุปสรรคการเลี้ยงเป็ดเทศ จ าแนกปัญหาด้านต่างๆ โดยให้เกษตรกรเลือกตอบตามระดับปัญหา 3 ระดับ จากการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ในภาพรวมเกษตรกรมีปัญหาในการเลี้ยงเป็ดเทศในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.82 ± 0.64 เกษตรกรมีปัญหาในระดับน้อย 2 ปัญหา คือ โรคระบาด และวัคซีนป้องกันโรค มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.61 ± 0.60 และ 1.60 ± 0.65 ตามล าดับ ส่วนปัญหาในระดับปานกลางที่พบมาก คือ อาหารหายาก มีราคาแพง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.21 ± 0.75 รองลงมาคือปัญหาด้านการตลาด (ราคา) และการคัดเลือกหรือปรับปรุงพันธุ์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.15 ± 0.68 และ 1.87 ± 0.61 ตามล าดับ ดังตารางที่ 7

Page 45: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

45

ตารางท่ี 7 ปัญหาอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดเทศ n = 400

ประเด็นปัญหาอุปสรรค ในการเลี้ยงเป็ดเทศ

ระดับของปัญหา (ร้อยละ)

ค่าเฉลี่ยของ ระดับปัญหา mean±SD

แปล ความหมาย

มาก ปานกลาง น้อย 1. พันธุ์เป็ดเทศหายาก 35.75 54.5 9.75 1.74±0.62 ปานกลาง

2. การฟักออก 32.00 55.00 13.00 1.81±0.64 ปานกลาง

3. การคัดเลือก/ ปรับปรุงพันธุ์ 26.00 61.25 12.75 1.87±0.61 ปานกลาง

4. อาหารหายากมีราคาแพง 20.00 39.25 40.75 2.21±0.75 ปานกลาง

5. วัตถุดิบอาหารในท้องถิ่น 29.00 56.50 14.50 1.86±0.64 ปานกลาง

6. เป็ดเทศจิกขนกัน/ บินออกจากคอก 39.00 48.75 12.25 1.73±0.67 ปานกลาง

7. โรคระบาด 44.75 49.25 6.00 1.61±0.60 น้อย

8. วัคซีนป้องกันโรคหายาก 49.00 41.75 9.25 1.60±0.65 น้อย

9. ความยุ่งยากในการท าวัคซีน 40.50 46.50 13.00 1.72±0.68 ปานกลาง

10. การตลาด (ราคา) 16.50 52.00 31.50 2.15±0.68 ปานกลาง

11. การควบคุมและการป้องกันโรคยาก 34.25 59.25 6.50 1.72±0.58 ปานกลาง

12. ขาดความรู้ 27.00 61.75 11.25 1.84±0.60 ปานกลาง

รวมเฉลี่ยระดับปัญหา 1.82±0.64 ปานกลาง

จากตารางที่ 7 พบว่า ปัญหาอุปสรรคที่พบส่วนใหญ่ เป็นปัญหาระดับปานกลาง เนื่องจาก

การเลี้ยงเป็ดเทศเป็นอาชีพเสริมอาชีพอ่ืน ซึ่งไม่ใช่รายได้หลักของครอบครัว เกษตรกรจึงเห็นว่าปัญหาด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้นไม่ใช่เรื่องส าคัญ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เช่น ปัญหาอาหารสัตว์แพง เกษตรกรก็จะใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นทดแทนได้ ส่วนปัญหาด้านการตลาด (ราคา) เกษตรกรส่วนใหญ่เลี้ยงเป็ดเทศไว้บริโภคในครัวเรือน และส่วนที่เหลือจากการบริโภคจะจ าหน่ายให้คนในชุมชนหรือเพ่ือนบ้าน จึงไม่มีผลกระทบด้านราคา

Page 46: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

46

4.6 ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคการเลี้ยงเป็ดเทศ จากการรวบรวมแบบสอบถาม จ านวน 400 ราย มีเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศให้ข้อเสนอแนะ

ในการเลี้ยงเป็ดเทศ จ านวน 84 ราย (เสนอแนะได้มากกว่า 1 ข้อ) โดยสรุปออกเป็นประเด็นต่างๆ ดังนี้

ตารางท่ี 8 สรุปข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ ข้อเสนอแนะ จ านวน (ราย)

ด้านการตลาด 42 ด้านราคา 23 ด้านพันธุ์ 19 ด้านการประชุม อบรม 16 ด้านการส่งเสริมจากภาครัฐ 16

จากตารางที่ 8 ข้อเสนอแนะด้านต่างๆ จากมากไปหาน้อย สรุปได้ดังนี้ 1. ด้านการตลาด ให้มีตลาดรองรับผลผลิต ทั้งตลาดภายในประเทศ และให้มีการขยาย

ตลาดส่งออกไปยังต่างประเทศ 2. ด้านราคา ให้มีการท าประกันราคา ก าหนดราคามาตรฐาน 3. ด้านพันธุ์ ให้จัดหาพ่อแม่พันธุ์ดี พัฒนาสายพันธุ์ให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ เลี้ยงง่าย โตเร็ว 4. ด้านการประชุม อบรม ให้มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงเป็ด การจัดการฟาร์ม

วัคซีนป้องกันโรค รวมทั้งจัดประชุมเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศเพ่ือก าหนดทิศทางการตลาด 5. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ภาครัฐมีการส่งเสริมอาชีพเลี้ยงเป็ด เทศ

อย่างจริงจัง ให้มีการเลี้ยงมากขึ้น ให้มีการบริโภคมากชึ้น สนับสนุนด้านวัคซีนป้องกันโรค รวมทั้งจัดหาแหล่งเงินทุน

จากตารางข้างต้น เกษตรกรเห็นว่าเพ่ือให้เกิดความยั่งยืนในการเลี้ยงเป็ดเทศ ภาครัฐควรมีตลาดรองรับผลผลิตและมีราคาที่เสถียรภาพ โดยการประกันราคา หรือก าหนดราคามาตรฐานเอาไว้ ขณะที่ด้านพันธุ์ เกษตรกรต้องการสายพันธุ์ที่เหมาะสมกับพ้ืนที่และเลี้ยงง่าย โตเร็ว ต้านทานโรคดีอีกด้วย 4.7 สิ่งท่ีต้องการให้ภาครัฐหรือกรมปศุสัตว์ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดเทศ

จากการรวบรวมแบบสอบถาม จ านวน 400 ราย มีเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศต้องการให้ภาครัฐหรือกรมปศุสัตว์ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดเทศ จ านวน 176 ราย (เสนอได้มากกว่า 1 ข้อ) โดยสรุปออกเป็นประเด็นต่างๆ ดังนี้

Page 47: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

47

ตารางท่ี 9 สิ่งที่เกษตรกรต้องการให้ภาครัฐสนับสนุน ประเด็นความต้องการ จ านวน (ราย)

ด้านพันธุ์ 75 ด้านการตลาด 63 ด้านการอบรมให้ความรู้ 43 ด้านเวชภัณฑ์ 24 ด้านราคา 21 ด้านวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยง 15 ด้านอาหารสัตว์ 9

จากตารางที่ 9 ประเด็นที่เกษตรกรต้องการให้ภาครัฐหรือกรมปศุสัตว์ให้ความช่วยเหลือใน

การเลี้ยงเป็ดเทศ เรียงจากมากไปหาน้อย สรุปได้ดังนี้ 1. ด้านพันธุ์เป็ด ต้องการให้ภาครัฐสนับสนุนพันธุ์เป็ดพ่อ-แม่พันธุ์ สายพันธุ์ดี2. ด้านการตลาด ต้องการให้ภาครัฐจัดหาตลาดรองรับ มีตลาดกลางที่ราคาเป็นธรรม 3. ด้านการอบรมให้ความรู้ ต้องการให้ภาครัฐจัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องการเลี้ยงเป็ดเทศ

การจัดการ การท าวัคซีน และการลดตุ้นทุนอาหาร 4. ด้านเวชภัณฑ์ ยารักษาโรค วัคซีนป้องกันโรค ต้องการให้ภาครัฐสนับสนุนเวชภัณฑ์ ยา

รักษาโรค และวัคซีนป้องกันโรค 5. ด้านราคา ต้องการให้มีการประกันราคา 6. ด้านวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงเป็ดเทศ ต้องการให้ภาครัฐสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ ตาข่าย

โรงฟักไข ่7. ด้านอาหารสัตว์ ต้องการให้สนับสนุนอาหารสัตว์ พืชอาหารสัตว์ จากตารางข้างต้น ความต้องการของเกษตรกรสอดคล้องกับข้อเสนอแนะในด้านพันธุ์เป็ดเทศ

ที่เหมาะสม การตลาดที่มั่นคงและราคามีเสถียรภาพ ภาครัฐจึงควรให้ความส าคัญสิ่งเหล่านี้มากยิ่งขึ้น

Page 48: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

48

บทท่ี 5 สรุปและข้อเสนอแนะ

5.1 สรุป

จากการศึกษาสภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศในประเทศไทย สรุปผลตามตัวแปรและวัตถุประสงค์ ได้ดังนี้

5.1.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เลี้ยงเป็ดเทศ พบว่า เลี้ยงมากในพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยละ 62.00 รองลงมาเป็นภาคใต้ ร้อยละ 24.50 เป็นเพศชายร้อยละ 66.50 อายุเฉลี่ย 47.64 ปี ส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษา ร้อยละ 37.00 จ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.35 คน ส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าครอบครัว ร้อยละ 59.00 ส่วนใหญ่มีอาชีพหลังปลูกพืช (ท านา ท าไร่ ท าสวน) ร้อยละ 71.00 และอาชีพรองเลี้ยงสัตว์ (โคเนื้อ สุกร แพะ เป็ด ไก่) ร้อยละ 55.75 ส่วนใหญ่มีรายได้ 5,001-10,000 บาท/เดือน ร้อยละ 36.25 ประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดเทศเฉลี่ย 5.66 ปี ส่วนใหญ่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินร้อยละ 86.00 และใช้พ้ืนที่ในการเลี้ยงเป็ดเทศเฉลี่ย 1.25 ไร่

5.1.2 สภาพการเลี้ยงและการจัดการ พบว่าเหตุผลที่เลี้ยงเป็ดเทศ ส่วนใหญ่เลี้ยงไว้เพ่ือเป็นรายได้เสริม ร้อยละ 39.25 รองลงมาเลี้ยงไว้บริโภคในครัวเรือนเมื่อเหลือจึงจ าหน่าย ร้อยละ 24.25 พันธุ์เป็ดที่เลี้ยงเป็นพันธุ์พ้ืนเมืองร้อยละ 38.93 รองลงมาเป็นพันธุ์บาร์บารี ร้อยละ 23.91 จ านวนเป็ดที่เลี้ยงเฉลี่ย 89.26 ตัว ส่วนใหญ่เลี้ยงเป็ดเทศรวมกับสัตว์ปีกอื่นๆ (ไก่พื้นเมือง ไก่งวง ห่าน) ร้อยละ 58.25 มีแหล่งน้ าให้เป็ดเทศได้เล่นร้อยละ 71.00 ผู้เลี้ยงเป็ดแม่พันธุ์มีรังไข่ให้แม่เป็ด ร้อยละ 91.25 เฉลี่ย 7.85 รังต่อแม่พันธุ์เฉลี่ย 17.51 ตัวต่อราย ส่วนใหญ่รังไข่เป็ดเทศท าจากยางรถยนต์ ร้อยละ 34.25 รูปแบบการเลี้ยงเป็นแบบหลังบ้านในครัวเรือน ร้อยละ 42.00 วัสดุรองพ้ืนที่ใช้เป็นแกลบ ร้อยละ 55.25

แหล่งที่ได้พันธุ์มาจากญาติพ่ีน้อง ร้อยละ 32.50 หลักและวิธีคัดเลือกพันธุ์ส่วนใหญ่ดูจากการเจริญเติบโตเป็นหลัก ร้อยละ 58.75 ส่วนใหญ่ใช้แม่เป็ดฟักตามธรรมชาติ ร้อยละ 95.75 อัตราส่วนพ่อพันธุ์ต่อแม่พันธุ์คือ 1 : 5 ร้อยละ 47.75 โรงเรือนเลี้ยงเป็ดเทศห่างจากบ้านพัก มีที่กันแดดกันฝน มีตาข่ายล้อมรอบ ร้อยละ 52.19 แหล่งอาหารที่ใช้เลี้ยงเป็ดเทศเป็นวัตถุดิบในท้องถิ่น เช่น ร าข้าว ข้าวเปลือก ต้นหม่อน ฯลฯ ร้อยละ 44.00 วิธีการให้อาหารส่วนใหญ่ใส่ลงในภาชนะร้อยละ 89.50 เวลาที่ให้อาหารส่วนใหญ่เป็นเวลาเช้า-เย็น ร้อยละ 88.00 ภาชนะที่ใส่น้ าเป็นล้อยางรถยนต์ร้อยละ 35.25 ส่วนใหญ่ท าความสะอาดภาชนะใส่อาหารทุกๆ 2-3 วัน ร้อยละ 39.75 ส่วนที่ใส่น้ าจะท าความสะอาดวันละ 1 ครั้งแล้วเติมใหม่ ร้อยละ 65.50 การท าวัคซีน ส่วนใหญ่ท าบ้างเป็นครั้งคราวร้อยละ 37.75 และท าเป็นประจ าร้อยละ 34.00 ก าจัดพยาธิภายใน ร้อยละ 74.00 ผลดีของการเลี้ยงเป็ดเทศคือท าให้มีรายได้เสริม ร้อยละ 39.50 ส่วนผลเสียก็คือจ าหน่ายไม่ได้

Page 49: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

49

ร้อยละ 37.25 ลู่ทางที่ท าให้การเลี้ยงเป็ดเทศเกิดประโยชน์สูงสุดคือเลือกสายพันธุ์ที่เลี้ยงให้เหมาะสมลู่ทางที่ท าให้การเลี้ยงเป็ดเทศเกิดประโยชน์สูงสุดคือเลือกสายพันธุ์ที่เลี้ยง ให้เหมาะสม (เลี้ยงง่าย ลงทุนต่ า) ร้อยละ 33.25

5.1.3 การตลาด ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน พบว่า ต้นทุนค่าพันธุ์เฉลี่ย 6,180 บาท ต้นทุนค่าอาหารเฉลี่ย 9,870.33 บาท และค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ/ปี (เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ คอกโรงเรือน) เฉลี่ย 3,196.04 บาท รวมเป็นต้นทุนทั้งหมด 19,246.33 บาทต่อเป็ดเทศเฉลี่ย 89.26 ตัว คิดเป็น 215.62 บาท/ตัว

เกณฑ์ในการตั้งราคาจ าหน่าย พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จ าหน่ายตามน้ าหนัก ร้อยละ 82.25 ตลาดเป็ดเทศที่ส าคัญคือคนในชุมชนซื้อไปบริโภค ร้อยละ 55.25 ลูกเป็ดเทศราคาสูงสุดเฉลี่ย 48.55 บาท/ตัว เป็ดโตราคาสูงสุดเฉลี่ย 91.39 บาท/กิโลกรัม พ่อพันธุ์ราคาสูงสุดเฉลี่ย 100.87 บาท/กิโลกรัม และแม่พันธุ์ราคาสูงสุดเฉลี่ย 96.94 บาท/กิโลกรัม ฤดูกาลมีผลต่อการจ าหน่ายเป็ดเทศ ร้อยละ 61.25 โดยฤดูหนาวมีความต้องการเป็ดเทศมากที่สุด ร้อยละ 38.00 รองลงมาคือฤดูร้อน ร้อยละ 33.25

รายรับจากการจ าหน่ายเป็ดเทศในรอบปีที่ผ่านมา (2561) เฉลี่ย 22,919.37 บาท และรายได้สุทธิเฉลี่ย 14,202.53 บาท และส่วนใหญ่ไม่มีการบันทึกการรับ-จ่ายในฟาร์ม ร้อยละ 74.75 โดยบันทึกเป็นรายเดือน ร้อยละ 32.68 รองลงมาคือรายวัน ร้อยละ 28.71

5.1.4 ความคิดเห็นและความต้องการของผู้เลี้ยงต่อการส่งเสริมของภาครัฐ พบว่า เคยได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานปศุสัตว์ในพ้ืนที่ร้อยละ 90.40 โดยออกเยี่ยมเยือนร้อยละ 76.50 ได้รับบริการจากภาครัฐ ร้อยละ 74.50 ส่วนใหญ่เป็นการบริการด้านวัคซีนป้องกันโรค ร้อยละ 29.53 ให้ข้อเสนอแนะภาครัฐว่าควรฝึกอบรมเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้น าไปสร้างมูลค่าเพ่ิม ร้อยละ 22.79 รองลงมาเป็นการอ านวยความสะดวกในการตรวจโรคและการเคลื่อนย้าย ร้อยละ 20.28 และการสร้างฟาร์มเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีและการสนับสนุนให้มีโรงฆ่าช าแหละขนาดเล็กในท้องถิ่น ร้อยละ 16.47 เท่ากัน การมีส่วนร่วมกับกรมปศุสัตว์ พบว่า มีส่วนร่วมเพียงร้อยละ 39.25

5.1.5 ความต้องการให้ภาครัฐหรือกรมปศุสัตว์ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดเทศ พบว่า มีเกษตรกรเสนอแนะมาจ านวน 176 ราย (เสนอได้มากกว่า 1 ข้อ) ดังนี้

5.1.5.1 ด้านพันธุ์เป็ด ควรสนับสนุนพ่อพันธุ์ดีให้เพียงพอต่อความต้องการ 5.1.5.2 ด้านการตลาด ควรจัดหาตลาดรองรับผลผลิตในราคาที่เป็นธรรม ทั้งในและ

ต่างประเทศ 5.1.5.3 ด้านการเพิ่มพูนความรู้ ควรสนับสนุนแนวทางการเลี้ยงเป็ดเทศ การจัดการ

การท าวัคซีน การลดต้นทุนอาหาร และการศึกษาดูงาน 5.1.5.4 ด้านเวชภัณฑ์ ควรสนับสนุนเพ่ือลดต้นทุนการผลิต 5.1.5.5 ด้านราคา ควรมีการประกันราคาเพ่ือมีความมั่นคง 5.1.5.6 ด้านวัสดุอุปกรณ์ ควรได้รับการสนับสนุน โดยเฉพาะฟาร์มเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดี

Page 50: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

50

5.1.5.7 ด้านอาหารสัตว์ ควรได้รับการสนับสนุนอาหารสัตว์ พืชอาหารสัตว์ ท่อนพันธุ์ 5.1.6 ปัญหาอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดเทศ พบว่า เกษตรกรมีปัญหาในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย

1.82 + 0.64 มากที่สุดคืออาหารหยาบหายากมีราคาแพง มีค่าเฉลี่ย 2.21 + 0.75 รองลงมาคือการตลาด (ราคา) และการคัดเลือกหรือปรับปรุงพันธุ์ มีค่าเฉลี่ย 2.15 + 0.68 และ 1.87 + 0.61 ตามล าดับ

5.1.7 ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดเทศ มีเกษตรกร 84 ราย ให้ข้อเสนอแนะไว้ดังนี้

5.1.7.1 ด้านการตลาด ให้มีตลาดรองรับผลผลิต มีตลาดภายในและส่งออกไปยังต่างประเทศ

5.1.7.2 ด้านราคา ให้มีการท าประกันราคาและก าหนดราคามาตรฐาน 5.1.7.3 ด้านพันธุ์ ให้พัฒนาสายพันธุ์ให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ เลี้ยงง่าย โตเร็ว พร้อมทั้ง

จัดหาพ่อพันธุ์ดีให้ 5.1.7.4 ด้านการเพ่ิมพูนความรู้ ให้มีการฝึกอบรมเพ่ิมความรู้การเลี้ยง การจัดการ และ

วัคซีนป้องกันโรค รวมทั้งจัดประชุมเพ่ือก าหนดทิศทางการตลาด 5.1.7.5 ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้รัฐส่งเสริมการเลี้ยงเป็ดเทศ

อย่างจริงจัง ส่งเสริมการบริโภคเป็ดเทศ ส่งเสริมการใช้วัคซีนป้องกันโรค และจัดหาแหล่งเงินทุนให้ 5.2 ข้อเสนอแนะ

จากการศึกษาครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะจากเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศและผู้วิจัย ดังนี้ 5.2.1 ควรเร่งรัดผลิตเป็ดเทศพันธุ์ดีที่เลี้ยงง่าย โตไว ไข่ดก โรคน้อย ให้เพียงพอต่อความต้องการ

ในทุกพ้ืนที่โดยส่งเสริม สนับสนุนงานวิจัยในการปรับปรุงพันธุ์ให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ให้มากขึ้นเพ่ือเป็นทางเลือกอาชีพแก่เกษตรกร

5.2.2 สนับสนุนให้มีฟาร์มเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีตามมาตรฐานการผลิตสัตว์ของกรมปศุสัตว์ (Good Agricultural Practice, GAP) พร้อมรับรองผลผลิตเป็ดเทศจากฟาร์มเครือข่ายเหล่านั้น เพ่ือให้ผลิตเป็ดเทศจ าหน่ายให้เกษตรกรแทนกรมปศุสัตว์ โดยกรมปศุสัตว์เป็นผู้ก ากับดูแลให้ความช่วยเหลือในด้านวิชาการ จะช่วยให้การกระจายพันธุ์ดีสู่เกษตรกรได้รวดเร็วและมากข้ึน

5.2.3 สนับสนุนให้ฟาร์มเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีและผู้ประกอบการที่มีระบบป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม (Good Farming Management, GFM) เป็นผู้ผลิตสัตว์ให้กรมปศุสัตว์น าไปกระจายพันธุ์ให้เกษตรกรต่อไป

5.2.4 สนับสนุนให้พ้ืนที่ภาคใต้ของไทย ให้เป็นแหล่งผลิตเป็ดเทศที่ส าคัญ และส่งเสริมให้เป็นอาชีพที่ทดแทนหรือเสริมอาชีพอ่ืนๆ อาทิ สวนยาง สวนปาล์ม สวนผลไม้ ฯลฯ ด้วยเหตุผล ดังนี้

5.2.4.1 พ้ืนที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีแหล่งน้ า และมีวัตถุดิบอาหารสัตว์ เช่น กากเมล็ดปาล์ม กากมะพร้าว ทั้งผักสีเขียวต่างๆ ที่สามารถน ามาเลี้ยงเป็ดเทศได้ เป็นการลดต้นทุนการผลิตเป็นอย่างดี

Page 51: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

51

5.2.4.2 พ้ืนที่ที่เป็นที่อยู่ของชาวไทยมุสลิมมีแนวโน้มต้องการเลี้ยงเป็ดเทศเพ่ิมมากขึ้น เนื่องจากเนื้อเป็ดเทศไม่ได้เป็นข้อห้ามทางศาสนา จึงสามารถพัฒนาการเลี้ยงเป็นอาชีพทางเลือก ทดแทนอาชีพปลูกพืชเศรษฐกิจที่ประสบปัญหาราคาตกต่ าได้อย่างมั่นคง นอกจากนี้ยังสามารถขยายการตลาดไปสู่ประเทศมาเลเซียและประเทศในภูมิภาคอาเซียนได้อีกด้วย

5.2.5 จากผลการศึกษา พบว่า หน่วยงานกรมปศุสัตว์โดยเฉพาะส านักงานปศุสัตว์อ าเภอมีบทบาทส าคัญต่อการส่งเสริมของภาครัฐ โดยการเยี่ยมเยือนให้ค าแนะน า ปรึกษา และให้บริการแก่เกษตรกรทั้งด้านเวชภัณฑ์ เอกสารค าแนะน าตลอดจนการฝึกอบรมดูงานเพ่ือเพ่ิมองค์ความรู้ให้เกษตรกร จึงเห็นควรสนับสนุนงบประมาณและเพิ่มอัตราก าลังเจ้าหน้าที่ระดับพื้นที่เพิ่มมากขึ้น เพ่ือให้บริการกันอย่างทั่วถึงและสร้างความพึงพอใจแก่เกษตรกร

5.2.6 จากผลการศึกษา พบว่า ผู้เลี้ยงเป็ดเทศส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย (ตามรูป แผนภาพที่ 2 สภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศ (รายย่อย)) มักประสบปัญหาด้านการผลิตและการตลาด เนื่องจากต่างคนต่างผลิต บางครั้งผลผลิตล้นตลาดในบางฤดูกาล แต่กลับไม่เพียงพอในบางฤดูกาล อีกท้ังถูกพ่อค้าชุมชนหรือท้องถิ่นกดราคา แม้ผู้บริโภคจะซื้อในราคาสูง แต่ผู้เลี้ยงกลับได้ก าไรน้อยกว่าพ่อค้าชุมชนหรือผู้ช าแหละ หากภาครัฐส่งเสริมให้เกษตรกรเหล่านี้สามารถพัฒนาอาชีพการเลี้ยงเป็ดเทศจนเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพรอง จ าเป็นต้องส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันผลิต รวมกลุ่มกันขาย นั่นคือ จัดตั้งเป็นกลุ่มจดทะเบียนหรือวิสาหกิจชุมชน (ตามรูป แผนภาพที่ 3 สภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศ (กลุ่ม/ชมรม/สหกรณ์)) เพ่ือบริหารจัดการอย่างเป็นระบบให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนตามนโยบายของภาครัฐ ดังนี้

5.2.6.1 “เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต” ได้แก่ การใช้เป็ดเทศพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตสูง เหมาะกับสภาพพ้ืนที่ คือ “เลี้ยงง่าย โตไว ไข่ดก โรคน้อย” รวมทั้งมีองค์ความรู้ในการจัดการฟาร์ม การสุขาภิบาลและการป้องกันโรค

5.2.6.2 “ลดต้นทุนการผลิต” ได้แก่ การใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ในพ้ืนที่ เช่น ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือใช้มันส าปะหลัง ข้าวโพด ส่วนภาคใต้ใช้กากมะพร้าว กากปาล์มฯลฯ การผสมอาหารใช้เอง การน าวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้เลี้ยงเป็ดเทศ เป็นต้น

5.2.6.3 “สร้างมูลค่าเพ่ิม” ได้แก่ การช าแหละและแปรรูผลิตภัณฑ์จ าหน่ายเป็นเมนูอาหารประจ าถิ่น อาทิเช่น ลาบเป็ด เป็ดตุ๋น ข้าวหน้าเป็ด เป็ดทอด เป็ดย่าง เป็ดอบเกลือ ฯลฯ ตลอดจนการแปรรูปเป็นเป็ดหยอง กุนเชียง ไส้กรอก เป็นต้น โดยเกษตรกรได้รับการฝึกอบรมด้านการแปรรูปจากผู้มีประสบการณ์และได้เกียรติบัตรรับรองการฝึกอบรม น ามาสร้างความเชื่อม่ันให้ผู้ซื้อหรือผู้บริโภคต่อไป

5.2.6.4 “สร้างและขยายตลาด” ได้แก่ การจัดตลาดนัดชุมชนในพ้ืนที่ร่วมกับสินค้าเกษตรอ่ืนๆ เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรหรือเชิงอนุรักษ์ ตลอดจนสร้างตลาดข้อตกลงโดยใช้สื่ออิเลกทรอนิกสใ์นการซื้อขาย เช่น เฟซบุ๊ค ไลน์ เวปไซด์ เมื่อตกลงซื้อขายแล้วจึงแจ้งสมาชิกกลุ่มร่วมกันผลิตให้ตามข้อตกลงนั้นๆ โดยไม่ต้องน าเป็ดเทศหรือผลิตภัณฑ์มารวมกัน ซึ่งอาจมีข้อจ ากัดด้านสถานที่และอุปกรณ์จัดเก็บด้วย

Page 52: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

52

แผนภ

าพที่

3 สภ

าพกา

รผลิต

และก

ารตล

าดเป

็ดเทศ

(ราย

ย่อย)

Page 53: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

53

แผนภ

าพที่

4 สภ

าพกา

รผลิต

และก

ารตล

าดเป

็ดเทศ

(กลุ่ม

/ชมร

ม/สห

กรณ

์)

Page 54: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

54

เอกสารอ้างอิง กองนโยบายเทคโนโลยีเพ่ือการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน ส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ (2555). 120 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก. (เอกสารประกอบการฝึกอบรมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่โดยึกปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปีงบประมาณ พ.ศ.2555). ส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ.

กองบ ารุงพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์. 2546. พันธุ์สัตว์กองบ ารุงพันธุ์สัตว์. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ.

กองบ ารุงพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์. 2553. พันธุ์สัตว์กองบ ารุงพันธุ์สัตว์. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ.

กองบ ารุงพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์. 2555. พันธุ์สัตว์กองบ ารุงพันธุ์สัตว์. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ.

กองส่งเสริมการปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์. ม.ป.ป. การเลี้ยงเป็ดเทศพันธุ์พ้ืนเมือง. (เอกสารเผยแพร่). งานผลิตเอกสาร ฝ่ายเผยแพร่. ม.ป.ท.

คณะกรรมการยุทธศาสตร์ไก่พ้ืนเมืองและเป็ดไล่ทุ่ง กรมปศุสัตว์. ม.ป.ป. ยุทธศาสตร์เป็ดไล่ทุ่งปี 2555-2559. (เอกสารเผยแพร่). กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ.

ชูศักดิ์ ประภาสวัสดิ์ และมานพ กนกศิลป์. ม.ป.ป. การเลี้ยงเป็ดเทศ. (เอกสารแนะน าการเลี้ยงเป็ดเทศ) ศูนย์ประชาสัมพันธ์ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ.

ปฏิพร ฐาปนกุลศักดิ์. 2558. คู่มือโรคปศุสัตว์ในพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด สาขา 4, นนทบุรี.

ปรีชา บัวทองจันทร์. 2535. เป็ดเทศวังทอง. (เอกสารการเลี้ยงเป็ดเทศส าหรับเกษตรกร). ส านักงาน ปศุสัตว์จังหวัดพิษณุโลก. โรงพิมพ์กูลไทย. พิษณุโลก.

ปรีชา บัวทองจันทร์. 2545. เป็ดเทศ สัตว์เศรษฐกิจที่ไม่ควรมองข้าม. (เอกสารการเลี้ยงเป็ดเทศส าหรับเกษตรกร). ส านักงานปศุสัตว์จังหวัดพิษณุโลก.

ปรีชา บัวทองจันทร์ วิรินดา มณีโชติ บันเทิง ทิพย์มนเฑียร ยืนยง สมานสุข ไมตรี สาธิตกร อวยชัย ผาตินาวิน และเขมวัฒน์ เบิกบาน. 2557. รายงานการศึกษายุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ “เป็ดเทศ” กรณีศึกษา : การเลี้ยงเป็ดเทศผสมผสานกับอาชีพอ่ืนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ใน เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรนักบริหารการปศุสัตว์ระดับสูงของกรมปศุสัตว์ รุ่นที่ 1. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

Page 55: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

55

ภิญโญ ธนะสุข ศิริพันธุ์ จุฒานุสร และอารักษ์ ชัยกุล. 2530. การเลี้ยงเป็ด. (เอกสารเผยแพร่กองส่งเสริมการปศุสัตว์). กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด, กรุงเทพฯ.

ราชันห์ บัวบาน ถนอม ทาทอง และคมกริช คล่องดี. 2556. คุณภาพซาก องค์ประกอบของซาก และคุณภาพเนื้อเป็ดเทศที่เลี้ยงในฟาร์มเกษตรกรรายย่อย. แก่นเกษตรที่ 41. ฉบับพิเศษ 1 : 388-393.

ศักดา ประจักษ์บุญเจษฏา เยี่ยม คงสวัสดิ์ และมณฑล อ่อนโพธิ์เตี้ย. 2547. ผลการใช้กากเนื้อในเมล็ดปาล์มระดับสูงในสูตรอาหารต่อสมรรถภาพ การเจริญเติบโตและลักษณะซากของเป็ดเทศสายพันธุ์กบินทร์บุรี. หน้า 501-513. ใน รายงานผลงานวิจัยประจ าปี 2547. กองอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์. 2560. ข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ รายเขต ปศุสัตว์ ปีงบประมาณ 2560. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์แม่ฮ่องสอน กรมปศุสัตว์. 2556. งานผลิตพันธุ์สัตว์ปีก. แหล่งที่มา : http//www.dld.go.th/smh_mhs/app/web/index.php?page_url=chicken.php. สืบค้นเมื่อ 10 ธ.ค. 61.

ส านักพัฒนาพันธุ์สัตว์. 2558. เป็ดเทศพันธุ์ท่าพระ. http//breeding.dld.go.th/th/index.php/ 2015-07-04-09-39-04/2015-07-09-45-02/2015-07-04-46-26/2015-07-04-10-41-35/74-tha-pra-Muscovy. สืบค้นเมื่อ 10 ธ.ค.61.

ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2559. ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร. สถิติการเกษตรของไทยปี 2559. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. 2546. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 12. สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สุนีย์ ตรีมณี อุดมศรี อินทรโชติ และธีรชัย ช่อไม้. 2545. การเจริญเติบโตและลักษณะซากของเป็ดบาร์บารีเมื่อเลี้ยงด้วยอาหารมันส าปะหลังระดับต่างๆ. หน้า 150-163. ใน ผลงานวิจัยการปศุสัตว์ประจ าปี 2545. กองบ ารุงพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

Yamane, Taro. 1967. Statistics, An Introduction Analysis, 2nd, New York : harper and Row.

Page 56: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

56

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาสภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศในประเทศไทยในครั้งนี้ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณกองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ และส านักพัฒนาพันธุ์สัตว์ ที่ให้โอกาสคณะผู้วิจัย ในสังกัดได้ท าการศึกษาวิจัยและสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ คุณกิตติ กุบแก้ว ผู้เขี่ยวชาญด้านส่งเสริมและพัฒนาโคเนื้อ และ ดร.แสนศักดิ์ นาคะวิสุทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตว์ปีก ที่ให้ค าแนะน าปรึกษา คุณจิรัสย์ชา กองแก้ว นักวิชาการสัตวบาลปฏิบัติการ ส านักพัฒนาพันธุ์สัตว์ ที่ช่วยรวบรวมและบันทึกข้อมูล คุณศศิพร ช่อล าไย นักวิทยาศาสตร์ช านาญการพิเศษ ส านักพัฒนาอาหารสัตว์ที่ช่วยจัดรูปแบบข้อมูล และส านักงานปศุสัตว์จังหวัดโดยกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ทุกจังหวัด ที่ช่วยจัดเก็บข้อมูลจากเกษตรกรในพ้ืนที่ จนท าให้การศึกษาวิจัยส าเร็จลุล่วงด้วยดี

คุณประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาวิจัยฉบับนี้ คณะผู้วิจัยขอมอบเป็นกตัญญูกตเวทีแด่บูรพาจารย์ผู้ประสิทธิประศาสน์วิชา ผู้มีพระคุณ และเป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเทศและผู้สนใจทุกท่าน

ปรีชา บัวทองจันทร์ วรทัย รอดเรือง

Page 57: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production

57

ภาคผนวก รำยช่ือจังหวัดที่จัดเก็บข้อมูลการศึกษาสภาพการผลิตและการตลาดเป็ดเทศในประเทศไทย

จ ำนวนแบบสอบถำม ตำมโครงกำรวิจัย รวม 24 จังหวัด 400 รำย ดังนี้

จังหวัด รำย ภำคเหนือ 6 จังหวัด รวม 32 รำย

แพร่ 3 เชียงราย 10 อุตรดิตถ์ 3

นครสวรรค์ 5 พิจิตร 5 พะเยา 6

ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ 6 จังหวัด รวม 248 รำย อุบลราชธานี 65

อุดรธานี 55 ขอนแก่น 34 ชัยภูมิ 34

นครพนม 30 เลย 30

ภำคกลำง (รวมภำคตะวันออกและภำคตะวันตก) 6 จังหวัด รวม 22 รำย สุพรรณบุรี 6 นครปฐม 4 นครนายก 5

ตราด 2 ระยอง 2 เพชรบุรี 3

ภำคใต้ 6 จังหวัด รวม 98 รำย ยะลา 37

ปัตตานี 35 สตูล 12 กระบี่ 8 ระนอง 3 ชุมพร 3

Page 58: เอกสารทางวิชาการ เรื่องที่ 2extension.dld.go.th/th1/images/stories/2562/research/... · 2019-07-01 · 7 The Marketing and Production