รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 ·...

45
รายงานฉบับสมบูรณ การวจัยศกษาการผลตตนกลากลวยหอมทองปลอดโรค จากการผาหนอ ผู รับผ ดชอบโครงการ อาจารย ปณดา กันถาด งบประมาณคล กเทคโนโลย ประจําป งบประมาณ พ.ศ.2554 มหาวทยาลัยแมโจ-ชุมพร

Upload: others

Post on 12-Feb-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

รายงานฉบับสมบูรณ

การวิจัยศึกษาการผลิตตนกลากลวยหอมทองปลอดโรค

จากการผาหนอ

ผูรับผิดชอบโครงการ

อาจารย ปณิดา กันถาด

งบประมาณคลินิกเทคโนโลย ีประจําปงบประมาณ พ.ศ.2554

มหาวิทยาลัยแมโจ-ชุมพร

Page 2: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

รายงานฉบับสมบูรณ

การวิจัยศึกษาการผลิตตนกลากลวยหอมทองปลอดโรค

จากการผาหนอ

(งบประมาณตามโครงการคลินิกเทคโนโลย ีประจําปงบประมาณ พ.ศ.2554)

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ผูรับผิดชอบโครงการ

อาจารย ปณิดา กันถาด

ศูนยคลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยแมโจ-ชุมพร

99 หมู 5 ตําบล ละแม อําเภอ ละแม จังหวัด ชุมพร 86170

http://www.chumphon.mju.ac.th/clinictech/

Page 3: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

(1)

บทคัดยอ

จากการศึกษาของโครงการวิจัยและพัฒนาตอยอด โครงการวิจัยศึกษาการผลิตตน

กลากลวยหอมทองปลอดโรคจากการผาหนอ ไดผลดังนี้ สวนที่นํามาผาหนอใหเกิดตนออน

การผาหนอจากเหงากลวยออน มีอัตราการอยูรอดของตนกลาที่เกิดมากกวาหนอจากเหงา

กลวยเกาท่ีเหงาการตายมากกวาหนอจากเหงากลวยออน และอัตราความเร็วในการเกดิหนอ

ของตนที่เกิดจากการผาหนอออนเร็วกวาตนกลาที่ไดจากการผาหนอแก ขณะที่จํานวนตาที่

สามารถเกิดเปนตนกลาได จากเหงากลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวมีจํานวนเฉลี่ย 10.933 ตาตอ

เหงา มากกวาตาที่ไดจากเหงากลวยออน 3.82 ตาตอเหงา สวนเปรียบเทียบอัตราความเร็วใน

การผาหนอ จากเหงากลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวมีขนาดใหญจงึทําใหตองใชแรงมากในการตัด

จึงไดตาประมาณ 183.6 ตาตอวนั นอยกวา การผาหนอตาจากเหงากลวยออนที่สามารถตดัได

ตาประมาณ 402.2 ตาตอวัน

เมื่อคํานวณตนทุนการผลิตตนกลา การทําหนอจากเหงากลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวมี

ตนทุนประมาณ 3.57 บาทตอตน นอยกวา การทําหนอจากเหงากลวยออนจะมีคาใชจาย 3.94

บาทตอตน แตอยางไรก็ตามการผาหนอทั้งสองแบบก็ยังมีตนทุนที่นอยซึ่งซื้อขายกันอยูที่

ระหวาง 5-8 บาทตอตน สวนการใชวัสดุเปนทรายทรายตนไดเพียง 13.60 เปอรเซ็นต สวน

วัสดุผสมหนอกลวยสามารถเกิดไดถึงประมาณ 85.22 เปอรเซ็นต ตนกลาหนอกลวยทีใ่ชทราย

เพียงอยางเดียวเปนวัสดุเพาะมีความแข็งแรงนอยกวาวัสดุผสมอยางเห็นไดชัดเจน

ความสูงของตนกลากอนปลูกความสูงของตนกลาในแบบปกติที่ความสูงมากกวาตน

กลาที่ไดจากการผาหนอออนและหนอแก แตเมื่อทําการศึกษาตอไป 1 เดือน และ 5 เดือน

ความสูงของตนกลาในแบบปกติ ตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและตนกลาที่ไดจากหนอแก

ไมมีความแตกตางกัน ขณะที่ขนาดรอบโคนของตนกลากอนปลกูขนาดรอบโคนของตนกลาใน

แบบปกติที่ขนาดใหญมากกวาตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและหนอแก คลายกับตนที่ปลูก

ได 1 เดือน แตเมื่อทําการศกึษาตอไปเมื่อปลูกไปได 5 เดือน ขนาดรอบโคนของตนกลาในแบบ

ปกติ ตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและตนกลาที่ไดจากหนอแก ไมมีความแตกตางกัน

ดังนัน้ การเลือกหนอออนหรือเหงาแกมาเปนแหลงในการใหกําเนดิตา หนอออนมีการ

เกิดตนออนที่ดีกวาเหงาแก โดยวัสดุที่นํามาใชเพาะตองมีการผสมขุยมะพราวเพื่อใหการเกดิตน

และความแข็งแรงของตนกลาดข้ึีน ถึงแมวาการใชตนกลาท่ีไดจากการผามาทําการปลูกใน

สภาพแปลงจริงในชวงแรกจะมีขนาดตนที่เลก็กวาตนกลาปกติที่นํามาปลูกแตสามารถโตทนักัน

ไดในชวงเดือนที ่3-5 หลังการปลูก

Page 4: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

(2)

กิตติกรรมประกาศ

โครงการวิจัยและพัฒนาตอยอด โครงการวิจยัศึกษาการผลิตตนกลากลวยหอมทอง

ปลอดโรคจากการผาหนอ ไดรับการสนับสนุนงบประมาณ ตามโครงการคลินกิเทคโนโลยี

ประจําปงบประมาณ 2554 จากกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ขอขอบคุณหลายฝายท่ี

รวมทําใหโครงการวจัิยนี้ลุลวงจนเสร็จสมบูรณทั้งที่โครงการนี้ตองเริ่มทําใหมถงึ 2 ครั้ง

เนื่องจากความผิดปกติทั้งลม ฝน น้ําทวม ดินถลม ทั้งยังไดรับความอนุเคราะหอยางสูงตอ

สหกรณกลวยหอมทองปลอดสารเคมจีังหวัดชมุพร ในการอนุเคราะหตนกลาในการทดลอง จน

ทําใหโครงการนี้เสร็จสิน้ได

ปณิดา กันถาด

ผูรับผิดชอบโครงการ

Page 5: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

(3)

สารบัญเรื่อง

เรื่อง หนา

บทคัดยอ (1)

กิตตกิรรมประกาศ (2)

สารบัญเรื่อง (3)

สารบัญตาราง (4)

บทที่ 1 รายละเอียดโครงการ

ขอเสนอโครงการ 1

บทที่ 2 การดําเนนิการทดลอง 9

บทที่ 3 ผลการทดลองและวิจารณผลการทดลอง

1. ผลการทดลอง 21

2. วิจารณผลการทดลอง 28

บทที่ 4 สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะ

1. สรุปผลการทดลอง 30

2. ขอเสนอแนะในการทดลอง 31

3. ปญหาในการดําเนินการวิจัย 31

ภาคผนวก

1. ตารางวิเคราะหขอมูล 33

2. รายงานผลโครงการ 43

Page 6: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

(4)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1 เปอรเซ็นตการอยูรอดของตนกลาที่ไดจากการผาหนอ 21

2 ตารางอัตราความเร็วในการเกดิหนอของตนกลา(เปอรเซ็นต) 21

3 จํานวนตาทีส่ามารถเกิดเปนตนกลาได 22

4 ตารางเปรียบเทียบอตัราความเร็วในการผาหนอหนึ่งคน(แปดช่ัวโมง) 22

5 ตารางเปรียบเทียบตนทุนในการผลิตตนกลา 23

6 การทดลองระหวางทรายและทรายผสมขุยมะพราว 23

7 ความสูงของตนกลากอนปลูกในสภาพแปลงจริง 25

8 ความสูงของตนกลวยหลงัจากทําการปลูกเปนเวลา 1 เดือน 25

9 ความสูงของตนกลวยหลังจากทําการปลูกเปนเวลา 5 เดือน 26

10 ตารางขนาดโคนตนของตนกลากอนปลกูในสภาพแปลงจริง 26

11 ตารางขนาดโคนตนของตนกลวยหลังจากทําการปลูกเปนเวลา 1 เดือน 27

12 ตารางขนาดโคนตนของตนกลวยหลังจากทําการปลูกเปนเวลา 5 เดือน 27

Page 7: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

9

บทที่ 2

การดําเนินการทดลอง

หลักการและเหตุผล

การปลกูกลวยหอมทองอินทรียในจังหวดัชุมพรมีการปลูกมานานกวา 15 ป โดยกลวย

หอมทองที่ปลูกนั้นจะมีการสงผลผลิตออกขายในประเทศญี่ปุนซึ่งมีปริมาณมากกวา 30 ตันตอ

สัปดาห หรือประมาณ 1,560 ตันตอป หรือคิดเปนเงนิประมาณ 187,200,000 บาทตอป ท่ีเปน

เงินเขาสูประเทศ การที่มีการปลูกกลวยหอมทองในพื้นที่เดิมเปนเวลานาน จึงมีปญหาในเรื่อง

การโรคที่สะสมอยูในพื้นที่ปลูกอีกทั้งหนอกลวยที่เกษตรกรใชปลูกก็ยังเปนหนอที่ไดจากสวน

ของตนเองดังนั้นการควบคุมโรคจึงไมสามารถทําไดสงผลใหปริมาณของกลวยหอมทองลด

คุณภาพและลดปริมาณลง ดงันัน้จึงไดเกดิโครงการการผลติตนกลากลวยหอมทองปลอดโรค

จากการผาหนอ ขึ้นเพื่อชวยใหเกษตรรูจักการผลิตตนกลากลวยหอมทองที่ปลอดโรคไดเอง ซึ่ง

จะทําใหกลวยหอมทองของเกษตรกรยังมีคุณภาพที่ดีและขายไดในราคาสูงตอไป

วัตถุประสงค

1. เพื่อใหไดวิธีการที่ถูกตองในการทําการผาหนอกลวยหอมที่ถูกตอง

2. เพ่ือหาสภาพแวดลอมทีเ่หมาะสมตอการเตรียมตนกลากลวยหอมท่ีเหมาะสม

3. เพื่อเปนคลินิกเทคโนโลยีถายทอดความรูเรื่องการเตรียมตนกลาของหนอกลวยหอมทอง

จากการผาหน

Page 8: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

10

กลุมเปาหมาย

กลุมเกษตรกรที่ปลูกกลวยหอมทองอินทรียเพื่อการสงออก ซึ่งมีกลุมยอย เชน กลุม

ผูทําสวนทุงคาวัด กลุมสหกรณทําสวนกลวยสวี กลุมสหกรณทําสวนกลวยวิสัยใต ฯ ซึ่ง

ครอบคลุมเขตของจังหวัดชุมพร

การประชุมเพ่ือการปรับปรุงสวน

Page 9: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

11

พื้นที่ดําเนินการและระยะเวลา

พื้นที่ มหาวิทยาลัยแมโจ-ชุมพร และ แปลงเกษตรกรในจังหวัดชุมพร

วันเริ่มตน วันท่ี 1 ตุลาคม 2553 - 30 กนัยายน 2554

การดําเนินการ

กิจกรรม เดือน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

1. เตรียมสถานที่ ü ü

2. ทําการเตรยีมหนอพันธุ

และวัสดุอ่ืน

ü ü ü ü

3. เก็บขอมูลการเติบโตของ

แปลงเพาะชํา

ü ü ü

4. ปลูกในแปลงเกษตรกร

และเก็บขอมูล

ü ü ü ü ü ü ü ü

5.สรุปขอมูล ü

6.จัดทาํเอกสาร ü

7.ถายทอดเทคโนโลยสูีชุมชน ü ü

นานประมาณ 2 เดือน

ทดสอบในแปลงเกษตรกร

กลุมเปาหมายปลูกจนเกบ็ผลผลิตนานประมาณ 7

เดือน

โรงเรือนเพาะชําภายในมหาวิทยาลัยแมโจ- ชุมพร

Page 10: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

12

การดําเนินโครงการ

n ขอบเขตการวจิัยและพัฒนาตอยอดฯ

การทดลองวจิัยการเพาะตนกลากลวยหอมทองจากการผาหนอ ที่เคยประสบ

ความสําเร็จจากการใชวิธกีารนี้กับกลวยไขที่จังหวัดกําแพงเพชรมาประยุกตใชกับกลวยหอม

ทองของจังหวัดชุมพร เมือ่นํามาทดลองใชแลวจะนํามาปลูกในแปลงที่มกีารสะสมของโรคแลว

ทําการฝกอบรมเกษตรกรผูปลูกกลวยหอมทองใหสามารถทําการเพาะตนกลาจากการ ผา

หนอเองได

ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนาตอยอดฯ

การทดลองท่ี 1 ใหสวนทีน่ํามาผาหนอใหเกิดตนออน มอียู 2 ชนิด

1. เหงาของหนอกลวยเกาที่ใหผลผลิตแลว

2. เหงาของหนอกลวยออนที่มีอายุระหวาง 3-6 เดือน

การทดลองท่ี 2 โดยกําหนดใหชนิดของวัสดุเพาะที่มีในทองถิ่นเปนปจจัยที่ชวยเพิ่มการงอก

การทดลองท่ี 3 การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของการปลูกหนอกลวยปกตกัิบหนอ

กลวยท่ีไดจากการผาหนอในสภาพแปลงจริง

เปนลกัษณะการเปรียบเทียบขอมูลตั้งแตการปลกู การดูแลรักษา อัตราการ

เจริญเติบโต ความแข็งแรงของตน ไปจนถึงการใหผลผลิต ปริมาณผลผลิตทัง้หมด ที่ผาน

มาตรฐานการสงออกและไมผานมาตรฐาน รวมไปถงึการคุมคาตอการลงทุน และ เนนที่

ระยะเวลาการออกผลผลิต คุณภาพของผลผลติ ความแข็งแรงของตนเม่ือปลูกลงดนิ และ

ความเปนไปไดในการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตหนอ

Page 11: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

13

การดําเนินการวิจัย

การทดลองท่ี 1 ใหสวนทีน่ํามาผาหนอใหเกิดตนออน มอียู 2 ชนิด

1. เหงาของหนอกลวยเกาที่ใหผลผลิตแลว

2. เหงาของหนอกลวยออนที่มีอายุระหวาง 3-6 เดือน

การเตรียมตนพนัธุจากการผาหนอ

1. เหงาของหนอกลวยเกาท่ีใหผลผลิตแลว

ตัดราก

ทําความสะอาด

Page 12: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

14

2. เหงาของหนอกลวยออนที่มีอายุระหวาง 3-6 เดือน

ทําความสะอาด

ตัดราก

การผาเหงาแก

Page 13: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

15

สวนที่นํามาผาหนอใหเกิดตนออน ทั้ง 2 ชนิด

1. เหงาของหนอกลวยเกาที่ใหผลผลติแลว

Page 14: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

16

2. เหงาของหนอกลวยออนที่มีอายุระหวาง 3-6 เดือน

นําช้ินสวนของเหงามาใสถุงตาขายแลวนําไปแชในสารผสมสารปองกันกําจดัเช้ือราและสาร

เรงการออกราก (สารควบคุมการเจริญเตบิโต) นาน 30 นาท ีนําออกมาผ่ึงลมใหพอหมาด

Page 15: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

17

นําช้ินสวนของเหงากลวยหอมทองมาใสในถุงพลาสตกิบนวัสดุเพาะผสม โดยใหสวน

ของตาข้ึนดานบนและปดทับวสัดุเพาะใหหนา 2-3 เซนติเมตร หลังจากนัน้รดน้ําใหชุม

ทําการรดน้ําโดยสม่ําเสมอ นาน 14 วัน

Page 16: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

18

ตนที่พรอมนําไปปลูก

20 วัน

60 วัน45 วัน

30 วัน

Page 17: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

19

การทดลองท่ี 2 โดยกําหนดใหชนิดของวัสดุเพาะเปนปจจัยที่ 2 ม ี ชนิด

1. ทรายเพียงอยางเดียว

2. ทรายผสมกับขุยมะพราว 1:1

(เนนที่ความสะดวกของเกษตรกรเนื่องจากมาจากปญหาของการปฏบิัตจิริง)

การทดลองท่ี 3 การศึกษาเปรียบเทยีบการเจริญเติบโตของการปลูกหนอกลวยปกติกับ

หนอกลวยท่ีไดจากการผาหนอในสภาพแปลงจริง

ไดทําการนําไปปลกูในแปลงเกษตรกรไดประมาณ 1 เดือน ซึ่งการศกึษาจะมีการเก็บ

ขอมูลดังตอไปนี้

1. การเก็บขอมูลดานอัตราการเจริญเติบโต ซึ่งไดแก ความสูง ขนาดตน อัตราการเพิ่ม

ความสูง ความสมบูรณ ความยาวใบ จํานวนใบ อัตราการเกิดโรค และการเขาทําลาย

แมลง รวมไปถึงความผิดปกติอื่นๆ

2. การเก็บขอมูลดานใหผลผลติ ซึ่งไดแก ระยะเวลาตั้งแตปลกูจนใหผลผลิต น้ําหนัก

ผลผลิตทัง้หมด ขนาดผลผลติ น้ําหนกัผลผลิตที่ผานมาตรฐานการสงออกและไมผาน

ผลผลิตเฉลี่ยตอตน

3. ขอมูลดานความคุมคาตอการลงทุน ซึ่งไดแก ตนทุนและกําไรสุทธิของท้ัง 2 แบบ

และความคุมคารวมถึงแนวโนมความเปนไดในการเปลี่ยนแปลงระบบการใชหนอในอนาคต

Page 18: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

20

Page 19: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

21

บทที่ 3

ผลการทดลองและวิจารณผลการทดลอง

การทดลองที่ 1 ใหสวนที่นํามาผาหนอใหเกดิตนออน

1. เปอรเซ็นตการอยูรอดของตนกลาและอัตราความเร็วในการเกิดหนอของตนกลา

จากการศึกษา พบวา การผาหนอจากเหงากลวยเกาท่ีใหผลผลติแลวและการผาหนอ

จากเหงากลวยออนที่มีอายุระหวาง 3-6 เดือน มีอัตราการอยูรอดมากกวาหนอจากเหงากลวย

เกาท่ีเหงาการตายมากกวาหนอจากเหงากลวยออน อยางมีนัยสาํคัญย่ิงทางสถติิ (ตารางท่ี 1)

ซึ่งอัตราความเร็วในการเกิดหนอของตนกลา (เปอรเซน็ต) ของตนที่เกิดจากการผาหนอออน

เร็วกวาตนกลาท่ีไดจากการผาหนอแก (ตารางท่ี 2)

ตารางที ่1 เปอรเซ็นตการอยูรอดของตนกลาที่ไดจากการผาหนอ

สิ่งทดลอง คาเฉลี่ย

Treatment ที่ 1 ตนกลาจากหนอออน 81.7000 A

Treatment ที่ 2 ตนกลาจากหนอแก 72.8000 B

ที่ความเชือ่ม่ัน 99 %

CV = 4.0960 %

LSD .01 = 5.78924547391143

ตารางที ่2 ตารางอัตราความเร็วในการเกิดหนอของตนกลา (เปอรเซน็ต)

สัปดาหที่

สิ่งทดลอง

1 2 3 4 5 รวม

(เปอรเซ็นต)

Treatment ที่ 1 ตนกลาจากหนอออน 20.2 58.4 2.9 0.2 0 81.7

Treatment ที่ 2 ตนกลาจากหนอแก 5.9 36 23.7 7.2 0 72.8

Page 20: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

22

2. จํานวนตาท่ีสามารถเกิดเปนตนกลาไดและเปรียบเทียบอัตราความเร็วในการผาหนอ

หนึ่งคน(แปดชั่วโมง)

จากการศึกษา พบวา จํานวนของหนอกลวยที่ไดจากเหงากลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวมี

จํานวนเฉลี่ย 10.933 หนอตอเหงา มากกวาจํานวนหนอจากเหงากลวยออนเฉลี่ยประมาณ

3.82 หนอตอเหงา อยางมีนัยสําคัญยิง่ทางสถิต ิ (ตารางที ่ 3) แตเนื่องจากเหงากลวยเกาที่

ใหผลผลิตแลวมีขนาดใหญจงึทําใหตองใชแรงมากในการตัดโดยเฉลี่ยแลวแรงงานหนึง่คนจะใช

เวลา 8 ช่ัวโมง จะไดเหงาประมาณ 183.6 หนอ นอยกวา การผาหนอตาจากเหงากลวยออน

แรงงานหนึง่คนจะใชเวลา 8 ชัว่โมง จะไดเหงาประมาณ 402.2 หนอ อยางมีนัยสําคัญยิ่งทาง

สถิต ิ(ตารางที ่4)

ตารางที ่3 จํานวนตาทีส่ามารถเกิดเปนตนกลาได

สิ่งทดลอง คาเฉลี่ย

Treatment ที่ 1 ตนกลาจากหนอออน 3.8167 B

Treatment ที่ 2 ตนกลาจากหนอแก 10.9333 A

ที่ความเชือ่ม่ัน 99 %

CV = 15.7671 %

LSD .01 = 2.12753535634281

ตารางที ่4 ตารางเปรียบเทียบอัตราความเร็วในการผาหนอหนึง่คน(แปดชั่วโมง)

สิ่งทดลอง คาเฉลี่ย

Treatment ที่ 1 ตนกลาจากหนอออน 402.2000 A

Treatment ที่ 2 ตนกลาจากหนอแก 183.6000 B

ที่ความเชือ่ม่ัน 99 %

CV = 8.1386 %

LSD .01 = 50.5815626735671

Page 21: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

23

3. ตนทุนการผลิตตนกลา

เมื่อคํานวณคาใชจายของหนอจากเหงากลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวและหนอจากเหงา

กลวยออน พบวา การทําหนอจากเหงากลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวมีตนทุนประมาณ 3.57 บาท

โดยจะเสยีคาใชจายมากกับคาแรงงานในการผาหนอและคาแรงในการจางขุดหนอ สวน การทํา

หนอจากเหงากลวยออนจะมีคาใชจาย 3.94 บาท เนื่องจากตองเสียเงินกับการซื้อหนอ (เหงา

กลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวเกษตรกรจะขุดทิ้งแตเหงากลวยออนมีราคา 6 บาท) (ตารางที่ 5)

ตารางที ่5 ตารางเปรียบเทียบตนทุนในการผลิตตนกลา

ตนทุน

ประเภทหนอ

เตรียมถุงปลูก

(บาท/ถุง)

การซื้อ

หนอ

คาแรงการผา

หนอ

คาแรงการขุดหนอ เฉลี่ยตนทุน

(บาท/ตนกลา)

ตนกลาจากหนอออน 1.75 6/3.82=

1.57

250/402=

0.62

0 3.94

ตนกลาจากหนอแก 1.75 0 250/183.6=

1.36

250/50x10.93=

0.46

3.57

การทดลองที่ 2 โดยกําหนดใหชนิดของวัสดุเพาะที่มีในทองถิ่นเปนปจจัยท่ีชวยเพ่ิม

การงอก

จากการใชวัสดุเปนทรายทรายเพียงอยางเดียวและการใชทรายผสมกับขุยมะพราว 1:1

พบวา อัตราการเกิดของหนอกลวยจากการใชทรายเพียงอยางเดยีวเปนวัสดเุพาะมีนอยมาก

เพียง 13.60 เปอรเซ็นต สวนวัสดุผสมหนอกลวยสามารถเกิดไดถึงประมาณ 85.22 เปอรเซ็นต

(เนื่องจากดินทรายเม่ือแหงจะมีความแข็งที่ผิวหนาดนิ หนอใหมที่เกิดจึงไมสามารถผานออกมา

ได) (ตารางท่ี 6)

ตารางที ่6 การทดลองระหวางทรายและทรายผสมขุยมะพราว

สิ่งทดลอง คาเฉลี่ย

Treatment ที่ 1 ทรายเพียงอยางเดียว 13.6000 B

Treatment ที่ 2 ทรายผสมขุยมะพราว 85.2250 A

ที่ความเชือ่ม่ัน 99 %

CV = 9.1656 %

LSD .01 = 11.8714480869495

Page 22: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

24

ตนกลาหนอกลวยที่ใชทรายเพียงอยางเดียวเปนวัสดุเพาะมีความแข็งแรงนอยกวาวัสดุ

ผสมอยางเห็นไดชัดเจน(เนื่องจากมีทรายเพียงอยางเดียวจึงทําใหดินแหงเร็วกวาเกินไป)

เพาะในทรายเพียงอยางเดียว

การเพาะในทรายผสมขุย

มะพราว

Page 23: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

25

การทดลองที่ 3 การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของการปลูกหนอกลวยปกติกับ

หนอกลวยท่ีไดจากการผาหนอในสภาพแปลงจริง

1. ความสูงของตนของตนกลาที่ปลูกในสภาพแปลงจริง

จากการศึกษาความสูงของกลวยแบงออกเปน 3 ระยะคอื ความสูงของตนกลากอน

ปลูกในสภาพแปลงจริง ความสูงของกลวยหลังจากทําการปลูกเปนเวลา 1 เดือน และความสูง

ของกลวยหลงัจากการปลูกเปนเวลา 5 เดือน

ซ่ึงจากการศึกษาความสูงของตนกลากอนปลกูในสภาพแปลงจริง พบวา ความสูงของ

ตนกลาในแบบปกติที่ความสูงมากกวาตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและหนอแก อยางมี

นัยสาํคัญยิ่งทางสถิติ (ตารางที่ 7) แตเมื่อทําการศึกษาตอไปเมื่อปลกูไปได 1 เดือน และ 5

เดือน ความสูงของตนกลาในแบบปกติ ตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและตนกลาที่ไดจาก

หนอแก ไมมีความแตกตางกันทางสถิต ิ(ตารางที ่8 และ 9)

ตารางที ่7 ความสูงของตนของตนกลากอนปลูกในสภาพแปลงจริง

สิ่งทดลอง คาเฉลี่ย

Treatment ที่ 1 ตนกลาปกติ 45.2250 A

Treatment ที่ 2 ตนกลาจากการผาหนอออน 30.1500 B

Treatment ที่ 3 ตนกลาจากการผาหนอแก 29.6250 B

ที่ความเชือ่ม่ัน 99 %

CV = 5.0057 %

LSD .01 = 4.02622584044714

ตารางที ่8 ความสูงของกลวยหลังจากทําการปลกูเปนเวลา 1 เดือน

สิ่งทดลอง คาเฉลี่ย

Treatment ที่ 1 ตนกลาปกติ 49.1750

Treatment ที่ 2 ตนกลาจากการผาหนอออน 47.5750

Treatment ที่ 3 ตนกลาจากการผาหนอแก 48.0000

ไมมคีวามแตกตางทางสถิติ

CV = 1.7525 %

Page 24: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

26

ตารางที ่9 ความสูงของกลวยหลังจากการปลกูเปนเวลา 5 เดือน

สิ่งทดลอง คาเฉลี่ย

Treatment ที่ 1 ตนกลาปกติ 158.7000

Treatment ที่ 2 ตนกลาจากการผาหนอออน 163.6500

Treatment ที่ 3 ตนกลาจากการผาหนอแก 164.3000

ไมมคีวามแตกตางทางสถิติ

CV = 5.7693 %

2. ขนาดรอบโคนของตนของตนกลาท่ีปลกูในสภาพแปลงจริง

จากการศึกษาขนาดรอบโคนของกลวยแบงออกเปน 3 ระยะคอื ขนาดรอบโคนของตน

กลากอนปลกูในสภาพแปลงจรงิ ขนาดรอบโคนของกลวยหลังจากทําการปลกูเปนเวลา 1 เดือน

และขนาดรอบโคนของกลวยหลงัจากการปลูกเปนเวลา 5 เดือน

ซึ่งจากการศึกษาขนาดรอบโคนของตนกลากอนปลูกในสภาพแปลงจริง พบวา ขนาด

รอบโคนของตนกลาในแบบปกติที่ขนาดใหญมากกวาตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและหนอ

แก อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิต ิ(ตารางที ่10) เมื่อทําการศึกษาตอไปเมื่อปลูกไปได 1 เดือน

พบวา ขนาดรอบโคนของตนกลาในแบบปกติที่ขนาดใหญมากกวาตนกลาที่ไดจากการผาหนอ

ออนและหนอแก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที ่11) แตเมื่อทําการศึกษาตอไปเมื่อปลกูไป

ได 5 เดือน ขนาดรอบโคนของตนกลาในแบบปกติ ตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและตนกลา

ที่ไดจากหนอแก ไมมีความแตกตางกันทางสถิต ิ(ตารางที ่12)

ตารางที ่10 ตารางขนาดโคนตนของตนกลากอนทําการทดลองในสภาพแปลงจรงิ

สิ่งทดลอง คาเฉลี่ย

Treatment ที่ 1 ตนกลาปกติ 25.5500 A

Treatment ที่ 2 ตนกลาจากการผาหนอออน 15.3000 B

Treatment ที่ 3 ตนกลาจากการผาหนอแก 13.7750 B

ที่ความเชือ่ม่ัน 99 %

CV = 9.0238 %

LSD .01 = 3.77596499459947

Page 25: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

27

ตารางที ่11 ตารางวัดขนาดโคนตนหลงัจากทําการทดลองปลูก 1 เดือน

สิ่งทดลอง คาเฉลี่ย

Treatment ที่ 1 ตนกลาปกติ 30.6250 A

Treatment ที่ 2 ตนกลาจากการผาหนอออน 27.3250 B

Treatment ที่ 3 ตนกลาจากการผาหนอแก 27.0000 B

ที่ความเชื่อมั่น 95 %

CV = 5.7759 %

LSD .05 = 2.61601080708685

ตารางที ่12 ตารางวดัขนาดโคนตนหลังจากทําการทดลองปลูก 5 เดือน

สิ่งทดลอง คาเฉลี่ย

Treatment ที่ 1 ตนกลาปกติ 55.2500

Treatment ที่ 2 ตนกลาจากการผาหนอออน 54.7250

Treatment ที่ 3 ตนกลาจากการผาหนอแก 55.9500

ไมมคีวามแตกตางทางสถิติ

CV = 10.0846 %

Page 26: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

28

วิจารณผลการทดลอง

ใหสวนที่นํามาผาหนอใหเกิดตนออน การผาหนอจากเหงากลวยออน มีอัตราการอยู

รอดของตนกลาท่ีเกดิมากกวาหนอจากเหงากลวยเกาท่ีเหงาการตายมากกวาหนอจากเหงา

กลวยออน และอัตราความเร็วในการเกิดหนอของตนที่เกิดจากการผาหนอออนเร็วกวาตนกลาที่

ไดจากการผาหนอแก นาจะเปนไปตามหลกัทางสรีระทีต่าออนจะสามารถเจริญเติบโตไดดกีวา

ตาท่ีผานการพักตัวมา สวนจํานวนตาท่ีสามารถเกิดเปนตนกลาไดของเหงากลวยแกมากกวาตา

ที่ไดจากเหงากลวยออนมีความเปนไปไดเนื่องจากขนาดที่ใหญกวาและอายุที่มากกวาจึงทําใหมี

จํานวนตาที่มากกวา สวนเปรียบเทียบอัตราความเร็วในการผาหนอ จากเหงากลวยเกาที่ใหผล

ผลิตแลวมีขนาดใหญจึงทําใหตองใชแรงมากทําใหไดจํานวนตาท่ีนอยกวา การผาหนอตาจาก

เหงากลวยออน

เมื่อคาํนวณตนทุนการผลิตตนกลาของทําหนอจากเหงากลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวมี

ตนทุนประมาณ 3.57 บาทตอตน โดยจะเสียคาใชจายมากกับคาแรงงานในการผาหนอและ

คาแรงในการจางขุดหนอ สวน การทําหนอจากเหงากลวยออนจะมีคาใชจาย 3.94 บาทตอตน

เนื่องจากตองเสียเงนิกับการซ้ือหนอ แตอยางไรก็ตามการผาหนอทัง้สองแบบก็ยงัมีตนทนุที่

นอยซึ่งซื้อขายกันอยูที่ระหวาง 5-8 บาทตอตน สวนการใชวัสดุเปนทรายทรายตนไดเพียง

13.60 เปอรเซ็นต สวนวัสดุผสมหนอกลวยสามารถเกิดไดถงึประมาณ 85.22 เปอรเซ็นต ตน

กลาหนอกลวยที่ใชทรายเพียงอยางเดียวเปนวัสดุเพาะมีความแข็งแรงนอยกวาวัสดุผสมอยาง

เห็นไดชดัเจน

ความสูงของตนกลากอนปลูกความสูงของตนกลาในแบบปกติที่ความสูงมากกวาตน

กลาที่ไดจากการผาหนอออนและหนอแก แตเมื่อทําการศึกษาตอไป 1 เดือน และ 5 เดือน

ความสูงของตนกลาในแบบปกติ ตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและตนกลาที่ไดจากหนอแก

ไมมีความแตกตางกัน ขณะที่ขนาดรอบโคนของตนกลากอนปลกูขนาดรอบโคนของตนกลาใน

แบบปกติที่ขนาดใหญมากกวาตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและหนอแก คลายกับตนที่ปลูก

ได 1 เดือน แตเมื่อทําการศกึษาตอไปเมื่อปลูกไปได 5 เดือน ขนาดรอบโคนของตนกลาในแบบ

ปกติ ตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและตนกลาที่ไดจากหนอแก ไมมีความแตกตางกัน ท้ัง

สองแบบสอดคลองกันตรงทีต่นที่เกิดจากการผาหนอนัน้มีขนาดเลก็กวาในตอนแตก็จะโตทนักัน

ในที่สุด อาจจะเนื่องมาจากในตอนแรกที่ปลูกลักษณะของของตนกลาปกติถึงแมจะมีขนาดใหญ

แตกไ็มมรีากทําใหในชวงเดือนแรกมีการเจริญเติบโตที่ชากวามาสวนตนกลาที่เกิดจากการผา

หนอมีรากที่พรอมจะเจริญเติบโตเมื่อนําลงปลูกก็สามารถเจริญเติบโตไดโดยไมตองหยุดชะงัก

Page 27: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

29

ดังนั้นอาจจะกลาวไดวา การเลือกหนอออนหรือเหงาแกมาเปนแหลงในการใหกําเนดิ

ตา หนอออนมีการเกิดตนออนที่ดีกวาเหงาแก โดยวัสดุที่นํามาใชเพาะตองมีการผสมขุย

มะพราวเพื่อใหการเกิดตนและความแข็งแรงของตนกลาดีขึ้น ถึงแมวาการใชตนกลาที่ไดจาก

การผามาทําการปลูกในสภาพแปลงจรงิในชวงแรกจะมีขนาดตนท่ีเลก็กวาตนกลาปกติท่ีนํามา

ปลูกแตสามารถโตทนักันไดในชวงเดือนที ่ 3-5 หลังการปลกู และอาจมีแนวโนมท่ีผลผลิต

อาจจะมีปริมาณใกลเคียงกัน จึงอาจสรุปไดวาการผาหนอทําใหเกดิตนกลาของกลวยใน

ปริมาณที่มากขึ้นตนทุนถูกลงในการปลูกและเมื่อนํามาปลูกแลวก็ใหผลผลิตที่ดีไดเชนกัน

Page 28: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

30

บทที่ 4

สรุปการผลการทดลองและขอเสนอแนะ

สรุปผลการทดลอง

การทดลองที ่1 ใหสวนทีน่ํามาผาหนอใหเกิดตนออน

เปอรเซ็นตการอยูรอดของตนกลาและอัตราความเร็วในการเกดิหนอของตนกลา พบวา

การผาหนอจากเหงากลวยออน มีอัตราการอยูรอดของตนกลาที่เกิดมากกวาหนอจากเหงา

กลวยเกาท่ีเหงาการตายมากกวาหนอจากเหงากลวยออน และอัตราความเร็วในการเกดิหนอ

ของตนกลา (เปอรเซ็นต) ของตนที่เกิดจากการผาหนอออนเร็วกวาตนกลาที่ไดจากการผาหนอแก

จํานวนตาที่สามารถเกิดเปนตนกลาได พบวา จํานวนของหนอกลวยที่ไดจากเหงา

กลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวมีจํานวนเฉลี่ย 10.933 หนอตอเหงา มากกวาจํานวนหนอจากเหงา

กลวยออนเฉลี่ยประมาณ 3.82 หนอตอเหงา สวนเปรียบเทียบอัตราความเร็วในการผาหนอ

หนึ่งคน (แปดช่ัวโมง) แตเนื่องจากเหงากลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวมีขนาดใหญจึงทําใหตองใช

แรงมากในการตัดจึงไดตาประมาณ 183.6 หนอ นอยกวา การผาหนอตาจากเหงากลวยออนที่

สามารถตดัไดตาประมาณ 402.2 หนอ

เมื่อคํานวณตนทุนการผลิตตนกลาของหนอจากเหงากลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวและ

หนอจากเหงากลวยออน พบวา การทําหนอจากเหงากลวยเกาที่ใหผลผลิตแลวมีตนทุน

ประมาณ 3.57 บาท โดยจะเสียคาใชจายมากกับคาแรงงานในการผาหนอและคาแรงในการ

จางขุดหนอ สวน การทําหนอจากเหงากลวยออนจะมีคาใชจาย 3.94 บาท เนื่องจากตองเสีย

เงินกบัการซื้อหนอ (เหงากลวยเกาท่ีใหผลผลิตแลวเกษตรกรจะขุดทิ้งแตเหงากลวยออนมีราคา

6 บาท)

การทดลองที่ 2 โดยกําหนดใหชนดิของวัสดุเพาะที่มีในทองถิ่นเปนปจจัยที่ชวยเพิ่มการงอก

จากการใชวัสดุเปนทรายทรายเพียงอยางเดียวและการใชทรายผสมกับขุยมะพราว 1:1

พบวา อัตราการเกิดของหนอกลวยในทรายตนกลากลวยหอมสามารถเกิดตนไดเพียง 13.60

เปอรเซ็นต สวนวัสดุผสมหนอกลวยสามารถเกดิไดถึงประมาณ 85.22 เปอรเซ็นต เนื่องจากดิน

ทรายเมื่อแหงจะมีความแข็งที่ผิวหนาดิน หนอใหมที่เกิดจึงไมสามารถผานออกมาได นอกจากนี้

ตนกลาหนอกลวยที่ใชทรายเพียงอยางเดียวเปนวัสดุเพาะมีความแข็งแรงนอยกวาวัสดุผสม

อยางเห็นไดชัดเจน(เนื่องจากมีทรายเพียงอยางเดียวจงึทําใหดินแหงเร็วกวาเกินไป)

Page 29: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

31

การทดลองที ่3 การศกึษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของการปลูกหนอกลวยปกติกับหนอ

กลวยท่ีไดจากการผาหนอในสภาพแปลงจริง

ความสูงของตนของตนกลาที่ปลูกในสภาพแปลงจริง ท้ัง 3 ระยะ พบวา ความสูงของ

ตนกลากอนปลูกความสูงของตนกลาในแบบปกติที่ความสูงมากกวาตนกลาที่ไดจากการผา

หนอออนและหนอแก แตเมือ่ทําการศึกษาตอไป 1 เดือน และ 5 เดือน ความสูงของตนกลาใน

แบบปกติ ตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและตนกลาทีไ่ดจากหนอแก ไมมีความแตกตางกัน

ขนาดรอบโคนของตนของตนกลาที่ปลูกในสภาพแปลงจริง ทั้ง 3 ระยะ พบวา ขนาด

รอบโคนของตนกลากอนปลูกขนาดรอบโคนของตนกลาในแบบปกติที่ขนาดใหญมากกวาตน

กลาที่ไดจากการผาหนอออนและหนอแก เมื่อทําการศึกษาตอไปหลังปลูกได 1 เดือน ขนาด

รอบโคนของตนกลาในแบบปกติที่ขนาดใหญมากกวาตนกลาที่ไดจากการผาหนอออนและหนอ

แก แตเมื่อทําการศึกษาตอไปเมื่อปลูกไปได 5 เดือน ขนาดรอบโคนของตนกลาในแบบปกติ ตน

กลาที่ไดจากการผาหนอออนและตนกลาที่ไดจากหนอแก ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ

ขอเสนอแนะในการทดลอง

1. การทดลองนี้ยังมีขอมูลบางสวนที่ยังไมสมบูรณเนื่องจากเวลาไมเพ ียงพอ

2. หากการทดลองนีส้ามารถทดการทดลองตอไปอีกจะใหผลทีส่มบรูณยิง่ขึ้น

ปญหาในการดําเนินการวิจัย

1. ปญหาในเรื่องสภาพอากาศทีท่ําใหไมสามารถดําเนินการทดลองได

2. ปญหาความไกลของแปลงทดลอง หากมีการทดลองในแบบที่คลายกันอาจตองทํา

การสรางแปลงทดสอบภายใน

3. ขาดแคลนแรงงานและอุปกรณทีเ่หมาะสม อาจตองมีการพัฒนาเครื่องมือที่

เหมาะสมโดยเฉพาะ

Page 30: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

32

ภาคผนวก

Page 31: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

33

ตารางผนวกที ่1 เปอรเซ็นตการอยูรอดของตนกลาที่ไดจากการผาหนอ

t1 หนอออน 80.00 82.40 85.80 75.90 79.40 86.70 MEAN= 81.7000

t2 หนอแก 72.50 75.40 70.40 74.10 71.50 72.90 MEAN= 72.8000

Treatment Mean

t1 81.7000

t2 72.8000

: Sirichai Statistics Version 6.00 :

Problem Identification: Procedure : Analysis of Variance I

Table.... Analysis of Variance

Source df SS MS F F.05 F.01 F-Prob

Treatment 1 237.6300 237.6300 23.73 4.96 10.04 0.0009

Ex.Error 10 100.1200 10.0120

Total 11 337.7500 30.7045

GRAND MEAN = 77.2500006357829

CV = 4.0960 %

LSD .05 = 4.07019214764111

LSD .01 = 5.78924547391143

* DUNCAN'S MULTIPLE-RANGE TEST *

*PROBLEM IDENTIFICATION= *

*NUMBER OF MEANS= 2 *

*ERROR DEGREE OF FREEDOM= 10 *

*ERROR MEAN SQUARE= 10.0119968872095 *

*STANDARD ERROR OF MEAN= 1.29176861235604 *

NAME ID MEAN RANKED AT PROBABILITY LEVEL .01

t1 81.7000 A

t2 72.8000 B

Page 32: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

34

ตารางผนวกที ่2 จํานวนตาท่ีสามารถเกดิเปนตนกลาได

t1 หนอออน 3.50 4.20 3.70 3.60 4.90 3.00 MEAN= 3.8167

t2 หนอแก 9.70 12.80 10.40 11.70 8.90 12.10 MEAN= 10.9333

Treatment Mean

t1 3.8167

t2 10.9333

: Sirichai Statistics Version 6.00 :

Problem Identification: Procedure : Analysis of Variance I

Table.... Analysis of Variance

Source df SS MS F F.05 F.01 F-Prob

Treatment 1 151.9408 151.9408 112.37 4.96 10.04 0.0000

Ex.Error 10 13.5217 1.3522

Total 11 165.4625 15.0420

GRAND MEAN = 7.37499994039536

CV = 15.7671 %

LSD .05 = 1.49578692771593

LSD .01 = 2.12753535634281

* DUNCAN'S MULTIPLE-RANGE TEST *

*PROBLEM IDENTIFICATION= *

*NUMBER OF MEANS= 2 *

*ERROR DEGREE OF FREEDOM= 10 *

*ERROR MEAN SQUARE= 1.35216704956696 *

*STANDARD ERROR OF MEAN= .47472220816792 *

NAME ID MEAN RANKED AT PROBABILITY LEVEL .01

t2 10.9333 A

t1 3.8167 B

Page 33: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

35

ตารางผนวกที ่3 ตารางเปรยีบเทียบอัตราความเร็วในการผาหนอหน่ึงคน(แปดช่ัวโมง)

t1 หนอออน 450.00 380.00 389.00 412.00 380.00 MEAN= 402.2000

t2 หนอแก 210.00 180.00 171.00 185.00 172.00 MEAN=183.6000

Treatment Mean

t1 402.2000

t2 183.6000

: Sirichai Statistics Version 6.00 :

Problem Identification: Procedure : Analysis of Variance I

Table.... Analysis of Variance

Source df SS MS F F.05 F.01 F-Prob

Treatment 1 119464.9000 119464.9000 210.23 5.32 11.26 0.0000

Ex.Error 8 4546.0000 568.2500

Total 9 124010.9000 13778.9889

GRAND MEAN = 292.9

CV = 8.1386 %

LSD .05 = 34.766343822726

LSD .01 = 50.5815626735671

* DUNCAN'S MULTIPLE-RANGE TEST *

*PROBLEM IDENTIFICATION= *

*NUMBER OF MEANS= 2 *

*ERROR DEGREE OF FREEDOM= 8 *

*ERROR MEAN SQUARE= 568.25 *

*STANDARD ERROR OF MEAN= 10.6606754007427 *

NAME ID MEAN RANKED AT PROBABILITY LEVEL .01

t1 402.2000 A

t2 183.6000 B

Page 34: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

36

ตารางผนวกที ่4 การทดลองระหวางทรายและทรายผสมขุยมะพราว

t1 ทรายเพยีงอยางเดียว 12.50 14.70 19.80 7.40 MEAN= 13.6000

t2 ทรายผสมขุยมะพราว 89.40 81.20 82.90 87.40 MEAN= 85.2250

Treatment Mean

t1 13.6000

t2 85.2250

: Sirichai Statistics Version 6.00 :

Problem Identification: Procedure : Analysis of Variance I

Table.... Analysis of Variance

Source df SS MS F F.05 F.01 F-Prob

Treatment 1 10260.2814 10260.2814 500.23 5.99 13.75 0.0000

Ex.Error 6 123.0675 20.5113

Total 7 10383.3489 1483.3356

GRAND MEAN = 49.4125000834465

CV = 9.1656 %

LSD .05 = 7.83637266489491

LSD .01 = 11.8714480869495

* DUNCAN'S MULTIPLE-RANGE TEST *

*PROBLEM IDENTIFICATION= *

*NUMBER OF MEANS= 2 *

*ERROR DEGREE OF FREEDOM= 6 *

*ERROR MEAN SQUARE= 20.511254297895 *

*STANDARD ERROR OF MEAN= 2.26446761391585 *

NAME ID MEAN RANKED AT PROBABILITY LEVEL .01

t2 85.2250 A

t1 13.6000 B

Page 35: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

37

ตารางผนวกที ่5 ความสูงของตนของตนกลากอนปลกูในสภาพแปลงจรงิ

t1 ตนกลาปกต ิ 42.70 44.80 45.40 48.00 MEAN= 45.2250

t2 ตนกลาจากการผาหนอออน 32.10 30.00 29.80 28.70 MEAN= 30.1500

t3 ตนกลาจากการผาหนอแก 31.80 28.10 29.40 29.20 MEAN= 29.6250

Treatment Mean

t1 45.2250

t2 30.1500

t3 29.6250

: Sirichai Statistics Version 6.00 :

Problem Identification: Procedure : Analysis of Variance I

Table.... Analysis of Variance

Source df SS MS F F.05 F.01 F-Prob

Treatment 2 627.8550 313.9275 102.28 4.26 8.02 0.0000

Ex.Error 9 27.6250 3.0694

Total 11 655.4800 59.5891

GRAND MEAN = 35

CV = 5.0057 %

LSD .05 = 2.80225318495121

LSD .01 = 4.02622584044714

* DUNCAN'S MULTIPLE-RANGE TEST *

*PROBLEM IDENTIFICATION= *

*NUMBER OF MEANS= 3 *

*ERROR DEGREE OF FREEDOM= 9 *

*ERROR MEAN SQUARE= 3.06944274902425 *

*STANDARD ERROR OF MEAN= .875991259805748 *

NAME ID MEAN RANKED AT PROBABILITY LEVEL .01

t1 45.2250 A

t2 30.1500 B

t3 29.6250 B

Page 36: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

38

ตารางผนวกที ่6 ความสูงของกลวยหลังจากทําการปลูกเปนเวลา 1 เดือน

t1 ตนกลาปกต ิ 48.80 49.10 48.70 50.10 MEAN= 49.1750

t2 ตนกลาจากการผาหนอออน 47.50 47.10 47.50 48.20 MEAN= 47.5750

t3 ตนกลาจากการผาหนอแก 47.20 46.70 48.90 49.20 MEAN= 48.0000

Treatment Mean

t1 49.1750

t2 47.5750

t3 48.0000

: Sirichai Statistics Version 6.00 :

Problem Identification: Procedure : Analysis of Variance I

Table.... Analysis of Variance

Source df SS MS F F.05 F.01 F-Prob

Treatment 2 5.4950 2.7475 3.84 4.26 8.02 0.0615

Ex.Error 9 6.4350 0.7150

Total 11 11.9300 1.0845

GRAND MEAN = 48.25

CV = 1.7525 %

Page 37: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

39

ตารางผนวกที ่7 ความสูงของกลวยหลงัจากการปลูกเปนเวลา 5 เดือน

t1 ตนกลาปกต ิ 148.90 157.40 167.40 161.10 MEAN= 158.7000

t2 ตนกลาจากการผาหนอออน 149.80 164.90 171.20 168.70 MEAN= 163.6500

t3 ตนกลาจากการผาหนอแก 152.70 161.50 178.10 164.90 MEAN= 164.3000

Treatment Mean

t1 158.7000

t2 163.6500

t3 164.3000

: Sirichai Statistics Version 6.00 :

Problem Identification: Procedure : Analysis of Variance I

Table.... Analysis of Variance

Source df SS MS F F.05 F.01 F-Prob

Treatment 2 75.0467 37.5234 0.43 4.26 8.02 0.6682

Ex.Error 9 788.2701 87.5856

Total 11 863.3168 78.4833

GRAND MEAN = 162.216664632161

CV = 5.7693 %

Page 38: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

40

ตารางผนวกที ่8 ตารางขนาดโคนตนของตนกลากอนทําการทดลองในสภาพแปลงจรงิ

t1 ตนกลาปกต ิ 24.70 25.90 26.20 25.40 MEAN= 25.5500

t2 ตนกลาจากการผาหนอออน 14.70 12.90 18.70 14.90 MEAN= 15.3000

t3 ตนกลาจากการผาหนอแก 13.10 14.20 12.40 15.40 MEAN= 13.7750

Treatment Mean

t1 25.5500

t2 15.3000

t3 13.7750

: Sirichai Statistics Version 6.00 :

Problem Identification: Procedure : Analysis of Variance I

Table.... Analysis of Variance

Source df SS MS F F.05 F.01 F-Prob

Treatment 2 328.0517 164.0258 60.76 4.26 8.02 0.0001

Ex.Error 9 24.2975 2.6997

Total 11 352.3492 32.0317

GRAND MEAN = 18.2083333333333

CV = 9.0238 %

LSD .05 = 2.62807163624123

LSD .01 = 3.77596499459947

* DUNCAN'S MULTIPLE-RANGE TEST *

*PROBLEM IDENTIFICATION= *

*NUMBER OF MEANS= 3 *

*ERROR DEGREE OF FREEDOM= 9 *

*ERROR MEAN SQUARE= 2.69972291416626 *

*STANDARD ERROR OF MEAN= .821541677909018 *

NAME ID MEAN RANKED AT PROBABILITY LEVEL .01

t1 25.5500 A

t2 15.3000 B

t3 13.7750 B

Page 39: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

41

ตารางผนวกที ่9 ตารางวัดขนาดโคนตนหลังจากทําการทดลองปลกู 1 เดือน

t1 ตนกลาปกต ิ 31.40 32.90 30.10 28.10 MEAN= 30.6250

t2 ตนกลาจากการผาหนอออน 28.40 25.30 26.20 28.10 MEAN= 27.0000

t3 ตนกลาจากการผาหนอแก 28.20 28.40 27.10 25.60 MEAN= 27.3250

Treatment Mean

t1 30.6250

t2 27.0000

t3 27.3250

: Sirichai Statistics Version 6.00 :

Problem Identification: Procedure : Analysis of Variance I

Table.... Analysis of Variance

Source df SS MS F F.05 F.01 F-Prob

Treatment 2 32.1817 16.0908 6.02 4.26 8.02 0.0218

Ex.Error 9 24.0750 2.6750

Total 11 56.2567 5.1142

GRAND MEAN = 28.3166669209798

CV = 5.7759 %

LSD .05 = 2.61601080708685

LSD .01 = 3.7586362170788

* DUNCAN'S MULTIPLE-RANGE TEST *

*PROBLEM IDENTIFICATION= *

*NUMBER OF MEANS= 3 *

*ERROR DEGREE OF FREEDOM= 9 *

*ERROR MEAN SQUARE= 2.67500046624122 *

*STANDARD ERROR OF MEAN= .817771432956853 *

NAME ID MEAN RANKED AT PROBABILITY LEVEL .05

t1 30.6250 A

t3 27.3250 B

t2 27.0000 B

Page 40: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

42

ตารางผนวกที ่10 ตารางวดัขนาดโคนตนหลงัจากทําการทดลองปลกู 5 เดือน

t1 ตนกลาปกติ 50.10 52.40 67.80 50.70 MEAN= 55.2500

t2 ตนกลาจากการผาหนอออน 52.10 52.00 54.70 60.10 MEAN= 54.7250

t3 ตนกลาจากการผาหนอแก 56.40 51.90 57.10 58.40 MEAN= 55.9500

Treatment Mean

t1 55.2500

t2 54.7250

t3 55.9500

: Sirichai Statistics Version 6.00 :

Problem Identification: Procedure : Analysis of Variance I

Table.... Analysis of Variance

Source df SS MS F F.05 F.01 F-Prob

Treatment 2 3.0217 1.5108 0.05 4.26 8.02 0.9531

Ex.Error 9 279.9876 31.1097

Total 11 283.0092 25.7281

GRAND MEAN = 55.3083337148031

CV = 10.0846 %

Page 41: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

43

รายงานโครงการการผลิตตนกลากลวยหอมทองปลอดโรคจากการผาหนอ

คลนิกิฯ มหาวทิยาลยัแม่โจ-้ชุมพร>>รายงานความกา้วหนา้ครังที 2 วนัทรีายงาน 5/4/2554 (ว/ด/ป)

แผนการดําเนนิงานชอืโครงการ :: การผลติตน้กลา้กลว้ยหอมทองปลอดโรคจากการผา่หนอ่

พืนทดํีาเนินการ:

กลุ่มสหกรณ์ทีทําการปลูกกลว้ยหอมทองอนิทรียเ์พอืการส่งออก ภายในเขตพืนทีจังหวัดชุมพร

กลุม่เป้าหมาย:

กลุ่มสหกรณ์ทีทําการปลูกกลว้ยหอมทองอนิทรียเ์พอืการส่งออกไปยังประเทศญีปุ่ นภายในจังหวัดชมุพร ไดแ้ก่ 1. กลุ่มสหกรณ์ผูป้ลูกกลว้ยหอมทองอินทรีย์จังหวัดชุมพร 2. กลุ่มเกษตรกรทาํสวนทุ่งคาวัด เพือทาํการเผยแพร่ใหเ้กษตรกรทีมีความสนใจ

ระยะเวลา : 1 ปี

ค่าใชจ้่ายรายไตรมาส :

25,000

ผลการดําเนนิงาน :

ไดเ้รมิดําเนินการกอ่นทจีะมีการไดรั้บการเบกิจ่ายเงินโครงการจากหน่วยงานตน้สังกัดเมอืวันที 1 เมษายน 2554 และไดดํ้าเนินการดังตอ่ไปนี1. สรา้งโรงเรือนกงึถาวรเสร็จสนิพรอ้มตอ่ระบบนําภายในโรงเรอืนพรอ้มในการดําเนินการวจัิย แต่เนืองจากพายแุละฝนตกหนักทําใหเ้กดิความเสยีหายจงึตอ้งมกีารซอ่มแซมอกีครัง และทําการซอ่มแซมเสร็จ เมอื 5เมษายน2. จัดเตรียมวัสดุและอุปกรณใ์นการทําการวิจัย และจะไดรั้บการสนับสนุนเหงา้กลว้ยทีไดจ้ากตน้ทเีก็บเกยีวผลผลติแลว้จากกลุ่มเกษตรกร ในวันที 14-16 เมษายน จํานวนประมาณ 200 เหงา้ เพอืใชใ้นการทดลอง3. ขณะนีไดดํ้าเนินการโดยการทําการศกึษาการผ่าหน่อ เรมิทําการวจัิยโดยการ perteat ดูอัตราการเจรญิ และคณุสมบัติของสารทใีชใ้นการทดลอง พบว่าสามารถใชไ้ดด้ี และไม่ต่างจากค่าความคาดหมายมากนักซงึคาดว่าอาจตอ้งใชเ้วลาในการทํางานวิจัยไม่เกนิเดือนธันวาคม 25544. จะเรมิทําการทําลองจรงิภายในวันที 20 เมษายน

ปัญหา /อปุสรรค :

1. การเบกิจ่ายเงินโครงการทําไดย้ากเนืองจากความไม่เขา้ใจของการเงนิเพราะเป็นการทํางานวจัิยครังแรกภายใตโ้ครงการ2. สภาพพืนทมีีความแปรปรวนทางสภาพแวดลอ้มบ่อยมาก ทัง ลมพายุฝนตกนําท่วม ทําใหส้ภาพแวดลอ้ม ทําใหไ้ม่เหมาะทีจะเรมิทาํการวิจัยและยังทําใหโ้รงเรอืนเสียหาย3. การทีสภาวะแวดลอ้มเกดิการผันแปร ทําใหก้ลุ่มเกษตรกรไม่สามารถใหก้ารสนับสนุนเหงา้ในชว่งเวลาทีกาํหนดไวไ้ดใ้นช่วงเดือนมีนาคม ซงึอาจทําใหก้ารวจัิยตอ้งขอตอ่เวลาดําเนนิการ

แนวทางการแกไ้ข :

1. การเบกิจ่ายเงินโครงการน่าจะทําไดง่้ายขึนในครังต่อไปเพราะ บุคลาการมคีวามเขา้ใจมากขนึแลว้2. สภาพพืนทมีีความแปรปรวนทางสภาพแวดลอ้มบ่อยไม่สามารถแกไ้ขได ้3. การเรมิงานวจัิยลา้ชา้อาจตอ้งขอตอ่เวลาดําเนินการ

Page 42: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

44

เอกสารแนบ :

บันทกึโดย : น.ส.ปณิดา กันถาดe-mail : [email protected]

รอการตรวจสอบ

คลนิกิฯ มหาวทิยาลยัแม่โจ-้ชุมพร>>รายงานความกา้วหนา้ครังที 3 วนัทรีายงาน 5/7/2554 (ว/ด/ป)

แผนการดําเนนิงานชอืโครงการ :: การผลติตน้กลา้กลว้ยหอมทองปลอดโรคจากการผา่หนอ่

พืนทีดําเนินการ :

มหาวทิยาลัยแม่โจ-้ชุมพร(ช่วงการทดลองในแปลง) กลุ่มสหกรณ์ผูป้ลูกกลว้ยหอมทองปลอดสารจังหวัดชุมพร

กลุม่เป้าหมาย:

เกษตรกรททํีาการปลกูกลว้ยหอมทองอินทรีย์ปลอดสารเคมีทปีลกูทมีีจุดประสงคเ์พอืการส่งออกทมีีพืนทอียู่เขตจังหวัดชุมพรซงึประกอบดว้ย1.กลุ่มสหกรณ์ผูป้ลูกกลว้ยหอมทองปลอดสารจังหวัดชุมพร 2.กลุ่มเกษตรกรทําสวนทุ่งคาวัด ซงึทัง 2 กลุ่มสหกรณ์มีสมาชกิรวมกันประมาณ800 ครอบครัว หรอื ประมาณ 3,000 คน ซงึกลุ่มเป้าหมายทีคาดว่าจะไดรั้บการฝึกอบรมคอื 100 ราย(ครอบครัว)

ระยะเวลา : 1 ปี ตังแต่ 1 ตุลาคม 2553- 30 กันยายน 2554

ค่าใชจ้่ายรายไตรมาส :

35,000

ผลการดําเนนิงาน :

ดําเนนิการทดลองดังนี1. ทําการทดสอบการใชเ้หงา้อ่อนและเหงา้แกนํ้ามาเปรียบเทียบกันซงึการทดลองยังทําการเก็บผลไม่เสร็จสนิ แต่เนืองจากเกิดปัญหาในช่วงฝนตกและนําท่วมในช่วงพฤษภาคมทีผ่านมาทําใหก้ารนําเหงา้ในปรมิาณมากออกจากพืนททํีาไม่ได ้ การทดลองจงึลา้ชา้แต่ก็สามารถดําเนินการไดแ้ละไดผ้ลการทดลองทีน่าพอใจ2. การจัดเตรียมพืนทีในแปลงของเกษตรกร ก็ไดพ้นืทีเป้าหมายทีอยู่พืนททัีง อาํเภอสว ี(ห่างจากมหาวทิยาลัยแมโ่จ-้ชมุพรประมาณ 50กโิลเมตร)และอําเภอละแม (ห่างจากมหาวิทยาลัยแมโ่จ-้ชุมพรประมาณ15 กโิลเมตร) แตเ่นืองจากไม่สามารถผลิตหน่อไดต้ามปรมิาณทคีาดไว ้ได ้ จึงคาดว่าน่าจะลดปรมิาณจํานวนหน่อทีจะนําไปปลูกเพือการสรา้งแปลงสาธิตใหเ้กษตรกรทีเขา้อบรมไดดู้3. ไดรั้บความร่วมมอืจากกลุม่สหกรณ์ผูป้ลกูกลว้ยหอมทองปลอดสาร

Page 43: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

45

จังหวัดชุมพร ในการสนับสนุนเหงา้ทังอ่อนและเหงา้แก่ แต่เนืองจากกลุ่มสหกรณอ์ยูใ่นเขต อาํเภอสวี ซงึห่างจากมหาวทิยาลัยแมโ่จ-้ชุมพรประมาณ 50 กโิลเมตร จึงจําเป็นเสยีค่าใชจ้่ายดา้นเชอืเพลงิมากกว่าปกติ4. จากทไีดม้ีการประมาณการค่าใชจ้่ายดา้นแรงงานจา้งเหมาในการผ่าหน่อนันพบว่า ในเหงา้ออ่นสามารถปฏิบัตกิารไดอ้ย่างรวดเร็ว แต่สาํหรับเหงา้แก่สามารถปฏิบัตงิานไดช้า้ทําใหต้อ้งใชแ้รงงานมากและงานทีได ้ล่าชา้กวา้ปกติ

ปัญหา /อปุสรรค :

อุปสรรคใหญ่ในไตมาสนีคือเรืองสภาพอากาศ โดยเฉพาะพนืทปีลูกกลว้ยทีจะจัดหาวัตถุดบิหรอืเหงา้กลว้ยนันอยู่ในพนืทภีเูขาทังสนิ แต่เนืองจากในช่วงไตมาสทีผ่านฝนตกหนักมาก ทังยังมีนําท่วม ดินถล่ม ในพืนทเีป้าหมายบางส่วน ทําใหก้ารจัดหาวัสดุทาํไดย้ากลําบาก การขนส่งก็ไม่สามารถทําไดส้ะดวก ดังนันการทําการทําลองจงึตอ้งเรมิทําในบางส่วนกอ่นและคอ่ยๆทะยอยทาํการทดลอง

แนวทางการแกไ้ข :

การแกไ้ขในส่วนนีทําไดลํ้าบากมาก คือตอ้งคอ่ยๆ ทะยอยทําการทดลองเพราะไม่สามารถจัดหาวัตถุดบิหลักไดพ้รอ้มกันทังหมดซงึในส่วนนี หากจะแกไ้ขระยะยาวอาจจะตอ้งสรา้งแปลงเพอืทําการผลติเหงา้เพอืใชใ้นการขยายพันธุ์โดยผ่าหน่อเอง เพราะปัญหาในภาคใตเ้รอืงฝนตกอยากทีจะแกไ้ข

เอกสารแนบ :

บันทกึโดย : น.ส.ปณิดา กันถาดe-mail : [email protected]

รอการตรวจสอบ

คลนิกิฯ มหาวทิยาลยัแม่โจ-้ชุมพร>>รายงานความกา้วหนา้ครังที 4 วนัทรีายงาน 30/9/2554 (ว/ด/ป)

แผนการดําเนนิงานชอืโครงการ :: การผลติตน้กลา้กลว้ยหอมทองปลอดโรคจากการผา่หนอ่

พืนทีดําเนินการ :

จังหวัดชุมพร

กลุม่เป้าหมาย:

กลุม่เกษตรกรผูส้ง่ออกกลว้ยหอมอนิทรีย์

Page 44: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

46

ระยะเวลา : สินสุดโครง 30 กันยายน 2554

ค่าใชจ้่ายรายไตรมาส :

28,000

ผลการดําเนนิงาน :

การทดลอง ณ ปัจจุบันการทดลองที 1 ใหส้่วนทีนํามาผ่าหน่อใหเ้กิดตน้อ่อนพบว่า การผ่าหน่อจากเหงา้กลว้ยเก่าทใีหผ้ลผลติแลว้และการผ่าหน่อจากเหงา้กลว้ยออ่นทมีีอายุระหว่าง 3-6 เดอืน สามารถใหต้น้ทีแข็งแรงของตน้กลา้ใกลเ้คยีงกันแต่อัตราการรอดของหน่อจากเหงา้กลว้ยเก่าทีใหผ้ลผลิตแลว้มีแนวโนม้ทจีะตายมากกว่าหน่อจากเหงา้กลว้ยออ่นแต่อย่างไรก็ตามจํานวนของหน่อกลว้ยทีไดจ้ากเหงา้กลว้ยเก่าทใีหผ้ลผลิตแลว้มีจํานวนเฉลีย 12.6 หน่อตอ่เหงา้ ขณะทจํีานวนหน่อจากเหงา้กลว้ยออ่นเฉลยีประมาณ 4.7 หน่อตอ่เหงา้ แต่เนืองจากเหงา้กลว้ยเก่าทีใหผ้ลผลิตแลว้มีขนาดใหญ่จงึทําใหต้อ้งใชแ้รงมากในการตัดโดยเฉลียแลว้แรงงานหนึงคนจะใชเ้วลา 8 ชัวโมง จะไดเ้หงา้ประมาณ 230 หน่อส่วนการผ่าหน่อจากเหงา้กลว้ยออ่นแรงงานหนึงคนจะใชเ้วลา 8 ชัวโมงจะไดเ้หงา้ประมาณ 400 หน่อเมอืคํานวณค่าใชจ้่ายของหน่อจากเหงา้กลว้ยเก่าทีใหผ้ลผลิตแลว้และหน่อจากเหงา้กลว้ยอ่อนการทําหน่อจากเหงา้กลว้ยเก่าทใีหผ้ลผลิตแลว้มีตน้ทุนประมาณ 2.45 บาท ส่วน การทาํหน่อจากเหงา้กลว้ยออ่นจะมีค่าใชจ้่าย 4.95 บาท (เหงา้กลว้ยเก่าทใีหผ้ลผลติแลว้เกษตรกรจะขดุทงิแต่เหงา้กลว้ยออ่นมีราคา 6 บาท)การทดลองที 2 โดยกาํหนดใหช้นิดของวัสดเุพาะทีมีในทอ้งถนิเป็นปัจจัยทีช่วยเพมิการงอกจากการใชวั้สดุเป็นทรายทรายเพียงอย่างเดียวและการใชท้รายผสมกับขยุมะพรา้ว 1:1 พบว่า อัตราการเกดิของหน่อกลว้ยจากการใชท้รายเพียงอย่างเดยีวเป็นวัสดุเพาะมีนอ้ยมากเพียงไม่ถงึ 20 เปอรเ์ซ็นต ์ส่วนวัสดุผสมหน่อกลว้ยสามารถเกิดไดถ้งึประมาณ 90 เปอรเ์ซ็นต ์(เนืองจากดินทรายเมือแหง้จะมีความแข็งทีผิวหนา้ดนิ หน่อใหม่ทเีก ิดจงึไม่สามารถผ่านออกมาได)้ตน้กลา้หน่อกลว้ยทีใชท้รายเพียงอย่างเดยีวเป็นวัสดเุพาะมีความแข็งแรงนอ้ยกว่าวัสดผุสมอย่างเห็นไดชั้ดเจน(เนืองจากมีทรายเพียงอย่างเดยีวจึงทําใหด้ินแหง้เร็วกว่าเกินไป)การทดลองท ี3 การศกึษาเปรยีบเทียบการเจรญิเตบิโตของการปลกูหน่อกลว้ยปกตกิับหน่อกลว้ยทีไดจ้ากการผ่าหน่อในสภาพแปลงจรงิไดทํ้าการนําไปปลูกในแปลงเกษตรกรไดป้ระมาณ 1 เดือน ซงึการศกึษาจะมีการเก็บขอ้มูลดังต่อไปนี1. การเก็บขอ้มูลดา้นอัตราการเจรญิเตบิโต ซงึไดแ้ก ่ความสูง ขนาดตน้อัตราการเพมิความสูง ความสมบูรณ์ ความยาวใบ จํานวนใบ อัตราการเกิดโรค และการเขา้ทําลายแมลง รวมไปถงึความผดิปกติอนืๆ2. การเก็บขอ้มูลดา้นใหผ้ลผลติ ซงึไดแ้ก่ ระยะเวลาตงัแต่ปลูกจนใหผ้ลผลติ นําหนักผลผลติทังหมด ขนาดผลผลติ นําหนักผลผลติทีผ่านมาตรฐานการส่งออกและไมผ่่าน ผลผลติเฉลยีตอ่ตน้3. ขอ้มูลดา้นความคุม้ค่าตอ่การลงทุน ซงึไดแ้ก ่ตน้ทุนและกาํไรสุทธิของทัง 2 แบบ และความคุม้ค่ารวมถงึแนวโนม้ความเป็นไดใ้นการเปลียนแปลงระบบการใชห้น่อในอนาคต

ตอ้งใชเ้วลาอกีประมาณ 7 เพอืการทาํการเก็บขอ้มูลในการทดลองที 3ใหเ้สร็จสนิ

ปัญหา /อปุสรรค :

การดําเนินการวิจัยไม่สามารถทําใหไ้ดต้ามกําหนดทไีดทํ้าการกําหนดเนืองจากโครงการนีไดอ้อกใหต้อ้งทําการวจัิยอย่างนอ้ยเป็นเวลา 9เดือนจงึจะเก็บขอ้มูลไดห้มด แต่ไดเ้กิดอุปสรรคในการดําเนินงานดังนี 1.การเบกิจ่ายงบประมาณล่าชา้กว่าทีคาดไวม้ากและเมอืเงินเขา้สู่ระบบมหาวทิยาลัย ไดม้กีารเปลยีนผูบ้รหิารระดับสงูของมหาวิทยาลัยทําให ้ระบบการเบกิจ่ายเงนิยงิชา้ลงไปกว่าจะไดง้บประมาณในเดือน เมษายน2554 2. หลังจากไดง้บประมาณแลว้ไดเ้รมิดําเนินการแลว้แตเ่นืองจากประสบปัญหาดา้นสภาพอากาศ คือในเดอืนกุมพาพันธ์และเมษายนฝนในภาคใตนํ้าท่วมและดนิถลม่ ตน้ทีไดทํ้าการไวเ้กดิความเสียหายจนตอ้งเรมิการทําใหม่ และไม่สามารถหาวัสดุไดเ้นืองจากปัญหาในเรอืงนําป่าและดินถล่มในเสน้ทางทําการวิจัย มปัีญหาดา้นลมพายุทพีัดเขา้มาในเดือน

Page 45: รายงานฉบับสมบูรณ · 2012-04-05 · รายงานฉบับสมบูรณ การวิจัยศึกษาการผลิตต

47

กุมภาพันธ์ทําใหโ้รงเรอืนทีสรา้งไวไ้ดรั้บความเสยีหายทังหมดจงึตอ้งรอการสรา้งใหม่ ซงึปัญหาทังหมดนีทําใหก้ารวิจัยชา้กว่าทีไดก้าํหนดไวม้ากจึงมีความจําเป็นตอ้งต่อเวลาออกไปจนถงึ วันที 30 เมษายน 2555

แนวทางการแกไ้ข :

ขอขยายเวลา

เอกสารแนบ :

บันทกึโดย : น.ส.ปณิดา กันถาดe-mail : [email protected]

รอการตรวจสอบ