เอกสารประกอบค...

798

Upload: others

Post on 06-Jan-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • เอกสารประกอบค าสอน วิชาการจดัการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และส่ิงแวดล้อม

    ผูช้ว่ยศาสตราจารย ์ดร.สรุชันี เคนสโุพธิ ์ปรด.(การพฒันาทรพัยากรมนุษย)์

    คณะวทิยาการจดัการ มหาวทิยาลยัราชภฏัอุดรธานี

    2560

  • ค าน า

    การจดัการความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิง่แวดลอ้ม เป็นการก าหนดขึน้โดยรฐับาลใหเ้ป็นไปตามมาตรฐานสากลขององคก์ารแรงงานระหว่างประเทศ และใหส้ถานประกอบกจิการทีน่ายจา้งมกีารด าเนินธุรกจิดว้ยการท างานกบัเครือ่งจกัร เครือ่งมอื อุปกรณ์และเทคโนโลย ีและลูกจา้งที่ต้องปฏบิตัเิกี่ยวขอ้งกบัสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกดิขึน้ในสถานประกอบการ ซึ่งการออกพระราชบัญญัติความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการท างาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้เลง็เห็นถึงความส าคญัของแรงงานที่ต้องได้รบัความคุ้มครองในด้านการท างานในสถานประกอบการ ดงันัน้ เอกสารประกอบค าสอนรายวชิา การจดัการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสิ่งแวดล้อม เป็นรายวิชาที่ก าหนดไว้ในการเรียนการสอนระดับปรญิญาตรหีลกัสูตรบรหิารธุรกิจ สาขาวชิาการบรหิารทรพัยากรมนุษย ์คณะวทิยาการจดัการ มหาวทิยาลยัราชภฏัอุดรธานี รายวชิาการจดัการความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิง่แวดลอ้ม ได้มกีารก าหนดเนื้อหาที่ใช้ในการเรยีนการสอนโดยมเีนื้อหาประกอบด้วย ความรู้เบื้องต้นเกีย่วกบัความปลอดภยั และอาชวีอนามยั การบรหิารจดัการความปลอดภยั และอาชวีอนามยัในการท างาน การสอบสวน และวิเคราะห์อุบตัิเหตุ สุขภาพอนามยัและความปลอดภยัในการท างาน การบรหิารกฎหมายที่เกี่ยวขอ้งกบัความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสภาพแวดลอ้มในการท างาน วศิวกรรมความปลอดภยัเบือ้งต้น การจดัการความเสีย่งดา้นความปลอดภยัในการท างาน พฤตกิรรมความปลอดภยัในการท างาน องคก์ารอาชวีอนามยัและความปลอดภยั ระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยั และระบบการจดัการสิง่แวดลอ้ม เพื่อใหก้ารจดัการเรยีนสอนเป็นไปมาตรฐานกรอบประกนัคุณภาพการศกึษาและประสทิธภิาพของการเรยีนการสอนเนื้อหารายวชิาในแต่ละบทจงึมคีวามครอบคลุมถงึประโยชน์ต่อนักศกึษา นายจา้ง ลูกจา้ง ทีจ่ะน ามาประกอบการเรยีนรู ้ทัง้เนื้อหา ทฤษฎ ีหลกัการ ขอ้ก าหนด กฎหมายที่เกี่ยวขอ้งกบัการจดัการความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิง่แวดลอ้มในการท างาน ขา้พเจา้หวงัว่าเอกสารประกอบค าสอน วชิาการจดัการความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิง่แวดล้อม จะเป็นประโยชน์อย่างยิง่ หากเอกสารค าสอนนี้มขี้อผดิพลาดบกพร่องสิง่ใดผูจ้ดัท าขอน้อมรบั และจะน าไปปรบัปรงุต่อไป

    สุรชันี เคนสุโพธิ ์ ธนัวาคม 2560

  • (2)

    แผนบริหารการสอนประจ าวิชา

    รหสัวิชา HR 11204

    ช่ือรายวิชา การจดัการความปลอดภยั อาชวีอนามยัและสิง่แวดลอ้ม 3(2-2-5)

    ค าอธิบายรายวิชา ศึก ษ า โ ค ร ง ส ร้า ง ก า ร บ ริห า ร จัด ก า ร ห น่ ว ย ง า น ค ว า ม ป ล อ ด ภัย ใ น โ ร ง ง า น และสภาพแวดล้อมของการท างานภายในอุตสาหกรรมการผลติและบรกิาร การจดัการความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิ่งแวดล้อมในการท างาน มาตรการป้องกนัภยั บทบาท หน้าที ่ และความรบัผดิชอบของเจา้หน้าที่ความปลอดภยัในโรงงานตามกฎหมายก าหนด ความส าคญัของอุบตัเิหตุ การประเมนิความเสี่ยง การรายงานและสอบสวนการเกดิอุบตัเิหตุในการท างาน การจดัท าตวัอย่างแผนการจดัการความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิง่แวดล้อมประจ าปีของโรงงานอุตสาหกรรม

    วตัถปุระสงคท์ัว่ไป 1. เพื่อใหน้ักศกึษามคีวามรู ้ และเขา้ใจเกี่ยวกบัโครงสรา้งการบรหิารจดัการหน่วยงานความปลอดภยั และสภาพแวดลอ้มของการท างานภายในอุตสาหกรรมการผลติและบรกิาร การจดัการความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิง่แวดลอ้มในการท างาน 2. เพื่อให้นักศึกษามคีวามรู ้และเขา้ใจถึงมาตรการป้องกนัภยั บทบาท หน้าที่ และความรบัผดิชอบของเจา้หน้าทีค่วามปลอดภยัในโรงงานตามกฎหมาย และกฎหมายทีเ่กี่ยวขอ้งกบัความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิง่แวดลอ้ม 3. เพื่อใหน้กัศกึษามคีวามรู ้และเขา้ใจเกีย่วกบัองคก์รดา้นความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิง่แวดลอ้มในการท างาน 4. เพื่อใหน้กัศกึษามคีวามรู ้และเขา้ใจถงึการเกดิอุบตัเิหตุ การประเมนิความเสีย่ง การรายงานและสอบสวนการเกิดอุบัติเหตุในการท างาน และการจดัท าแผนการจดัการความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิง่แวดลอ้มประจ าปีของโรงงานอุตสาหกรรมรวมทัง้การศกึษาดูงานเกีย่วกบัความปลอดภยัอาชวีอนามยั และสิง่แวดลอ้มในโรงงานอุตสาหกรรม

  • (3)

    เน้ือหา

    บทที ่1 ความรูเ้บือ้งตน้เกี่ยวกบัความปลอดภยั และอาชวีอนามยั 4 ชัว่โมง แนวคดิ ความเป็นมา เกีย่วกบัความปลอดภยั และ อาชวีอนามยั ความหมาย และความส าคญัของความปลอดภยั และอาชวีอนามยั วตัถุประสงค ์และประโยชน์ของความปลอดภยั และอาชวีอนามยั ขอบเขต และเป้าหมายของงานดา้นความปลอดภยั และอาชวีอนามยั บุคลากรทีเ่กี่ยวขอ้งกบังานดา้นความปลอดภยั และอาชวีอนามยั หน่วยงานทีเ่กี่ยวขอ้งกบังานความปลอดภยั และอาชวีอนามยั หน่วยงานดา้นความปลอดภยั และอาชวีอนามยัระหว่างประเทศ สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ บทที ่2 การบรหิารจดัการความปลอดภยัและอาชวีอนามยัในการท างาน 4 ชัว่โมง

    แนวคดิ ความหมาย ความส าคญั กระบวนการ หลกัการ และวตัถุประสงคข์อง การบรหิารจดัการ

    หลกัการ และแนวคดิในการบรหิารจดัการงานความปลอดภยั และอาชวีอนามยั หลกัการบรหิารจดัการงานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั

    รปูแบบความปลอดภยัในองคก์าร รปูแบบของผูน้ าดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั

    โครงสรา้งการบรหิารจดัการหน่วยงานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั นโยบายในดา้นการบรหิารจดัการความปลอดภยัและอาชวีอนามยั

    ปัจจยัทีม่ผีลกระทบต่อการบรหิารจดัการความปลอดภยัและอาชวีอนามยั แผนงานและกจิกรรมในดา้นการบรหิารจดัการความปลอดภยัและอาชวีอนามยั สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

    บทที ่3 การสอบสวน และวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ 4 ชัว่โมง แนวคดิเกีย่วกบัการเกดิอุบตัเิหตุ

    ความหมาย และความส าคญัของอุบตัเิหตุ ทฤษฎทีีเ่กีย่วขอ้งกบัอุบตัเิหตุ

  • (4)

    บทที ่3 การสอบสวน และวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ(ต่อ) การสอบสวนอุบตัเิหตุ ความส าคญั วตัถุประสงค ์และการสอบสวนอุบตัเิหตุ หลกัและวธิกีารสอบสวนอุบตัเิหตุ บนัทกึการรายงานการสอบสวนอุบตัเิหตุ การวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ ความส าคญั และวตัถุประสงคข์องการวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ แนวทางการวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ การประเมนิค่าทางสถติขิองอุบตัเิหตุ ความส าคญั และวตัถุประสงคข์องการการประเมนิค่าของอุบตัเิหตุ

    สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

    บทที ่4 สุขภาพอนามยัและความปลอดภยัในการท างาน 4 ชัว่โมง แนวคดิเกีย่วกบัสุขภาพและความปลอดภยัในการท างาน ความหมาย และความส าคญัของสุขภาพและความปลอดภยั ระบบการคุม้ครองสุขภาพอนามยัและความปลอดภยัในการท างาน

    สภาพและสาเหตุของสุขภาพและความไม่ปลอดภยัในการท างาน อนัตรายและการป้องกนัอนัตรายจากสภาพแวดลอ้มในการท างาน อุปกรณ์ป้องกนัอนัตรายในการท างานส่วนบุคคล โรคทีเ่กดิจากการท างานทีม่ผีลต่อสุขภาพ การเสรมิสรา้งสุขภาพและความปลอดภยัในการท างาน สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

    บทที ่5 การบรหิารกฎหมายทีเ่กีย่วขอ้งกบัความปลอดภยั อาชวีอนามยั 4 ชัว่โมง และสภาพแวดลอ้มในการท างาน

    พระราชบญัญตัคิุม้ครองแรงงาน การบรหิารกฎหมายเกีย่วกบัความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสภาพแวดลอ้ม ในการท างาน

    ขอบเขตของการบงัคบัใชก้ฎหมายความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสภาพแวดลอ้ม ในการท างาน

  • (5)

    บทที ่5 การบรหิารกฎหมายทีเ่กีย่วขอ้งกบัความปลอดภยั อาชวีอนามยั(ต่อ) กองทุนเงนิทดแทน หน่วยงานภาครฐัทีเ่กีย่วขอ้งกบัความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสภาพแวดลอ้ม ในการท างาน

    หน่วยงาน สมาคม และองคก์รอื่น ทีเ่กีย่วขอ้งกบังานความปลอดภยั และอาชวีอนามยั สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

    บทที ่6 วศิวกรรมความปลอดภยัเบือ้งตน้ 4 ชัว่โมง แนวคดิของวศิวกรรมความปลอดภยั ความหมาย และความส าคญัของ วศิวกรรมความปลอดภยั ความหมาย ความส าคญั วตัถุประสงค ์และประโยชน์ของการวางผงัโรงงาน ประเภทของการวางผงัโรงงานเพื่อความปลอดภยั ปัจจยัในการวางผงัโรงงาน ความรูเ้บือ้งตน้เกี่ยวกบัการเกดิอคัคภียั องคป์ระกอบของการเกดิอคัคภียั หลกัการและแนวทางการระงบัอคัคภียั ระบบและอุปกรณ์ทีเ่กีย่วขอ้งในการระงบัอคัคภียั ชนิดและประเภทของเครือ่งและอุปกรณ์ในการดบัเพลงิ สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

    บทที ่7 การจดัการความเสีย่งดา้นความปลอดภยัในการท างาน 4 ชัว่โมง แนวคดิ ความหมายของการจดัการความเสีย่ง กรอบของการจดัการความเสีย่ง ขอ้ก าหนดและกระบวนการในการบรหิารความเสีย่ง การรบัรูส้มัผสัความเสีย่ง

    การบ่งชีอ้นัตรายและการประเมนิความเสีย่ง ประเภทความเสีย่ง การวเิคราะหค์วามเสีย่ง

  • (6)

    บทที ่7 การจดัการความเสีย่งดา้นความปลอดภยัในการท างาน (ต่อ) หลกัเกณฑท์ีใ่ชใ้นการประเมนิ และการพจิารณาตอบสนองต่อความเสีย่งอนัตรายกระบวนการจดัการความเสีย่ง การบ าบดัความเสีย่ง การเฝ้าระวงั และการทบทวน

    สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

    บทที ่8 พฤตกิรรมความปลอดภยัในการท างาน 4 ชัว่โมง แนวคดิเกีย่วกบัพฤตกิรรมมนุษย ์ พืน้ฐานการเกดิพฤตกิรรมมนุษย ์ ทฤษฎเีกีย่วขอ้งในการพฒันาพฤตกิรรมมนุษย์ พฤตกิรรมมนุษยเ์พื่อความปลอดภยัในการท างาน

    รปูแบบผูน้ าดา้นความปลอดภยัและวฒันธรรม บรรยากาศในการท างาน รปูแบบทมีงานความปลอดภยัในสถานประกอบการ รปูแบบการท างานเป็นทมีทีม่ผีลต่อความปลอดภยัในการท างาน สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

    บทที ่9 กจิกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภยัในการท างาน 4 ชัว่โมง แนวคดิและความหมายเกีย่วกบักจิกรรม 5ส. วตัถุประสงคข์องการท ากจิกรรม 5ส.

    เป้าหมายองคก์ารในการจดัด าเนินงานกจิกรรม 5ส. ความส าคญัของการด าเนินงานกจิกรรม 5ส.

    ประโยชน์ทีไ่ดจ้ากการด าเนินงานกจิกรรม 5ส. ปัจจยัส าคญัทีม่ผีลต่อความส าเรจ็ในการท ากจิกรรม 5ส. ขัน้ตอนการด าเนินการกจิกรรม 5ส. องคป์ระกอบของกจิกรรม 5ส. สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

  • (7)

    บทที ่10 องคก์ารอาชวีอนามยัและความปลอดภยั 4 ชัว่โมง บทบาทของผูท้ีเ่กีย่วขอ้งในงานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั หน้าทีข่องผูท้ีเ่กีย่วขอ้งในงานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั การจดัองคก์รความปลอดภยัและอาชวีอนามยั รปูแบบการจดัตัง้องคก์รความปลอดภยัและอาชวีอนามยั คณะกรรมการความปลอดภยัในการท างาน การสื่อสารเพื่อความปลอดภยั สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

    บทที ่11 ระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยั 4 ชัว่โมง ความรูท้ ัว่ไปเกีย่วกบัระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยั

    ขอ้ก าหนดทัว่ไปว่าดว้ยหลกัเกณฑแ์ละเงือ่นไขในการรบัรองระบบการบรหิารจดัการ- อนุกรมมาตรฐาน มอก.18000 ระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยัตามมาตรฐาน มอก.18001 ขัน้ตอนการจดัท าระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยั (มอก.18001) การประยกุตใ์ชม้าตรฐานมาตรฐานระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยั ประโยชน์ทีไ่ดร้บัจากมาตรฐานมาตรฐานระบบการจดัการอาชวีอนามยั และความปลอดภยั

    ระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยัตาม ILO-OSH 2001 สรปุ แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

    บทที ่12 ระบบการจดัการสิง่แวดลอ้ม 4 ชัว่โมง ความรูท้ ัว่ไปเกีย่วกบัการจดัการระบบสิง่แวดลอ้ม

    ระบบ Eco-Management and Audit Scheme (EMAS) อนุกรมมาตรฐานการจดัการสิง่แวดลอ้ม ISO 14000 ระบบการจดัการสิง่แวดลอ้มตามมาตรฐานสากล ISO 14001 ระบบการจดัการสิง่แวดลอ้มตามมาตรฐานสากล ISO 14001 ฉบบั พ.ศ. 2547

    กฎหมายเกี่ยวกบัการจดัการระบบสิง่แวดลอ้ม สรปุ

  • (8)

    บทที ่12 ระบบการจดัการสิง่แวดลอ้ม(ต่อ) แบบฝึกหดั เอกสารอา้งองิ

    วิธีสอนและกิจกรรม 1. การบรรยายในชัน้เรยีน 2. ผูเ้รยีนน าเสนอกจิกรรมปฏบิตัจิรงิ (สถานการณ์จ าลอง) 3. แบ่งกลุ่มปฏบิตัแิละอภปิราย 4. การคน้ควา้เรยีนรูด้ว้ยตนเอง 5. วเิคราะหก์รณศีกึษา 6. แบบฝึกปฏบิตั ิ

    ส่ือการเรียนการสอน 1. เอกสารค าสอนวชิาการจดัการความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสิง่แวดลอ้ม 2. หนงัสอื/ต ารา 3. ภาพนิ่ง (power-point) 4. วดิทีศัน์

    การวดัและประเมินผล การวดัผล 1. ฝึกปฏบิตัจิรงิ (สถานการณ์จ าลอง) 20 คะแนน 2. แบบฝึกปฏบิตัแิละวเิคราะหก์รณศีกึษา 10 คะแนน 3. ทดสอบยอ่ย 10 คะแนน 4. สอบกลางภาค 30 คะแนน 5. สอบปลายภาค 30 คะแนน

  • (9)

    การประเมินผล คะแนนระหว่าง ความหมายของผลการเรียน ระดบัคะแนน

    80 - 100 ดเียีย่ม A 75 - 79 ดมีาก B+ 70 - 74 ด ี B 65 - 69 ดพีอใช ้ C+ 60 - 64 พอใช ้ C 55 - 59 ออ่น D+ 50 - 54 ออ่นมาก D 0 - 49 ไมผ่า่น F

  • (10)

  • (11)

    สารบญั

    หน้า

    ค าน า……………………………………………………………………………………………. (1) แผนบรหิารการสอนประจ าวชิา………………………………………………………………… (2) สารบญั…………………………………………………………………………………………. (11) สารบญัภาพ…………………………………………………………………………………..... (19) สารบญัตาราง ………………………………………………………………………………... (23)

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่1……………………………………………………………..… 1 บทที ่1 ความรูเ้บือ้งตน้เกี่ยวกบัความปลอดภยั และอาชวีอนามยั…………………………….. 3 แนวคดิเกีย่วกบัความปลอดภยั และอาชวีอนามยั …………………………………….. 4 ความเป็นมาเกีย่วกบัความปลอดภยั และอาชวีอนามยั………………………………... 5 ความหมายของความปลอดภยั และอาชวีอนามยั…………………………………….. 15 ความส าคญัของความปลอดภยั และอาชวีอนามยั…………………………………… . 22 วตัถุประสงคข์องความปลอดภยั และอาชวีอนามยั…………………………………… 24 ประโยชน์ของความปลอดภยั และอาชวีอนามยั………………………………………. 25 เป้าหมายของงานดา้นความปลอดภยั และอาชวีอนามยั……………………………... 27 ขอบเขตของงานดา้นความปลอดภยั และอาชวีอนามยั……………………………… . 28 บุคลากรทีเ่กี่ยวขอ้งกบังานดา้นความปลอดภยั และอาชวีอนามยั…………………… 30 หน่วยงานทีเ่กี่ยวขอ้งกบังานความปลอดภยั และอาชวีอนามยั………………………. 32 หน่วยงานดา้นความปลอดภยั และอาชวีอนามยัระหว่างประเทศ……………………. 49 สรปุ………….…………………………………………………………………………. . 54 แบบฝึกหดั................…………………………………………………………………. 56 เอกสารอา้งองิ…………………………………………………………………………... 57

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่2……………………………………………………………… 59 บทที ่2 การบรหิารจดัการความปลอดภยัและอาชวีอนามยัในการท างาน……………………. 61

    แนวคดิในการบรหิารจดัการ…………………………………………………………… 61 ความหมายของการบรหิารจดัการ…………………………………………………...... 63 ความส าคญัของการบรหิารจดัการ…………………………………………………….. 69

  • (12)

    สารบญั (ต่อ) หน้า

    บทที ่2 การบรหิารจดัการความปลอดภยัและอาชวีอนามยัในการท างาน (ต่อ) หลกัการในการบรหิารจดัการ………………………………………………………….. 70 กระบวนการในการบรหิารจดัการ ……………………………………………………… 76 แนวคดิในการบรหิารจดัการงานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั………………. 79 ความหมายของการบรหิารจดัการงานความปลอดภยัและอาชวีอนามยั…………….. 82

    แนวคดิพืน้ฐานของการบรหิารจดัการความปลอดภยัและอาชวีอนามยั……………… 82 การเปลีย่นแปลงกบัการบรหิารจดัการงานความปลอดภยัและอาชวีอนามยั ……….. 84 หลกัการบรหิารจดัการงานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั……………………. 88

    โครงสรา้งหน่วยงานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั…………………………… 97 นโยบายความปลอดภยัและอาชวีอนามยั……………………………………………. 104 แผนงานความปลอดภยัและอาชวีอนามยั……………………………………………. 114

    กระบวนการบรหิารจดัการแผนงานความปลอดภยัและอาชวีอนามยั………………. 117 กจิกรรมดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั………………................................. 120 สรปุ……….…………………………………………………………………………… 128 แบบฝึกหดั……………………………………………………………………………. 130 เอกสารอา้งองิ…………………………………………………………………………. 131

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่3…………………………………………………………….. 133 บทที ่3 การสอบสวน และวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ………………………………………………….. 135 แนวคดิของการเกดิอุบตัเิหตุ………………………………………………………….. 135

    ความหมายของอุบตัเิหตุ ……………………………………………………………… 136 ความส าคญัของอุบตัเิหตุ……………………………………………………………… 139 ทฤษฎทีีเ่กีย่วขอ้งกบัการเกดิอุบตัเิหตุ……………………………………………….. 144 สาเหตุของการเกดิอุบตัเิหตุของมนุษย…์…………………………………………... 147 การสอบสวนอุบตัเิหตุ…………………………………………………………………. 167 ความส าคญัของการสอบสวนอุบตัเิหตุ……………………………………………….. 167

    วตัถุประสงคข์องการสอบสวนการเกดิอุบตัเิหตุ……………………………………… 168 หลกัและวธิกีารสอบสวนอุบตัเิหตุ…………………………………………………….. 169

  • (13)

    สารบญั (ต่อ) หน้า

    บทที ่3 การสอบสวน และวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ (ต่อ) บนัทกึการรายงานการสอบสวนอุบตัเิหตุ……………………………………………. 181 การวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ………………………………………………………………… 182 ความส าคญั และวตัถุประสงคข์องการวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ…………………………… 187 แนวทางการวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ……………………………………………………….. 188 การประเมนิค่าทางสถติขิองอุบตัเิหตุ………………………………………………… 196

    สรปุ…………………………………………………………………..……………….. 200 แบบฝึกหดั……………………………………………………………………………. 202 เอกสารอา้งองิ…………………………………………………………………………. 203

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่4……………………………………………………………. 205 บทที ่4 สุขภาพอนามยัและความปลอดภยัในการท างาน…………………………………… 207 แนวคดิเกีย่วกบัสุขภาพและความปลอดภยัในการท างาน………………………….. 208 ความหมายของสุขภาพอนามยัและความปลอดภยั………………………………… 208 ความส าคญัของสุขภาพอนามยัและความปลอดภยั………………………………… 212 ระบบการคุม้ครองสุขภาพอนามยัและความปลอดภยัในการท างาน ………………. 213 ปัญหาสุขภาพจากการท างาน………………………………………………………… 217 โรคทีเ่กดิจากการท างานทีม่ผีลต่อสุขภาพ …………………………………………… 220 อนัตรายและการป้องกนัอนัตรายจากสภาพแวดลอ้มในการท างาน………………… 227 ความหมายและความส าคญัของอุปกรณ์ป้องกนัอนัตรายส่วนบุคคล ……………… 241 การเสรมิสรา้งสุขภาพและความปลอดภยัในการท างาน……………………………. 264 สรปุ……………………………………………………………………………………. 267 แบบฝึกหดั………………………………………………………………................... 269 เอกสารอา้งองิ…………………………………………………………………………. 270

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่5……………………………………………………………. 273 บทที ่5 การบรหิารงานกฎหมายเกี่ยวกบัความปลอดภยั และอาชวีอนามยัในการท างาน…. 275

    พระราชบญัญตัคิุม้ครองแรงงาน พ.ศ. 2541………………………………….…….. 279 การบรหิารงานกฎหมายความปลอดภยัความปลอดภยั อาชวีอนามยั และ สภาพแวดลอ้มในการท างาน…………………………………………………………. 297

  • (14)

    สารบญั (ต่อ) หน้า

    บทที ่5 การบรหิารงานกฎหมายเกี่ยวกบัความปลอดภยั และอาชวีอนามยัในการท างาน (ตอ่) พระราชบญัญตั ิเงนิทดแทน พ.ศ. 2537……………………………………………. 319

    หน่วยงานภาครฐัทีเ่กีย่วขอ้งกบัความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสภาพแวดลอ้ม ในการท างาน………………………………………………………………………….. 324 หน่วยงาน สมาคม และองคก์รอื่นทีเ่กีย่วขอ้งกบังานความปลอดภยั

    และอาชวีอนามยั……………………………………………………………………… 327 สรปุ…………….……………………………………………………………………… 330 แบบฝึกหดั……………………………………………………………………………. 332 เอกสารอา้งองิ………………………………………………………………………… 333

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่6……………………………………………………………. 335 บทที ่6 วศิวกรรมความปลอดภยัเบือ้งตน้……………………………………………………. 336 แนวคดิของวศิวกรรมความปลอดภยั………………………………………………… 338 ความหมายของวศิวกรรมความปลอดภยั …………………………………………… 339 ความส าคญัของวศิวกรรมความปลอดภยั………………………………………….... 339 ความหมายของการวางผงัโรงงาน…………………………………………………… 342 ความส าคญัของการวางผงัโรงงาน…………………………………………………… 345 วตัถุประสงคข์องการวางผงัโรงงาน………………………………………………….. 346 ประโยชน์ของการวางผงัโรงงาน…………………………………………………….. 349 ขัน้ตอนการวางผงัโรงงาน……………………………………………………………. 363 ระบบการวางผงัโรงงาน ……………………………………………………………. 369 ความหมายของอคัคภียั………………………………………………………………. 373 องคป์ระกอบของการเกดิอคัคภียั ……………………………………………………. 374 สาเหตุและผลกระทบจากอคัคภียั ……………………………………………………. 377 แหล่งก าเนิดของอคัคภียั …………………………………………………………….. 377 หลกัการและแนวทางป้องกนัอคัคภียั………………………………………………... 380 แผนป้องกนัและระงบัอคัคภียั………………………………………………………… 401 บทสรปุ………………………………………………………………………………… 411 แบบฝึกหดั…………………………………………………………………………….. 413

  • (15)

    สารบญั (ต่อ) หน้า บทที ่6 วศิวกรรมความปลอดภยัเบือ้งตน้ (ต่อ) เอกสารอา้งองิ…………………………………………………………………………. 414

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่7…………………………………………………………….. 417 บทที ่7 การจดัการความเสีย่งดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั………………………... 419 แนวคดิเกีย่วกบัการจดัการความเสีย่ง………………………………………………. 419 ความหมายของการจดัการความเสีย่ง……………………………………………….. 421 การรบัรูส้มัผสัความเสีย่ง …………………………………………………………….. 423 องคป์ระกอบรายงานการบรหิารจดัการความเสีย่ง…………………………………. 439 กระบวนการประเมนิความเสีย่ง……………………………………………………… 441 การพฒันาระบบและขอ้ก าหนดการจดัการความเสีย่ง……………………………... 443 ขอ้ก าหนดและกระบวนการจดัการความเสีย่ง………………………………………. 448 การบ่งชีอ้นัตรายและการประเมนิความเสีย่ง………………………………………... 455 หลกัเกณฑท์ีใ่ชใ้นการประเมนิ และการพจิารณาตอบสนองต่อความเสีย่งอนัตราย.. 462 กระบวนการจดัการความเสีย่ง……………………………………………………….. 474 การบ าบดัความเสีย่ง การเฝ้าระวงั และการทบทวน………………………………… 476 บทสรปุ………………………………………………………………………………… 480 แบบฝึกหดั…………………………………………………………………………….. 482 เอกสารอา้งองิ…………………………………………………………………………. 483

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่8……………………………………………………………. 485 บทที ่8 พฤตกิรรมความปลอดภยัในการท างาน……………………………………………… 487 แนวคดิและทฤษฎเีกีย่วกบัความปลอดภยัในการท างาน…………………………... 487 ความหมายของพฤตกิรรม…………………………………………………………… 488 เป้าหมายและความส าคญัของการศกึษาพฤตกิรรม………………………………… 490 วธิกีารศกึษาพฤตกิรรม………………………………………………………………. 491 องคป์ระกอบของพฤตกิรรม………………………………………………………….. 492 ประเภทของพฤตกิรรม………………………………………………………………. 493

  • (16)

    สารบญั (ต่อ) หน้าบทที ่8 พฤตกิรรมความปลอดภยัในการท างาน (ต่อ) สิง่ทีก่ าหนดพฤตกิรรมมนุษย…์……………………………………………………… 499 ระดบัพฤตกิรรมและการวดัพฤตกิรรม……………………………………………….. 501 ทฤษฎเีกีย่วขอ้งในการพฒันาพฤตกิรรมมนุษย์…………………………………….. 503 ความหมายของพฤตกิรรมความปลอดภยัในการท างาน…………………………… 511 พฤตกิรรมมนุษยเ์พื่อความปลอดภยัในการท างาน…………………………………. 514 หลกัการทางพฤตกิรรมการบรหิารเพื่อความปลอดภยัในการท างาน………………. 515 การส่งเสรมิพฤตกิรรมความปลอดภยั……………………………………………….. 518 รปูแบบการท างานเป็นทมีทีม่ผีลต่อความปลอดภยัในการท างาน………………….. 527 สแีละเครือ่งหมายเพื่อความปลอดภยั……………………………………………….. 529 บทสรปุ………………………………………………………………………………… 536 แบบฝึกหดั…………………………………………………………………………….. 538 เอกสารอา้งองิ…………………………………………………………………………. 539

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่9 …………………………………………………………... 541 บทที ่9 กจิกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภยัในการท างาน ................................................... 543

    แนวคดิ และความหมายเกี่ยวกบักจิกรรม .......................................................... 544 วตัถุประสงคข์องการท ากจิกรรม 5ส. …………………………………………….. 545

    เป้าหมายองคก์ารในการจดัด าเนินงานกจิกรรม 5ส. ………………………………. 546 ความส าคญัของการด าเนินงานกจิกรรม 5ส. ....................................................... 547

    ประโยชน์ทีไ่ดจ้ากการด าเนินงานกจิกรรม 5ส. .................................................... 547 ปัจจยัส าคญัทีม่ผีลต่อความส าเรจ็ในการท ากจิกรรม 5ส. .................................... 549 ขัน้ตอนการด าเนินการกจิกรรม 5ส. ……………………………………………….. 551 องคป์ระกอบของกจิกรรม 5ส. ……………………………………………………… 554 สรปุ .................................................................................................................. 578 แบบฝึกหดั.......................................................................................................... 579 เอกสารอา้งองิ ..................................................................................................... 580

  • (17)

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่10………………………………………………………….. 581 บทที ่10 องคก์ารอาชวีอนามยัและความปลอดภยั ……………………………….............. 583 หน่วยงานทีม่หีน้าที ่และรบัผดิชอบเกีย่วกบัความความปลอดภยั และอาชวีอนามยั…………………………………………………………………….... 584 บทบาทของผูท้ีเ่กีย่วขอ้งงานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั………………… 590 รปูแบบการจดัโครงสรา้งองคก์าร…………………………………………………….. 601 หน่วยงานหลกั และหน่วยงานสนับสนุน …………………………………………….. 605 คณะกรรมการความปลอดภยัในการท างาน…………………………………………. 607 การสื่อสารเพื่อความปลอดภยัในการท างาน…………………………………………. 614 ความหมายของการสื่อสารเพื่อความปลอดภยั………………………………………. 615 วตัถุประสงคข์องการสื่อสารเพื่อความปลอดภยั……………………………………... 615 ความส าคญัของการสื่อสารเพื่อความปลอดภยั…………………………………….... 616 อุปสรรคในการสื่อสารเพื่อความปลอดภยั ………………………………………….. 616 สรปุ……………………………………………………………………………………. 617 แบบฝึกหดั……………………………………………………………………………. 619 เอกสารอา้งองิ…………………………………………………………………………. 620

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่11…………………………………………………………… 621 บทที ่11 ระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยั………………………………….. 623 วตัถุประสงคข์องระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยั .……………….. 624 ความส าคญัของระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยั…………………. 625 แนวคดิมาตรฐานระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยั ……………….. 627 ระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยัตามมาตรฐาน มอก.18001…….. 630 ระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยัตาม ILO – OSH 2001………… 640 สรปุ……………………………………………………………………………………. 644 แบบฝึกหดั……………………………………………………………………………. 646 เอกสารอา้งองิ…………………………………………………………………………. 647

  • (18)

    แผนบรหิารการสอนประจ าบทที ่12…………………………………………………………… 649 บทที ่12 ระบบการจดัการสิง่แวดลอ้ม………………………………………………………… 651 ความหมายของการจดัการเชงิระบบ…………………………………………………. 653 ระบบ Eco-Management and Audit Scheme (EMAS)…………………………… 655 มาตรฐานในอนุกรมมาตรฐานการจดัการสิง่แวดลอ้ม ISO 14000…………………. 661 ระบบการจดัการสิง่แวดลอ้มตามมาตรฐานสากล ISO 14001……………………… 670 การจดัท าระบบการจดัการสิง่แวดลอ้ม ISO 14001…………………………………. 672 แนวคดิและสาระส าคญัของระบบการจดัการสิง่แวดลอ้มตามมาตรฐาน ISO 14001: 2015……………………………………………………………………..680 สรปุ……………………………………………………………………………………. 686 แบบฝึกหดั…………………………………………………………………………….. 688 เอกสารอา้งองิ………………………………………………………………………… 689 เอกสารอา้งองิ…………………………………………………………………………………. 691 ภาคผนวก…………………………………………………………………………………….. 703 ภาคผนวก ก .................................................................................................................. 704 ภาคผนวก ข ................................................................................................................. 725ภาคผนวก ค ................................................................................................................. 744ภาคผนวก ง .................................................................................................................. 762

  • (19)

    สารบญัภาพ ภาพท่ี หน้า 1.1 องคป์ระกอบของงานความปลอดภยัและอาชวีอนามยั……………………………… 20 1.2 ขอบเขตความสมัพนัธข์องงานดา้นความปลอดภยั และอาชวีอนามยั……………… 30 2.1 บทบาทหน้าทีข่ ัน้พืน้ฐานของผูบ้รหิารหรอืผูจ้ดัการในการบรหิารจดัการ………….. 69 2.2 ระดบัของผูบ้รหิาร…………………………………………………………………….. 74 2.3 ทกัษะของผูบ้รหิาร……………………………………………………………………. 76 2.4 กระบวนการบรหิารจดัการ ตามแนวคดิของ Luther Gulick และ Lymdall Urwick.. 78 2.5 รปูแบบความปลอดภยัในองคก์าร……………………….…………………………... 95 2.6 โครงสรา้งหน่วยงานความปลอดภยัและอาชวีอนามยั………………………………. 103 2.7 วงจร PDCA ในการพฒันาแผนงานความปลอดภยัและอาชวีอนามยั……………… 120 3.1 ภาพจ าลองการเกดิอุบตัเิหตุตามทฤษฎโีดมโิน ของ Heinrich……………………… 146 3.2 ปัจจยัทีเ่กดิความผดิพลาดของมนุษย…์……………………………………………… 147 3.3 ทฤษฎปัีจจยัมนุษย…์…………………………………………………………………. 148 3.4 แบบจ าลองของทฤษฎอุีบตัเิหตุ/อุบตักิารณ์ของปีเตอรเ์ซน…………………………. 150 3.5 แบบจ าลองของทฤษฎรีะบาดวทิยา………………………………………………….. 152 3.6 แบบจ าลองของทฤษฎรีะบบ………………………………………………………….. 154 3.7 การเกดิอุบตัเิหตุทีเ่กดิจากสาเหตุพืน้ฐาน………………….………………………… 158 3.8 การเกดิอุบตัเิหตุอนัเนื่องจากการกระท าทีไ่มป่ลอดภยั……………………………… 159 3.9 การเกดิอุบตัเิหตุอนัเนื่องจากสภาพการณ์ทีไ่ม่ปลอดภยั……………………………. 160 3.10 ตวัอยา่งแบบฟอรม์การบนัทกึค าใหส้มัภาษณ์ของพยานในการสอบสวนอุบตัเิหตุ.. 178 3.11 ตวัอยา่งแบบบนัทกึขอ้มลูการวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ…………………………………… 194 3.12 แบบบนัทกึขอ้มลูการวเิคราะหอุ์บตัเิหตุ……………………………………………. 195 4.1 โรคทีเ่กดิจากการท างานในสถานประกอบการ………………….………………….. 222 4.2 หมวกนิรภยัส าหรบัสวมใส่ป้องกนัอนัตรายส่วนบุคคล……….…………………….. 244 4.3 อุปกรณ์ป้องกนัตา…………………………………………………………………..... 246 4.4 อุปกรณ์ป้องกนัอนัตรายส่วนใบหน้า…………………………………………………. 248 4.5 อุปกรณ์ป้องกนัอนัตรายส่วนหู…………..…………………………………………… 249

  • (20)

    สารบญัภาพ (ต่อ) ภาพท่ี หน้า 4.6 อุปกรณ์ป้องกนัมอื นิ้วมอื และแขน………………………………………………….. 251 4.7 อุปกรณ์ป้องกนัเทา้และขา……………………………………………………………. 254 4.8 ชนิดของหน้ากากครอบป้องกนัส่วนใบหน้า…………………………………………. 259 4.9 อุปกรณ์ป้องกนัพเิศษทีใ่ชง้านเฉพาะ………………………………………………… 262 6.1 ทฤษฎภีเูขาน ้าแขง็เกีย่วกบัค่าใชจ้่ายทีเ่กดิจากการเกดิอุบตัเิหตุ……..……………. 341 6.2 เหตุการณ์การเกดิอุบตัเิหตุเนื่องจากวศิวกรรมการก่อสรา้ง………………………… 342 6.3 ทางหนีไฟ และไฟฉุกเฉินทางเดนิช่องหนีไฟ…………..……………………………. 353 6.4 ตวัอยา่งการออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม………………………………………….. 355 6.5 องคป์ระกอบส าคญัของการขนถ่ายวสัดุ……………………………………………... 356 6.6 หลกัการจดัวางผงัโรงงานเพื่อความปลอดภยัในโรงงาน…………………………..... 359 6.7 การตดิตัง้ไฟฉุกเฉินในสถานประกอบการ…………………………………………… 362 6.8 การวางผงัโรงงานแบบตามกระบวนการผลติ……………………………………….. 370 6.9 การวางผงัโรงงานตามชนิดของผลติภณัฑ์………………………………………….. 371 6.10 แสดงลกัษณะการแปรสภาพการผลติสนิคา้แบบผสม……………………………… 372 6.11 แสดงการวางผงัโรงงานแบบชิน้งานอยูก่บัที่………………………………………. 373 6.12 องคป์ระกอบของการเกดิไฟ………………………………………………………… 375 6.13 การแสดงสญัลกัษณ์ไฟประเภทเอ………………………………………………….. 382 6.14 การแสดงสญัลกัษณ์ไฟประเภทบ…ี………………………………………………... 383 6.15 การแสดงสญัลกัษณ์ไฟประเภทซ…ี……………………………………………….. 383 6.16 การแสดงสญัลกัษณ์ไฟประเภทด…ี……………………………………………….. 384 6.17 การแสดงสญัลกัษณ์ไฟประเภทเค…………………………………………………. 384 6.18 เครือ่งดบัเพลงิชนิดกรดโซดา………………………………………………………. 385 6.19 เครือ่งดบัเพลงิชนิดฟองโฟม……………………………………………………….. 386 6.20 เครือ่งดบัเพลงิชนิดฟองโฟม……………………………………………………….. 386 6.21 เครือ่งดบัเพลงิชนิดก๊าซคารบ์อนไดออกไซดห์รอืซโีอทู…………………………… 387 6.22 เครือ่งดบัเพลงิชนิดผงเคมแีหง้……………………………………………………… 388

  • (21)

    สารบญัภาพ (ต่อ) ภาพท่ี หน้า 6.23 เครือ่งดบัเพลงิชนิดน ้ายาเหลวระเหยฮาโลตรอน………………………………….. 388 6.24 ถงัดบัเพลงิเอนกประสงคแ์หง้………………………………………………………. 389 6.25 มาตรวดัเครือ่งดบัเพลงิ……………………………………………………………… 393 6.26 การตดิตัง้เครือ่งดบัเพลงิ……………………………………………………………. 394 6.27 การออกแบบทางดา้นสถาปัตยกรรมกบัการป้องกนัอคัคภียั……………………… 397 6.28 ขัน้ตอนการเกดิไฟซึง่จะเป็นตวัก าหนดอุปกรณ์ตรวจจบัของไฟ………………….. 398 6.29 แสดงอุปกรณ์ระบบสญัญาณแจง้เหตุเพลงิไหม…้…………………………………. 401 7.1 กระบวนการรบัรู…้…………………………………………………………………… 425 7.2 องคป์ระกอบของการสื่อสารความเสีย่ง……………………………………………… 429 7.3 ขัน้ตอนพืน้ฐานของการประเมนิความเสีย่ง…………………………………………. 443 7.4 ภาพรวมระบบการจดัการความเสีย่ง………………………………………………… 448 7.5 กรอบการบรหิารความเสีย่ง………………………………………………………….. 451 7.6 กระบวนการจดัการความเสีย่ง……………………………………………………….. 475 7.7 กระบวนการบ าบดัความเสีย่ง………………………………………………………… 477 8.1 ปิรามดิแสดงล าดบัขัน้ความตอ้งการของมาสโลว์…………………………………… 498 8.2 การวเิคราะหพ์ฤตกิรรมความปลอดภยัตามแนวคดิของสกนิเนอร…์…………….... 505 8.3 ตวัอยา่งการแสดงเครือ่งหมายเสรมิเพื่อความปลอดภยั……………………………. 533 8.4 แสดงเครือ่งหมายเสรมิไวใ้ตเ้ครือ่งหมายเพื่อความปลอดภยั………………………. 534 9.1 ขัน้ตอนการด าเนินการกจิกรรม 5 ส. ................................................................... 553 9.2 หลกัการของสะสาง ............................................................................................ 556 9.3 การขจดัสิง่ของทีไ่มใ่ชแ้ลว้มาจดัใหเ้ป็นหมวดหมูแ่ละมรีะเบยีบเรยีบรอ้ย ............... 557 9.4 ส. สะดวกงา่ยต่อการใชง้านเกีย่วกบัเอกสารต่าง ๆ .............................................. 559 9.5 ส. สะอาดดงูามตาเป็นระเบยีบเรยีบรอ้ย .............................................................. 560 9.6 ส. สุขลกัษณะสถานทีท่ างานหน้าอยู ่.................................................................... 592 9.7 การท ากจิกรรม 5ส ใหป้ระสบความส าเรจ็…………………………………………… 575 10.1 รปูแบบการจดัโครงสรา้งองคก์รตามแนวดิง่………………………………………... 602

  • (22)

    10.2 รปูแบบการจดัโครงสรา้งองคก์รตามแนวนอน……………………………………... 603 10.3 การจดัรปูแบบโครงสรา้งองคก์ารแบบผสมผสาน…………………………............. 604 11.1 รปูแบบมาตรฐานอุตสาหกรรม 18001 – 2542……………………………………. 632 11.2 ขัน้ตอนการพฒันาระบบ มอก.18001…………………………………………….... 635 12.1 วงจรของการจดัการเชงิระบบของ Deming………………………………………… 654 12.2 วงจรของระบบการจดัการสิง่แวดลอ้ม ISO 14001………………………………… 660 12.3 สญัลกัษณ์ของฉลากผลติภณัฑป์ระเภทต่างๆ……………………………………… 667 12.4 ตวัอยา่งฉลากสิง่แวดลอ้มประเภทที ่2 ทีม่ใีชใ้นประเทศไทย……………………… 667 12.5 ตวัอยา่งฉลากเขยีวทีม่ใีชใ้นประเทศไทย…………………………………………… 668 12.6 วงจรของขอ้ก าหนดของระบบการจดัการสิง่แวดลอ้ม ISO 14001………………... 672 12.7 ความสมัพนัธร์ะหว่างวงจร PDCA กบัขอ้ก าหนดมาตรฐาน ISO 14001: 2015…. 682

  • (23)

    สารบญัตาราง

    ตารางท่ี หน้า 2.1 บทบาท หน้าที ่และความรบัผดิชอบของหน่วยงานการจดัองคก์ารบรหิารงาน ดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั ..………………………………………………. 99 3.1 จ านวนลกูจา้งทีป่ระสบอนัตรายหรอืเจบ็ป่วยเนื่องจากการท างานจ าแนกตาม ความรุนแรง ปี 2549 - 2558 ………………………………………………………... 143 3.2 จงัหวดัทีม่อีตัราการประสบอนัตรายในการท างานของลกูจา้ง..…………...………… 144 3.3 จ านวนการประสบอนัตรายหรอืเจบ็ป่วยเนื่องจากการท างาน จ าแนกตามสาเหตุที่ ประสบอนัตราย ..…………………………………………………………………….. 162 3.4 จ านวนการประสบอนัตรายหรอืเจบ็ป่วยอนัเนื่องจากการท างาน จ าแนกตามสิง่ทีท่ า ใหป้ระสบอนัตราย.……………………………………………………...................... 163 3.5 จ านวนการประสบอนัตรายหรอืเจบ็ป่วยอนัเนื่องจากการท างาน จ าแนกตาม อวยัวะทีไ่ดร้บัอนัตราย......................................................................................... 164 3.5 การประสบอนัตรายหรอืเจบ็ป่วยอนัเนื่องจากการท างาน จ าแนกตามผลของการ ประสบอนัตราย................................................................................................... 165 3.6 สาเหตุของการเกดิอุบตัเิหตุ………………………………………………………….. 183 3.7 แสดงจ านวนวนัท างานสญูเสยี……………………………………………………….. 198

    4.1 การก าหนดมาตรฐานความดงัของเสยีง…………………………………………….. 229 4.2 ชนิดของรองเทา้นิรภยัตามความสามารถในการรบัแรงอดัและแรงกระแทก..……… 252 4.3 ส่วนกรองอากาศส าหรบักรองก๊าซ และไอระเหยตามมาตรฐาน..………….............. 258 6.1 การเปรยีบเทยีบขอ้ด ีและขอ้เสยีของการวางผงัโรงงานแบบตามกระบวนการผลติ.. 370 6.2 การเปรยีบเทยีบขอ้ด ีและขอ้เสยีของการวางผงัโรงงานแบบตามชนิดผลติภณัฑ์.... 372 6.3 การเปรยีบเทยีบขอ้ด ีและขอ้เสยีของการวางผงัโรงงานแบบชิน้งานอยูก่บัที่..…….. 373 6.4 แหล่งเกดิเพลงิไหม.้.………………………………………………………………….. 380 6.5 การสงัเกตสขีองกลุ่มควนัทีบ่่งบอกถงึประเภทและชนิดของเชือ้เพลงิทีลุ่กไหม.้.…... 382 6.6 การแสดงชนิด/ประเภทของถงัดบัเพลงิ.……………………………………………... 389 6.7 วธิใีชเ้ครือ่งดบัเพลงิแบบมอืถอื..…………………………………………………….. 392

  • (24)

    สารบญัตาราง (ต่อ)

    7.1 ลกัษณะ (Characteristics) หรอื พารามเิตอร ์(Parameter) ทีส่มัพนัธก์บัปัจจยัการ ยอมรบัความเสีย่ง “กลวั/ไมก่ลวั” และ “รู/้ไม่รู”้……………………………………… 428 7.2 บญัชทีา้ยประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบบัที ่3 (พ.ศ. 2542) เรือ่ง มาตรการ คุม้ครองความปลอดภยัในการด าเนินงาน.............................................................. 438 7.3 การจดัท าบญัชรีายการสิง่ทีเ่ป็นความเสีย่งและอนัตราย……………………………. 440 7.4 ความรนุแรงของเหตุการณ์ ทีส่่งผลกระทบต่อบุคคล ชุมชน ทรพัยส์นิ และสิง่แวดลอ้ม ………………………………………………………………………. 457 7.5 ระดบัความรุนแรงของเหตุการณ์ต่างๆ ทีส่่งผลกระทบต่อชุมชน……………………. 457 7.6 ระดบัความรุนแรงของเหตุการณ์ต่างๆ ทีส่่งผลกระทบต่อทีส่่งผลกระทบ ต่อสิง่แวดลอ้ม .………………………………………………………………………. 458 7.7 ระดบัความรุนแรงของเหตุการณ์ต่างๆ ทีส่่งผลกระทบต่อทีส่่งผลกระทบ ต่อทรพัยส์นิ …………………………………………………………………………. 458 7.8 จดัระดบัความเสีย่ง 4 ระดบั ..……………………………………………………….. 459 7.9 หลกัเกณฑป์ระเมนิระดบัความเสีย่งในการท างาน .………………………………... 462 7.10 พจิารณาจากโอกาสในการเกดิอนัตราย .…………………………………………. 462 7.11 การพจิารณาจากระดบัความรนุแรงของการเกดิอนัตราย ..………………………. 463 7.12 หลกัเกณฑใ์นการตอบสนองต่อความเสีย่งระดบัต่าง ๆ .…………………………. 463 7.13 แบบฟอรม์การชีบ้่งอนัตรายและการประเมนิความเสีย่งดว้ยวธิกีาร Checklist.….. 466 7.14 แบบฟอรม์การชีบ้่งอนัตรายและการประเมนิความเสีย่งดว้ยวธิ ีWhat if Analysis.. 467 7.15 แบบฟอรม์การชีบ้่งอนัตรายและการประเมนิความเสีย่งดว้ยวธิ ีFMEA………….. 468 7.16 แบบฟอรม์การชีบ้่งอนัตรายและการประเมนิความเสีย่งดว้ยวธิ ีHAZOP………… 469 7.17 แบบฟอรม์การจดัท าแผนงานควบคุมความเสีย่ง………………………………….. 471 7.18 แบบฟอรม์การจดัท าแผนงานลดความเสีย่ง……………………………………….. 472 8.1 การกระตุน้ดว้ยการเสรมิแรงและการลงโทษ .……………………………………… 507 8.2 ปัจจยัทีม่ผีลกระทบต่อการรบัรูถ้งึความปลอดภยัในการท างาน …………………... 527 8.3 รปูแบบของผูน้ าดา้นความปลอดภยัในการท างาน.………………………………..... 529

  • (25)

    สารบญัตาราง (ต่อ)

    8.4 แสดงสแีละเครือ่งหมายแสดงความปลอดภยั..……………………………………… 530 8.5 รปูแบบของผูน้ าดา้นความปลอดภยัในการท างาน.…………………………………. 531 8.6 ตวัอยา่งเครือ่งหมายเพื่อความปลอดภยัและความหมาย..…………………………. 535 9.1 สรปุความหมายและกจิกรรม 5ส.เพื่อความปลอดภยัในการท างาน ……………….. 555 10.1 บทบาทของผูบ้รหิารในงานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั……………….... 592 10.2 การเปรยีบเทยีบขอ้ดแีละขอ้ดอ้ยของการจดัองคก์รในรปูแบบแนวดิง่ และแนวนอน...................................................................................................... 604 10.3 องคป์ระกอบของคณะกรรมการความปลอดภยั อาชวีอนามยั และสภาพแวดลอ้มในการท างานของสถานประกอบกจิการ..……………………… 608 10.4 สรปุวธิกีารเลอืกตัง้กรรมการผูแ้ทนลกูจา้งในการจดัตัง้คณะกรรมการ - ความปลอดภยั..……………………………………………………………………… 612 11.1 มาตรฐานระบบการจดัการอาชวีอนามยัและความปลอดภยั..……………………. 626

  • 1

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 1 ความรู้เบือ้งต้นเก่ียวกบัความปลอดภยัและอาชีวอนามยั

    หวัข้อเน้ือหา 1. แนวคดิเกีย่วกบัความปลอดภยัและอาชวีอนามยั

    2. ความเป็นมา ของงานความปลอดภยัและอาชวีอนามยั 3. ความหมาย และความส าคญัของความปลอดภยัและอาชวีอนามยั

    3. วตัถุประสงค ์และประโยชน์ของความปลอดภยัและอาชวีอนามยั 4. เป้าหมาย และขอบเขตของงานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั 5. บุคลากรทีเ่กีย่วขอ้งกบังานดา้นความปลอดภยัและอาชวีอนามยั 6. หน่วยงานทีเ่กีย่วขอ้งกบังานความปลอดภยัและอาชวีอนามยัในประเทศไทย 7. หน่วยงานดา้นความปลอดภยั และอาชวีอนามยัระหว่างประเทศ 8. สรปุ 9. แบบฝึกหดั 10. เอกสารอา้งองิ

    วตัถปุระสงคเ์ชิงพฤติกรรม เมือ่เรยีนบทเรยีนนี้แลว้นกัศกึษาสามารถ 1. อธบิายแนวคดิ ความเป็นมา พฒันาการ ความหมาย และความส าคญัของความปลอดภยัและอาชวีอนามยัได ้ 2. อ�