ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ...

24
1

Upload: others

Post on 28-Dec-2019

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

1

Page 2: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

2

ขอบเขตเนื้อหา

สวนที่ 1 ความรูทั่วไปสํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม วิสัยทัศน 5 คานิยม 5 พันธกิจ 5 ยุทธศาสตร 6 โครงสรางองคกรสํานักงานปลัดกระทรวงอตุสาหกรรม 7 นโยบายผูบริหาร 7 พรบความรบัผิดตอความเสียหายที่เกิดข้ึนจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. 2551 9 แนวขอสอบ พรบ.ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดข้ึนจากสินคาที่ไมปลอดภัย 14 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 16 แนวขอสอบพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 35 พระราชบัญญัติจดทะเบยีนเครื่องจักร พ.ศ. 2514 แกไขเพิม่เติม 43 แนวขอสอบพระราชบัญญัติจดทะเบยีนเครื่องจักร พ.ศ. 2514 แกไขเพิ่มเติม 52 พระราชบัญญัติวตัถุอันตราย พ.ศ. 2535 แกไขเพิ่มเติม 56 แนวขอสอบพระราชบัญญัติวตัถุอันตราย พ.ศ. 2535 แกไขเพิ่มเติม 83

สวนที่ 2 ความรูเฉพาะตําแหนง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ลักษณะ 5 จับ ขัง จําคุก คน ปลยตัวชั่วคราว 91 หมวดจับขังคุก 91 หมวดคน 98 หมวด ปลอยตัวชั่วคราว 101 กฎหมายและประมวลกฎหมายอาญา 106 พรบ.คุมครองพยานในคดีอาญา 138 พรบ.ขาราชการพลเรือน 146 พรบ.ความรบัผิ ดทางละเมิดของเจาหนาที่ 192 แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน 196

Page 3: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

3

แนวขอสอบ พรบ.คุมครองพยานในคดีอาญา 217 แนวขอสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ 221 ระเบียบสํานักนายกวาดวยพนักงานราชการ 224 ขอสอบ ระเบียบฯ สํานักนายกวาดวยพนักงานราชการ 235

Page 4: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

4

ความรูทั่วไปเกีย่วกับ สาํนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

วิสัยทัศน เปนองคกรหลักในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร และการบริหารจัดการแบบบูรณาการ เพื่อการสนับสนุนสงเสริมใหอุตสาหกรรมของประเทศเขมแข็ง

คานิยม รับผิดชอบในหนาที่ เสนอแนะอยางสรางสรรค มีความซื่อสัตยสุจริต จิตอาสาบริการ

พันธกิจ

Page 5: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

5

ยุทธศาสตร

Page 6: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

6

โครงสรางองคกรสํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

นโยบายผูบริหาร กระทรวงอุตสาหกรรมในฐานนะ หนวยงานหลักในการกํากับดูแล และผลัดกัน

อุตสาหกรรมไทยใหมีการพัฒนาอยางสมดุลและตอเนื่อง ไดมุงเนนการพัฒนาภาคการผลิตแบบองครวม โดยนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชเพื่อสรางภูมิคุมกันความเส่ียงจากความผันผวนของสภาพแวดลอม ไมวาจะเปนปจจัยเสี่ยงจากการเมือง เศรษฐกิจโลกท่ีชะลอตัว โยเฉพาะเงินบาทที่เกิดข้ึน ซึ่งสงผลกระทบตอความเชื่อมั่นในภาคอุตสาหกรรม

Page 7: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

7

แนวขอสอบพระราชบัญญัติความรับผดิตอความเสียหายที่เกิดข้ึนจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. 2551

1. พรบ.ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดข้ึนจากสินคาที่ไมปลอดภัย ฉบับที่ใชในปจจุบันเปนฉบับ พ.ศ.ใด

ก. พ.ศ. 2545 ข. พ.ศ. 2549 ค. พ.ศ. 2551 ง. พ.ศ. 2555 ตอบ ค. พ.ศ. 2551

2. พรบ.ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดข้ึนจากสินคาที่ไมปลอดภัย ใหไวเมื่อใด ก. ใหไว ณ วนัที่ 13 กมุภาพันธ พ.ศ. 2545

ข. ใหไว ณ วันที่ 13 กมุภาพันธ พ.ศ. 2549 ค. ใหไว ณ วันที่ 13 กมุภาพันธ พ.ศ. 2551 ง. ใหไว ณ วันที่ 13 กมุภาพันธ พ.ศ. 2555 ตอบ ค. ใหไว ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551

3. พรบ.ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดข้ึนจากสินคาที่ไมปลอดภัย มีผลบังคับใชเมื่อใด ก. ตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ค. 30 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ง. 1 ปหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตอบ ง. 1 ปหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา

พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งปนับแตวันประกาศในราชกิจจานเุบกษาเปนตนไป 4.ขอใดหมายถึง ”ผูประกอบการ”

ก. ผูผลิต หรือผูวาจางใหผลิต ข. ผูนําเขา ค. ผูขายสินคาที่ไมสามารถระบุตัวผูผลิต ผูวาจางใหผลิต หรือผูนําเขาได

Page 8: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

8

พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2535 เปนปที่ 47 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยโรงงาน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและ

ยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ทําหนาที่รัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวัน

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 (2) พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2518 (3) พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 มาตรา 4 พระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแกโรงงานของทางราชการท่ี

ดําเนินการ โดยทางราชการ เพื่อประโยชนแหงความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ แตในการประกอบกิจการโรงงานดังกลาวใหนําหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยว กับการประกอบกิจการโรงงานตามพระราชบัญญัตินี้ไปเปนแนวทางในการดําเนินงาน

มาตรา 5 ในพระราชบัญญตัินี้ “โรงงาน” หมายความวา อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมี

กําลังรวมตั้งแตหาแรงมาหรือกําลังเทียบเทาตั้งแตหาแรงมาข้ึนไป หรือใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนข้ึนไปโดยใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม สําหรับทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ทั้งนี้ ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง

“ตั้งโรงงาน” หมายความวา การกอสรางอาคารเพื่อติดตั้งเครื่องจักรสําหรับประกอบกิจการโรงงาน หรือนําเคร่ืองจักรสําหรับประกอบกิจการโรงงานมาติดตั้งในอาคารสถานที่หรือยานพาหนะท่ีจะประกอบกิจการ

Page 9: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

9

“ประกอบกิจการโรงงาน” หมายความวา การทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายส่ิงใด ๆ ตามลักษณะกิจการของโรงงานแตไมรวมถึงการทดลองเดินเครื่องจักร

“เคร่ืองจักร” หมายความวา ส่ิงที่ประกอบดวยชิ้นสวนหลายชิ้นสําหรับใชกอกําเนิดพลังงาน เปล่ียนหรือแปลงสภาพพลังงาน หรือสงพลังงาน ทั้งนี้ ดวยกําลังน้ํา ไอน้ํา ลม กาซ ไฟฟา หรือพลังงานอื่นอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงเครื่องอุปกรณ ไฟลวีล ปุลเล สายพาน เพลา เกียร หรือส่ิงอื่นที่ทํางานสนองกัน

“คนงาน” หมายความวา ผูซึ่งทํางานในโรงงาน ทั้งนี้ ไมรวมถึงผูซึ่งทํางานฝายธุรการ

“ผูอนุญาต” หมายความวา ปลัดกระทรวงหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายตามความเหมาะสม

“ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม

พระราชบัญญัตินี้ “ปลัดกระทรวง” หมายความวา ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 6 ใหรั ฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมรักษาการตาม

พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่กับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราคาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียม และกําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

กฎกระทรวงและประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

หมวด 1 การประกอบกิจการโรงงาน

มาตรา 7 ใหรัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดใหโรงงานตามประเภทชนิดหรือขนาดใดเปนโรงงานจําพวกที่ 1 โรงงานจําพวกที่ 2 หรือโรงงานจําพวกที่ 3 แลวแตกรณี โดยคํานึงถึงความจําเปนในการควบคุมดูแล การปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ การปองกันความเสียหาย และการปองกันอันตรายตามระดับความรุนแรงของผลกระทบที่จะมีตอประชาชนหรือส่ิงแวดลอม โดยแบงออกเปนดังนี้

Page 10: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

10

แนวขอสอบพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 3. พรบ.โรงงาน ใชบังคบัแกโรงงานของทางราชการเพื่อประโยชนขอใด ก. ความมั่นคง ข. ความปลอดภัยของประเทศ ค. ถูกท้ัง ขอ ก. และ ขอ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง

ตอบ ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข. พระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแกโรงงานของทางราชการที่ดําเนินการ โดยทาง

ราชการ เพื่อประโยชนแหงความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ แตในการประกอบกิจการโรงงานดังกลาวใหนําหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยว กับการประกอบกิจการโรงงานตามพระราชบัญญัตินี้ไปเปนแนวทางในการดําเนินงาน 4.ขอใดมีความหมายถึง “โรงงาน” ตามพระราชบัญญัตินี้ ก. ยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแตหาแรงมาข้ึนไป ข. สถานที่ที่ใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนข้ึนไป ค. ถูกท้ัง ขอ ก. และ ขอ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง ตอบ ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง

“โรงงาน” หมายความวา อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะท่ีใชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแตหาแรงมาหรือกําลังเทียบเทาตั้งแตหาแรงมาข้ึนไป หรือใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนข้ึนไปโดยใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม สําหรับทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ทั้งนี้ ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง 5. ผูรักษาการตาม พรบ.โรงงานคือผูใด ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ง. นายกรัฐมนตรี ตอบ ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม

Page 11: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

11

รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้ งพนักงานเจาหนาที่กับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราคาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียม และกําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ 6. การประกอบกิจการโรงงาน ที่ตองไดรับใบอนุญาตกอนจึงจะดําเนินการได เปนโรงงานจําพวกใด ก. โรงงานจําพวกที่ 1 ข. โรงงานจําพวกที่ 2 ค. โรงงานจําพวกที่ 3 ง. โรงงานจําพวกที่ 4 ตอบ ค. โรงงานจําพวกที่ 3 7. การประกอบกิจการโรงงาน ที่สามารถประกอบกิจการไดทันทีตามความประสงคของผูประกอบกิจการโรงงาน เปนโรงงานจําพวกใด ก. โรงงานจําพวกที่ 1 ข. โรงงานจําพวกที่ 2 ค. โรงงานจําพวกที่ 3 ง. โรงงานจําพวกที่ 4 ตอบ ก. โรงงานจําพวกที่ 1 8. การประกอบกิจการโรงงาน เมื่อจะประกอบกิจการโรงงานตองแจงใหผูอนุญาตทราบกอน เปนโรงงานจําพวกใด ก. โรงงานจําพวกที่ 1 ข. โรงงานจําพวกที่ 2 ค. โรงงานจําพวกที่ 3 ง. โรงงานจําพวกที่ 4 ตอบ ข. โรงงานจําพวกที่ 2

รัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดใหโรงงานตามประเภทชนิดหรือขนาดใดเปนโรงงานจําพวกที่ 1 โรงงานจําพวกที่ 2 หรือโรงงานจําพวกที่ 3 แลวแตกรณี โดยคํานึงถึงความจําเปนในการควบคุมดูแล การปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ การปองกันความเสียหาย และการปองกันอันตรายตามระดับความรุนแรงของผลกระทบที่จะมีตอประชาชนหรือส่ิงแวดลอม โดยแบงออกเปนดังนี้

(1) โรงงานจําพวกที่ 1 ไดแกโรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่สามารถประกอบกิจการโรงงานไดทันทีตามความประสงคของผูประกอบกิจการโรงงาน

Page 12: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

12

(2) โรงงานจําพวกที่ 2 ไดแกโรงงานประเภท ชนิด และขนาดท่ีเมื่อจะประกอบกิจการโรงงานตองแจงใหผูอนุญาตทราบกอน

(3) โรงงานจําพวกที่ 3 ไดแกโรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การตั้งโรงงานจะตองไดรับใบอนุญาตกอนจึงจะดําเนินการได 9. การขอตออายุใบอนุญาตโรงงาน ตองกระทําภายในกี่วันนับแตวันหมดอายุ ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน ตอบ ง. 60 วัน 10. หากพนกําหนดการขอตอใบอนุญาตโรงงานตามวันเวลาที่กําหนดแลว ผูนั้นจะตองเสียคาปรับเพิ่มอีกรอยละเทาใดของคาธรรมเนียมการขอตออายุใบอนุญาต ก. รอยละหา ข. รอยละสิบ ค. รอยละสิบหา ง. รอยละย่ีสิบ ตอบ ง. รอยละยี่สิบ

ผูที่ย่ืนคําขอตออายุใบอนุญาตไมทันกําหนดเวลา ถาประสงคจะประกอบกิจการโรงงานตอไป และไดมาย่ืนคําขอตออายุใบอนุญาตภายในกําหนดหกสิบวันนับแตวันที่ใบอนุญาต ส้ินอายุแลว ใหถือวาไดย่ืนคําขอตออายุภายในระยะเวลาที่กําหนดและการประกอบกิจการโรงงาน ในระหวางนั้นใหถือเสมือนวาเปนการดําเนินการของผูรับใบอนุญาต แตเมื่อไดรับอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต ผูนั้นจะตองเสียคาปรับเพิ่มอีกรอยละย่ีสิบของคาธรรมเนียมตออายุใบ อนุญาต หากพนกําหนดหกสิบวันตองดําเนินการเสมือนขออนุญาตใหม 11.หากมีคําส่ังไมออกใบอนุญาตหรือตออายุใบอนุญาต ผูขอตออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีไดภายในกี่วันนับแตวันที่ไดทราบคําส่ัง ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 60 วัน ตอบ ค. 30 วัน

Page 13: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

ดังตอไป

ประเภทการจัดกตามหม ของศาล

ภยันตรสามารถ

เรงดวน

ตาม มา มนั้นกระ

มในอากาอยางไรเปนควา

ปลกั

มาตรา 77การจัดการปนี้กไ็ด (1) สําเนาห(2) โทรเลข(3) สําเนาหทอื่นทั้งนี้ ตการตาม (2มายโดยพลันมาตรา 78ลนั้นไมได เ(1) เมื่อบุค (2) เมื่อพบรายแกบุคคถอาจใชในก(3) เมื่อมีเห

นที่ไมอาจขอ (4) เปนกาาตรา 117 มาตรา 79 รทําความผิดมาตรา 80 ทีารใดซ่ึงแทบรก็ดี ความผิาม ผิดซึ่งห

ประมวลกกษณะ 5

หมายจับใหตามหมายจั

หมายอันรับขแจงวาไดอหมายที่สงทามหลักเกณ) และ (3) ใน พนักงานฝเวนแต คคลนั้นไดกรบบุคคลโดยลหรือทรัพยการกระทําคหตุที่จะออกอใหศาลออกรจับผูตองห

ราษฎรจะจัดซึ่งหนา แลที่เรียกวาควบจะไมมีควาผิด อาญาด่ังนาในกรณีด

กฎหมาย5 จับ ขัง

หมวดหใชไดทั่วราจบันั้นจะจัด

บรองวาถูกตออกหมายแทางโทรสาร ณฑและวิธีกใหสงหมายห

ฝายปกครอง

ระทํา ความมีพฤติ การยสินของผูอื่ความผิด กหมายจับบุกหมายจับบหาหรือ จําเล

ับผูอืน่ไมไดละความผิดนวามผิดซึ่งหามสงสัยเลยงระบุไวในบัด่ังนี้

ยวิธีพิจา จําคุก ค

ด 1 จับ ขัง าชอาณาจักการตามเอก

ตองแลว ลว ส่ืออิเล็กทรการที่กําหนดหรือสําเนาอั

งหรือ ตาํรว

มผิดซึ่งหนารณอันควรสน โดยมีเครื

คคลนั้นตามบุคคลนั้นไดลยที่หนีหรือ

ดเวนแตจะเขนั้นได ระบุไหนานั้น ไดแยวาเขา ไดกบัญชีทายปร

ารณาควคน ปลอ

จําคุก กร กสารหรือห

รอนิกส หรือดในขอบังคัอันรับรองแล

จจะจับผูใด

ดังไดบัญญัสงสัยวาผูนั้นรื่องมอื อาวุ

ม มาตรา 6ด อจะหลบหนี

ขาอยูในเกณไวในบญัชทีแกความผิดซกระทําผิดมระมวลกฎห

วามอาญอยช่ัวครา

หลักฐานอยา

อส่ือเทคโนโับของประธลวไปยังเจา

ดโดยไมมีหม

ญตัิไวใน มาตนนาจะกอเหวุธ หรือวตัถุ

6 (2) แตมีค

นีในระหวาง

ณฑแหง มาทายประมวลซึ่งเห็น กําลัมาแลวสด ๆมายนี้ ใหถื

ญา าว

างหนึ่งอยาง

โลยีสารสนเธานศาลฎีกาพนักงาน ผู

มายจับหรือ

ตรา 80 หตุรายใหเกิถุอยางอื่นอนั

ความจาํเปน

ถูกปลอยชั่ว

าตรา 82 หรืลกฎหมายนีลังกระทํา หๆ อวาความผิ

13

งใด

เทศา ผูจัดการ

คําส่ัง

ดน

ัวคราว

รือเมื่อผูนี้ดวย หรือพบ

ผิดนั้น

Page 14: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

กับที่เกิอื่นอันสัเนื้อตัวข ตาม บท

พระราชนิเวศน ตั้งแตส

แจงเลข

ทายาทตามกฎปลอดภั

มใกลเคยีไมได มนั้นวาเขจับพรอขณะนั้นไป ในแสดงตของผูถูและปรกึซึ่งตนไว

(1) เมื่อบุค(2) เมื่อพบดเหตุนั้นแลสันนษิฐานไดของผูนั้น มาตรา 81ทบัญญัติในมาตรา 81ชวัง วังของ พระตําหนัมเด็จเจาฟา (1) นายกรัขาธิการพระ(2) เจาพนั พระบรมวฎหมายวาดวภยั มาตรา 82 เยงเพื่อจัดกา

มาตรา 83 ใขาตองถูกจับอมดวยผูจับ น ใหนําไปที

นกรณีที่เจาพอผูถกูจับ พกจับนั้น อากษาทนายคววางใจทรา

คคลหนึ่งถูกไบบุคคลหนึ่งละมีส่ิงของทีดวา ไดใชใน

1 ไมวาจะมหีนประมวลกฎ

/1 ไมวาจะมีพระรชัทายัก หรือในที่าข้ึนไป หรอืรัฐมนตรี หรืะราชวงั หรอืักงานผูถวางศตั้งแตสมวยราชองครั

เจาพนักงานารตามหมาย

ในการจับนัน้ับ แลวสั่งให เวนแตสามที่ทําการของ

พนักงานเปนพรอมทั้งแจงาจใชเปนพยความ หรือผูาบถึงการจับ

ไลจับด่ัง ผูกแทบจะ ทันที่ไดมาจากกนการกระทํ

หมายจับหรืฎหมายนี้อันมหีมายจับหยาทหรือของซึ่งพระมหาอผูสําเร็จรารอืรัฐมนตรซีึอสมุหราชอาย หรือใหคมเด็จเจาฟาขึรกัษ หรอืตา

นผูจัดการตยนั้นก็ไดแต

น เจาพนักงหผูถูกจับไปมารถนาํไปทีงพนักงานส

นผูจับ ตองงดวยวา ผูถูยานหลักฐานผูซึ่งจะเปนทบกุมที่สามา

กระทําโดยมีนททีันใดหลัการ กระทําาผิด หรือมี

รือไมกต็าม นวาดวยการหรือไมก็ตามงพระบรมวงากษัตรยิ พรชการแทนพซึ่งนายกรัฐมงครักษรับทวามปลอดภข้ึนไป หรือามกฎหมาย

ามหมายจับตจะ บังคับใ

งานหรือราษปยังที่ทําการที่ทําการขอสอบสวนผูรับ

แจงขอกลาถูกจับมีสิทธินในการพิจทนายความารถดําเนินก

มีเสียงรองเอลังจากการกาผิดหรือมีเคมีรองรอยพริุ

หามมิใหจับรคนในที่รโหม หามมิใหจงศตั้งแตสมระราชนิ ีพรพระองค ปรมนตรีมอบหทราบแลว ภัยแดพระมผูสําเร็จราชย กฎ หรือร

บ จะขอควาใหผูใดชวยโ

ษฎรซึ่งทาํกรของพนกังงพนักงานสบผิดชอบดัง

าวหาใหผูถูกธทิี่จะไมใหการณาคดีได ถาผูถูกจับการได โดยส

อะอะ กระทําผิด ในครื่องมือ อารุธเปนประจั

ับในที่รโหฐหฐาน จับในพระบมเด็จเจาฟาขึระรัชทายาทระทับหรือพํหมาย อนญุ

มหากษัตริยชการแทนพระเบียบเกี่ย

าม ชวยเหลืโดยอาจเกิด

การจับตองแานสอบสวนสอบสวนผูรังกลาว แตถ

กจับทราบ หการหรือใหกด และผูถูกจับประสงคจะสะดวกและไ

นถิ่นแถวใกาวุธหรือวตัถักษที่เสื้อผา

าน เวนแตจ

บรมมหาราชข้ึนไป พระรท พระบรมวานัก เวนแต

ญาตใหจับ แ

พระราชินี ระองค เปนว กับการให

ลอจากบุคคลดอันตรายแก

แจงแกผูที่จะนแหงทองที่รับผิดชอบไดถาจําเปนกใ็

หากมีหมายการก็ไดและจบัมีสิทธิทีจ่ะแจงใหญาติไมเปนการข

14

ลเคียงถุอยางา หรือ

จะไดทํา

ชวัง ราชวงศต และได

พระรัชนผูจับหความ

ลกเขานั้น

ะถูกจับทีท่ี่ถูกดในใหจับตัว

ยจับใหะถอยคําจะพบติหรือ ผูขัดขวาง

Page 15: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

15

กฎหมายและประมวลกฎหมายอาญา กฎหมาย คือ บรรดาขอบังคบัของรัฐหรือประเทศที่ใชบังคับความประพฤติทั้งหลายของบุคคลอนัเกี่ยวดวยเรื่องความสมัพันธระหวางกัน ถาใครฝาฝนไมปฏิบัติตามก็จะตองมีความผิดและถูกลงโทษ กฎหมายจะอยูในลําดับเดียวกับศาสนาและจรรยา คือเปนปรากฏการณทางชุมชน ซึ่งหมายถึงชุมชนหรือกลุมชนที่รวมกันเปนสังคมหนึ่ง ๆ นั่นเอง เปนผูที่ทําใหเกิดกฎหมายซึ่งตรงกับสุภาษิตลาติน ที่วา “Ubi Societas Ibi Jus” คือ ที่ใดมีสังคมเกิดข้ึนที่นั้นยอมมีกฎหมายเกิดข้ึนมาเชนกัน ระบบกฎหมายในปจจุบันนี้นิยมใชอยู 2 ระบบไดแก

1. กฎหมาย Common Law(Case Law) 2. กฎหมายลายลักษณอักษร (Codified Law)

1.กฎหมาย Common Law (Case Law หรือเรียกวา กฎหมายแองโกลแซกซอน) นิยมใชกันใน

ประเทศอังกฤษและเครอืจักรภพอังกฤษ เชน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซแีลนด สิงคโปร มาเลเซีย และศรีลังกา เปนตน (ยกเวน สก็อตแลนด ซึ่งใชกฎหมายลายลักษณอักษร) กฎหมาย Common Law นี้เปนกฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร แตเปนกฎหมายท่ีเกิดข้ึนจากจารีตประเพณีและคําพพิากษาของศาล กลาวคือ เมอีมคีดีใดเกิดข้ึนมาและศาลไดพิพากษาคดีนั้นไปแลวคําพิพากษาของศาลยอมถือเปนบรรทัดฐานในการใชวินิจฉัยคดีที่เกิดข้ึนอยางเดียวกันไดในรายหลังอีก ฉะนั้นรปูของกฎหมาย Common Law นี้ถือวา คําพพิากษาของศาลเปนที่มาของกฎหมาย จึงสรุปไดวา หลักกฎหมายทั่วไปของกฎหมาย Common Law นี้ เปนหลักการพิจารณาจากเรื่องเฉพาะเรือ่งมาสูหลักเกณฑทั่วไป คอื เอาคําพิพากษาของศาลมาทําใหมีหลักเกณฑข้ึน เพือ่เอาหลักเกณฑที่ไดมานี้เปนบรรทัดฐานสําหรับศาลที่จะใชพิพากษากบัคดีหลัง ๆ ดังนั้นกฎหมายระบบนีจ้ึงถือวาศาลมีความสําคญัที่สุด เพราะเปนผูบัญญตัิหลักเกณฑตาง ๆ จึงทําใหคนสวนใหญรูจักชือ่ผูพิพากษาที่สําคัญ เชน Story ของ สหรัฐอเมริกา หรือ Coke ของอังกฤษเปนอยางดี 2.กฎหมายลายลักษณอักษร

นิยมใชกันในประเทศตาง ๆ ของยุโรป เชน ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี หรือในเอเชยี เชน ไทย ญี่ปุน เปนตน

Page 16: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

16

ประเภทและการจัดทํากฎหมาย ประเทศไทยเปนประเทศที่ใชระบบ Civil Law กฎหมายท่ีใชอยูเปนกฎหมายลายลักษณอักษรตามความเห็นของนักกฎหมายไทยน้ันถือวากฎหมายมาจากรัฏฐาธิปตย ซึ่งในปจจุบันกค็ือรัฐสภา ถอืวาเปนองคกรที่มีอํานาจสูงสุดของรัฐ โดยหลักท่ัวไปฝายนิติบัญญัตมิีหนาที่ในการจัดทํากฎหมายออกมาบังคบั ความประพฤติของพลเมือง แตในบางครัง้อาจมอบอาํนาจใหองคกรฝายบริหารเปนผูบัญญัติกฎหมายแทนได เพื่อความสะดวกรวดเร็วและความคลองตวัในการบริหารประเทศ หรืออาจมอบอํานาจใหแกองคการบริหารสวนทองถิ่น เพื่อใหสามารถออกกฎหมายมาใชบริหารราชการในทองถิ่นของตนได กฎหมายลายลักษณอักษรสามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. กฎหมายลายลักษณอักษร ซ่ึงบัญญัติขึ้นโดยฝายนิตบิัญญัติ ไดแก 1) พระราชบัญญตั ิ 2) พระราชกําหนด

2.กฎหมายลายลักษณอักษร ซ่ึงบัญญัติขึ้นโดยฝายบริหาร ไดแก 1) พระราชกฤษฎีกา 2) กฎกระทรวง

3.กฎหมายลายลักษณอักษร ซ่ึงบัญญัติขึ้นโดยองคการบริหารสวนทองถิ่น ไดแก

1) ขอบัญญัติจงัหวัด 2) เทศบัญญัต ิ3) ขอบังคับสุขาภิบาล 4) ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร 5) ขอบัญญัติเมืองพัทยา

ลักษณะและขั้นตอนในการจัดทํากฎหมาย พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้น โดยคําแนะนํา และยินยอมของรฐัสภา

1. ผูเสนอรางพระราชบัญญัติ ไดแก คณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (เมื่อพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูนั้นสังกัดมีมติใหเสนอได และตองมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวา 20 คนรับรอง) แตถาหากเปน

Page 17: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

17

รางพระราชบัญญตัิเกี่ยวดวยการเงิน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจะเสนอไดตอเมือ่มีคํารับรองของนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้รฐัธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 ยังใหสิทธิแกประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งไมนอยกวา 50,000 คน เขาเชื่อรองขอตอประชาชนรัฐสภาเพื่อใหรัฐสภาพิจารณากฎหมายตามท่ีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ

2. ผูพิจารณารางพระราชบัญญัติ ไดแก รัฐสภา โดยการเสนอรางพระราชบัญญัติใหสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา ไดพิจารณาและลงมติเห็นชอบตามลําดับ การพิจารณารางพระราชบัญญัติ ม ี3 วาระดังนี้ - วาระที่ 1 ข้ันรับหลักการ ซึ่งเปนการพิจารณาวาสมควรจะรับรางพระราชบัญญัติไวพิจารณาโดยละเอียดตอไปหรือไม และเมื่อสภาฯ รบัหลักการแลวก็จะมีการแตงตั้งคณะกรรมาธกิาร เพื่อพจิารณารายละเอียดตอไป - วาระที่ 2 ข้ันพจิารณาเรื่องมาตรา เปนการพิจารณารางพระราชบญัญัติตามท่ีคณะกรรมาธกิารไดพิจารณารายละเอียดแลว ในกรณทีี่มีการแกไขหรือเพิ่มเตมิ หรือเปล่ียนแปลงจากรางเดิมที่ไดรับรองแลวในวาระที่หนึ่ง คณะกรรมาธกิารตองชี้แจงแสดงเหตุผลในการแกไขนั้นดวย - วาระที่ 3 ข้ันใหความเห็นชอบ เปนการพิจารณา (โดยไมมีการอภปิราย) โดยที่ประชมุจะกระทําเพียงลงมติวารางพระราชบัญญัตินั้น สมควรตราเปนพระราชบญัญัติหรือไม

3. ผูตราพระราชบัญญัติ ไดแก พระมหากษัตรยิ 4. การประกาศใช พระราชบญัญัตจิะมีผลใชบังคับเปนกฎหมายได

ก็ตอเมือ่ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว พระราชกําหนด คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี การออกพระราชกําหนดไดนั้นจะมีเงื่อนไขในการออก กลาวคือ จะตองเปนกรณีที่มีความจําเปนรีบดวนในอันจะรกัษาความปลอดภัยของประเทศ หรือความปลอดภัยของสาธารณะ หรือเพื่อจะรกัษาความมัน่คงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือเพื่อจะปองปดภัยพิบัติสาธารณะ หรือมีความจําเปนตองมกีฎหมายเกี่ยวดวยภาษีอากรหรือเงนิตรา

Page 18: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

18

1. ผูเสนอรางพระราชกําหนด ไดแก รัฐมนตรีผูรับผิดชอบเกี่ยวของกับกรณีฉุกเฉินหรือความจาํเปนรีบดวนนั้น 2. ผูพิจารณารางพระราชกําหนด ไดแก คณะรัฐมนตรี

ในการพิจารณาและจัดทําพระราชกําหนด แบงเปน 2 ข้ันตอนคือ - ข้ันตอนที่ 1 เปนการพิจารณาและจัดทํา ตลอดจนประกาศใชไป

พลางกอนโดยฝายบริหาร (เมื่อคณะรัฐมนตรไีดพิจารณาเห็นชอบ และนายกรัฐมนตรีไดนํารางพระราชกําหนดนั้นข้ึนทูลเกลาฯถวายพระมหากษัตรยิเพื่อทรงลงพระปรมาภไิธย ประกาศใชกฎหมายไปพลางกอน)

- ข้ันตอนที่ 2 คณะรัฐมนตรีจะตองนํารางพระราชกาํหนดนั้นเสนอตอรัฐสภาในการประชมุรัฐสภาคราวตอไป เพือ่รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ถารัฐสภาอนุมัติพระราชกําหนดก็มีผลใชบังคบัเปนพระราชบัญญัติตอไป แตถารัฐสภาไมอนุมัต ิ พระราชกําหนดนั้นก็เปนอันตกไป แตทั้งนีไ้มกระทบกระเทือนกิจการที่ไดเปนไปในระหวางใชพระราชกําหนดนั้น

3. ผูตราพระราชกําหนด ไดแก พระมหากษัตริย 4. การประกาศใช เมื่อไดประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาแลว ก็ใชบงัคับ

เปนกฎหมายได พระราชกฤษฎีกา

คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี เปนกฎหมายที่ฝายบริหารไดจัดทําข้ึนโดยไมตองผานการพิจารณาเห็นชอบจากรัฐสภา

ประเภทของพระราชกฤษฎีกา แบงเปน 2 ประเภทคอื 1. พระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยอาศัยอํานาจแหงกฎหมาย คือ มี

กฎหมายแมบท เชน พระราชบัญญัติหรือพระราชกําหนดฉบับใดฉบับหนึ่ง ไดใหอํานาจฝายบริหารไปออกพระราชกฤษฎีกากําหนดรายละเอียด เพื่อดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายนั้น ๆ

2. พระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยไมขัดตอกฎหมาย เปนการที่ฝายบริหารออกพระราชกฤษฎีกาในเรื่องใด ๆ ก็ได ตามท่ีเห็นวาจําเปนและสมควรโดยไมตองอาศัยกฎหมายแมบท

1. ผูเสนอรางพระราชกฤษฎีกา ไดแก รัฐมนตรีที่รับผิดชอบเกี่ยวของกับพระราชกฤษฎีกานัน้

Page 19: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

19

พระราชบัญญัตคิวามรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2539

เปนปที่ 51 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ

ใหประกาศวา โดยที่สมควรมีกฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอม

ของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ และขอบังคับใด ๆ ในสวนที่มีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “เจาหนาที่” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานประเภท

อื่น ไมวาจะเปนการแตงตั้งในฐานะเปนกรรมการหรือฐานะอื่นใด “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่

เร ียกชื ่ออยางอื ่นและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั ้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และใหหมายความรวมถึงหน วยงานอื ่นของร ัฐที ่ม ีพระราชกฤษฎ ีกา กําหนดให เป นหน วยงานของร ัฐตามพระราชบัญญัตินี้ดวย

มาตรา 5 หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทําในการปฏิบัติหนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรง แตจะฟองเจาหนาที่ไมได

ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวา กระทรวงการคลังเปนหนวยงานของรัฐที่ตองรับผิดตามวรรคหนึ่ง

Page 20: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

20

มาตรา 6 ถาการกระทําละเมิดของเจาหนาที่มิใชการกระทําในการปฏิบัติหนาที่ เจาหนาที่ตองรับผิดในการนั้นเปนการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองเจาหนาที่ไดโดยตรง แตจะฟองหนวยงานของรัฐไมได

มาตรา 7 ในคดีที่ผูเสียหายฟองหนวยงานของรัฐ ถาหนวยงานของรัฐเห็นวาเปนเรื่องที่เจาหนาที่ตองรับผิดหรือตองรวมรับผิด หรือในคดีที่ผูเสียหายฟองเจาหนาที่ถาเจาหนาที่เห็นวาเปนเรื่องที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดหรือตองรวมรับผิด หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ดังกลาวมีสิทธิขอใหศาลที่พิจารณาคดีนั้นอยูเรียกเจาหนาที่หรือหนวยงานของรัฐ แลวแตกรณี เขามาเปนคูความในคดี

ถาศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหขยายอายุความฟองรองผูที่ตองรับผิดซึ่งมิไดถูกเรียกเขามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแตวันที่คําพิพากษานั้นถึงที่สุด

มาตรา 8 ในกรณีที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ใหหนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทําละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ถาเจาหนาที่ไดกระทําการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง

สิทธิ เรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีไดเพียงใดใหคํานึงถึงระดับ ความรายแรงแหงการกระทําและความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองให ใชเต็มจํานวนของความเสียหายก็ได

ถาการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบการดําเนินงานสวนรวม ใหหักสวนแหงความรับผิดดังกลาวออกดวย

ในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจาหนาที่หลายคน มิใหนําหลักเรื่องลูกหนี้รวมมาใชบังคับและเจาหนาที่แตละคนตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทานั้น

มาตรา 9 ถาหนวยงานของรัฐหรือเจา หนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียกใหอีกฝายหนึ่งชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนใหมีกําหนดอายุความ หนึ่งปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนนั้น แกผูเสียหาย

มาตรา 10 ในกรณีที่เจาหนาที่เปนผูกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐไมวาจะเปนหนวยงานของรัฐที่ผูนั้นอยูในสังกัดหรือไม ถาเปนการกระทําในการปฏิบัติหนาที่การเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ใหนําบทบัญญัติมาตรา 8 มาใชบังคับโดยอนุโลม แตถามิใชการกระทําในการปฏิบัติหนาที่ใหบังคับตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

Page 21: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

21

แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 6.ขอใดไมใชกรรมการโดยตําแหนงในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ก. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ ข. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตร ี ตอบ ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

“ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดยตําแหนง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6) 7.กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลาแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒินั้น จะตองเปนบุคคลที่มีความสามารถในดานใด ก. ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ข. ดานการบริหารและการจัดการ ค. ดานกฎหมาย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

กรรมการซึ่งทรงพระกรณุาโปรดเกลา ฯ แตงตัง้ จากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเปนที่ประจักษในความสามารถมาแลว และเปนผูที่ไดรับการสรรหาตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎ ก.พ. จํานวนไมนอยกวาหาคน แตไมเกินเจ็ดคน และใหเลขาธิการ ก.พ. เปนกรรมการและเลขานุการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6) 8.คณะกรรมการจากขอขางตนนั้น จะมตีําแหนงอยูในวาระคราวละกี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ข. 3 ป

กรรมการซึ่งทรงพระกรณุาโปรดเกลา ฯ แตงตัง้ใหอยูในตําแหนงไดคราวละสามป ถาตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดและยังมีกรรมการดังกลาวเหลืออยูอีกไมนอยกวา

Page 22: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

22

สามคน ใหกรรมการที่เหลือปฏิบัติหนาที่ตอไปได (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 7) 9.เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงนั้น อาจจะไมแตงตั้งกรรมการแทนก็ได ในกรณีที่วาระของกรรมการเหลือไมถึงกี่วนั ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 180 วัน ตอบ ง. 180 วัน

เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการแทนภายในกําหนด สามสิบวัน เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวันจะไมแตงตั้งกรรมการแทนก็ได ผูซึ่งไดรับแตงตัง้เปนกรรมการแทนนั้นใหอยูในตําแหนงไดเพียงเทากําหนดเวลาของผูซึ่งตนแทน (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 7) 10.ขอใดมิใชอํานาจหนาที่ของ กพ. ก. ใหความเห็นชอบ กรอบอําตรากาํลังของสวนราชการ ข. ออกกฎ ก.พ. ค. กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ง. พิจารณาการเกล่ียอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวง ตอบ ง. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวง

การพิจารณาการเกล่ียอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวงเปนอํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ.กระทรวง (พรบ.ระเบยีบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551มาตรา 16) 11.อ.ก.พ. กระทรวง มีบคุคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด

อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบดวยรัฐมนตรีเจาสังกัด เปนประธาน ปลัดกระทรวง เปนรองประธาน และผูแทน ก.พ. ซึ่งตั้งจากขาราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หนึ่งคน เปน

Page 23: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

23

อนุกรรมการโดยตําแหนง และอนุกรรมการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 15) 12.อ.ก.พ. กรม มบีุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ง. อธิบดี

อ.ก.พ. กรม ประกอบดวยอธิบดี เปนประธาน รองอธิบดีทีอ่ธิบดีมอบหมายหนึ่งคน เปนรองประธาน และอนกุรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 17) 13.อ.ก.พ. จังหวัด มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด

อ.ก.พ. จังหวัด ประกอบดวยผูวาราชการจังหวัด เปนประธาน รองผูวาราชการจังหวัด ที่ผูวาราชการจงัหวัดมอบหมายหนึ่งคน เปนรองประธาน และอนุกรรมการ ซึ่งประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 19) 14."ก.พ.ค." มีชือ่เต็มวาอะไร ก. กรรมการพิทักษคุณธรรม ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม ค. คณะกรรมการพิทักษคุณธรรม ง. กรรมการพิทักษระบบคุณธรรม ตอบ ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรยีกโดยยอวา “ก.พ.ค.”

(พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 24)

15.ขอใดกลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับ ก.พ.ค. ก. ประกอบดวยกรรมการจํานวนหาคน

Page 24: ขอบเขตเนื้อหา · 3 แนวข อสอบ พรบ.คุ มครองพยานในคด ีอาญา 217 แนวข อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเม

24

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740