พระสุตตันตป ฎก ขุททกน ิกาย...

839
พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ภาค - หนาที1 พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลมทีภาคทีขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น มหาวรรค ทิฏฐิกถา วาดวยทิฏฐิ [๒๙๔] ที่ตั้งแหงทิฏฐิเทาไร ความกลุมรุมแหงทิฏฐิเทาไร ทิฏฐิ- เทาไร ความถือผิดแหงทิฏฐิเทาไร ความถอนที่ตั้งแหงทิฏฐิเปนไฉน ทิฏฐิ คือความลูบคลําดวยความถือผิดเทาไร ? ถามวา ที่ตั้งแหงทิฏฐิเทาไร ตอบวา ที่ตั้งแหงทิฏฐิ ถามวา ความกลุมรุมแหงทิฏฐิเทาไร ตอบวา ความกลุมรุมแหงทิฏฐิ ๑๘ ถามวา ทิฏฐิเทาไร ตอบวา ทิฏฐิ ๑๖ ถามวา ความถือผิดแหงทิฏฐิเทาไร ตอบวา ความถือผิดแหงทิฏฐิ ๑๓๐ ถามวา ความถอนที่ตั้งแหงทิฏฐิเปนไฉน ตอบวา โสดาปตติมรรคเปนเครื่องถอนที่ตั้งแหงทิฏฐิ. [๒๙๕] คําวา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดเทาไร ? ตอบวา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งรูปวา นั่นของเรา เราเปน นั่น นั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณวา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา

Upload: others

Post on 30-Apr-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 1 พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลมท่ี ๗ ภาคที่ ๒ ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น มหาวรรค ทิฏฐิกถา วาดวยทิฏฐิ [๒๙๔] ที่ตั้งแหงทิฏฐิเทาไร ความกลุมรุมแหงทิฏฐิเทาไร ทิฏฐิ-เทาไร ความถือผิดแหงทิฏฐิเทาไร ความถอนที่ตั้งแหงทิฏฐิเปนไฉน ทิฏฐิคือความลูบคลําดวยความถือผิดเทาไร ? ถามวา ที่ตั้งแหงทิฏฐิเทาไร ตอบวา ที่ตั้งแหงทิฏฐิ ๘ ถามวาความกลุมรุมแหงทิฏฐิเทาไร ตอบวา ความกลุมรุมแหงทิฏฐิ ๑๘ ถามวาทิฏฐิเทาไร ตอบวา ทิฏฐิ ๑๖ ถามวา ความถือผิดแหงทิฏฐิเทาไร ตอบวาความถือผิดแหงทิฏฐิ ๑๓๐ ถามวา ความถอนที่ตั้งแหงทิฏฐิเปนไฉน ตอบวาโสดาปตติมรรคเปนเครื่องถอนที่ตั้งแหงทิฏฐิ. [๒๙๕] คําวา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดเทาไร ?ตอบวา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งรูปวา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งเวทนาสัญญา สังขาร วิญญาณวา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 2ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ วานั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณวา นั่นของเราเราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา. [๒๙๖] ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิด ซ่ึงจักขุวิญญาณโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณวานั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือ ความลบคลําดวยความถือผิดซึ่งจักษุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัสมโนสัมผัส วา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งจักษุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสสชาเวทนาฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชาเวทนา มโน-สัมผัสสชาเวทนา วา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา. [๒๙๗] ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งรูปสัญญาสัททสัญญา คันธสัญญา รสสัญญา โผฏฐัพพสัญญา ธรรมสัญญา วา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งรูปสัญเจตนา สัททสัญเจตนา คันธสัญเจตนา รสสัญเจตนาโผฏฐัพพสัญเจตนา ธรรมสัญเจตนา วา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งรูปตัณหา สัททตัณหาคันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธรรมตัณหา วา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งรูปวิตก สัททวิตก คันธวิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธรรมวิตก วา นั่นของเราเราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่ง

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 3รูปวิจาร สัททวิจาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพวิจาร ธรรมวิจาร วานั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา. [๒๙๘] ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งปฐวีธาตุ อาโปธาตุเตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ วา นั่นของเรา เราเปนนั่นนั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งปฐวีกสิณอาโปกสิณ เตโชกสิณ วาโยกสิณ นีลกสิณ ปตกสิณ โลหิตกสิณ โอทาตกสิณอากาสกสิณ วิญญาณกสิณ วา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา. [๒๙๙] ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งผม ขน เล็บฟน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังพืดไต ฯลฯ น้ําลาย น้ํามูก ไขขอ มูตร สมองศีรษะ วา นั่นของเรา เราเปนนั่นนั่นเปนตัวตนของเรา. [๓๐๐] ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งจักขายตนะรูปายตนะ โสตายตนะ สัททายตนะ ฆานายตนะ คันธายตนะ ชิวหายตนะรสายตนะ กายายตนะ โผฏฐัพพายตนะ มนายตนะ ธรรมายตนะ จักขุธาตุรูปธาตุ จักขุวิญญาธาตุ โสตธาตุ สัททธาตุ โสตวิญญาณธาตุ ฆานธาตุคันธธาตุ ฆานวิญญาณธาตุ ชิวหาธาตุ รสธาตุ ชิวหาวิญญาณธาตุ กายธาตุโผฏฐัพพธาตุ กายวิญญาณธาตุ มโนธาตุ ธรรมธาตุ มโนวิญญาณธาตุ วานั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา. [๓๐๑] ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งจักขุนทรียโสตินทรีย ฆานินทรีย ชิวหินทรีย กายินทรีย มนินทรีย ชีวิตินทรียโสมนัสสินทรีย โทมนัสสินทรีย อุเปกขินทรีย สัทธินทรีย วิริยินทรียสตินทรีย สมาธินทรีย ปญญินทรีย วา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา.

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 4 [๓๐๒] ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งกามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ กามภพ รูปภพ สัญญาภพ อสัญญาภพ เนวสัญญานาสัญญาภพเอกโวการภพ จตุโวการภพ ปญจโวการภพ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌานจตุตถฌาน เมตตาเจโตวิมุตติ กรุณาเจโตวิมุตติ มุทิตาเจโตวิมุตติ อุเปกขา-เจโตวิมุตติ อากาสานัญจายตนสมาบัติ วิญญาณัญจายตนสมาบัติ อากิญจัญญาย-ตนสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ วา นั่นของเรา เราเปนนั่นนั่นเปนตัวตนของเรา. [๓๐๓] ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดซึ่งอวิชชา สังขารวิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติชราและมรณะ วา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนตัวตนของเรา ทิฏฐิ คือความลูบคลําดวยความถือผิดอยางนี้. [๓๐๔] ที่ตั้งแหงทิฏฐิ ๘ เปนไฉน ? แมขันธทั้งหลายก็เปนที่ตั้งแหงทิฏฐิ แมอวิชชา ผัสสะ สัญญา วิตก อโยนิโสมนสิการ มิตรชั่วเสียงแตที่อ่ืน ทุกอยางเปนที่ตั้งแหงทิฏฐิ. ขันธทั้งหลายเปนเหตุ เปนปจจัย ช่ือวาเปนที่ตั้งแหงทิฏฐิ เพราะอรรถวาเปนที่อาศัยตั้งขึ้น แมขันธทั้งหลายก็เปนที่ตั้งแหงทิฏฐิอยางนี้ ...อวิชชา... ผัสสะ... สัญญา... วิตก... อโยนิโสมนสิการ... มิตรชั่ว... เสียงแตที่อ่ืน ก็เปนเหตุเปนปจจัย ช่ือวาเปนที่ตั้งแหงทิฏฐิ เพราะอรรถวาเปนที่อาศัยตั้งขึ้น แมเสียงแตที่อ่ืนก็เปนที่ตั้งแหงทิฏฐิอยางนี้ ที่ตั้งแหงทิฏฐิ ๘ เหลานี้. [๓๐๕] ความกลุมรุมแหงทิฏฐิ ๑๘ เปนไฉน ? ทิฏฐิ คือ ทิฏฐิคตะทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร ทิฏฐิเปนเสี้ยนหนาม ทิฏฐิวิบัติ ทิฏฐิเปนสังโยชนทิฏฐิเปนลูกศร ทิฏฐิเปนความคับแคบ ทิฏฐิเปนเครื่องกังวล ทิฏฐิเปนเครื่อง

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 5ผูกพัน ทิฏฐิเปนเหว ทิฏฐิเปนอนุสัย ทิฏฐิเปนเหตุใหเดือดรอน ทิฏฐิเปนเหตุใหเรารอน ทิฏฐิเปนเครื่องรอยรัด ทิฏฐิเปนเครื่องยึดมั่น ทิฏฐิเปนเหตุใหถือผิด ทิฏฐิเปนเหตุใหลูบคลํา ความกลุมรุมแหงทิฏฐิ ๑๘ เหลานี้. [๓๐๖] ทิฏฐิ ๑๖ เปนไฉน ? คือ อัสสาททิฏฐิ ๑ อัตตานุทิฏฐิ ๑มิจฉาทิฏฐิ ๑ สักกายทิฏฐิ ๑ สัสสตทิฏฐิอันมีสักกายะเปนวัตถุ ๑ อุจเฉท-ทิฏฐิอันมีสักกายะเปนวัตถุ ๑ อันตคาทิกทิฏฐิ ๑ ปุพพันตานุทิฏฐิ ๑ อปรัน-ตานุทิฏฐิ ๑ สังโยชนิกาทิฏฐิ ๑ ทิฏฐิอันผูกพันดวยมานะวาเปนเรา ๑ ทิฏฐิอันผูกพันดวยมานะวาของเรา ๑ ทิฏฐิอันสัมปยุตดวยอัตตวาทะ ๑ ทิฏฐิอันสัมปยุตดวยโลกวาทะ ๑ ภวทิฏฐิ ๑ วิภวทิฏฐิ ๑ ทิฏฐิ ๑๖ เหลานี้. [๓๐๗] อัสสาททิฏฐิ มีความถือผิดดวยอาการเทาไร อัตตานุทิฏฐิ...มิจฉาทิฏฐิ... สักกายทิฏฐิ... สัสสตทิฏฐิอันมีสักกายะเปนวัตถุ... อุจเฉททิฏฐิอันมีสักกายะเปนวัตถุ... อันตคาหิกทิฏฐิ... ปุพพันตานุทิฏฐิ... อปรันตานุทิฏฐิ... สังโยชนิกาทิฏฐิ... ทิฏฐิอันกางกั้นดวยมานะวาเรา... ทิฏฐิอันกางกั้นดวยมานะวาของเรา... ทิฏฐิอันสัมปยุตดวยโลกวาทะ... ภวทิฏฐิ... วิภวทิฏฐิมีความถือผิดดวยอาการเทาไร ? [๓๐๘] อัสสาททิฏฐิ มีความถือผิดดวยอาการ ๓๕ อัตตานุทิฏฐิ...๒๐ มิจฉาทิฏฐิ... ๑๐ สักกายทิฏฐิ... ๒๐ สัสสตทิฏฐิอันมีสักกายะเปนวัตถุ...๑๕ อุจเฉททิฏฐิอันมีสักกายะเปนวัตถุ... ๕ อันตคาหิกทิฏฐิ... ๕๐ ปุพพัน-ตานุทิฏฐิ... ๑๘ อปรันตานุทิฏฐิ... ๔๔ สังโยชนิกาทิฏฐิ... ๑๘ ทิฏฐิอันกางกั้นดวยมานะวาเรา... ๑๘ ทิฏฐิอันกางกั้นดวยมานะวาของเรา... ๑๘ ทิฏฐิอันปฏิสังยุตดวยอัตตวาทะ... ๒๐ ทิฏฐิอันปฏิสังยุตดวยโลกวาทะ... ๘ ภวทิฏฐิ... ๑๙ วิภวทิฏฐิ มีความถือผิดดวยอาการ ๑๙.

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 6 [๓๐๙] อัสสาททิฏฐิมีความถือผิดดวยอาการ ๓๕ เปนไฉน ? ทิฏฐิคือ ความลูบคลําดวยถือความผิดวา สุขโสมนัสอาศัยรูปใดเกิดขึ้น นี้เปนอัสสาทะ (ความยินดี) แหงรูป ทิฏฐิไมใชอัสสาทะ อัสสาทะมิใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง อัสสาทะเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและอัสสาทะ นี้ทานกลาววาอัสสาททิฏฐิ อัสสาททิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ เปนทิฏฐิวิบัติ บุคคลผูประกอบดวยทิฏฐิวิบัตินั้น เปนผูมีทิฏฐิวิบัติ บุคคลผูมีทิฏฐิวิบัติ ไมควรเสพ ไมควรคบไมควรนั่งใกล ขอนั้นเพราะเหตุไร เพราะบุคคลนั้นมีทิฏฐิลามก ทิฏฐิใดราคะใด ราคะไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิไมใชราคะ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง ราคะเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและราคะ นี้ทานกลาววา ทิฏฐิราคะ บุคคลผูประกอบดวยทิฏฐินั้นและราคะนั้น เปนผูยินดีในทิฏฐิราคะ ทานที่ใหในบุคคลผูยินดีในทิฏฐิราคะ เปนทานไมมีผลมาก ไมมีอานิสงสมาก ขอนั้นเพราะเหตุไรเพราะบุคคลนั้นมีทิฏฐิลามก อัสสาททิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ บุรุษบุคคลผูประกอบดวยมิจฉาทิฏฐิ มีคติเปน ๒ คือ นรกหรือกําเนิดสัตวดิรัจฉาน อนึ่ง บุรุษบุคคลผูประกอบดวยมิจฉาทิฏฐิ สมาทาน กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรมใหบริบูรณตามที่ทิฏฐิ ธรรมทั้งปวง คือ เจตนา ความปรารถนา ความตั้งใจและสังขารเหลานั้น ยอมเปนไปเพื่อผลที่ไมนาปรารถนา ไมนาใคร ไมนาพอใจ เพื่อมิใชประโยชนเกื้อกูล เพื่อความทุกข ขอนั้นเพราะเหตุไร เพราะบุคคลนั้นมีทิฏฐิลามก เปรียบเหมือนพืชสะเดา พืชบวบขม หรือพืชน้ําเตาขมทีเขาฝงลงในแผนดินเปยก อาศัยรสแผนดินและรสน้ํา พืชทั้งปวงนั้นยอมเปนไปเพื่อความเปนของมีรสขม รสปรา ไมเปนสาระ ขอนั้นเพราะเหตุไรเพราะสะเดาเปนตนนั้นมีพืชเลว ฉันใด บุรุษบุคคลผูประกอบดวยมิจฉาทิฏฐิก็ฉันนั้นเหมือนกัน สมาทานกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ใหบริบูรณ

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 7ตามทิฏฐิ ธรรมทั้งปวงคือเจตนา ความปรารถนา ความตั้งใจ และสังขารเหลานั้น ยอมเปนไปเพื่อผลที่ไมนาปรารถนา ไมนาใคร ไมนาพอใจ เพื่อมิใชประโยชนเกื้อกูล เพื่อความทุกข ขอนั้นเพราะเหตุไร เพราะบุคคลนั้นมีทิฏฐิลามก อัสสาททิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิ คือ ทิฏฐิคตะ ทิฏฐิรกชัฏ ฯลฯทิฏฐิเปนเหตุใหถือผิดและลูบคลํา. [๓๑๐] ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดวา สุขโสมนัสอาศัยเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ รูปเสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ จักษุวิญญาณ โสตวิญญาณฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ จักษุสัมผัส ฆาน-สัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส จักษุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัส-สชาเวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชา-เวทนา มโนสัมผัสสชาเวทนาใดเกิดขึ้น นี้เปนอัสสาทะแหงมโนสัมผัสสชาเวทนาทิฏฐิไมใชอัสสาทะ อัสสาทะไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนเหตุใหถือผิดและลูบคลําความเกี่ยวของแหงจิตอันทิฏฐิกลุมรุม เปนมิจฉาทิฏฐิซ่ึงจัดเปนอัสสาททิฏฐิดวยอาการ ๑๘ นี้. [๓๑๑] สังโยชนและทิฏฐิมีอยู สังโยชนแตมิใชทิฏฐิมีอยู สังโยชนและทิฏฐิเปนไฉน ? ความลูบคลําดวยสักกายทิฏฐิ สักกายทิฏฐิและสีลัพพตปรามาส เหลานี้เปนสังโยชนและทิฏฐิ สังโยชนแตไมใชทิฏฐิเปนไฉนกามราคสังโยชน ปฏิฆสังโยชน มานสังโยชน วิจิกิจฉาสังโยชน ภวราคสังโยชนอิสสาสังโยชน มัจฉริยสังโยชน อนุสัยสังโยชน อวิชชาสังโยชน เหลานี้เปนสังโยชนแตมิใชทิฏฐิ อัสสาททิฏฐิ มีความถือผิดดวยอาการ ๓๕ เหลานี้.

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 8 [๓๑๒] อัตตานุทิฏฐิ มีความถือผิดดวยอาการ ๒๐ เปนไฉน ? ปุถุชนผูไมไดสดับในโลกนี้ ไมไดเห็นพระอริยเจา ไมฉลาดในธรรมของพระอริยเจา ไมไดรับแนะนําในธรรมของพระอริยเจา ไมไดเห็นสัปบุรุษไมฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ไมไดรับแนะนําในธรรมของสัปบุรุษ ยอมเห็นรูปโดยความเปนตนบาง เห็นตนวามีรูปบาง เห็นรูปในตนบาง เห็นตนในรูปบาง ยอมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยความเปนตนเองเห็นตนวามีวิญญาณบาง เห็นวิญญาณในตนบาง เห็นตนในวิญญาณบาง. [๓๑๓] ปุถุชนยอมเห็นรูปโดยความเปนตนอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นปฐวีกสิณโดยความเปนตน คือ ยอมเห็นปฐวีกสิณและตนไมเปนสองวา ปฐวีกสิณอันใด เราก็อันนั้น เราอันใดปฐวีกสิณก็อันนั้น เปรียบเหมือนเมื่อประทีป น้ํามันกําลังลุกโพลงอยู บุคคลเห็นเปลวไฟและแสงสวางไมเปนสองวา เปลวไฟอันใด แสงสวางก็อันนั้นแสงสวางอันใด เปลวไฟก็อันนั้น ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้น เหมือนกัน ยอมเห็นปฐวีกสิณโดยความเปนตน คือ ยอมเห็นปฐวีกสิณและตนไมเปนสองวา ปฐวีกสิณอันใด เราก็อันนั้น เราอันใด ปฐวีกสิณก็อันนั้น ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิด ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง วัตถุเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและวัตถุนี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีรูปเปนวัตถุที่ ๑ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ เปนทิฏฐิวิบัติ บุรุษบุคคลผูประกอบดวยอัตตานุทิฏฐิ ยอมมีคติเปนสอง ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตมิใชทิฏฐิ. บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นอาโปกสิณ เตโชกสิณ วาโยกสิณนีลกสิณ ปตกสิณ โลหิตกสิณ โอทาตกสิณ โดยความเปนตน คือ ยอมเห็นโอทาตกสิณและตนไมเปนสองวา โอทาตกสิณอันใด เราก็อันนั้น เราอันใด

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 9โอทาตกสิณก็อันนั้น เปรียบเหมือนเมื่อประทีปน้ํามันกําลังลุกโพลงอยู บุคคลเห็นเปลวไฟและแสงสวางไมเปนสองวา เปลวไฟอันใด แสงสวางก็อันนั้นแสงสวางอันใด เปลวไฟก็อันนั้น ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ฯลฯ ยอมเห็นโอทาตกสิณและตนไมเปนสอง ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิด ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่งวัตถุเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและวัตถุนี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีรูปเปนวัตถุที่ ๑ อัตตานุ-ทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ เปนทิฏฐิวิบัติ ฯลฯ เหลานั้นเปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิบุคคลยอมเห็นรูปโดยความเปนตนอยางนี้. [๓๑๔] ปุถุชนยอมเห็นตนวามีรูปอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตตัวตนของเรานี้นั้นมีรูปดวยรูปนี้ ดังนี้ ช่ือวา ยอมเห็นตนวามีรูป เปรียบเหมือนตนไมมีเงา บุรุษพึงพูดถึงตนไมนั้นอยางนี้วา นี่ตนไม นี่เงา ตนไมเปนอยางหนึ่ง เงาเปนอยางหนึ่ง แตตนไมนี้นั้นแลมีเงาดวยเงานี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนไมวามีเงา ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกันยอมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตตัวตนของเรานี้นั้นมีรูปดวยรูปนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนวามีรูป ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิด ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง วัตถุเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและวัตถุนี้เปนอัตตานุทิฏฐิ มีรูปเปนวัตถุที่ ๒ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นตนวามีรูปอยางนี้. [๓๑๕] ปุถุชนยอมเห็นรูปในตนอยางไร ?

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 10 บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณโดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา ก็แลในตัวตนนี้ มีรูปเชนนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นรูปในตน เปรียบเหมือนดอกไมมีกล่ินหอม บุรุษพึงพูดถึงดอกไมนั้นอยางนี้วา นี้ดอกไม นี้กล่ินหอม ดอกไมอยางหนึ่ง กล่ินหอมอยางหนึ่ง แตกล่ินหอมนี้นั้นแลมีอยูในดอกไมนี้ ดังนี้ช่ือวา ยอมเห็นกลิ่นหอมในดอกไม ฉันใด บุรุษบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้น เหมือนกัน ยอมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยความเปนตนเขายอมมีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา ก็แลในตัวตนนี้มีรูปเชนนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นรูปในตน ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ฯลฯ นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีรูปเปนวัตถุที่ ๓อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นรูปในตนอยางนี้. [๓๑๖] ปุถุชนยอมเห็นตนในรูปอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณโดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตตัวตนของเรานี้นั้นมีอยูในรูปนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนในรูป เปรียบเหมือนแกวมณีที่ใสไวในขวด บุรุษพึงพูดถึงแกวมณีนั้นอยางนี้วา นี้แกวมณี นี้ขวด แกวมณีเปนอยางหนึ่ง ขวดเปนอยางหนึ่ง แตแกวมณีนี้นั้นแลมีอยูในขวดนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นแกวมณีในขวด ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกันยอมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตตัวตนของเรานี้นั้นแลมีอยูในรูปนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นในรูป ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิด ทิฏฐิไมใช

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 11วัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง วัตถุเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและวัตถุนี้เปนอัตตานุทิฏฐิ มีรูปเปนวัตถุที่ ๔ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้ เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นรูปในตนอยางนี้. [๓๑๗] ปุถุชนยอมเห็นเวทนาโดยความเปนตนอยางไร บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นจักขุสัมผัสสชาเวทนา... มโนสัมผัส-สชาเวทนา โดยความเปนตน คือ ยอมเห็นมโนสัมผัสสชาเวทนาและตนไมเปนสองวา มโนสัมผัสสชาเวทนาอันใด เราก็อันนั้น เราอันใด มโนสัมผัสสชา-เวทนาก็อันนั้น เปรียบเหมือนเมื่อประทีปน้ํามันลุกโพลงอยู บุคคลยอมเห็นเปลวไฟและแสงสวางไมเปนสองวา เปลวไฟอันใด แสงสวางก็อันนั้น แสงสวางอันใด เปลวไฟก็อันนั้น ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกันยอมเห็นมโนสัมผัสสชาเวทนา โดยความเปนตน คือ ยอมเห็นมโนสัมผัสสชาเวทนาและตนไมเปนสองวา มโนสัมผัสสชาเวทนาอันใดเราก็อันนั้น เราอันใดมโนสัมผัสสชาเวทนาก็อันนั้น ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิด ทิฏฐิ ไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง วัตถุเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและวัตถุ นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีเวทนาเปนวัตถุที่ ๑ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯเหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นเวทนา โดยความเปนตนอยางนี้. [๓๑๘] ปุถุชนยอมเห็นตนวามีเวทนาอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นสัญญา สังขาร วิญญาณ รูปโดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตวาตัวตนของเรานี้นั้นแลมีเวทนาดวยเวทนานี้ ดังนี้ช่ือวาเห็นตนวามีเวทนา เปรียบเหมือนตนไมมีเงา บุรุษพึงพูดถึงตนไมนั้นอยางนี้วา นี้ตนไม นี้เงา ตนไม

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 12เปนอยางหนึ่ง เงาเปนอยางหนึ่ง แตวาตนไมนี้นั้นแลมีเงาดวยเงานี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนไมมีเงา ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกันยอมเห็นสัญญา สังขาร วิญญาณ รูป โดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตตัวตนของเรานี้นั้นแลมีเวทนาดวยเวทนานี้ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนวามีเวทนา ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง วัตถุเปนอยางหนึ่งทิฏฐิและวัตถุนี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีเวทนาเปนวัตถุที่ ๒ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉา-ทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นตนวามีเวทนาอยางนี้. [๓๑๙] ปุถุชนยอมเห็นเวทนาในตนอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นสัญญา สังขาร วิญญาณ รูปโดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา ก็และในตัวตนนี้มีเวทนานี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นเวทนาในตน เปรียบเหมือนดอกไมมีกล่ินหอม บุรุษพึงพูดถึงดอกไมนั้นอยางนี้วา นี้ดอกไม นี้กล่ินหอม ดอกไมเปนอยางหนึ่ง กล่ินหอมเปนอยางหนึ่ง แตกล่ินหอมมีอยูในดอกไมนี้ ดังนี้ช่ือวายอมเห็นกลิ่นหอมในดอกไม ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้น เหมือนกัน ยอมเห็นสัญญา สังขาร วิญญาณ รูป โดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา ก็เเลในตัวตนนี้มีเวทนา ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นเวทนาในตน ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิด ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ฯลฯ นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีเวทนาเปนวัตถุที่ ๓ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นเวทนาในตนอยางนี้.

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 13 [๓๒๐] ปุถุชนยอมเห็นตนในเวทนาอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นสัญญา สังขาร วิญญาณ รูปโดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตวาตัวตนของเรานี้นั้นแลมีอยูในเวทนานี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนในเวทนา เปรียบเหมือน ฯลฯ ช่ือวายอมเห็นแกวมณีในขวด ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน...ช่ือวา ยอมเห็นตนในเวทนา ทิฏฐิ คือความลูบคลําดวยความถือผิด ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง วัตถุเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและวัตถุนี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีเวทนาเปนวัตถุที่ ๔ อัตตานุ-ทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นตนในเวทนาอยางนี้. [๓๒๑] ปุถุชนยอมเห็นสัญญาโดยความเปนตนอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นจักขุสัมผัสสชาสัญญา. . .มโนสัมผัส-สชาสัญญา โดยความเปนตน คือ ยอมเห็นมโนสัมผัสสชาสัญญาและตนไมเปนสองวา มโนสัมผัสสชาสัญญาอันใด เราก็อันนั้น เราอันใด มโนสัมผัส-สชาสัญญาก็อันนั้น เปรียบเหมือนเมื่อประทีปน้ํามันลุกโพลงอยู บุคคลยอมเห็นเปลวไฟและแสงสวางไมเปนสอง . . . ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นมโนสัมผัสสชาสัญญาและตนไมเปนสองวา มโนสัมผัสสชา-สัญญาอันใด เราก็อันนั้น เราอันใด มโนสัมผัสสชาสัญญาก็อันนั้น ทิฏฐิ คือความลูบคลําดวยความถือผิด ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง วัตถุเปนอยางหนึ่ง นี้เปนอัตตานุทิฏฐิ มีสัญญาเปนวัตถุที่ ๑ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นสัญญาโดยความเปนตนอยางนี้.

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 14 [๓๒๒] ปุถุชนยอมเห็นตนวามีสัญญาอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นสังขาร วิญญาณ รูป เวทนา โดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตวาตัวตนของเรานี้นั้นแลมีสัญญาดวยสัญญานี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนวามีสัญญาเปรียบเหมือนตนไมมีเงา...ช่ือวายอมเห็นตนไมวามีเงา ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นสังขาร วิญญาณ รูป เวทนา โดยความเปนตน...นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีสัญญาเปนวัตถุที่ ๒ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นตนวามีสัญญาอยางนี้. [๓๒๓] ปุถุชนยอมเห็นสัญญาในตนอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นสังขาร วิญญาณ รูป เวทนา โดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา ก็แลในตัวตนนี้มีสัญญานี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นสัญญาในตน เปรียบเหมือนดอกไมมีกล่ินหอม...ช่ือวายอมเห็นกลิ่นหอมในดอกไม ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นสังขาร วิญญาณ รูป เวทนา โดยความเปนตน...นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีสัญญาเปนวัตถุที่ ๓ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯเหลานั้นเปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นสัญญาในตนอยางนี้. [๓๒๔] บุคคลยอมเห็นตนในสัญญาอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นสังขาร วิญญาณ รูป เวทนา โดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้เปนตัวตนของเรา แตวาตัวตนของเรานี้นั้นแลมีอยูในสัญญานี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนในสัญญา เปรียบเหมือนแกวมณีที่เขาใสไวในขวด... ช่ือวายอมเห็นแกวมณีในขวด ฉันใดบุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นสังขาร วิญญาณ รูป เวทนา

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 15โดยความเปนตน... นี้เปนอัตตานี้ทิฏฐิมีสัญญาเปนวัตถุที่ ๔ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นตนในสัญญาอยางนี้. [๓๒๕] ปุถุชนยอมเห็นสังขารโดยความเปนตนอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นจักขุสัมผัสสชาเจตนา...มโนสัมผัส- สชาเจตนา โดยความเปนตน คือ ยอมเห็นมโนสัมผัสสชาเจตนาและตนไมเปนสอง มโนสัมผัสสชาเจตนาอันใด เราก็อันนั้น เราอันใด มโนสัมผัสสชา-เจตนาก็อันนั้น เปรียบเหมือนเมื่อประทีปน้ํามันกําลังลุกโพลงอยู บุคคลยอมเห็นเปลวไฟและแสงสวางไมเปนสอง. . . ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นมโนสัมผัสสชาเจตนาโดยความเปนตน...นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีสังขารเปนวัตถุที่ ๑ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นสังขารโดยความเปนตนอยางนี้. [๓๒๖] ปุถุชนยอมเห็นตนวามีสังขารอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นวิญญาณ รูป เวทนา สัญญาโดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตตัวตนของเรานี้นั้นแลมีสังขารดวยสังขารนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนมีสังขาร เปรียบเหมือนตนไมมีเงา บุรุษพึงพูดถึงตนไมอยางนี้. . . ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นวาตนไมมีเงาฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นวิญญาณรูป เวทนา สัญญา โดยความเปนตน. . . ตนเปนอัตตานุทิฏฐิมีสังขารเปนวัตถุที่ ๒ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิปุถุชน ยอมเห็นคนวามีสังขารอยางนี้. [๓๒๗] ปุถุชนยอมเห็นสังขารในตนอยางไร ?

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 16 บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นวิญญาณ รูป เวทนา สัญญา โดยความเปนคน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา ก็แลในตัวตนนี้ มีสังขารเหลานี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นสังขารในตนเปรียบเหมือนดอกไมมีกล่ิน-หอม...ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นวิญญาณรูป เวทนา สัญญา โดยความเปนตน. . .นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีสังขารเปนวัตถุที่ ๓ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิปุถุชนยอมเห็นสังขารในตนอยางนี้. [๓๒๘] ปุถุชนยอมเห็นตนในสังขารอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นวิญญาณ รูป เวทนา สัญญาโดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตวาตัวตนของเรานี้นั้นแลมีอยูในสังขารนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนในสังขาร เปรียบเหมือนแกวมณีที่เขาใสไวในขวด...ช่ือวาเห็นแกวมณีในขวด ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นวิญญาณ รูป เวทนา สัญญา โดยความเปนตน... นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีสังขารเปนวัตถุที่ ๔ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นตนในสังขารเหลานี้. [๓๒๙] ปุถุชนยอมเห็นวิญญาณโดยความเปนตนอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นจักขุวิญญาณ... มโนวิญญาณ โดยความเปนตน คือ ยอมเห็นมโนวิญญาณและตนไมเปนสองวา มโนวิญญาณอันใด เราก็อันนั้น เราอันใด มโนวิญญาณก็อันนั้น เปรียบเหมือนประทีปน้ํามันอันลุกโพลงอยู บุคคลยอมเห็นเปลวไฟและแสงสวางไมเปนสอง . . .ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นมโนวิญญาณโดยความเปนตน... นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีวิญญาณเปนวัตถุที่ ๑ อัตตานุทิฏฐิเปน

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 17มิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานั้นเปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นวิญญาณโดยความเปนตนอยางนี้. [๓๓๐] ปุถุชนยอมเห็นตนวามีวิญญาณอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นรูป เวทนา สัญญา สังขารโดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตวาตัวตนของเรานี้นั้นแลมีวิญญาณดวยวิญญาณนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนวามีวิญญาณ เปรียบเหมือนตนไมมีเงา... ช่ือวายอมเห็นตนไมวามีเงา ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นรูป เวทนา สัญญา สังขาร โดยความเปนตน นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีวิญญาณเปนวัตถุที่ ๒ อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นตนวามีวิญญาณอยางนี้. [๓๓๑] ปุถุชนยอมเห็นวิญญาณในตนอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นรูป เวทนา สัญญา สังขาร โดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา ก็แลในตัวตนนี้ มีวิญญาณ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นวิญญาณในตน เปรียบเหมือนดอกไมมีกล่ินหอม...ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นรูป เวทนาสัญญา สังขาร โดยความเปนตน... นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีวิญญาณเปนวัตถุที่ ๓อัตตานุทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นวิญญาณในตนอยางนี้. [๓๓๒] ปุถุชนยอมเห็นตนในวิญญาณอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นรูป เวทนา สัญญา สังขาร โดยความเปนตน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตวาตัวตน

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 18ของเรานี้นั้นแลมีอยูในวิญญาณนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนในวิญญาณ เปรียบเหมือนแกวมณีที่เขาใสไวในขวด... ช่ือวายอมเห็นแกวมณีในขวด ฉันใดบุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมเห็นรูป เวทนา สัญญา สังขารโดยความเปนตน นี้เปนอัตตานุทิฏฐิมีวิญญาณเปนวัตถุที่ ๔ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นตนในวิญญาณอยางนี้ อัตตานุทิฏฐิมีความถือผิดดวยอาการ ๒๐ เหลานี้. [๓๓๓] มิจฉาทิฏฐิมีความถือผิดดวยอาการ ๑๐ เปนไฉน ? ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดแหงมิจฉาทิฏฐิอันกลาวถึงวัตถุอยางนี้วา ทานที่ใหแลวไมมีผล ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง วัตถุเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและวัตถุ นี้เปนมิจฉาทิฏฐิมีวัตถุผิดที่ ๑ มิจฉาทิฏฐิเปนทิฏฐิวิบัติ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิคือ ความลูบคลําดวยความถือผิดแหงมิจฉาทิฏฐิอันกลาวถึงวัตถุอยางนี้วา ยัญ ที่บูชาแลวไมมีผล ฯลฯ การเซนสรวงไมมีผล ผลวิบากแหงกรรมที่บุคคลทําดีทําชั่วไมมี โลกนี้ไมมี โลกหนาไมมี มารดาไมมี บิดาไมมี สัตวผูผุดเกิดขึ้นก็ไมมี สมณพราหมณผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ผูทําโลกนี้และโลกหนาใหแจงดวยปญญาอันยิ่งเองแลว ส่ังสอนประชุมชนใหรูตาม ไมมีในโลก ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่ง วัตถุเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและวัตถุ นี้เปนมิจฉาทิฏฐิมีวัตถุ ๑๐ มิจฉาทิฏฐิเปนทิฏฐิวิบัติ ฯลฯ บุรุษบุคคลผูประกอบดวยมิจฉาทิฏฐิ ยอมมีคติเปน ๒ ฯลฯ เหลานั้นเปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ มิจฉาทิฏฐิมีความถือผิดดวยอาการ ๑๐ เหลานี้. [๓๓๔] สักกายทิฏฐิมีความถือผิดดวยอาการ ๒๐ เปนไฉน ?

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 19 ปุถุชนผูไมไดสดับแลวในโลกนี้ มิไดเห็นพระอริยเจา ไมฉลาดในธรรมของพระอริยเจา ไมไดรับแนะนําในธรรมของพระอริยเจา ไมไดเห็นสัปบุรุษไมฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ไมไดรับแนะนําในธรรมของสัปบุรุษยอมเห็นรูปโดยความเปนตนบาง เห็นตนวามีรูปบาง เห็นรูปในตนบาง เห็นตนในรูปบาง ยอมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยความเปนตนบาง เห็นตนวามีวิญญาณบาง เห็นตนในวิญญาณบาง เห็นวิญญาณในตนบาง. ปุถุชนยอมเห็นรูปโดยความเปนตนอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นปฐวีกสิน ฯลฯ โอทาตกสิณโดยความเปนตน คือ ยอมเห็นโอทาตกสิณและตนไมเปนสองวา โอทาตกสิณอันใดเราก็อันนั้น เราอันใด โอทาตกสิณก็อันนั้น เปรียบเหมือนประทีปน้ํามันลุกโพลงอยู ฯลฯ ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้น เหมือนกัน ยอมเห็นโอทาตกสิณโดยความเปนตน ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิด ฯลฯนี้เปนสักกายทิฏฐิมีรูปเปนวัตถุที่ ๑ สักกายทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้ เปนสังโยชน แตมิใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นรูปโดยความเปนตนอยางนี้ ฯลฯสักกายทิฏฐิมีความถือผิดดวยอาการ ๒๐ เหลานี้. [๓๓๕] สัสสตทิฏฐิมีสักกายทิฏฐิเปนวัตถุ มีความถือผิดดวยอาการ๑๕ เปนไฉน ? ปุถุชนผูไมไดสดับในโลกนี้ ไมไดเห็นพระอริยเจา...ไมไดรับแนะนําในธรรมของสัปบุรุษ ยอมเห็นตนวามีรูปบาง เห็นรูปในตนบาง เห็นตนในรูปบาง เห็นตนวามีเวทนาบาง เห็นตนวามีสัญญาบาง เห็นตนวามีสังขารบาง เห็นตนวามีวิญญาณบาง เห็นวิญญาณในตนบาง เห็นตนในวิญญาณบาง.

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 20 ปุถุชนยอมเห็นตนวามีรูปอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณโดยความเปนคน เขามีความเห็นอยางนี้วา นี้แลเปนตัวตนของเรา แตวาตัวตนของเรานี้นั้นแล มีรูปดวยรูปนี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนวามีรูป เปรียบเหมือนตนไมมีเงา บุรุษพึงพูดถึงตนไมนั้นอยางนี้วา นี้ตนไม นี้เงา ตนไมเปนอยางหนึ่ง เงาเปนอยางหนึ่ง แตวาตนไมนี้นั้นแล มีเงาดวยเงานี้ ดังนี้ ช่ือวายอมเห็นตนไมวามีเงา ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกันยอมเห็นเวทนา...โดยความเปนตน นี้เปนสัลสตทิฏฐิอันมีสักกายทิฏฐิเปนวัตถุที่ ๑ สัสสตทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิปุถุชนยอมเห็นตนวามีรูปอยางนี้ ฯลฯ สัสสตทิฏฐิอันมีสักกายทิฏฐิเปนวัตถุมีความถือผิดดวยอาการ ๑๕ เหลานี้. [๓๓๖] อุจเฉททิฏฐิอันมีสักกายทิฏฐิเปนวัตถุ มีความถือผิดดวยอาการ ๑๕ เปนไฉน ? ปุถุชนผูไมไดสดับในโลกนี้ ไมไดเห็นพระอริยเจา...ไมไดรับแนะนําในธรรมของสัปบุรุษ ยอมเห็นรูปโดยความเปนตน เห็นเวทนาโดยความเปนตน เห็นสัญญาโดยความเปนตน เห็นสังขารโดยความเปนตน เห็นวิญญาณโดยความเปนตน. ปุถุชนยอมเห็นรูปโดยความเปนตนอยางไร ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ยอมเห็นปฐวีกสิณ ฯลฯ โอทาตกสิณโดยความเปนตน คือ ยอมเห็นโอทาตกสิณและตนไมเปนสองวา โอทาตกสิณอันใดเราก็อันนั้น เราอันใด โอทาตกสิณก็อันนั้น เปรียบเหมือนเมื่อประทีปน้ํามันลุกโพลงอยู ฯลฯ นี้เปนอุจเฉททิฏฐิอันมีสักกายทิฏฐิเปนวัตถุที่ ๑ อุจเฉททิฏฐิ

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 21เปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ปุถุชนยอมเห็นรูปโดยความเปนตนอยางนี้ ฯลฯ อุจเฉททิฏฐิอันมีสักกายทิฏฐิเปนวัตถุ มีความถือผิดดวยอาการ ๑๕ เหลานี้. [๓๓๗] อันตคาหิกทิฏฐิมีความถือผิดดวยอาการ ๕๐ เปนไฉน ? ทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวา โลกเที่ยง โลกไมเที่ยง โลกมีที่สุด โลกไมมีที่สุด ชีพอันนั้น สรีระก็อันนั้น ชีพเปนอื่น สรีระก็เปนอื่น สัตวเบื้องหนาแตตายแลวยอมเปนอีก สัตวเบื้องหนาแตตายแลว ยอมไมเปนอีก สัตวเบื้องหนาแตตายแลวยอมเปนอีกก็มี ยอมไมเปนอีกก็มี สัตวเบื้องหนาแตตายแลวยอมเปนอีกก็หามิได ยอมไมเปนอีกก็หามิได ยอมถือผิดดวยอาการเทาไร. ทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวา โลกเที่ยง ยอมถือผิดดวยอาการ ๕ ฯลฯ ทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวา สัตวเบื้องหนาแตตายแลวยอมเปนอีกก็หามิได ยอมไมเปนอีกก็หามิได ยอมถือผิดดวยอาการ ๕. [๓๓๘] ทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวา โลกเที่ยง ยอมถือผิดดวยอาการ ๕เปนไฉน ? ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดวา รูปเปนโลกและเปนของเที่ยงทิฏฐินั้นถือเอาที่สุดเชนนั้น เพราะฉะนั้นจึงชื่อวา อันตคาหิกทิฏฐิ ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิและวัตถุ นี้เปนทิฏฐิที่ถือเอาที่สุดวาโลกเที่ยงที่ ๑อันตคาหิกทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชนแตไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิคือ ความลูบคลําดวยความถือผิดวา เวทนาเปนโลกและเปนของเที่ยง ฯลฯสัญญาเปนโลกและเปนของเที่ยง ฯลฯ สังขารเปนโลกและเปนของเที่ยง ฯลฯวิญญาณเปนโลกและเปนของเที่ยง ฯลฯ ทิฏฐินั้นถือเอาที่สุด เชนนั้น เพราะฉะนั้นจึงชื่อวา อันตคาหิกทิฏฐิ ทิฏฐิไมใชวัตถุ... นี้เปนทิฏฐิที่ถือเอาที่สุด

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 22วาโลกเที่ยงที่ ๕ อันตคาหิกทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานั้นเปนสังโยชนแตไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวา โลกเที่ยงยอมถือผิดดวยอาการ ๕ เหลานี้. [๓๓๙] ทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวา โลกไมเที่ยง ยอมถือผิดดวยอาการ๕ เปนไฉน ? ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดวา รูปเปนโลกและเปนของไมเที่ยง ทิฏฐินั้นถือเอาที่สุดเชนนั้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อวา อันตคาหิกทิฏฐิ ฯลฯนี้เปนทิฏฐิที่ถือเอาที่สุดวาโลกไมเที่ยงที่ ๑ อันตคาหิกทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯเหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ฯลฯ ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดวา เวทนาเปนโลกและเปนของไมเที่ยง ฯลฯ สัญญาเปนโลกและเปนของไมเที่ยง ฯลฯ สังขารเปนโลกและเปนของไมเที่ยง วิญญาณเปนโลกและเปนของไมเที่ยง ทิฏฐินั้นถือเอาที่สุดเชนนั้น เพราะฉะนั้นจึงชื่อวา อันตคา-หิกทิฏฐิ อันตคาหิกทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานั้นเปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวา โลกไมเที่ยง ยอมถือผิดดวยอาการ ๕ เหลานี้. [๓๔๐] ทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวา โลกมีที่สุด ยอมถือผิดดวยอาการ ๕เปนไฉน ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ทําสีเขียวแผไปสูโอกาสนิดหนอย เขามีความเห็นอยางนี้วาโลกนี้มีที่สุดกลม ดังนี้ เขาจึงมีความสําคัญวาโลกมีที่สุด ทิฏฐิคือ ความลูบคลําดวยความถือผิดวา ที่ที่แผไปนั้นเปนวัตถุและเปนโลก เครื่องที่แผไปนั้นเปนตนและเปนโลก ทิฏฐินั้นถือเอาที่สุดเชนนั้น เพราะฉะนั้นจึงชื่อวา อันตคาหิกทิฏฐิ ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ ทิฏฐิเปนอยางหนึ่งวัตถุเปนอยางหนึ่ง ทิฏฐิและวัตถุนี้เปนทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวาโลกมีที่สุดที่ ๑อันตคาหิกทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ เหลานี้เปนสังโยชน แตไมใชทิฏฐิ บุคคล

  • พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 23บางคนในโลกนี้ ทําสีเหลืองแผไป ทําสีแดงแผไป ทําสีขาวแผไป ทําแสง-สวางแผไป สูโอกาสนิดหนอย เขามีความคิดอยางนี้วา โลกนี้มีที่สุดกลมดังนี้ เขาจึงมีความสําคัญวาโลกมีที่สุด ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดวา ที่ที่แผไปนั้นเปนวัตถุและเปนโลก เครื่องที่แผไปนั้นเปนตนและเปนโลก ทิฏฐินั้นถือเอาที่สุดเชนนั้น เพราะฉะนั้นจึงชื่อวา อันตคาหิกทิฏฐิ ฯลฯทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวา โลกมีที่สุด ยอมถือผิดดวยอาการ ๕ เหลานี้. [๓๔๑] ทิฏฐิอันถือเอาที่สุดวา โลกไมมีที่สุด ยอมถือผิดดวยอาการ๕ เปนไฉน ? บุคคลบางคนในโลกนี้ ทําสีเขียวแผไปสูโอกาสอันกวาง เขามีความเห็นอยางนี้วา โลกนี้ไมมีที่สุด หาที่สุดมิได ดังนี้ จึงมีความสําคัญวาโลกไมมีที่สุด ทิฏฐิ คือ ความลูบคลําดวยความถือผิดวา ที่ที่แผไปนั้นเปนวัตถุและเปนโลก เครื่องที่แผไปนั้นเปนตนและเปนโลก ทิฏฐินั้นถือเอาที่สุดเชนนั้นเพราะฉะนั้นจึงชื่อวา อันตคาหิกทิฏฐิ ทิฏฐิไมใชวัตถุ วัตถุไมใชทิฏฐิ..