จัดทําโดย - parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย...

126
เปรียบเทียบนโยบาย รัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศ์สวัสดินายอภิสิทธิเวชชาชีวะ และ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร จัดทําโดย นายนิพัทธ์ สระฉันทพงษ์ นายโชคสุข กรกิตติชัย กลุ่มงานบริการวิชาการ สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

Upload: others

Post on 26-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

เปรียบเทียบนโยบาย ๔ รัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

จัดทําโดย นายนพิทัธ์ สระฉันทพงษ์

นายโชคสุข กรกิตติชัย กลุ่มงานบริการวชิาการ ๑ สํานักวิชาการ

สํานักงานเลขาธกิารสภาผู้แทนราษฎร

Page 2: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

เปรียบเทียบนโยบาย ๔ รฐับาล นายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะและนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๑. น โ ย บ า ย เ ร่ ง ด่ ว น ที่ จ ะ เ ริ่ มดําเนินการในปีแรก

๑.๑ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย โดยการเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกันของประชาชนในชาติให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการแก้ไขปัญหาวิกฤติของประเทศ และสร้างเสถียรภาพทั้ง

๑.น โ ย บ า ย เ ร่ ง ด่ ว น ที่ จ ะ เ ริ่ มดําเนินการในปีแรก

๑.๑ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย โดยการเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกันของประชาชนในชาติให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มุ่งสร้างจิตสํานึกพลเมืองที่คํานึงถึงหลักเหตุผลเพื่อคนส่วนใหญ่ แสวงหาทางออกที่

๑ . น โ ยบ า ย เ ร่ ง ด่ ว น ที่ จ ะ เ ริ่ มดําเนินการในปีแรก ๑ .๑ การสร้างความเชื่ อมั่นและกระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวมเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค ๑ . ๑ . ๑ เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า มสมานฉันท์และความสามัคคีของคนในชาติให้เกิดขึ้นโดยเร็วโดยใช้แนวทางสันติ รับฟังความเห็นจากทุกฝ่าย และหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหา

๑ . นโยบาย เ ร ่ งด ่ วนที่ จ ะ เ ริ่ มดําเนินการในปีแรก ๑.๑ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย ๑.๑.๑ สร้างความปรองดองสมานฉันท ์ของคนในชาติและฟ ื้นฟู ประชาธิปไตย โดยการเสริมสร้างความ เข้าใจร่วมกันของประชาชนในชาติให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีเป ็นอันหนึ่ ง อันเดียวกัน และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา

Page 3: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ทางด้านการเมือง การปกครอง สังคม และเศรษฐกิจ โดยมุ่ งถึ งประโยชน์สุขของประชาชนส่วนรวมเป็นสําคัญ ซึ่งจะเป็นรากฐานที่มั่นคงในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนต่อไป

๑.๒ แก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนํ าแนวทางพระราชทาน “เข้ าใจ เข้ าถึ ง พัฒนา” มาดําเนินภารกิจในด้านความมั่นคงและด้านการพัฒนา โดยให้มีความสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของพื้นที่ วิถีชี วิ ต วัฒนธร รม และความ เชื่ อ ขอ งประชาชน ตลอดทั้งอํานวยความเป็นธรรมและความยุติธรรม โดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อให้ เกิดความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยในชี วิตและทรัพย์สิน สร้างความสมานฉันท์และสันติสุขในพื้นที่โดยเร็วที่สุด

สร้างสรรค์อย่างสันติ ประนีประนอม และเคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง โดยยึดหลักนิติธรรมและกระบวนการยุติธรรมเพื่อสร้างความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย

๑.๒ แก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนําแนวทางพระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาดําเนินภารกิจด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ด้านการพัฒนาเพื่อปรับปรุงส่งเสริมธรรมาภิบาล ซึ่งรวมถึงการอํานวยความเป็นธรรมและความยุติธรรม ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ ซึ่งรวมถึงการจัดให้มีบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานอย่างทั่ วถึ ง โดยให้ภาร กิจ ต่าง ๆ มีความสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของพื้นที่ วิถีชี วิ ต วัฒนธรรม และความ เชื่ อของประชาชน รวมทั้งเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและมีการจัดการอย่างมี

ความขัดแย้งในชาติในทุกกรณี รวมทั้งฟื้นฟูระเบียบสังคมและบังคับใช้กฎหมายอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย ตลอดจนสนับสนุนองค์กรตามรัฐธรรมนูญให้มีส่วนร่วมในการสร้างความสมานฉันท์ ภายใต้กรอบของบทบาท อํานาจและหน้าที่ขององค์กร ๑.๑.๒ จัดให้มีสํานักงานบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นองค์กรถาวร เพื่อทําหน้าที่แก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ชายแดนภาคใต้ โดยยึดมั่นหลักการสร้างความสมานฉันท์และแนวทาง “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ใช้กระบวนการยุติธรรมกับผู้กระทําผิดอย่างเคร่งครัดและเป็นธรรม กําหนดจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นเขตพัฒนาพิ เศษ ที่มีการสนับสนุนแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ํา สิทธิพิเศษด้านภาษี และอุตสาหกรรม ฮาลาล รวมทั้งสนับสนุนให้เป็นเขตพัฒนา

กษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๑.๑.๒ เยียวยาและฟื้นฟูอย่าง ต่อเนื่องแก่บุคคลทุกฝ่าย เช่น ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ และผู ้ประกอบการภาคเอกชน ซึ่งได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากความเห็นที่แตกต่าง และความรุนแรงที่ก ่อตัวขึ้นตั้งแต่ช่วงปลายของการใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ๑ . ๑ . ๓ ส นั บ ส นุ น ใ ห ้คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ดําเนินการอย่างเป็นอิสระและได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายอย่างเต็มที่ในการตรวจสอบและค้นหาความจริงจากกรณีความรุนแรงทางการเมือง การละเมิดสิทธิมนุษยชน การสูญเสียชีวิต บาดเจ็บทางร ่างกายและจิตใจ รวมทั้ งความเสียหายทางทรัพย์สิน

Page 4: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๑.๓ เร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติดและปราบปรามผู้มี อิทธิพล โดยยังคงยึดหลักการ “ผู้เสพ คือผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษา ส่วนผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม” ทั้งนี้ รัฐบาลจะเร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด ลดปริมาณผู้เสพยา และป้องกันมิให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนควบคู่กับมาตรการปราบปรามและบังคับใช้กฎหมายอย่าง เ ป็นธรรม และใช้มาตรการทางกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมตัดช่องทางการหาเงินทุจริตของผู้มีอิทธิพลในทุก ๆ ด้าน ไม่ ว่าจะเป็นการตัดไม้ทําลายป่า การค้ามนุษย์ และการเป็นเจ้ามือการพนัน เป็นต้น ๑ .๔ ดําเนินมาตรการในการแก้ ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการ โดยดูแลเสถียรภาพของ

เอกภาพ เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อย ความสมานฉันท์ และสันติสุขในพื้นที่โดยเร็วที่สุด ๑.๓ ส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาและสร้างสัมพันธไมตรีที่ดีระหว่างประเทศในภูมิภาค โดยเร่ งแก้ ไข ปัญหาการกระทบกระทั่ งตามแนวพรมแดนผ่านกระบวนการทางการทูต และสร้างกลไกการพัฒนาพื้นที่ชายแดนร่วมกับประเทศ เพื่ อนบ้ าน บนหลั กการของการ ใช้ประโยชน์ร่วมกัน และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของเพื่อนบ้านที่ดีในภูมิภาค ๑.๔ สร้างกลไกในการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากวิกฤตการเงินของโลกที่ส่งผลต่อการเคลื่อนย้ายเงินทุนทั้งระยะสั้นและระยะยาว ทั้ งการเคลื่อนย้ายเ งิ น ทุ น เ ข้ า ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ อ อ ก ไ ปต่างประเทศ และดูแลสภาพคล่องในระบบสถาบันการเงินและตลาดทุนในประเทศ

พิเศษที่มีความยืดหยุ่นและหลากหลายทางศาสนา และวัฒนธรรม ๑ .๑ .๓ ปฏิรูปการเมือง โดยจัด ตั้ งคณะกรรมการ เพื่ อศึ กษาแนวทางการดําเนินการปฏิรูป โดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เพื่อวางระบบการบริหารประเทศให้มี เสถียรภาพและประสิทธิภาพ ในแนวทางการปกครองร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพสังคมไทย รวมทั้งสามารถสนองตอบต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน และเป็นไปตามความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง ๑.๑.๔ เร่งสร้างความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก โดยให้ความสําคัญต่อกรอบความร่วมมืออาเซียนเป็นลําดับแรก และร่วมมือกับ

๑.๒ กําหนดให้การแก้ไขและ ป ้องกันป ัญหายาเสพติดเป ็น“วาระแห่งชาติ” โดยยึดหลักนิติธรรมในการปราบปรามลงโทษผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้มีอิทธิพล และผู ้ประพฤติมิชอบโดยบังคับใช้กฎหมาย อย่างเคร ่งครัด ยึดหลักผู ้เสพคือผู ้ป ่วย ที่ต้องได้รับการบําบัดรักษาให้กลับมาเป็นคนดีของสังคม พร้อมทั้งมีกลไกติดตามช่วยเหลืออย ่างเป ็นระบบ ดําเนินการ อย่างจริงจังในการป้องกันปัญหาด้วยการแสวงหาความร่วมมือเชิงรุกกับต่างประเทศในการควบคุมและสกัดกั้นยาเสพติด สารเคมี และสารตั้งต้นในการผลิตยาเสพติ ดที่ ลั ก ล อบ เ ข ้า สู ่ป ร ะ เ ทศภ าย ใ ต ้การบริหารจัดการอย่างบูรณาการและมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งดําเนินการป้องกัน กลุ ่ม เสี่ ยงและประชาชนทั่ ว ไปไม ่ให ้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดด้วยการรวมพลังทุกภาคส่วนเป็นพลังแผ่นดินในการ

Page 5: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ค่าเงินบาท ระดับราคาสินค้าอุปโภคบริโภค และราคาพลังงานให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและเป็นธรรมแก่ผู้บริโภคและผู้ผลิต พร้อมทั้งจัดหาสินค้าราคาประหยัดจําหน่ายเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของผู้มีรายได้น้อย ๑.๕ เพิ่มศักยภาพของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ให้เป็นแหล่งเงินหมุนเวียนในการลงทุน สร้างงานและอาชีพ สร้างรายได้และลดรายจ่ายให้แก่ประชาชนในชุมชนและวิสาหกิจขนาดเล็กในครัวเรือน พัฒนากองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองที่มีการบริหารจัดการที่ดี ให้สามารถยกระดับเป็นธนาคารหมู่บ้านและชุมชน ๑.๖ จัดสรรงบประมาณตามขนาดประชากร (Small Medium Large: SML) ให้ครบทุกหมู่บ้านและชุมชน เพื่อสร้างโอกาสให้ชุมชนสามารถแก้ไขปัญหาของชุมชนด้วยตนเอง และพัฒนาโครงการที่จะก่อให้ เกิดรายได้อย่างยั่ งยืน พัฒนา

รวมทั้ งสนับสนุนการดํา เนินงานด้านน โ ย บ า ย ก า ร เ งิ น แ ล ะ ก า ร ค ลั ง อย่างสอดคล้องกัน เพื่อสร้างเสถียรภาพของระบบการเงินและตลาดทุนให้มีภูมิคุ้มกันต่อความผันผวนของสภาวะการเงินโลก ๑ .๕ เ ร่ งสร้ า งความเชื่ อมั่ นของ นักลงทุนและนักท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ โดยสร้างบรรยากาศที่ดีสําหรับการลงทุน แก้ไขกฎระเบียบที่เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการลงทุนภายในประเทศและในต่างประเทศ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของไทย รวมทั้งเสริมสร้างความมั่นใจของนักท่องเที่ยวอย่างเร่งด่วน เพื่อสร้างรายได้เข้าประเทศและผลักดันให้ประเทศไทยคงความเป็นแหล่งท่องเที่ยวชั้นนําของโลกอย่างต่อเนื่อง

รัฐสภาในการพิจารณาอนุมัติเอกสารที่เกี่ยวข้องที่ประเทศไทยในฐานะสมาชิกประชาคมอาเซียนจะต้องลงนามในช่วงของการประชุมสุดยอดผู้นําอาเซียนให้แล้วเสร็จภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ และเตรียมความพร้อมเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดผู้นําอาเซียนครั้งที่ ๑๔ ในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นประธานอาเซียน ๑.๑.๕ ฟื้นฟูเศรษฐกิจที่กําลังประสบปัญหาเป็นการเร่งด่วน โดยจัดทําเป็นแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะสั้นที่ครอบคลุมภ า ค เ ก ษ ต ร แ ล ะ เ ก ษ ต ร ก รภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการและการท่ อ ง เ ที่ ย ว ภ า ค ก า ร ส่ ง อ อ ก ภ า คอสังหาริมทรัพย์ การสร้างงานและสร้างรายไ ด้ในชนบท การพัฒนาแหล่ งน้ํ าธรรมชาติและฟื้นฟูทรัพยากร ให้แล้วเสร็จภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ พร้อมทั้ง

ต่อสู้กับยาเสพติด ๑.๓ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง โดยยึดหลักความโปร่งใสและมี ธรรมาภิบาลที่ เป ็นสากลเพื่อให ้การใช ้ ทรั พ ย าก ร เพื่ อ ก า รพั ฒนาประ เทศ เป ็นไปอย ่างมีประสิท ธิภาพและเกิด ประโยชน์ต่อประเทศโดยรวมอย่างแท้จริง ปรับปรุงและแก้ไขกฎหมายเพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤต ิมิชอบ ขยายการบังคับใช้บทบัญญัติเรื่องการห ้ามการกระทําที่ เป ็นการขัด กัน แห่งผลประโยชน์ให้ครอบคลุมผู้ใช้อํานาจรัฐในตําแหน่งสําคัญและตําแหน่งระดับ สูงอย่างทั่วถึง เข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ เสริมสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิบาลของบุคลากรภาครัฐ ตลอดจน

Page 6: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

สิ น ท รั พ ย์ ชุ ม ชน อนุ รั ก ษ์ แ ล ะ รั ก ษ าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน เพื่อให้ เกิดการเ ชื่อมโยงการใช้ทรัพยากรของรัฐ ท้องถิ่น และจังหวัด อย่างมีประสิทธิภาพ ๑ .๗ ส านต่ อ โ ค ร ง ก า ร ธน า ค า รประชาชน เพื่อกระจายโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินให้แก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย สร้างทางเลือกและลดการพึ่งพาแหล่งเงินกู้นอกระบบ ซึ่งจะทําให้ประชาชนมีโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ด้วยตนเอง ๑ . ๘ ส นั บ ส นุ น สิ น เ ชื่ อ แ ก่ผู้ประกอบการขนาดกลาง ขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน เพื่อสร้างโอกาสในการลงทุนและสร้างรายได้ ผ่านสถาบันการเงินของรัฐและธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ๑ .๙ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์

๑.๖ เร่งรัดการลงทุนที่สําคัญของประเทศ ทั้งโครงการต่อเนื่องและโครงการใหม่ที่มีความพร้อมในการดําเนินการ เช่น การพัฒนาระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและรถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รถไฟทางคู่ การพัฒนาบริการรถโดยสารสาธารณะ การพัฒนาพ ลั ง ง า น ท ด แ ท น ก า ร พั ฒ น า ขี ดความสามารถของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่ าอากาศยานสํ าคัญอื่ น ๆ การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ําและการชลประทาน การลงทุนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบ ควบคู่กับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ การลงทุน เพื่อปรับโครงสร้างระบบบริการสุขภาพ ที่มุ่งสู่การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ เป็นต้น เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยคํานึงถึงวินัย

จัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนําเม็ดเงินของรัฐเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจและเพื่ อ ให้สามารถบร ร เท าภา วะคว าม เ ดื อ ด ร้ อ นขอ งประชาชนและภาคธุรกิจได้ ๑.๑.๖ เร่งสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยวต่างชาติ และเร่งรัดมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว โดยการดําเนินการร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชนในการประชาสั ม พัน ธ์ ดึ ง ดู ดนักท่องเที่ยวต่างชาติ ส่งเสริมการท่องเที่ยวของคนไทยในประเทศ และปรับแผนงบประมาณของส่วนราชการที่ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ อยู่แล้ว เพื่อใช้ในการจัดการฝึกอบรมและสัมมนาให้ กระจายทั่ วประเทศ รวมทั้งลดหย่อนค่าธรรมเนียมและค่าบริการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว

ปลูกฝังจิตสํานึกและค่านิยมของสังคมให้ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริตและถูกต้องชอบธรรม ๑.๔ ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ําอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน โดยเร่งให้มีการบริหารจั ดก า รน้ํ า ใ น ระดั บประ เทศอย ่า งมีประสิทธิภาพให้สามารถป้องกันปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งได้ รวมทั้งสนับสนุนภาคการเกษตรด้วยการก่อสร ้างระบบชลประทานขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ฟื้นฟูการขุดลอกคูคลอง และแหล่งน้ําธรรมชาติที่มีอยู่เดิม ขยายเขตการสูบน้ําด้วยไฟฟ้า จัดสร้างคลองส่งน้ําขนาดเล็กเข้าสู่ไร่นา และขยายเขตการ จัดรูปที่ดิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ําและการผลิต ส่งเสริมการใช้น้ําให้เกิด ประโยชน์สูงสุดและเหมาะสมกับชนิดพืช และจัดหาแหล ่งน้ําในระดับไร ่นาและ

Page 7: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

เพื่อให้แต่ละชุมชนสามารถใช้ทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนาสินค้า โดยรัฐพร้อมที่จะสนับสนุนให้ชุมชนเข้าถึงองค์ความรู้สมัยใหม่ แหล่งเงินทุน และพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการและการตลาด เพื่อเชื่อมโยงสินค้าจากชุมชนสู่ ตลาดทั้ ง ในประเทศและต่างประเทศ ๑.๑๐ พักหนี้ของเกษตรกรรายย่อยและยากจน ที่ผ่านกระบวนการจัดทําแผนฟื้นฟูอาชีพ เพื่อสร้างโอกาสให้เกษตรกรสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตด้วยการสร้างรายได้และอาชีพที่มั่นคง ๑.๑๑ สร้างระบบประกันความเสี่ยงให้เกษตรกร เพื่อลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากผลกระทบความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และสร้างกลไกในการสร้างเสถียรภาพราคาของสินค้าเกษตรที่เป็นธรรม ๑.๑๒ ขยายบทบาทของศูนย์ซ่อมสร้าง

การคลังของประเทศ และมีการดําเนินงานอย่างโปร่งใสและตรวจสอบได้ ๑.๗ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะภัยธรรมชาติ ภาวะเงินเฟ้อ และราคาน้ํ ามัน โดยให้ความช่วย เหลื อผู้ประสบภัยธรรมชาติทั้งในด้านเงินทุนและการสร้างอาชีพ ดูแลระดับราคาสินค้าอุปโภคบริโภค และราคาพลังงานให้อยู่ในร ะ ดั บ ที่ เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ เ ป็ น ธ ร ร ม แก่ผู้บริโภคและผู้ผลิต รักษาเสถียรภาพของราคาพลังงานในประเทศไม่ให้ผันผวนจนเกินไป แม้ราคาพลังงานของโลกจะผันแปรมาก พร้อมกับส่งเสริมการประหยัดพลังงานและเพิ่มการใช้พลังงานทางเลือก ๑.๘ จัดตั้งสภาเกษตรกร และสร้างระบบประกันความเสี่ยงให้เกษตรกร เพื่ อ ให้สภาเกษตรกรเป็นกลไกแทนเกษตรกรในการสื่อสารกับรัฐบาลและ

เพื่อดึงดูดให้มีการเดินทางท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ๑.๑.๗ เร่งลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยให้ความสําคัญแก่โครงการลงทุนที่มีความคุ้มค่ามากที่สุด เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการลงทุน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยเฉพาะการลงทุนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบ การลงทุนเพื่อปรับโครงสร้างระบบบริการสุขภาพที่มุ่งสู่การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ การลงทุนพัฒนาระบบขนส่งมวลชน และการพัฒนาร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร น้ํ า แ ล ะ ก า รชลประทาน ให้สามารถเริ่มดําเนินโครงการได้ในปี ๒๕๕๒ โดยให้ค ว ามสํ า คั ญ แก่ ก า รมี ส่ ว น ร่ ว ม ขอ งประชาชน การรักษาสิ่งแวดล้อม การดําเนินงานอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ และการรักษาวินัยการคลังของประเทศ

ชุมชนอย่างทั่วถึง ๑.๕ เร่งนําสันติสุขและความป ล อ ด ภั ย ใ น ชี วิ ต แ ล ะ ท รั พ ย ์สิ น ของประชาชนกลับมาสู ่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ควบคู่ไปกับการขจัดความยากจน ยาเสพติด และอิทธิพลอํานาจมืด โดยน้อมนํากระแสพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจ ้าอ ยู ่หั ว “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบัติในแนวทางสันติ วิ ธี โดยเน ้นการส ่ง เสริมความร่วมมือในทุกภาคส่วนกับประชาชนในพื้นที่ อํานวยความยุติธรรมอย่างทั่วถึง เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและคุณภาพชีวิต สร้างโอกาสและความเสมอภาค พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ เคารพ อัตลักษณ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น ส่งเสริมการกระจายอํานาจการปกครอง ส่วนท้องถิ่นในรูปแบบที่สอดคล้องกับลักษณะพื้นที่ โดยไม่ขัดกับรัฐธรรมนูญ

Page 8: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

เพื่อชุมชน (Fix-it Center) และสถาบันอาชีวศึกษา เพื่อให้คําแนะนําและถ่ายทอดความรู้ในการใช้ การดูแลรักษาและซ่อมบํารุงเครื่องมืออุปกรณ์การประกอบอาชีพ เครื่องใช้ในครัวเรือน รวมทั้งสร้างเครือข่ายศูนย์ฯ กับชุมชนและวิสาหกิจเพื่อให้เกิดการพัฒนานวัตกรรม ระบบรับรองและตรวจสอบคุณภาพในขั้นต้นของสินค้าชุมชน ๑.๑๓ สร้างโอกาสให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัยอย่างทั่วถึง เช่น โครงการ “บ้านเอื้ออาทร” “บ้านรัฐสวัสดิการ” และ “ที่อยู่อาศัยของตนเองเป็นครั้งแรก” โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ซึ่งสามารถเดินทางเชื่อมระหว่างกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วยระบบขนส่งมวลชนได้อย่างสะดวก ๑.๑๔ เร่งรัดการลงทุนที่สําคัญของประเทศ เช่น การพัฒนาระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุง เทพมหานครและปริมณฑล ๙ สาย รถไฟความเร็วสูง รถไฟ

ร่วมกันพัฒนาเกษตรกรด้วยกันเอง และให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุนอย่างทั่วถึงและมีระบบประกันความเสี่ยงที่ช่วยลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากผลกระทบความเสียหายจากภัยธรรมชาติ รวมถึงดูแลราคาสินค้าเกษตรให้มีเสถียรภาพภายใต้การผันแปรอย่างรุนแรงของตลาดโลกและสร้างผลตอบแทนที่เป็นธรรมต่อเกษตรกร ๑.๙ สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งทุนของชุมชน ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อสร้างโอกาสทางอาชีพ การดูแลและจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น และสงเคราะห์ดูแลสังคมในชุมชน โดยจะเร่ งรั ด ดํา เนินโครงการเพิ่ มศักยภาพ ของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ให้มีก า รบริ ห ารจั ดการที่ ดี ผลั ก ดัน ให้ ม ีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล และการจัดสรรงบประมาณตามขนาดประชากรให้ทั่วถึงทุกหมู่ บ้านและทุกชุมชนอย่างมี

รวมทั้งเร่งรัดการเบิกจ่ายงบลงทุนของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ๑.๒ การรักษาและเพิ่มรายได้ของประชาชน ๑.๒.๑ ร่วมมือกับภาคเอกชนในการดําเนินมาตรการชะลอการเลิกจ้างและป้องกันการขยายตัวของการเลิกจ้างในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ทั้งอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดย่อม โดยใช้มาตรการจูงใจเพื่อลดภาระของภาคเอกชนในการชะลอการเลิกจ้างงาน ๑ .๒ .๒ ดําเนินมาตรการเร่งด่วนเฉพาะหน้า เพื่อรองรับปัญหาแรงงานว่ า ง ง านจากภาคอุ ตส าหกรรมและนักศึกษาจบใหม่ โดยจัดโครงการฝึกอบรมแรงงานที่ ว่างงานประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ คน ในระยะเวลา ๑ ปี ตามกลุ่มความถนัดและศักยภาพ และรองรับแรงงานกลับสู่

ทั้งนี้ จะมีการบูรณาการการบริหารจัดการทุกภาคส ่วนให ้มี เอกภาพทั้ ง ในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ รวมทั้งปรับปรุง พัฒนากฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้อง ทันสมัยกับสภาพความเป็นจริงของปัญหาที่เกิดขึ้น ตลอดจนเยียวยา ผู้ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบอย่าง เป็นธรรม ๑.๖ เร ่งฟื ้นฟูความสัมพันธ ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ เพื่อสนับสนุน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ร่วมกัน โดยเฉพาะการเร่งแก้ไขปัญหากระทบกระทั่งตามแนวพรมแดนผ ่าน กระบวนการทางการทูตบนพื้ นฐาน ของสนธิสัญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเร่งดําเนินการตามข้อผูกพันในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง

Page 9: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ทางคู่ รถไฟชานเมือง และรถไฟก้างปลาเชื่ อม โยงจั งหวั ดที่ ยั ง ไม่มี รถ ไฟขนส่ งผู้โดยสารและขนส่งสินค้า และการพัฒนาขีดความสามารถของท่าอากาศยานสากล เป็นต้น เพื่ อสร้ างความเชื่ อมั่นในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ๑.๑๕ ดําเนินมาตรการลดผลกระทบจากราคาพลังงาน โดยเร่งรัดโครงการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนจากก๊าซธรรมชาติและผลผลิตทางการเกษตร เช่น แก๊สโซฮอล์ ไบโอดีเซล รวมทั้ ง เร่ งรัดมาตรการประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดภาระการนําเข้าน้ํามันจากต่างประเทศ ๑.๑๖ ฟื้นความเชื่อมั่นด้านการลงทุนและส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย โดยประกาศให้ปี ๒๕๕๑ – ๒๕๕๒ เป็น “ปีแห่งการลงทุน” และ “ปีแห่งการ

ความต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนในระยะยาว ๑.๑๐ สนับสนุนสินเชื่อรายย่อยให้แก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อยและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยสานต่อโครงการธนาคารประชาชน เพื่อกระจายโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินให้แก่ประชาชนผู้ มี ร า ย ไ ด้ น้ อ ย ส ร้ า ง ท า ง เ ลื อ ก และลดการพึ่งพาแหล่งเงินกู้นอกระบบ สร้างผู้ประกอบการใหม่ และสนับสนุนสินเชื่ อแก่ผู้ประกอบการขนาดกลาง ขนาดย่อม และวิสาหกิจ ผ่านสถาบันการเงินของรัฐ ๑.๑๑ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจั ด ก า ร โ ค ร ง ก า ร ห นึ่ ง ตํ า บ ล ห นึ่ งผลิตภัณฑ์ โดยสนับสนุนให้ชุมชนเข้าถึงองค์ความรู้สมัยใหม่ แหล่งเงินทุน และพัฒนาความสามารถในการบริหารจัดการ คุณภาพมาตรฐานสินค้าและการตลาด

ภูมิลําเนาเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและสร้ า งมู ลค่ าทาง เศรษฐกิจ ให้แ ก่วิสาหกิจและธุรกิจชุมชน ๑.๒.๓ เร่งรัดดําเนินการช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ถูกเลิกจ้างและผู้ ว่างงานอันเนื่องมาจากวิกฤตเศรษฐกิจ โดยการดูแลให้ได้รับสิทธิประโยชน์ที่พึงจะได้ตามกฎหมายโดยเร็ว การหางานใหม่ การส่งเสริมอาชีพอิสระ การสร้างงาน และการเพิ่มพูนทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนอาชีพ รวมทั้งการจัดสวัสดิการที่จําเป็น เช่น การเพิ่มวงเงินให้กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างเพื่อช่วยเหลือลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง และการดําเนินโครงการสานฝันแรงงานคืนถิ่น ซึ่งรวมถึงการสร้างงานและจัดที่ทํากิน ตลอดจนการเข้าถึงแหล่งทุนสําหรับแรงงานนอกภาคเกษตรที่ถูกเลิกจ้างให้คืนสู่ภาคเกษตร ๑.๒.๔ สร้างหลักประกันด้านรายได้แก่

ตลอดจนการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่งภายในและภายนอกภูมิภาค ๑.๗ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อและราคาน้ํามันเชื้อเพลิง ๑.๗.๑ ชะลอการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ํ ามันเชื้อ เพลิ งสําหรับน้ํ ามัน เชื้อเพลิงบางประเภทชั่วคราวเพื่อให ้ ราคาน้ํามันเชื้อเพลิงลดลงทันที และปรับโครงสร้างราคาพลังงานทั้งระบบให้มุ ่งสู ่การสะท้อนราคาต้นทุนพลังงาน ๑.๗.๒ จัดให้มีบัตรเครดิตพลังงานสําหรับผู้ประกอบอาชีพรถรับจ้างขนส ่งผู ้โ ดยสารสาธารณะในวง เ งิ น ที่เหมาะสมกับค่าใช้จ่ายน้ํามันเชื้อเพลิง ที่ใช้จริงต่อเดือน ๑.๗.๓ ดูแลราคาสินค้าอุปโภคบริโภคและราคาพลังงานให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและเป็นธรรมแก่ผู ้บริโภคและ

Page 10: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ท่องเที่ยวไทย” ๑.๑๗ วางระบบการถือครองที่ดินและกําหนดแนวเขตการใช้ที่ดินให้ทั่วถึงและเป็นธรรม โดยใช้ข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ ภายใต้กระบวนการที่ ชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อให้ประชาชนมีที่ดินทํากินและประกอบอาชีพอย่างทั่วถึงและพอเพียง ๑.๑๘ ขยายพื้นที่ชลประทานและเพิ่มประสิทธิภาพระบบชลประทาน โดยฟื้นฟูและขุดลอกแหล่งน้ําธรรมชาติ รวมทั้งพัฒนาแหล่ งน้ํ าผิ ว ดินและใต้ ดิน โดยดําเนินการก่อสร้างระบบชลประทานขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก เพื่ อประโยชน์ ในการปรับ โครงสร้ า งภาคการเกษตร การบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้ง ทั้งในพื้นที่ชุมชนเมืองและพื้นที่เกษตรกรรม รวมทั้งระบบประปาที่ถูกสุขอนามัย เพื่อการอุปโภคและบริโภคแก่ประชาชนให้ทั่ วถึ งทุก พื้นที่ เพิ่ มประสิท ธิภาพการ

เพื่อเชื่อมโยงสินค้าจากชุมชนสู่ตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายการผลิตระหว่างชุมชน และเชื่อมโยงภาคเอกชนให้มีส่วนร่วมสนับสนุนผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน ๑.๑๒ เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด ปราบปรามผู้มีอิทธิพล อบายมุข และสิ่งยั่วยุเยาวชน โดยสนับสนุนการปฏิบัติการ “รวมพลังประชาไทย พ้นภัยย า เ ส พ ติ ด ” เ ร่ ง รั ด แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ยาเสพติด ลดปริมาณผู้ เสพยา และป้องกันมิให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนควบคู่กับมาตรการปราบปรามและบังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรม และใช้มาตรการทางกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมตัดช่องทางการหาเงินทุจริตของผู้มีอิทธิพลในทุกๆ ด้าน

ผู้สูงอายุที่มีรายได้ไม่เพียงพอแก่การยังชีพ หรือไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ โดยจัดสรรเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ที่แสดงความจํานงโดยการขอขึ้นทะเบียนเพื่อขอรับการสงเคราะห์ รวมทั้งขยายเพดานให้กู้ ยืมจากกองทุนผู้สูงอายุเป็น ๓๐,๐๐๐ บาทต่อราย ๑.๒.๕ เพิ่มมาตรการด้านการคลัง เพื่อช่วยเพิ่มรายได้ของประชาชนแ ล ะ ก ร ะ ตุ้ น ธุ ร กิ จ ใ น ส า ข า ที่ ไ ด้ รั บผลกระทบ ๑.๒.๖ สร้างรายได้และศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับฐานราก โดยการจัดตั้งกองทุนเศรษฐกิจพอเพียง และจัดสรรเงินเพิ่มเติมให้จากวงเงินที่เคยจัดสรรให้เดิม เพื่อพัฒนาแหล่งน้ําและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติระดับชุมชน ลดต้นทุนปัจจัยการผลิตทางการเกษตร รวมทั้งเร่งรัดและลดขั้นตอนของภาครัฐ

ผู้ผลิต ๑.๗.๔ แก้ไขปัญหาค่าครองชีพโดยการดูแลราคาสินค้าและการมีรายได้เพื่อเพิ่มกําลังซื้อสุทธิของประชาชนโดย ป้องกันและแก้ไขการผูกขาดทั้งทางตรงและทางอ้อม ๑.๘ ยกระดับคุณภาพชีวิตของป ร ะ ช า ช น โ ด ย เ พิ่ ม กํ า ลั ง ซื้ อภายในประเทศ สร้างสมดุลและความ เข ้มแข็งอย ่างมีคุณภาพให ้แก ่ระบบเศรษฐกิจมหภาค ๑.๘.๑ พักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้ต่ํากว่า ๕๐๐,๐๐๐ บาท อย่างน้อย ๓ ปี และปรับโครงสร้างหนี้สําหรับผู้ที่มีหนี้เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท รวมทั้งจัดทําแ ผนฟ ื้น ฟู อ า ชี พ แ ล ะ แผนก า รป รั บโครงสร้างการผลิตอย่างครบวงจร เพื่อ สร้างโอกาสในการยกระดับคุณภาพชีวิต

Page 11: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

กระจายน้ําโดยการพัฒนาระบบชลประทานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ชลประทานระบบท่อ ๑.๑๙ เร่งรัดมาตรการและโครงการเพื่อบรรเทาผลกระทบจากวิกฤติโลกร้อน โดยส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ธุรกิจเอกชน และชุมชนให้มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะการปลูกและฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้งสนับสนุนการใช้พลังงานทางเลือกจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในระดับครัวเรือน เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

๑ . ๑ ๓ เ ร่ ง รั ด ป รั บ ป รุ ง ร ะ บ บสาธารณสุข โดยพัฒนาระบบประกันสุขภาพให้มีคุณภาพการบริการเพิ่มขึ้น และขยายการบริการให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่ ดี อย่ างทั่ วถึ ง ตามแนวทาง “โครงการ ๓๐ บาทรักษาทุกโรค” ๑ .๑๔ เ ร่ งรัดการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและเพิ่มประสิทธิภาพระบบก ร ะ จ า ย น้ํ า ทั้ ง ใ น แ ล ะ น อ ก เ ข ตชลประทาน โดยฟื้นฟูและขุดลอก คูคลอง และแหล่งน้ําธรรมชาติ รวมทั้งพัฒนาแหล่งน้ํ าผิวดินและใต้ดิน ดําเนินการก่อสร้างระบบชลประทานขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และคลองส่งน้ําขนาดเล็กเข้าไร่นา เพื่อประโยชน์ในการปรับโครงสร้างภาคการเกษตร การบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้ง ทั้งในพื้นที่ชุมชนเมืองและพื้นที่เกษตรกรรม ส่งเสริมการพัฒนาระบบประปาที่ถูกสุขอนามัย เพื่อการอุปโภค

เ พื่ อ ใ ห้ ท้ อ ง ถิ่ น ส า ม า ร ถ เ บิ ก จ่ า ยงบประมาณได้อย่างรวดเร็ว ๑.๒.๗ ดําเนินมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรผ่านกลไกและเครื่องมือของรัฐให้มีประสิทธิภาพ และเร่งสร้างระบบประกันความเสี่ยงทางการเกษตร ทั้งระบบประกันความเสี่ยงราคาพื ชผลผ่ านกลไกตลาดซื้ อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและระบบประกันภัยพืชผลอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติ ๑.๒.๘ เร่งรัดและพัฒนาตลาดและระบบการกระจายสินค้าของสินค้าเกษตรและสินค้าชุมชน เพื่อกระตุ้นการบริโภคภายในประเทศ และการส่งออก ๑.๒.๙ จัดตั้งสภาเกษตรกรแห่งชาต ิ เพื่อให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและวางแผนพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นระบบ และมีระบบการคุ้มครองและรักษาผลประโยชน์ของเกษตรกร

ด้วยการมีรายได้ที่มั่นคงและสามารถใช้หนี้คืน ๑.๘.๒ ดําเนินการให้แรงงานมีรายได้เป็นวันละไม่น้อยกว่า ๓๐๐ บาท และผู ้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีมีรายได้เดือนละไม่น้อยกว่า ๑๕,๐๐๐ บาท อ ย ่า ง ส อ ด ค ล ้อ ง กั บ ผ ลิ ต ภ า พ แ ล ะประสิท ธิภาพของบุคลากร รวมทั้ งมีมาตรการเพื่อลดภาระแก่ผู้ประกอบการที่ได ้รั บผลกระทบเพื่ อ ให ้แรงงานและบุคลากรสามารถดํารงชีพได้อย่างมีศักดิ์ศรีและคุณภาพชีวิตที่ดี ๑.๘.๓ จัดให้มีเบี้ยยังชีพรายเ ดือนแบบขั้ นบัน ไดสํ าหรับผู ้สู งอา ยุ โดยผู้ที่มีอายุ ๖๐-๖๙ ปี จะได้รับ ๖๐๐ บาท อายุ ๗๐-๗๙ ปี จะได้รับ ๗๐๐ บาท อายุ ๘๐-๘๙ ปี จะได้รับ ๘๐๐ บาท และอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป จะได้รับ ๑,๐๐๐ บาท ๑.๘.๔ ให้มีมาตรการภาษีเพื่อลด

Page 12: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

และบริโภคแก่ประชาชนให้ทั่วถึงทุกพื้นที่ ระบบประปาบาดาล และน้ํ าสะอาดโรงเรียน และการเพิ่มประสิทธิภาพการก ร ะ จ า ย น้ํ า โ ด ย ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บชลประทานในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการผันน้ําเพื่อเพิ่มปริมาณน้ําต้นทุน

๑ .๑๕ เร่งรัดมาตรการและโครงการเพื่อบรรเทาผลกระทบ รวมทั้งการปรับตัวเพื่อพร้อมรับวิกฤตโลกร้อน โดยการปราบปรามการบุกรุกทําลายป่าอย่างเข้มงวด เสริมด้วยการปรับปรุงแนวเขตที่ ดินของรัฐ และพิสูจน์สิท ธิ์ที่ ดินประเภทต่าง ๆ รวมทั้งที่ดิน ป่าไม้ และเร่งพัฒนาฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะการจัดฝายต้นน้ําเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นให้ป่าต้นน้ํา การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง การเตรียมการเพื่อป้องกันภัยน้ําท่วมและน้ําแล้ง การเลือกปลูกพืชให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปริมาณน้ํา การส่งเสริมการใช้

รวมทั้งพัฒนาความเข้มแข็งของเกษตรกรได้อย่างยั่งยืน ๑.๒.๑๐ ส่งเสริมบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) ทั่วประเทศให้ปฏิบัติงานเชิงรุก ในการส่งเสริมสุขภาพในท้องถิ่นและชุมชน การดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ การดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาล และการเฝ้าระวังโรคในชุมชน โดยจัดให้มีสวัสดิการค่าตอบแทนให้แก่ อสม.เพื่อสร้างแรงจูงใจหนุนเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ ๑.๓ การลดภาระค่าครองชพีของประชาชน ๑.๓.๑ ให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี ๑๕ ปี โดยสนับสนุนตําราในวิชาหลักให้แก่ทุกโรงเรียน จัดให้มีชุดนักเรียนและอุปกรณ์การเรียนฟรีให้ทันปีการศึกษา ๒๕๕๒ และสนับสนุนค่าใช้จ่าย

ภาระการลงทุนสําหรับสิ่งจําเป็นในชีวิต ของประชาชนทั่วไป ได้แก่ บ้านหลังแรกและรถยนต์คันแรก ๑.๙ ปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้เหลือร้อยละ ๒๓ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ และลดลงเหลือร้อยละ ๒๐ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชน ขยายฐานภาษี และรองรับการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๑๐ ส่งเสริมให้ประชาชน เข้าถึงแหล่งเงินทุน สนับสนุนสินเชื่อรายย่อย โดยเฉพาะสินเชื่อเพื่อประกอบอาชีพให ้แก ่ประชาชนผู ้มี รายได ้น ้อย รวมถึงเพิ่มสวัสดิการของรัฐเพื่อเป็นการดูแลสังคมในชุมชน จัดหาแหล่งเงินทุนให้แก่ผู้ประกอบการและประชาชน โดย ๑.๑๐.๑ เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ

Page 13: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงานทางเลือกที่สะอาดในภาคการผลิตและบริการ ซึ่งรวมทั้งการใช้พลังงานจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ครัวเรือน ภาคอุตสาหกรรม เพื่อลดก๊าซเรือนกระจก และการสร้างจิตสํานึกในการตระหนักถึงหน้าที่ในการป้องกันปัญหาโลกร้อนแก ่คนไทยทุกวัยและทุกระดับ

๑.๑๖ จัดทําแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะภูมิอากาศของโลก การผันผวนของราคาพลังงาน และวิกฤตอาหารของโลก โดยเปิดโอกาสให้ ทุ กภ าค ส่ วน ทั้ ง ภ าค รั ฐ เ อกชน สถาบันการศึกษา และประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมจัดทําแผนแม่บทดังกล่าวเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนารองรับสถานการณ์อย่างเป็นระบบในระยะยาว

อื่นๆ เพื่อชดเชยรายการต่างๆ ที่โรงเรียนเรียกเก็บจากผู้ปกครอง ๑.๓.๒ กํากับดูแลราคาสินค้าอุปโภคบริ โภคและบริการที่มีความจําเป็นต่อการครองชีพ ให้มีราคาที่เป็นธรรม สะท้อนต้นทุนอย่างเหมาะสมและไม่เป็นการเอาเปรียบผู้บริโภค ๑.๓.๓ ดําเนินมาตรการลดภาระ ค่าครองชีพของประชาชน ในส่วนของการเดินทางก๊าซหุงต้ม และบริการด้านสาธารณูปโภค โดยปรับปรุงมาตรการที่มีอยู่ เ ดิ ม ให้ สอดคล้ อ งกั บสภาวะทางเศรษฐกิจ และอยู่บนหลักการของการใช้และบริโภคอย่างประหยัด ๑.๓.๔ ใช้กองทุนน้ํามันในการรักษาเสถียรภาพของราคาน้ํ ามันอย่ า งมีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนและการใช้น้ํามันอย่างประหยัด

๑ ล้านบาท ๑.๑๐.๒ จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยมีวงเงินเฉลี่ย จังหวัดละ ๑๐๐ ล้านบาท ๑.๑๐.๓ จัดตั้งกองทุนตั้งตัวได้ในวงเงินประมาณ ๑,๐๐๐ ล้านบาท ต ่อสถาบันอุดมศึกษาที่ ร ่วมโครงการ สนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการรายย่อย เพื่อให้สามารถกู้ยืมเพื่อการสร้างอาชีพผนวกกับกลไกของ“หน ่วยบ ่ม เพาะวิสาหกิจ”ในสถานศึกษาโดยมุ ่งให้เกิดวิสาหกิจนวัตกรรมใหม่ที่จะเป็นกลไกใหม่ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ๑.๑๐.๔ จัดสรรงบประมาณเข้ากองทุนพัฒนาศักยภาพของหมู ่บ้านและชุมชน (SML) ตามแนวปรัชญาเ ศ รษฐกิ จพอ เพี ย ง เ ป ็น จํ า น วน เ งิ น ๓๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ และ ๕๐๐,๐๐๐ บาทตามลําดับขนาดของหมู ่บ้านเพื่อให้

Page 14: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๑.๔ จัดตั้งคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ และคณะกรรมการร่วมภาครัฐแ ล ะ เ อ ก ชน เพื่ อ แ ก้ ไ ขปั ญห าท า งเศรษฐกิจ (กรอ.) เพื่อเร่งรัดติดตาม แก้ไขปัญหา ลดขั้นตอนในการปฏิบัติ และกําหนดมาตรการและโครงการเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจในภาวะเร่งด่วน

หมู ่บ ้านบริหารจัดการกองทุนเพื่อการพัฒนาชุมชนด้วยตนเอง ๑.๑๑ ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยดูแลราคาสินค้าเกษตรให้มีเสถียรภาพ ที่เหมาะสม คํานึงถึงกลไกราคาตลาดโลกโดยใช้วิธีบริหารจัดการทางการตลาดและกลไกตลาดซื้อขายล่วงหน้า รวมทั้งผลักดันให้เกษตรกรสามารถขายสินค้าเกษตรได้ในราคาสูงเพียงพอเมื่อเทียบกับ ต้นทุน และนําระบบรับจํานําสินค้าเกษตรมาใช้ในการสร้างความมั่นคงด้านรายได้ให้แก่เกษตรกร เริ่มต้นจากการรับจํานํา ข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิความชื้นไม่เกินร้อยละ ๑๕ ที่ราคาเกวียนละ ๑๕,๐๐๐ บาท และ ๒๐,๐๐๐ บาทตามลําดับ พร้อมทั้งจัดให้มีการเยียวยาความเสียหายของพืชผลจากภัยธรรมชาติให้แก่เกษตรกร การจัดทําระบบทะเบียน

Page 15: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ครัวเรือนเกษตรกรให้สมบูรณ์ และการออกบัตรเครดิตสําหรับเกษตรกร ๑.๑๒ เร่งเพิ่มรายได้จากการ ท ่อ ง เ ที่ ย วทั้ ง ใ นและนอกประ เทศ โดยประกาศให้ปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕ เป็นปี “มหัศจรรย์ไทยแลนด์” (“Miracle Thailand” Year) และประชาสัมพันธ์เชิญชวนนักท่องเที่ยวต ่างชาติเข ้าร ่วมเฉลิมฉลองในพระราชพิธีมหามงคลที่จะมีขึ้นในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕ ๑.๑๓ สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการสร้างเอกลักษณ์และการผลิตสินค้าในท้องถิ่น ๑.๑๓.๑ สนับสนุนภารกิจของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในการผลิตงานศิลปหัตถกรรมอันทรงคุณค่าเพื่อสร้างงาน สร้างอาชีพแก่ราษฎรผู้ยากไร้ให้สามารถพั ฒน า เ ป ็น ช ่า ง ฝ ีมื อ ด ้า น ศิ ล ป ะที่ มี

Page 16: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ความสามารถสูงและสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ ๑.๑๓.๒ บริหารจัดการโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ให้มีศักยภาพ ด้วยการสนับสนุนให้ชุมชน วิสาหกิจ ชุมชนใช ้ทรัพยากรและภูมิปัญญาท ้องถิ่ นผนวกกับองค ์ความรู ้ สมัยใหม่ เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ สินค้าและบริการการ เข้าถึงแหล่งทุนและการตลาด เชิ ง รุ กทั้ ง ในประ เทศและ ต่างประเทศ โดยส่งเสริมให้มีศูนย์กระจายและแสดงสินค ้าถาวรในภูมิภาคและเมืองท ่องเที่ยวหลักที่ เชื่อมโยงกับการ ท่องเที่ยวและการส่งออก ๑.๑๔ พัฒนาระบบประกันสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ๓๐ บาทรักษาทุกโรคเพื่อ ให ้ประชาชนทุกคนได ้รับบริการ อย่างมีคุณภาพ สะดวก รวดเร็วและเป็น

Page 17: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ธรรม รวมทั้งบูรณาการสิทธิของผู ้ป ่วย ที่พึ ง ได ้รับจากระบบประกันสุขภาพ ต่าง ๆ บูรณาการแผนงานของหน่วยงาน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องไป ในแนวทางเดียวกัน ตลอดจนส่งเสริม การนําเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและคุ้มค่าต่อการให้บริการมาใช้ให้แพร่หลายรวมทั้งจัดให้มีมาตรการลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพและภาวะทุพโภชนาการที่นําไปสู ่การเจ็บป่วยเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด และโรคมะเร็ง รวมทั้งการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ และมาตรการป้องกันอุบัติเหตุจากการจราจร ๑.๑๕ จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ตให้แก่โรงเรียน โดยเริ่มทดลองดําเนินการในโรงเรียนนําร ่องสําหรับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕ ควบคู่กับการเร่งพัฒนา

Page 18: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

เนื้อหาที่เหมาะสมตามหลักสูตรบรรจุลงในคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต รวมทั้งจัดทําระบบอินเทอร์เน็ตไร้สายตามมาตรฐานการให้บริการในสถานศึกษาที่กําหนดโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ๑.๑๖ เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส ่วนร่วมอย่าง กว้างขวาง โดยมีสภาร่างรัฐธรรมนูญ ที่เป็นอิสระยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เพื่อวางกลไกการใช้อํานาจอธิปไตยที่ยึดหลักนิติธรรม และองค์กรที่ใช้อํานาจรัฐ ที่มีความรับผิดชอบต่อประชาชนและ พ ร ้อ ม รั บ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ทั้ ง นี้ ให้ประชาชนเห็นชอบผ่านการออกเสียงประชามติ

Page 19: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๒. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ๒.๑ นโยบายการศึกษา

๒.๑.๑ ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พการศึกษาของคนไทยอย่างมีบูรณาการและสอดคล้องกันตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษาทั้งในและนอกระบบการศึกษา และสร้างระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต

๒.๑.๒ พัฒนาหลักสูตร ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูให้มีคุณภาพและคุณธรรมอย่างทั่วถึง ต่อเนื่อง และก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์

๒.๑.๓ ส่งเสริมการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน การสอน และการเรียนรู้อย่างจริงจัง จัดให้มีการเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงอย่างกว้างขวาง พร้อมทั้งจัดหาอุ ป ก รณ์ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร สน เ ทศ เ พื่ อประกอบการเรียนการสอนให้โรงเรียนอย่างทั่วถึง

๓. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ๓.๑ นโยบายการศึกษา

๓.๑.๑ ล ง ทุ น เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บคุณภาพการศึกษาทั้งระบบ ครอบคลุมการพัฒนาครู หลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อผลสัมฤทธิ์ด้านคุณภาพและความรู้ของนักเรียนตามแผนการเรียนการสอนอย่างสัมพันธ์กับทรัพยากรและปัจจัยแวดล้อมต่างๆ อันจะนําไปสู่การสร้างระบบการเรียนรู้ตลอดชี วิตของประชาชน และการเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษาในภูมิภาค

๓.๑.๒ จัดให้คนไทยทุกคนมีโอกาสรับการศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๒ ปีโดยไม่ เสียค่ าใ ช้จ่ าย โดยเฉพาะผู้ ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากลําบาก รวมทั้งบุคคลออทิสติก เด็กสมาธิสั้น และผู้ ด้อยโอกาสอื่นๆ ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และเพิ่มโอกาสใน

๓. นโยบายสังคมและคณุภาพชีวติ ๓.๑ นโยบายการศึกษา ๓.๑.๑ ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริหารจัดการ ปรั บปรุ ง กฎหมาย ให้ ส อดคล้ อ งกั บรัฐธรรมนูญ และระดมทรัพยากรเพื่อการปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษาตั้งแต่ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น จ น ถึ งระดับอุดมศึกษา พัฒนาครู พัฒนาระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตร รวมทั้งปรับหลักสูตรวิชาแกนหลักรวมถึงวิชาประวัติศาสตร์ ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ ปรับบทบาทการศึกษานอกโรงเรียนเป็นสํานักงานการศึกษาตลอดชีวิต และจัดให้มีศูนย์การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อการเรียนรู้ที่ เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ตลอดจนส่งเสริมการกระจายอํานาจให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

๔. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ๔.๑ นโยบายการศึกษา ๔.๑.๑ เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการปฏิรูประบบความรู้ของสังคมไทย อันประกอบด้วยการยกระดับองค์ความรู้ให้ได้มาตรฐานสากล จัดให้มีโครงการตําราแห่งชาติที่บรรจุความรู ้ ที่ก ้าวหน้าและได ้มาตรฐานทั้งความรู ้ ที่เป็นสากลและภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมการอ่าน พร้อมทั้งส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาต ่างประเทศและภาษาถิ่น จัดให้มีระบบการจัดการความรู ้ ปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาทุกระดับให้รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกและทัดเทียมกับมาตรฐานสากลบนความเป็นท้องถิ่นและความ เป ็น ไทย เพิ่ ม ผลสั มฤทธิ์ ข อ งการศึกษาทุกระดับชั้นโดยวัดผลจากการ ผ่านการทดสอบมาตรฐานในระดับชาติ และนานาชาติ ขจัดความไม่รู้หนังสือให้สิ้น

Page 20: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๒.๑.๔ ดําเนินการให้บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา ๑๒ ปีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย รวมทั้งสนับสนุนผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ หรืออยู่ในสภาวะยากลําบาก ให้ได้รับการศึกษา และเพิ่มโอกาสให้แก่เยาวชนในการศึกษาต่อผ่านกองทุนให้กู้ยืมที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต และเชื่อมโยงกับนโยบายการผลิตบัณฑิตเพื่อตอบสนองความต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถของประเทศ รวมทั้งต่ อ ย อ ด ใ ห้ ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า ทั้ ง ใ น แ ล ะต่างประเทศ

๒ .๑ .๕ สนับสนุนการผลิตและพัฒนากําลังคนให้สอดรับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ และเร่งผลิตกําลังคนระดับอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพเพื่อสนับสนุนความสามารถในการแข่งขันของประเทศในสาขาต่าง ๆ เช่น ปิโตรเคมี ซอฟต์แวร์ อาหาร สิ่งทอ บริการสุขภาพ

การศึกษาต่อผ่านกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาและเชื่อมโยงกับนโยบายการผลิตบัณฑิตเพื่อตอบสนองความต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถของประเทศ รวมทั้งต่อยอดให้ทุนการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ

๓.๑.๓ ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูให้มีคุณภาพและคุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีรายได้ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม พัฒนาหลักสูตร สื่อก า ร เ รี ย น ก า ร ส อน ใ ห้ ทั น ส มั ย แ ล ะสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ควบคู่กับการส่งเสริมการเรียนภาษาไทยและประวัติศาสตร์ เพื่อสร้างจิตสํานึกในความเป็นไทย พร้อมทั้งขยายบทบาทของระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านองค์กรต่าง ๆ เช่น สํานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ ระบบห้องสมุดสมัยใหม่ หรืออุทยานการเรียนรู้ พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้

เพื่อนําไปสู่เป้าหมายคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นคุณธรรมนําความรู้อย่างแท้จริง ๓.๑.๒ ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ โดยมุ่งเน้นในระดับอาชีวศึกษา และอุ ดมศึ กษา เพื่ อ ให้ สนองตอบความต้องการด้านบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ ๓ .๑ .๓ พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรม มีคุณภาพ และมีวิทยฐานะสูงขึ้น ลดภาระงานครูที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนตามโครงการคืนครู ให้นักเรียน มีการดูแลคุณภาพชีวิตของครูด้วยการปรับโครงสร้างหนี้และจัด ตั้งกองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครู ควบคู่ไปกับการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เน้นการพัฒนาเนื้อหาสาระและบุคลากรให้พร้อมรองรับและใช้ประโยชน์จากระบบ

ไปจากสังคมไทย จัดให้มีครูดีเพียงพอในทุกห้องเรียน ให้มีโรงเรียนและสถาบันอาชีวศึกษาคุณภาพสูงในทุกพื้นที่ พัฒนามหาวิทยาลัยเข้าสู่ระดับโลก พัฒนาระบบการศึกษาให้ผู ้เรียนมีความรู ้คู ่คุณธรรม มุ ่งการสร ้างจริยธรรมในระดับป ัจเจก รวมทั้งสร้างความตระหนักในสิทธิและ หน้าที่ ความเสมอภาค และดําเนินการให้ก า ร ศึ ก ษ า เ ป ็น พื้ น ฐ า น ข อ ง สั ง ค มประชาธิปไตยที่แท้จริง ปรับปรุงโครงสร้างระบบบริหารการศึกษาโดยการกระจายอํานาจสู่พื้นที่ให้เสร็จสมบูรณ์โดยเริ่มจากพื้นที่ที่มีความพร้อม ๔.๑.๒ สร้างโอกาสทางการศึกษากระจายโอกาสทางการศึกษาในสังคมไทย โดยคํานึงถึงการสร้างความเสมอภาคและความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประชากรทุกกลุ่ม ซึ่งรวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกายและการเรียนรู้

Page 21: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๒๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

และการท่องเที่ยว และการบริหารจัดการขนส่งสินค้าและบริการ เป็นต้น ด้วยความร่ ว มมื อ ร ะหว่ า ง ส ถ านประกอบกา ร สถาบันการศึกษา และสถาบันเฉพาะทาง ตลอดจนให้มีการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพตามมาตรฐานสากล ๒.๑.๖ ขยายบทบาทของระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านองค์กรต่าง ๆ เช่น สํานักงานบริหารจัดการองค์ความรู้ ระบบห้องสมุดสมัยใหม่ หรืออุทยานการเรียนรู้ พิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้แห่งชาติ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ศูนย์พัฒนาด้านกีฬา ดนตรี ศิลปะ ศูนย์บําบัดและพัฒนาศักยภาพของบุคคลออทิสติก เด็กสมาธิสั้น และผู้ด้อยโอกาสอื่นๆ ศูนย์การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

๒.๒ นโยบายแรงงาน ๒.๒.๑ เร่งฝึกอบรมและพัฒนา

คนที่ทํางานแล้วและคนที่ถูกเลิกจ้าง เพื่อ

แห่งชาติ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ศูนย์พัฒนาด้านกีฬา ดนตรี ศิลปะ ศูนย์บํ าบัดและพัฒนาศักยภาพของบุคคล ออทิสติก เด็กสมาธิสั้น และผู้ด้อยโอกาสอื่นๆ

๓.๑.๔ ส่งเสริมการนําทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้อย่างจริงจัง ส่งเสริมการใช้สื่อการเรียนรู้ทางไกล จัดให้มีการเข้าถึงระบบอินเทอร์ เน็ตความเร็วสู งอย่างกว้างขวาง จัดหาอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประกอบแผนการเรียนการสอนของครูให้โรงเรียนอย่างทั่วถึง ตลอดจนพัฒนาทักษะด้านภาษาต่างประเทศ

๓.๑.๕ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ แ ล ะมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาให้มีความเป็นเลิศด้านการศึกษาวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรม การให้บริการวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง และการผลิตและพัฒนา

เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างคุ้มค่า ๓.๑.๔ จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี ๑๕ ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรในกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทั้งผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากลําบาก ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติปัญญา และชนต่างวัฒนธรรม รวมทั้งยกระดับการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ๓ . ๑ . ๕ ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศ โดยการจัดกลุ่มสถาบันการศึกษาตามศักยภาพ ปรับเ งิ น เ ดื อนค่ า ตอบแทนของผู้ สํ า เ ร็ จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาให้สูงขึ้น โดยภาครัฐเป็นผู้นําและเป็นแบบอย่างของการใช้ทักษะอาชีวศึกษาเป็นเกณฑ์กําหนด

รวมทั้งชนกลุ่มน้อย โดยส่งเสริมการให้ความรู้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาถึงแรกเกิดให้ได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพทั้งแม่และเด็ก สนับสนุนการจัดการศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพ ตั้ งแต ่ก ่อน วัย เ รี ยนจนจบการศึ กษา ขั้นพื้นฐานโดยจัดให้มีการเทียบโอนวุฒิการศึกษาสําหรับกลุ่มที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง เช่น กลุ่มแม่บ้าน จัดให้มีระบบสะสมผลการศึกษาและการเทียบโอนเพื่อขยายโอกาสให้กว้างขวางและลดปัญหาคนออกจากระบบการศึกษา นอกจากนี้ จะดําเนินการลด ข ้อ จํ า กั ด ขอ งก า ร เ ข ้า ถึ ง ก า รศึ กษ าระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาชั้นสูง โดยจัดให้มี “โครงการเงินกู้เพื่อการศึกษาที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต” โดยให้ผู้กู้เริ่มใช้คืนต่อเมื่อมีรายได้เพียงพอที่จะเลี้ยงตัวได้ พักชําระหนี้แก่ผู้เป็นหนี้กองทุนกู้ยืม

Page 22: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๒๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

เพิ่มโอกาสการเข้าสู่ภาคการผลิตและบริการที่มีระดับเทคโนโลยีที่สูงขึ้น

๒.๒.๒ จัดให้มีระบบเตือนภัยและติดตามสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อการจ้างงาน การเลิกจ้างอันเนื่องจากการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ พร้อมทั้งจัดให้มีการจ้างงานใหม่โดยเร็ว

๒.๒.๓ ให้การคุ้มครองแรงงานต า ม ม า ต ร ฐ า น แ ร ง ง า น ไ ท ย ซึ่ ง ใ ห้ความสําคัญแก่ความปลอดภัยในการทํางานและสวัสดิการแรงงาน พร้อมทั้งจัดระบบการคุ้มครองแก่แรงงานนอกระบบให้ครอบคลุมมากขึ้น

๒.๓ นโยบายการพฒันาสุขภาพของประชาชน

๒.๓.๑ เพิ่มคุณภาพของระบบหลั กประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ าและ ให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้อย่างไม่เป็นอุปสรรค พร้อมทั้ งปฏิรูประบบบริหาร

กําลังคน ให้สอดรับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ พร้อมทั้งเร่งผลิตกําลังคนระดับอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพและมีเส้นทางอาชีพที่ชัดเจนเพื่อส นั บ ส นุ น ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ในการแข่งขันของประเทศด้านต่าง ๆ เช่น ปิโตรเคมี ซอฟต์แวร์ อาหาร สิ่งทอ บริการสุขภาพ การท่องเที่ยว และการบริหารจัดการขนส่งสินค้าและบริการ เป็นต้น ตลอดจนจัดให้มีการรับรองสมรรถนะของบุคคลในการประกอบอาชีพ และสานต่อการขยายบทบาทศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน

๓.๑.๖ ส่งเสริมสนับสนุนการกระจายอํานาจการจัดการศึกษาไปยังเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา รวมทั้งการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการจัดการศึกษาอย่างกว้างขวาง ด้วยมาตรการที่เป็นรูปธรรม ควบคู่กับการพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้พร้อม

ค่าตอบแทนและความก้าวหน้าในงาน ควบคู่กับการพัฒนาองค์ความรู้ และนวัตกรรมด้วยการเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา ๓.๑.๖ ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ให้มีการประนอมและไกล่เกลี่ยหนี้ รวมทั้งขยายกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเพิ่มขึ้นเพื่อให้ประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและปริญญาตรีเพิ่มขึ้น ๓.๑.๗ ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ ๓ .๑ .๘ เร่ งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้อย่างบูรณาการในทุกระดับการศึกษาและในชุมชน โดยใช้พื้นที่และโรงเรียนเป็นฐานในการบูรณาการทุกมิติ และยึดเกณฑ์การประเมินของ

เพื่อการศึกษา โดยปรับเปลี่ยนการชําระหนี้เป็นระบบที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต ปรับปรุ งระบบการคัดเลือกเข ้าศึกษา ต่อทุกระดับให้เอื้อต่อการกระจายโอกาส โดย เฉพาะอย ่า งยิ่ ง จะจัด ให ้มี ระบบคั ด เ ลื อ กกล า ง เพื่ อ เ ข ้า ศึ กษ าต ่อ ใ นมหา วิทยาลั ยที่ มี ป ระสิ ท ธิภาพและ เป็นธรรม ดําเนิน “โครงการ ๑ อําเภอ ๑ ทุน” เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กไทยได้ไปเรียนต่อต่างประเทศ จัดการศึกษาชุมชนเพื่อมุ ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู ้และการศึกษาตลอดชีวิต ๔.๑.๓ ปฏิรูปครู ยกฐานะครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูงอย่างแท้จริงโดยปฏิรูประบบการผลิตครูให้มีคุณภาพทัดเทียมกับนานาชาติ สร้างแรงจูงใจให้คนเรียนดีและมีคุณธรรมเข้าสู่วิชาชีพครู ปรับปรุงระบบเงินเดือนและค่าตอบแทนครู พัฒนาระบบความก้าวหน้าของครูโดยใช้การประเมิน

Page 23: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๒๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

จัดการสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพทั่วถึงและครบวงจร ทั้งการรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสุขภาพ การป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพ

๒.๓.๒ จัดให้มีมาตรการลดปัจจัยเ สี่ ย งที่ มี ผ ล ต่อสุ ขภาพและภาวะทุ พโภชนาการที่นําไปสู่การเจ็บป่วยเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง หัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิต และอุบัติเหตุจากการจราจร พร้อมทั้งนํามาตรการภาษีการบริ โภคสินค้ าที่ เป็นอั นตรายต่ อสุ ขภาพมาใช้ กระตุ้ นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลให้ลด ละ และเลิก พฤติกรรมสุ่มเสี่ยงต่อสุขภาพ

๒.๓.๓ ดําเนินการระบบเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคเชิงรุก เพื่อป้องกันปัญหาการป่วยและตายด้วยโรคอุบัติใหม่และระบาดซ้ําในคน พร้อมทั้งสร้างขีดความสามารถในการเฝ้าระวัง วินิจฉัย และดูแลรักษาพยาบาลอย่ าง เป็นระบบที่

รับการถ่ายโอนการจัดการศึกษา ตลอดจนการปรับระเบียบวิธีเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถสนับสนุนการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพมาตรฐาน

๓.๑.๗ ส่งเสริมกลไกการบริหารจัดการศึกษาทั้งระบบ โดยครอบคลุมระบบการวางแผน การบริหารจัดการ การกํากับดูแล และการติดตามประเมินผล เพื่อนําข้อมูลต่างๆ มาใช้ในการปรับ กลยุทธ์ของการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

๓.๒ นโยบายแรงงาน ๓.๒.๑ ฝึกอบรมและพัฒนาคน

ที่ทํางานแล้วและคนที่ถูกเลิกจ้าง เพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงานและสร้างโอกาสการเข้าสู่ภ า คก า รผลิ ต และบริ ก า รที่ มี ร ะ ดั บเทคโนโลยีที่สูงขึ้น หรือมีการบริการบนพื้นฐานความมีไมตรีจิตของไทย และให้มีการฝึกอาชีพให้แก่ประชาชนทั้งในเมืองและชนบทอย่ างสอดคล้องกับความ

สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึ กษา เป็ นหลั ก ในก า รยกระดับคุณภาพโรงเรียนที่ต่ํากว่าเกณฑ์มาตรฐาน และส่งเสริมความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาและวิจัย พัฒนาในภูมิภาค รวมทั้งเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชี วิตในชุมชนโดยเชื่ อม โยงบทบาทสถาบั นครอบครั ว สถาบันการศึกษา และสถาบันทางศาสนา ๓.๒ นโยบายแรงงาน ๓.๒.๑ ดําเนินการให้แรงงานทั้งในและนอกระบบได้รับการคุ้มครองตามมาตรฐานแรงงานไทย โดยเฉพาะในด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพการจ้างงาน โดยการส่งเสริมให้สถานประกอบการผ่านการทดสอบและรับรองตามมาตรฐานระบบการจัดการปฏิบัติต่อแรงงานด้านสิทธิและคุ้มครองให้เป็นไป

เชิงประจักษ์ที่อิงขีดความสามารถและวัดสัมฤทธิผลของการจัดการศึกษาเป็นหลักจัดระบบการศึกษาและฝ ึกอบรมเพื่อพัฒนาคุณภาพครูอย่างต่อเนื่อง แก้ปัญหาหนี้สินครูโดยการพักชําระหนี้ และการปรับโครงสร้างหนี้ตามนโยบายแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนของรัฐบาล พัฒนาระบบภูมิ สารสนเทศเพื่อใช้ในการกระจายครู ขจัด ปัญหาการขาดแคลนครูในสาระวิชาหลัก เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษา ๔.๑.๔ จัดการศึกษาขั้นอุดมศึกษาแ ล ะ อ า ชี ว ศึ ก ษ า ใ ห ้ส อ ด ค ล ้อ ง กั บตลาดแรงงานทั้ ง ใน เชิ งปริมาณและคุณภาพ โดยกระบวนการสร้างประสบ การณ์ระหว่างเรียนอย่างเหมาะสม และสนับสนุนการสร้างรายได้ระหว่างเรียน และสนับสนุนให้ผู ้สําเร็จการศึกษามีงานทําได้ทันที โดยความร่วมมือระหว่าง แหล่งงานกับสถานศึกษา ส่งเสริมให้มีศูนย์

Page 24: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๒๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ประสานเชื่อมโยงทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ๒.๓.๔ เพิ่มแรงจูงใจและขยาย

งานอาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อเป็นกําลังสําคัญให้ชุมชนในการดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ การดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาลและการเฝ้าระวังโรคในชุมชน รวมทั้งเชื่อมโยงการดําเนินงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๒.๓.๕ ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสออกกําลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและพลานามัยที่ดี รวมทั้งพัฒนาทักษะทางด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศที่จะนําชื่อเสียงมาสู่ประเทศชาติ สร้างนิสัยรักการกีฬาและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เพื่อหลีกเลี่ยงการหมกมุ่นและ มั่วสุมกับอบายมุขและยาเสพติด

๒.๔ นโยบายศาสนา ศิ ลปะ และวัฒนธรรม

ต้องการ รวม ทั้งการ เสริมสร้ า งการประกอบอาชีพอิสระเพื่อสร้างรายได้และแก้ปัญหาความยากจน

๓.๒.๒ จัดให้มีระบบเตือนภัยและติดตามสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อการจ้างงาน การเลิกจ้างอันเนื่องจากการปรับเปลี่ยนโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ พร้อมทั้งจัดให้มีการจ้างงานใหม่โดยเร็ว

๓.๒.๓ ให้ความคุ้มครองแรงงานตามกฎหมาย ซึ่งให้ความสําคัญแก่ความปลอดภัยในการทํางานและสวัสดิการแรงงาน การดูแลหลักประกันความมั่นคงแก่ผู้ใช้แรงงาน พร้อมทั้งจัดระบบการคุ้ ม ค ร อ ง แ ก่ แ ร ง ง า นนอก ร ะบบ ให้ครอบคลุมมากขึ้น

๓.๒.๔ ส่งเสริมการมีงานทําของผู้สู งอายุและคนพิการในหลากหลายแนวทาง อาทิ การทํางานแบบบางเวลา

ตามมาตรฐานแรงงานสากล ๓.๒.๒ ปฏิรูประบบประกันสังคมให้มีความเข้มแข็งมั่นคง ให้มีการบริหารจัดการที่ เป็นอิสระ โปร่งใส และขยายความคุ้มครองถึงบุตรและคู่สมรสของผู้ประกันตนในเรื่องการเจ็บป่วย รวมทั้งเพิ่มสิทธิประโยชน์อื่นๆ เพิ่มเติมให้แก่ผู้ประกันตน ๓ .๒ .๓ พัฒนาและฝึกอบรมแรงงานทุกระดับให้มีความรู้และทักษะฝีมื อที่ มี มาตรฐานสอดคล้องกับการเ ปลี่ ย น แปล งท า ง เ ทค โ น โ ล ยี แล ะส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ งต ล า ด แ ร ง ง า น โ ด ย ก า ร เ พิ่ ม ขี ดความสามารถของสถาบันและศูนย์พัฒนาฝี มื อแร งงานที่ มี อยู่ ทั่ วประ เทศให้ มีศักยภาพเพิ่มขึ้นในการฝึกอบรมฝีมือแรงงานด้วยการระดมการมีส่วนร่วม จากภาคเอกชนในลักษณะโรงเรียนใน

อบ รม อ า ชี ว ศึ ก ษ า เ พื่ อ ใ ห ้นั ก เ รี ย น นักศึกษา และประชาชนสามารถเรียนรู้หาประสบการณ์ก่อนไปประกอบอาชีพโดยให้สถาบันอาชีวศึกษาดําเนินการร่วมกับ ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละอาชีพ รวมทั้งจัดให้ มีศูนย์ซ่อมสร้างประจําชุมชนเพื่อฝึกฝน ช่างฝีมือและการสร้างทักษะในการให ้บริการแก่ประชาชน ทั้งนี้ จะดําเนินการร่วมกับภาคเอกชนอย ่างจริ งจั ง เพื่ อส ่ง เสริมการศึกษาในสายอาชีวศึกษาให ้เป ็นที่ย อ ม รั บ แ ล ะ ส า ม า ร ถ มี ร า ย ไ ด ้สู ง ตามความสามารถ ๔.๑.๕ เร่งพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมกับนานาชาติโดยใช้เป็นเครื่องมือในการเร่ งยกระดับคุณภาพและการกระจายโอกาสทางการศึกษา จัดให ้ มีระบบการเรียนแบบอิ เล็กทรอนิกส์

Page 25: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๒๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๒.๔.๑ อุปถัมภ์ คุ้มครอง และทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ๆ เพื่อให้มีบทบาทสําคัญในการปลูกฝังให้ประชาชนเข้าใจและนําหลักธรรมของศาสนา มาใช้ในการเสริมสร้างคุณธรรมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

๒.๔.๒ ฟื้นฟูและสืบสานคุณค่าความหลากหลายของวัฒนธรรมไทยทั้งที่เป็นวิถีชีวิต ประเพณี ค่านิยมที่ดีงาม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการดูแลรักษาแหล่งอุทยานประวัติศาสตร์ โบราณสถาน พิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อการศึกษาเรียนรู้และใช้ประโยชน์ในการเพิ่มมูลค่าผลผลิตบนพื้นฐานความรู้และความเป็นไทย รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาโบราณสถานให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมระดับโลก

๒.๔.๓ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมและการนันทนาการ เพื่อส่งเสริมให้วัยรุ่นไทยเกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้อง ใช้เวลา

การทํางานชั่ วคราว การทํางานแบบสัญญาระยะสั้น รวมทั้งการขยายโอกาสการทํางานของผู้สูงอายุที่มีความชํานาญเฉพาะด้าน

๓.๒.๕ ส่งเสริมแรงงานไทยให้มีฝี มื อ แ ล ะ มี โ อ ก า ส ก า ร ทํ า ง า น ใ นต่างประเทศ รวมถึงดูแลให้แรงงานได้รับความเป็นธรรมในกระบวนการตั้ งแต่ขั้นตอนการจ้างงานจนถึงระหว่างการทํางานในต่างประเทศ

๓.๓ นโยบายการพัฒนาสุขภาพของประชาชน

๓.๓.๑ เพิ่มคุณภาพของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและให้ประชาชนเข้าถึ งบริการไ ด้อย่างไม่มีอุปสรรค และจัดให้มีมาตรการลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ และภาวะทุพโภชนาการที่นําไปสู่การเจ็บป่วยเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง หัวใจ เบาหวาน ความดัน

โ ร ง ง า น แ ล ะ ก า ร บู ร ณ า ก า ร กั บสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาฝีมือแรงงาน ๓.๒.๔ ส่งเสริมให้แรงงานไทยไปทํางานต่างประเทศอย่างมีศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยการสนับสนุนด้านสินเชื่อการไปทํางานในต่างประเทศ การฝึกอบรมทักษะฝีมือและทักษะการใช้ภาษา การสร้างหลักประกัน การคุ้มครองดูแลการจั ดส่ งแรงงานไปทํ า งานในต่างประเทศ และการติดตามดูแลมิให้ถูกเอารัดเอาเปรียบระหว่างการทํางานในต่างประเทศ ๓.๒.๕ สนับสนุนสวัสดิการด้านแรงงาน โดยจัดตั้งสถาบันความปลอดภัยในการทํางาน จัดให้มีสถานดูแลเด็กอ่อนในสถานประกอบการ และเพิ่มศักยภาพกองทุนเงินทดแทนในการดูแลลูกจ้างที่ประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน

แห ่งชาติ เพื่อ เป็นกลไกในการเปลี่ยนกระบวนทัศน ์การเรียนรู ้ให ้เป ็นแบบ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและเอื้อให้เกิดการเรียนรู ้ตลอดชีวิต พัฒนาเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการศึกษา พัฒนาระบบ “ไซเบอร์โฮม” ที่สามารถส่งความรู้มายัง ผู้เรียนโดยระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ส ่งเสริมให ้นักเรียนทุกระดับชั้นได ้ใช ้อุ ป ก ร ณ ์ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์แ ท็ บ เ ล็ ต เพื่อการศึกษา ขยายระบบโทรทัศน์ เพื่อการศึกษาให้กว้างขวาง ปรับปรุง ห้องเรียนนําร่องให้ได้มาตรฐานห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งเร่งดําเนินการให้ “ก อ ง ทุ น เ พื่ อ พั ฒ น า เ ท ค โ น โ ล ยี เพื่อการศึกษา” สามารถดําเนินการ ตามภารกิจได้ ๔.๑.๖ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างทุนปัญญาของชาติ พัฒนามหาวิทยาลัยให้มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัย

Page 26: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๒๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ว่างให้เป็นประโยชน์ มีคุณธรรมเอื้ออาทรต่อผู้อื่น และเกิดการเรียนรู้ศิลปะอย่างสร้างสรรค์ เข้าใจถึงคุณค่า ซาบซึ้งในความสุนทรีย์ของศิลปะ ๒.๔.๔ ขยายบทบาทสภาวัฒนธรรมทุกจั งหวั ด ให้ เ ป็นกลไก เฝ้ า ระวั งทางวัฒนธรรมที่ครอบคลุมทั้งวิถีชีวิตและสื่อทุกประเภทที่มีผลกระทบต่อการเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรม และพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน พร้อมทั้งขจัดสื่อที่เป็นภัยต่อสังคม ขยายสื่อดีเพื่อนําไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมอย่างเท่าทันสถานการณ์

๒.๕ นโยบายความมั่นคงของชีวิตและสังคม

๒.๕.๑ ประสานเชื่ อมโยงการดําเนินงานและใช้ประโยชน์จากกองทุนต่ างๆ เช่ น กองทุนผู้ สู งอายุ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนพัฒนาชุมชน และกองทุนสนับสนุนการวิจัย

โลหิต และอุบัติเหตุจากการจราจร พร้อมทั้งนํามาตรการภาษีการบริโภคสินค้าที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมาใช้กระตุ้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลให้ ลด ละ และเลิกพฤติกรรมสุ่มเสี่ยงต่อสุขภาพ

๓.๓.๒ ล ง ทุ น ด้ า น บ ริ ก า รสุขภาพ โดยการพัฒนาคุณภาพบริการสุขภาพทั้งระบบอย่างมีบูรณาการและเชื่อมโยงกันในทุกระดับ การผลิตและพัฒนาแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข รวมทั้งการเพิ่มสิ่งจูงใจ ปรับปรุงระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ทันสมัยและเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ควบคู่กับการส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางบริการสุขภาพ โดยการพัฒนามาตรฐานบริการในระดับสากล การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับเอกชน และการปรับปรุงกฎหมายให้เอื้อ

รวมทั้ งจั ดระบบดูแล ด้านส วัส ดิการแรงงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ และส่งเสริมระบบแรงงานสัมพันธ์ในระบบไตรภาคี เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างลูกจ้าง นายจ้าง และภาครัฐ ๓ .๒ .๖ จัดระบบการจ้างงานแรงงานต่างด้าวให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคการผลิต ไม่กระทบต่อการจ้างแรงงานไทย และความมั่นคง ของประเทศ โดยการจัดจําแนกประเภทงานที่อนุญาตให้แรงงานต่างด้าวทํา และการจัดระบบการนําเข้าแรงงานต่างด้าว การขจั ด ปัญหาแร ง งานต่ า ง ด้ า วผิ ดกฎหมาย และการจัดทําทะเบียนแรงงานต่างด้าวและระบบการตรวจสอบที่สะดวกต่อการควบคุม ๓.๒.๗ ส่งเสริมการมีงานทําของผู้สูงอายุและคนพิการ โดยการกําหนดให้มีรูปแบบที่หลากหลาย เหมาะสมตาม

วิจัยระดับโลก ระดมสรรพกําลัง เพื่อพัฒนาระบบเครือข่ายการวิจัยแห่ง ชาติเพื่อสร้างทุนทางปัญญาและนวัตกรรม ผลักดันให้ประเทศสามารถพึ่งตนเองได้ ทางเทคโนโลยี เพื่ อนํ า ไปสู ่การสร ้าง รากฐานใหม่ของเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม จัดตั้งศูนย ์ความเป ็นเลิศเพื่อการวิจัยสํ า ห รั บ ส า ข า วิ ช า ที่ จํ า เ ป ็น พัฒน าโครงสร้างการบริหารงานวิจัยของชาต ิโดยเน้นความสัมพันธ์อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพระหว ่างองค ์กรบริหารงานวิจัยกับสถาบันอุดมศึกษา ๔.๑.๗ เพิ่มขีดความสามารถ ของทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเปิด เสรีประชาคมอาเซียน โดยร่วมมือกับภาคเอกชนและสถาบันการศึกษาในการวางแผนการผลิตและพัฒนากําลังคนให้มีคุณภาพและปริมาณเพียงพอ สอดคล้องตามความต้องการของภาคการผลิตและ

Page 27: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๒๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

เพื่อให้เป็นพลังร่วมในการสร้างสรรค์และพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ

๒.๕.๒ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการพัฒนาให้มีความรู้และจริยธรรม เริ่ ม ตั้ งแ ต่ เ ด็กแรกเกิดและเยาวชนทุกช่วงวัย โดยให้ความสําคัญแก่การสร้ า งสภาพแวดล้ อมที่ เหมาะสม ครอบครัวที่อบอุ่น และสถานศึกษาที่เอาใจใส่ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดด้วยการปลูกฝังค ว า ม รู้ ที่ ทั น โ ล ก แ ล ะคุ ณค่ า ที่ ดี ข อ งวัฒนธรรมไทย สร้างความเข้าใจให้แก่พ่อแม่ถึงวิธีการดูแลบุตรที่ถูกต้องตามระดับการพัฒนาของสมอง

๒.๕.๓ สร้างหลักประกันความมั่นคงและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ให้เด็ก สตรี และคนพิการที่ด้อยโอกาส โดยจะขจัดขบวนการค้ามนุษย์ให้หมดสิ้นไป ขจัดการเลือกปฏิบัติและการละเมิดสิทธิเด็ก

ต่อการเป็นศูนย์กลางบริการด้านสุขภาพ ๓.๓.๓ ดํ า เนินการระบบเฝ้ า

ระวังป้องกันและควบคุมโรคเชิงรุก เพื่อป้องกันปัญหาการป่วยและตายด้วยโรคอุบัติใหม่ และระบาดซ้ําในคน พร้อมทั้งสร้างขีดความสามารถในการเฝ้าระวัง วินิจฉัย และดูแลรักษาพยาบาลอย่างเป็นระบบที่ประสานเชื่อมโยงทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

๓.๓.๔ เ พิ่ ม แ ร ง จู ง ใ จ เ พื่ อสนับสนุนและขยายบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขให้เป็นกําลังสําคัญของชุมชนในการดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ การดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาล และการเฝ้าระวังโรคในชุมชน ตลอดจนการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชนเพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล รวมทั้งเชื่อมโยงการดําเนินงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ความสามารถของผู้สูงอายุและคนพิการ อาทิ การทํางานแบบบางเวลา การทํางานชั่วคราว การทํางานแบบสัญญาระยะสั้น รวมทั้งการขยายโอกาสการทํางานของผู้สูงอายุที่มีความชํานาญเฉพาะด้าน ๓.๓ นโยบายด้านสาธารณสุข ๓.๓.๑ สนับสนุนการดําเนินการตามแนวทางของกฎหมายสุขภาพแห่งชาติ โดยเร่งดําเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพและการเจ็บป่วยเรื้อรัง โดยประสานความร่วมมือและการมีส่วนร่วมจากภาคีพัฒนาในสาขาต่ าง ๆ ตลอดจนภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุข ร่วมสร้างความรู้ ความเข้าใจ สร้างแรงจูงใจ รณรงค์ให้เกิดการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัย รวมทั้งส่งเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีส่วนร่วม

บริการ เร่งรัดการจัดทํามาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ รับรองสมรรถนะการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพ และการจัดทําม า ต ร ฐ า น ฝ ีมื อ แ ร ง ง า น ใ ห ้ค ร บทุ กอุตสาหกรรม ๔.๒ นโยบายแรงงาน ๔.๒.๑ ส่งเสริมให้ผู้ต้องการมีงานทําในระบบสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารตําแหน่งงานว่างของสถานประกอบการได้โดยสะดวก ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมให้สถานประกอบการสามารถรับทราบข้อมูลของผู้ต้องการมีงานทําได้ทุกระดับความ ต้องการ และส ่งเสริมให ้แรงงานที่อยู ่ นอกระบบสามารถเลือกและมีงานทําได้ภายใต้เงื่อนไขที่เหมาะสมกับสถานะ ๔.๒.๒ ให้การคุ้มครองแรงงานตามกฎหมาย โดยให้ความสําคัญด้าน ค ว ามปลอด ภั ย ใ นก า รทํ า ง า น แล ะสวัสดิการแรงงาน และดูแลหลักประกัน

Page 28: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๒๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

สตรี และคนพิการในทุกรูปแบบและอย่างเด็ดขาด รวมทั้งเสริมสร้างสวัสดิการทางสังคมแก่คนพิการและผู้ด้อยโอกาสอย่างเหมาะสม และส่งเสริมความรู้และอาชีพให้สตรีและคนพิการให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ ๒.๕.๔ เตรียมความพร้อมให้แก่สังคมผู้สูงอายุ โดยยึดหลักการให้ผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี ทั้งร่างกายและจิตใจ โดยสร้างหลักประกันด้านรายได้และระบบการออมในช่วงวัยทํางานที่เพียงพอสําหรับช่วงวัยชรา สร้างพฤติกรรมด้านสุขภาพที่เหมาะสมกับช่วงวัย สนับสนุนครอบครัวให้เข้มแข็งสามารถดูแลสมาชิกได้อย่างมีคุณภาพ ขยายฐานการให้เ บี้ ย ยั ง ชี พ แ ก่ ค น ช ร า ที่ ไ ม่ มี ร า ย ไ ด้ และส่งเสริมการใช้ประสบการณ์ของผู้สูงอายุ ในกระบวนการพัฒนาประเทศโดยระบบคลังสมอง ๒.๕.๕ สร้างสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่

๓.๓.๕ ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสออกกําลังกาย และสร้างนิสัยรักการกีฬา เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและพลานามัยที่ดี รวมทั้งสนับสนุนการจัดการแข่งขันกีฬาในระดับนานาชาติ และพัฒนาทักษะทางด้านกีฬาของนักกีฬาปกติและผู้พิการสู่ความเป็นเลิศที่จะนําชื่อเสียงมาสู่ประเทศชาติ

๓.๔ นโยบายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม

๓.๔.๑ อุปถัมภ์ คุ้มครอง และทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ เพื่อให้มีบทบาทสําคัญในการปลูกฝังให้ประชาชนเข้าใจและนําหลักธรรมของศาสนามาใช้ในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และพัฒนาคุณภาพชีวิต

๓.๔.๒ ฟื้นฟูและสืบสานคุณค่าค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะวัฒนธรรมไทยทั้งที่เป็นวิถีชีวิต ประเพณี

ในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยจัดสรรทุนให้เพื่อกลับมาทํางานในท้องถิ่น ๓.๓.๒ สร้างขีดความสามารถในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค วินิจฉัย และดูแลรักษาพยาบาลอย่างเป็นระบบ เ ชื่อมโยงกับทุกภาคส่วน ทุกสาขา ที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันปัญหาการป่วยและตายด้วยโรคอุบัติใหม่ที่รวมถึงโรคที่มีการกลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ใหม่ และโรคระบาดซ้ําในคน อย่างทันต่อสถานการณ์ ๓ .๓ .๓ ปรับปรุงระบบบริการด้านสาธารณสุข โดยลงทุนพัฒนาระบบบริการสุขภาพของภาครัฐในทุกระดับให้ได้มาตรฐาน ยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจําตําบล และพัฒนาระบบเครือข่ายการส่งต่อในทุกระดับให้มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงกันทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้ระบบ

ความมั่นคงในการทํางานแก่ผู้ใช้แรงงาน ๔.๒.๓ ส่งเสริมระบบแรงงานสัมพันธ ์ให ้ทุกฝ ่ายที่ เกี่ยวข ้องสามารถ แก้ไขป ัญหาแรงงานสัมพันธ ์ได ้อย ่างมีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย ๔.๒.๔ เพิ่มสิทธิประโยชน์ประกันสังคมให้มากขึ้นเพื่อผู้ประกันตนสามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลได้อย่างทั่วถึง และปรับปรุงแนวทางการขยายความ คุ ้มครองและส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจและเห็นประโยชน ์ในการประกันตน ของแรงงานนอกระบบ ๔.๒.๕ เร่งยกระดับแรงงานไร้ ฝีมือให้เป็นแรงงานกึ่งฝีมือและแรงงาน กึ่งฝีมือให้เป็นแรงงานมีฝีมือ โดยภาครัฐจะทํางานร่วมกับภาคเอกชนเพื่อนําไปสู ่ เป้าหมายให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่ใช้แรงงานมีฝีมือทั้งระบบ

Page 29: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๒๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ในสังคมเมือง โดยมีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบ ควบคู่กับการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยสาธารณะและสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด รวมทั้งจัดให้มีบริการขั้นพื้นฐานอย่างเหมาะสม มีโรงเรียนใกล้ บ้ าน มี ก า ร สื่ อ ส า ร คมนาคมที่ มีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ค่านิยมที่ดีงาม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการดูแลรักษาแหล่งอุทยานประวัติศาสตร์ โบราณสถาน พิพิธ ภัณฑ์ ต่าง ๆ เพื่ อการศึกษาเรียนรู้และใช้ประโยชน์ในการเพิ่มมูลค่าผลผลิตบนพื้นฐานความรู้และความเป็นไทย รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณสถานให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมระดับโลก ควบคู่ไปกับการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมสําหรับเด็กและเยาวชนให้มากขึ้น

๓.๔.๓ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมและนันทนาการ เพื่อส่งเสริมให้เ ด็กและเยาวชนไทยเกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้อง ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มีคุณธรรม เอื้ออาทรต่อผู้อื่น และเกิดการเรียนรู้ศิลปะอย่างสร้างสรรค์ เข้าใจถึงคุณค่า ซาบซึ้งในความสุนทรีย์ของศิลปะ

๓.๔.๔ ขยายบทบาทและสร้างเครือข่ายความร่วมมือของสภาวัฒนธรรม

หลักประกันสุ ขภาพมีคุณภาพอย่ า งเพียงพอ ทั่วถึง มีทางเลือกหลากหลายรู ป แบบ แล ะค ร อบคลุ ม ไ ด้ ถึ ง ก า รรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการ ๓.๓.๔ ลงทุนผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ควบคู่กับการสร้างขวัญกําลังใจให้มีความก้าวหน้าในอาชีพ มีการปรับปรุงกฎระเบียบเพื่อให้มีรายได้จากเงินเดือนและค่าตอบแทนอื่นๆ ที่ เหมาะสม เ ป็นธรรม รวมทั้ งปรับปรุงกฎหมายที่ เกี่ ยวข้องกับการประกอบอาชีพด้านการแพทย์ มีการกระจายบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างสอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ ตลอดจนการลงทุนพั ฒ น า แ ล ะ เ ชื่ อ ม โ ย ง ร ะ บ บ ข้ อ มู ลเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพให้ทันสมัย มีมาตรฐานสามารถใช้ประโยชน์

๔.๒.๖ เตรียมการรองรับการ เปิดการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีภายใต้ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยเน้นระบบบริหารจัดการ เพื่ อจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติ จัดระบบอํานวยความสะดวก และมาตรการการกํากับดูแลติ ด ต า ม ก า ร เ ข ้า อ อ ก ข อ ง แ ร ง ง า น ทุกประเภทเพื่อดึงดูดแรงงานที่มีฝีมือเข้าประเทศควบคู ่กับการป้องกันผลกระทบจากการเข้าประเทศของแรงงานไร้ฝีมือ ๔.๒.๗ กําหนดมาตรการ ที่ เหมาะสมในการควบคุมการเข ้ามาทํางานของแรงงานต่างด้าว โดยคํานึงถึงความต้องการแรงงานของภาคเอกชน และการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายในประเทศ ๔.๓ นโยบายการพัฒนาสุขภาพ ของประชาชน ๔.๓.๑ ลงทุนด้านบริการสุขภาพ

Page 30: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๒๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ทุกจังหวัดกับภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วน เพื่ อขยายบทบาทสภาวัฒนธรรมทุกจังหวัดเป็นกลไกเฝ้าระวังทางวัฒนธรรมที่ครอบคลุมทั้งวิถีชีวิตและสื่อทุกประเภทที่มี ผ ล ก ร ะทบต่ อ ก า ร เ บี่ ย ง เ บ นท า งวัฒนธรรม และพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน พร้อมทั้งขจัดสื่อที่ เป็นภัยต่อสังคม ขยายสื่อดีเพื่อนําไปสู่การสร้างภู มิ คุ้ ม กั น ท า ง สั ง ค ม อ ย่ า ง เ ท่ า ทั นสถานการณ์

๓.๕ นโยบายความมั่นคงของชีวิตและสังคม

๓.๕.๑ ส ร้ า ง สั ง ค มแห่ ง ก า รเ รี ยนรู้ ตลอดชี วิ ต ด้ วยบทบาทของครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา และสถาบันการศึกษา ในการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดต่อเนื่องทุกช่วงวัย ให้มีจิตใจที่ดีงาม มีทักษะชีวิต มีความรู้คู่คุณธรรม และปลูกฝั งคุณค่าที่ ดีของวัฒนธรรมไทย

ร่วมกันได้อย่างคุ้มค่า ๓ .๓ .๕ ผลัก ดันการขับ เคลื่ อนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพและการรักษาพยาบาลในระดับนานาชาติ โดยมียุทธศาสตร์การบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม มีการประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีการใช้ทรัพยากรทางการแพทย์ร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมทั้ งปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ๓ .๔ นโยบายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ๓ .๔ .๑ ส่งเสริมการทํานุบํารุงและรักษาศิลปวัฒนธรรมไทยทุกด้าน รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย ให้มีความก้าวหน้า มีการค้นคว้า วิจัย ฟื้นฟู และพัฒนา พร้อมทั้งฟื้นฟูต่อยอดแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของประชาชน

โดยการพัฒนาคุณภาพการให ้บริการสุ ขภ าพทั้ ง ร ะบบอย ่า ง มี บู รณากา รเชื่อมโยงในทุกระดับ จัดให้มีระบบส า ร ส น เ ท ศ ท า ง ส า ธ า ร ณ สุ ข ที่ มีประสิทธิภาพ และเร่งผลิตบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขให้เพียงพอกับปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นตามข้อเท็จจริงในปัจจุบัน เพิ่มขีดความสามารถ ของโรงพยาบาลระดับต่าง ๆ โดยเฉพาะโรงพยาบาลศูนย์ความเป็นเลิศที่กระจายอยู่ในส่วนภูมิภาค และมีระบบการส่งต่อ ผู้ป่วยไปสู่โรงพยาบาลต่าง ๆ อย่างมีป ร ะ สิ ท ธิ ภ าพ ร ว มทั้ ง ส นั บ สนุ น ใ ห ้ โรงพยาบาลในระดับต่าง ๆ มีเครื่องมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์และห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ทันสมัย รวมทั้งพัฒนาสถานบริการปฐมภูมิในเขตเมืองและชนบทที่สมบูรณ์แบบทั่วประเทศ ๔.๓.๒ ผลิตบุคลากรทางด้าน

Page 31: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๓๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

รวมทั้งสนับสนุนการทํากิจกรรมทางสังคมร่วมกันควบคู่กับการเปิดพื้นที่สาธารณะสําหรับกิจกรรมของครอบครัว และการสร้างค่านิยมครอบครัวอบอุ่น

๓.๕.๒ สนั บสนุ น ให้ ชุ ม ชนมีบทบาทในการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ เพื่อสร้างความมั่นคงของชุมชน โดยเชื่อมประสานกับบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการส ง เ ค ร า ะห์ ดู แ ล ผู้ สู ง อ า ยุ ผู้ พิ ก า ร ผู้ยากไร้ รวมทั้งจัดกิจกรรมที่ครอบครัวมีส่วนร่วม เช่น กิจกรรมด้านกีฬาและนันทนาการ กิจกรรมทํานุบํารุงศาสนา เป็นต้น

๓.๕.๓ สร้างหลักประกันความมั่นคงและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ให้เ ด็ ก สตรี ผู้ สู ง อ ายุ คนพิ ก า ร และผู้ด้อยโอกาส โดยจะขจัดขบวนการค้ามนุษย์ให้หมดสิ้นไป ขจัดการเลือกปฏิบัติและ

โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ๓.๔.๒ เสริมสร้างบทบาทของสถาบันครอบครัวร่วมกับสถาบันทางศาสนา สถาบันการศึกษา และสถาบันทางสังคมอื่นๆ ในการปลูกฝังค่านิยมและจิ ต สํ า นึ กที่ ดี แ ล ะกา ร เ ฝ้ า ร ะ วั ง ท า งวัฒนธรรมที่มีผลกระทบต่อการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน รวมทั้งสนับสนุนการผลิตสื่อสร้างสรรค์ สร้างกระแสเชิงบวกให้แก่สังคม และเปิดพื้นที่สาธารณะที่ดีให้แก่เด็กและเยาวชน ๓ .๔ .๓ สนับส นุนการ ใช้ ภู มิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งความหลากหลายของศิลปะและวัฒนธรรมไทยทั้งที่เป็นวิถีชีวิต ค่านิยมที่ดีงาม และความเป็นไทยเพื่อการศึกษาเรียนรู้และเผยแพร่สู่สังคมโลก ตลอดจนใช้ประโยชน์ เพื่ อสร้ างความสัมพันธ์อันดีกับชาวโลกและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ

สาธารณสุ ข ให ้เพี ย งพอ โดย กํ าหนดแผนงานแก้ไขปัญหาขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ให ้สอดคล้องกับจํานวนประชากรในพื้นที่ และสนับสนุนให้มีการเร่งผลิตแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์เพื่อให้กลับไปปฏิบัติงานในภูมิลําเนาเดิมในชนบท พร้อมกับการสร้างขวัญกําลังใจใน เรื่ อ งของความก ้าวหน ้า ในอาชีพ และการมีค ่าตอบแทนที่เหมาะสมและ เป็นธรรม ๔.๓.๓ จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดัน โลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด และโรคมะเร็ง อย่างมีบูรณาการและครบวงจร ตั้งแต่การมีนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ จัดให้มีการสื่ อ ส า ร ส า ธ า รณ ะ ข อ ง รั ฐ เ พื่ อ ก า ร

Page 32: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๓๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

การละเมิดสิทธิเด็ก สตรี และคนพิการในทุกรูปแบบอย่างเด็ดขาด ส่งเสริมความรู้และอาชีพให้สตรี และคนพิการให้สามารถพึ่ ง พ าตน เอ ง ได้ ร วมทั้ ง เ ส ริ ม ส ร้ า งสวัสดิการทางสังคมแก่ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างเหมาะสม

๓.๕.๔ เตรียมความพร้อมสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ ยึดหลักการให้ผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในระบบเศรษฐกิจแ ล ะ สั ง ค มขอ งป ร ะ เ ท ศ โ ด ย ส ร้ า งหลักประกันด้านรายได้และระบบการออมในช่วงวัยทํางานที่เพียงพอสําหรับช่วงวัยชรา สร้างพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกั บ ช่ ว ง วั ย แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ใ ช้ประสบการณ์และภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในกระบวนการพัฒนาประเทศโดยระบบคลังสมอง รวมทั้งขยายการให้เบี้ยยังชีพให้ครอบคลุมคนชราที่ไม่มีรายได้อย่างทั่วถึง

๓ .๔ .๔ ส่ง เสริมการปรับปรุ งองค์กรและกลไกที่รับผิดชอบด้านศาสนา เพื่อให้การบริหารจัดการ ส่งเสริม ทํานุบํารุงศาสนา มีความเป็นเอกภาพและประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมความเข้าใจอันดีและสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา เพื่อนําหลักธรรมของศาสนามาใช้ ในการส่ง เสริมคุณธรรม จริยธรรม และสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนใช้หลักธรรมในการดํารงชีวิตมากขึ้น ๓.๕ นโยบายสวัสดิการสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ ๓.๕.๑ แก้ไขปัญหาความยากจนโดยการจัดหาที่ดินทํากินให้แก่ผู้มีรายได้น้อย ส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ เช่น การปลูกป่า สร้างความเข้มแข็ งของกองทุนหมู่บ้านและแหล่งเงินทุนอื่น ๆ ในระดับชุมชน ให้มีกลไกที่ โปร่งใส มีประสิท ธิภาพและให้ ชุมชนสามารถ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความรู้ ป้องกันโรคเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพตนเองของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การให้บริการเชิงรุก ตลอดจนคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ ๔.๓.๔ พัฒนาขีดความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขทุกคนให ้เป็นนักจัดการสุขภาพชุมชน ขยายความค รอบคลุ ม ไ ปถึ ง ก ลุ ่ม ผู ้ด ้อ ย โ อ ก าสสนับสนุนอุปกรณ์พื้นฐานที่จําเป็นเพื่อให้สามารถเป ็นกํ าลั งสํ าคัญในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน พัฒนาแกนนําสุขภาพครอบครัวและการสาธารณสุข มูลฐานที่ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพและจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน ๔.๓.๕ พัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนตั้งแต่ในช่วงตั้งครรภ์ วัยเด็ก

Page 33: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๓๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๓.๕.๕ สร้างสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ในสังคมเมือง และเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง โดยมีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบ ควบคู่กับการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยสาธารณะและสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด และจัดให้มีบริการขั้ นพื้ นฐานอย่าง เหมาะสม มีโรงเรียนใกล้บ้านที่มีคุณภาพ มีการสื่อสารคมนาคมที่มีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ตัดสินใจและนําไปใช้ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนได้ ๓.๕.๒ ปรับโครงสร้างหนี้ภาคประชาชน เพื่อนําไปสู่การลดหนี้หรือยืดเวลาชําระหนี้ หรือลดอัตราดอกเบี้ย หรือพักชําระดอกเบี้ย ๓ .๕ .๓ เร่ งรัดปรับปรุ งแก้ ไขปัญหาคุณภาพการอยู่อาศัย คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมชุมชน โดยเฉพาะชุมชน ผู้มีรายได้น้อยให้ดี ยิ่งขึ้น โดยปรับปรุงคุ ณ ภ า พ แ ล ะ ข ย า ย ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า รสาธารณูปโภคให้ทั่ วถึง ปรับปรุงการบริหารจัดการองค์กรภาครัฐด้านการเคหะและการอยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานขององค์กร รวมถึงพิจารณาจัดตั้งองค์กรในลักษณะดังกล่าวเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลคุณภาพชี วิตและสิ่งแวดล้อมของชุมชนผู้มีรายได้น้อยให้ดียิ่งขึ้น

วัยเจริญพันธุ์ วัยบรรลุนิติภาวะ วัยชรา และผู้พิการ สนับสนุนโครงการส่งเสริมเชาว์ปัญญาของเด็ก และให้ความช่วยเหลือ แนะนํา ฝึกอบรม ผู้ปฏิบัติงานศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สนับสนุนโครงการพัฒนาศูนย์ส่งเสริมสุขภาพสตรีเพื่อดูแลสุขภาพของสตรีและเด็กอย่างบูรณาการทั่วประเทศ รวมทั้งเผยแพร่ ให้ความรู้และดูแลป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ ่นและการตั้งครรภ์ที่ไม ่พึงประสงค์ และลดความรุนแรงต ่อ เด็กและสตรี สนับสนุนโครงการจัดตั้งศูนย ์ส ่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และผู้พิการเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยให้ได้เข้าถึงการบริการอย่างมีศักดิ์ศรี มีคุณภาพและเป็นธรรม รวมทั้งให้มีระบบการฟื้นฟูสุขภาพในชุมชน จัดการประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อเผยแพร่ความรู ้ด ้าน สุขภาพผ่านสื่อแขนงต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ

Page 34: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๓๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๓ .๕ .๔ สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเน้นบทบาทของสถาบันทางสังคม ชุมชน และเป็นเครือข่ายในการคุ้มครองทางสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับผู้สูงอายุ รวมทั้งส่งเสริมการนําศักยภาพผู้สูงอายุมาใช้ในการพัฒนาประเทศ การถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาสู่สังคม ส่งเสริมการออม และสร้างระบบประกันชราภาพ เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมั่นคง ๓ .๕ .๕ ให้ความสําคัญในการคุ้มครองผู้บริโภคในทุกมิติ โดยการรณรงค์สร้างความรู้ความเข้าใจ จัดตั้งองค์กรอิสระผู้บริโภค บังคับใช้มาตรการทางกฎหมายที่ให้การคุ้มครองดูแลผู้บริโภคโดยเคร่งครัด รวมทั้งการใช้กลไกทางกฎหมายในการป้องกันการเอาเปรียบผู้บริโภคในด้านอื่น ๆ เช่น การโฆษณาเกินเวลา การโฆษณา

๔.๓.๖ ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสออกกําลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและพลานามัยที่ดีสร้างนิสัยความมีน้ําใจเป็นนักกีฬาและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เพื่อหลีกเลี่ยงการหมกมุ่นมั่วสุมกับอบายมุขและยาเสพติด ๔.๓.๗ ขับเคลื่อนให้ประเทศไทยเป ็นเลิศในผลิตภัณฑ ์และการบริการ ด ้านสุขภาพและการรักษาพยาบาล ในภูมิภาคเอเชีย โดยประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการสร้างความก้าวหน้าในทางวิชาการ และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับบริการสุขภาพโดยรวมของคนไทย สนับสนุนเอกชนให้จัดบริการศูนย์พักฟื้นผู้ป่วยที่มีมาตรฐาน รวมทั้ง แก ้ไขปรับปรุงกฎระเบียบที่ เกี่ยวข ้อง เพื่อให้มีการใช้บุคลากรทางการแพทย์ร่วมกันระหว ่างภาครัฐและเอกชนให ้เอื้ออํานวยต่อการดําเนินงาน

Page 35: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๓๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

แฝงหรือการใช้สื่อเพื่อประโยชน์ส่วนตน เป็นต้น ๓.๕.๖ ส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างชายหญิง ขจัดการกระทําความรุนแรง และการเลือกปฏิบัติต่อเด็ก สตรี และผู้พิการ ให้การคุ้มครองและส่งเสริมการจัดสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสมแก่ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผู้ที่อยู่ในภาวะยากลําบาก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พึ่งตนเองได้ ๓.๕.๗ เร่งรัดการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเป็นระบบครบวงจร ทั้งด้านการป้องกัน การปราบปราม การบําบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ควบคู่กับการปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีการบังคับใช้กฎหมายโดยเคร่งครัด รวมทั้งขยายความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาชาติในการแก้ไขปัญหายาเสพติด

๔.๔ นโยบายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ๔.๔.๑ เร่งดําเนินการให้ศาสนาศิลปะและวัฒนธรรมมีบทบาทนําในการ ร่วมเทิดทูนสถาบันหลัก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และร่วมสร้างประเทศไทยให้เป็นประเทศที่อยู่สบาย โดยน้อม นําพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานให้แก่รัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดินด้วยการทํางานตั้งใจให้ประเทศเป็นที่อยู่ที่สบายในโลกที่มีความวุ่นวาย และน้อมนําพระราชดํารัสในพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครศรีอยุธยา “การรักษาวัฒนธรรม คือ การรักษาชาติ” มาหล่อหลอมและยึดเหนี่ยวจิตใจเป็นหนึ่งเดียวเพื่อเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ให้กับคนในชาติ ๔.๔.๒ อุปถัมภ์ คุ้มครอง และทํานุบํารุงศาสนา ส่งเสริมการปรับปรุง

Page 36: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๓๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๓ .๕ .๘ เพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน โดยส่งเสริมให้มีระบบติดตามและเฝ้าระวังปัญหาอาชญากรรมที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยเน้นการพัฒนาระบบข้อมูล ข่าวสาร การเตือนภัย และสร้างเครือข่ายอาสาสมัครชุมชนในพื้นที่ต่ า งๆ ในการป้ อ งกั น ปัญหาร่ วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ และปรับปรุงระบบชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ ให้มีความเข้มแข็งเพื่อสร้างความเข้าใจและความร่ วมมือระหว่ าง เจ้ าหน้ าที่ ของรั ฐกับประชาชน ๓ . ๖ น โ ย บ า ย ก า ร กี ฬ า แ ล ะนันทนาการ ๓ .๖ .๑ เสริมสร้ า ง โอกาสให้ประชาชนทุกกลุ่มออกกําลังกายและเล่นกีฬา โดยประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจภาคธุรกิจ

องค์กรและกลไกที่รับผิดชอบด้านศาสนาเพื่อให้การบริหารจัดการ ส่งเสริมทํานุบํารุงศาสนามีความเป ็นเอกภาพและประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมความเข้าใจอันดีและสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนข อ ง ทุ ก ศ า ส น า เ พื่ อ นํ า ห ลั ก ธ ร ร ม ของศาสนามาใช้ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และสร้างแรงจูงใจให้ประชาชน ใช้หลักธรรมในการดํารงชีวิตมากขึ้น ๔.๔.๓ อนุรักษ์ ทํานุบํารุง และบูรณปฏิสั งขรณ ์แหล ่งศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่ เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษณ ์แ ล ะ มี คุ ณ ค ่า ท า งประวัติศาสตร์ รวมถึงอนุรักษ์และส่งเสริมศิลปะการแสดง ทั้งที่เป็นมรดกของชาติ และการแสดงพื้นบ้านให้เป็นมรดกไทยมรดกโลกของคนรุ ่นต ่อไป โดยจัดหาสถานที่จัดการแสดงทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค และเพิ่มพื้นที่เวทีทางด้านวัฒนธรรม

Page 37: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๓๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

เอกชน ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีส่วนร่วมในการพัฒนากีฬา จัดหาสถานที่จัดกิจกรรมการออกกําลังกายและเล่นกีฬาอย่างทั่ วถึ ง รวมทั้ งส่งเสริมให้เยาวชนมีความสนใจในการกีฬาและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๓.๖.๒ พัฒนากีฬาสู่ความเป็นเลิศโดยจัดตั้งศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ พร้อมทั้งนําวิทยาศาสตร์การกีฬามาใช้ จัดให้มีการควบคุมมาตรฐานการฝึกสอนด้านการกีฬาให้มีคุณภาพ และสนับสนุนการจัดการแข่งขันกีฬาในระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ๓.๖.๓ ส่งเสริมกีฬาไทยให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางและได้รับการยอมรับจากสากลยิ่งขึ้น ๓ .๖ .๔ ปรับปรุงระบบบริหารจัดการด้านการกีฬา โดยส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทและมี

ให้สามารถจัดการแสดงได้อย่างต่อเนื่อง ในราคาที่เหมาะสมที่ประชาชนส่วนใหญ่ เข้าชมได้เพื่อสืบสานและสืบทอดการแสดง ที่ทรงคุณค่าและสมควรภาคภูมิใจสู่ประชาชน ส่วนใหญ่โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน และ ถ่ายทอดสู่ชาวต่างชาติให้ร่วมชื่นชมคุณค่าของวัฒนธรรมไทย ๔.๔.๔ สร้างสรรค์อารยธรรมที่ดีงามสู่วิถีชีวิตและสังคมคุณภาพ ดังนี้ ๑) สร้างความเชื่อมโยงระหว่างยุคสมัยอย่างต่อเนื่องโดยให้ความสําคัญ ต ่อ บุ คลากรทางด ้านศาสนา ศิ ลปะ วัฒนธรรมทุกแขนง ทุกสาขาอาชีพให้ได้รับการดูแลและมีคุณภาพชี วิตที่ ดีเพื่อ เป ็นแม ่พิมพ ์ในการถ่ายทอดภูมิปัญญา องค์ความรู้ รวมถึงเป็นทูตวัฒนธรรม และ เป็นแบบอย่างและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่อนุชนรุ่นต่อไป ๒) ส่งเสริมความร่วมมือและ

Page 38: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๓๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ส่วนร่วมในการบริหารจัดการด้านการกีฬา จัดกิจกรรมและสถานกีฬา รวมทั้งจัดสร้างลานกีฬาในทุกหมู่บ้านและชุมชน ๓ .๖ .๕ ปรับปรุงกฎหมายการกีฬาและที่เกี่ยวข้อง โดยจัดให้มีกฎหมายกีฬาอาชีพ กฎหมายเกี่ยวกับสวัสดิการนักกีฬา และกฎหมายอื่น ๆ เพื่อเป็นเครื่องมือการบริหารจัดการด้านกีฬาให้มีประสิทธิภาพ

เชื่อมโยงทางวัฒนธรรมและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับอารยประเทศและประชาคมอาเซียน ร้อยเรียงเรื่องราวผ่านการสื่อสารรูปแบบใหม่ และเทคโนโลยีทันสมัย ผลิตสื่อการเรียนรู ้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ สื่อเคลื่อนไหว สารคดีและภาพยนตร์ รวมทั้งเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางการสื่อสารอันทันสมัย ๔.๔.๕ นําทุนทางวัฒนธรรมของประเทศมาสร ้างคุณค่าทางสั งคมและ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดยนําวิถีชีวิตศิ ลปวัฒนธรรม ภู มิ ป ัญญาท ้องถิ่ นมา สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างผลิตภัณฑ์และบริการด้านวัฒนธรรมท้องถิ่นให้เป็นวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ก่อให้เกิดคุณค่าทางสังคม และนํามาซึ่งรายได้สู ่ชุมชน ตลอดจนให้สามารถต่อยอดไปสู ่อุตสาหกรรมวัฒนธรรม สร้างสรรค์อย่างครบวงจรที่ สร้างรายได้ เข้าประเทศ

Page 39: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๓๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๔.๔.๖ พัฒนาแหล่งเรียนรู ้ ทางวัฒนธรรมและการนันทนาการเพื่อส่ ง เสริม ให ้วัยรุ ่น ไทยเกิดการเรี ยนรู ้ ที่ถูกต้อง ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มีคุณธรรม เอื้ออาทรต่อผู้อื่นและเกิดการเรียนรู้ศิลปะอย่างสร้างสรรค์ เข้าใจถึงคุณค่า ซาบซึ้งในความสุนทรีย์ของศิลปะ ๔.๔.๗ ขยายบทบาทและสร้างเครือข่ายความร่วมมือของสภาวัฒนธรรมทุกจังหวัดกับภาคี การพัฒนาทุกภาคส่วนเ พื่ อ ข ย า ย บทบ า ท สภ า วั ฒน ธ ร ร ม ทุกจั งหวัดให ้เป ็นกลไกเฝ ้าระวั งทางวัฒนธรรมที่ครอบคลุมทั้ ง วิถี ชี วิตและ สื่ อทุกประเภทที่ มีผลกระทบต ่อการเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรมและพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน พร้อมทั้งขจัดสื่อ ที่เป็นภัยต่อสังคม ขยายสื่อดีเพื่อนําไปสู่ การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมอย่างเท่าทันสถานการณ์

Page 40: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๓๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๔.๕ นโยบายความมั่นคงของชีวิตและสังคม ๔.๕.๑ ส่งเสริมการพัฒนาให้ครอบครัวและสังคมไทยมีความมั่นคงอบอุ่น โดยเพิ่มสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายครอบครัว รวมทั้งพัฒนาความรู้ทางเทค โน โลยี ส า รสน เทศ ให ้แก ่พ ่อแม ่ และผู ้ปกครองรู ้จักใช ้ประโยชน์อย่างรู ้ เท ่าทันเพื่อลดช่องว ่างระหว ่างสมาชิก ในครอบครัว รวมทั้งสนับสนุนบทบาท ของคณะสงฆ์ และผู้นําทางศาสนาให้ส าม า รถ เป ็นที่ ยึ ด เ หนี่ ย วทา งจิ ต ใ จ ของประชาชนในแต่ละชุมชนเพื่อเชื่อมประสานระหว่างบ้าน ศาสนา โรงเรียนเพื่ อส ร ้า งครอบครั ว ให ้อบอุ ่นมั่ นค ง นอกจากนี้ จะส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนท้องถิ่น โดยประสานกั บองค ์กรปกครองส ่วน

Page 41: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๔๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ท้องถิ่นเพื่อจัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครอบครัว และส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร ่วมในกิจกรรมที่ เป ็น ประโยชน์ต่อสังคม ตลอดจนสนับสนุนการทํางานแบบบูรณาการของส่วนราชการและกองทุนต่าง ๆ ร่วมกับอาสาสมัครภาคประชาชน รวมถึงชักจูงให้ภาคธุรกิจเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมกับภาครัฐเพื่อรวมพลังทุกภาคส่วนในการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของชีวิตคนไทยโดยการใช ้ พื้นที่เป็นฐาน ๔.๕.๒ สร้างหลักประกันความมั่นคงในศัก ดิ์ศรีแห ่งความเป ็นมนุษย ์ ด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติและการละ เมิ ดสิ ท ธิมนุ ษยชนในทุ ก รู ปแบบปราบปรามขบวนการค้ามนุษย์ให้หมดสิ้นไป ปรับปรุ งกฎหมายและการบั งคับ ใช ้ กฎหมายอย ่าง เคร ่งครัด เพื่ อควบคุม แหล่งอบายมุขสิ่งเสพติด ตลอดจนป้องกัน

Page 42: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๔๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ปราบปราม และลงโทษอย ่างจริ งจั ง ต่อผู้กระทําความผิด ส่งเสริมการคุ้มครองผู ้บ ริ โ ภค ไม ่ใ ห ้ถู กหลอกลว ง เ อ า รั ด เอาเปรียบ รวมถึงให้โอกาสประชาชนที่มีฐานะยากจนได้มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง หรือมีที่อยู่อาศัยพร้อมกับการสร้างอาชีพเพื่อการดํารงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์ ๔.๕.๓ ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนให ้เติบโตเป ็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ด้วยการพัฒนาเด็กตั้งแต่อยู ่ในครรภ์มารดา เด็กแรกเกิด เด็กก่อนวัยเรียน และเยาวชนทุกช่วงวัยให้มีความรู้ คู่จริยธรรม ให้ความสําคัญในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในช่วง ๖ เดือนแรก สนับสนุนให้มีศูนย์เลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียน ที่มีคุณภาพขจัดการละเมิดสิทธิเด็กและเยาวชนในทุกรูปแบบ ตลอดจนสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนรวมกลุ่มกันทํากิจกรรม

Page 43: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๔๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

จิตอาสาเพื่อสังคมควบคู่กับการเรียนรู้จากกิจกรรม รวมถึงส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ในลักษณะต่าง ๆ เพื่อสร้างความฉลาดทางป ัญญาและความฉลาดทาง อารมณ์ให้กับเด็กและเยาวชนของชาติ ๔.๕.๔ สนับสนุนบทบาทของสตรีไทยในการมีส ่วนร ่วมพัฒนาประเทศ อย่างเสมอภาค ด้วยการปกป้องสิทธิ ของสตรี ปรับปรุงกฎหมายที่คุ้มครองสตรี ที่ถูกกระทํารุนแรงในครอบครัว และ ดึงศักยภาพของสตรีให้มีส่วนร่วมพัฒนาประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การ เมื อ ง เพิ่ ม โอกาส ในการ เข ้าถึ งการศึกษาและสาธารณสุขแก่สตรีทั้งในเมืองและชนบทเพื่ อ ให ้มีความรู ้และ มี คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น มี ร า ย ไ ด ้ มีหลักประกันในการดํารงชีวิต จัดตั้งสถานดูแลเด็กในที่ทํางานภาครัฐและเอกชนจนถึงระดับชุมชนการเพิ่มและพัฒนา

Page 44: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๔๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ศักยภาพของศูนย์พึ่งได้เพื่อช่วยเหลือเด็กและผู ้หญิงที่ประสบปัญหาความรุนแรง ในครอบครัวตลอด ๒๔ ชั่วโมง ตลอดจน ส่งเสริมบทบาทของสตรีให้เป็นหลักในการสร้างครอบครัวที่อบอุ่นมั่นคง รวมถึงจัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาบทบาทสตรีไทยให้ เท่าทันโลกยุคใหม่ ๔.๕.๕ เสริมสร้างให้ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพชีวิตที่ ดีขึ้นด้วยการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกสาธารณะต่าง ๆ สําหรับรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ สร้างความพร้อมในการ เป็นสังคมผู้สูงอายุ พัฒนาบริการสุขภาพอนามัย ให้การสงเคราะห์จัดการศึกษา จัดสวัสดิการ รวมถึงหาอาชีพให้แก่ผู้ด้อยโอกาสผู้พิการหรือทุพพลภาพ และสนั บสนุ น ใ ห ้ผู ้สู ง อ า ยุ ร ่ว ม เ ป ็นพลั งขับเคลื่อนสังคมภายใต้หลักคิดที่ว่า ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์สูง สมควร

Page 45: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๔๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ให้มามีส่วนร่วมในการพัฒนาบ้านเมือง ๔.๕.๖ ลดอุบัติภัยและความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจรให้เหลือน้อยที่สุด ส่งเสริมการเรียนรู้การเดินทางและการใช้การขนส่งอย่างปลอดภัย โดยน้อมนําหลักการแก้ไขปัญหาจราจรตามแนวพระราชดําริไปสู ่การปฏิบัติอย่างจริงจัง และถือเป็น “วาระแห่งชาติ” ที่ต้องดํ า เนิ นการอย ่า ง เ ข ้มข ้น ในทุ ก พื้นที ่ของประเทศ

Page 46: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๔๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๓. นโยบายเศรษฐกิจ ๓.๑ นโยบายการเงินการคลัง

๓.๑.๑ ดําเนินนโยบายการเงินเพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ โดยดูแลเงินเฟ้อและค่าเงินบาทให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและกลไกตลาด ส่งเสริมประสิทธิภาพและความมั่นคงของภาคการเงินในประเทศ และส่งเสริมศักยภาพในการบริหารความเสี่ยงของภาคเอกชน

๓.๑.๒ รักษาวินัยการคลังเพื่อให้เกิดความยั่งยืนทางการคลังในระยะยาว ซึ่ งครอบคลุมถึงเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ งบประมาณของท้องถิ่น ฐานะการเงินของรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ปฏิรูประบบงบประมาณแผ่นดินทั้ งระบบ ให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศอย่างบูรณาการ ปรับปรุง

๔. นโยบายเศรษฐกิจ ๔.๑ นโยบายการบริหารเศรษฐกิจ

มหภาค ๔.๑.๑ สร้างความมั่นคงและเพิ่ม

ประสิทธิภาพการดําเนินงานของสถาบันการเงินและตลาดทุน โดยวางระบบและยกระดับมาตรฐานการกํากับดูแลสถาบันการเงินและตลาดทุน ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงวิศวกรรมและนวัตกรรมทางการเงิน และสร้างภูมิคุ้มกันต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากวิกฤตการณ์การเงินโลก

๔.๑.๒ สนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ ดูแลเงินเฟ้อให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศไทยภายใต้การผันแปรอย่างรุนแรงของเศรษฐกิจโลก โดยมีกรอบนโยบายการเงิน และนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนที่มีเสถียรภาพสอดคล้องกับสถานการณ์และพื้นฐานทางเศรษฐกิจของ

๔. นโยบายเศรษฐกิจ ๔.๑ นโยบายการบริหารเศรษฐกิจมหภาค ๔.๑.๑ สนับสนุนให้เศรษฐกิจ มีการเจร ิญเต ิบโตอย ่างม ีเสถ ียรภาพ โ ด ยประส านน โยบายกา ร เ ง ิน และนโยบายการคลังเพื ่อให ้ม ีความสมดุลร ะ ห ว ่า ง อ ัต ร า ก า ร เ จ ร ิญ เ ต ิบ โ ต ของเศรษฐก ิจ เสถ ียรภาพของระด ับราคา และการจ้างงาน ๔.๑.๒ สร้างเสถียรภาพและความมั่นคงของระบบสถาบันการเงิน ในประเทศ บริหารสภาพคล่องทางการเงินภายในประเทศ และดูแลการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศ โดยติดตามความเคลื่อนไหวของธุรกรรมทางการเงินของสถาบันการเงินอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างรวดเร็ว รวมทั้งการเพิ่มความ

๓. นโยบายเศรษฐกิจ ๓.๑ นโยบายเศรษฐกิจมหภาค ๓.๑.๑ ดําเนินการให้มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมให้แก่คนส่วนใหญ่ของประเทศ และให้เศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตในอัตราสูงอย่างมีเสถียรภาพโดยดําเนินนโยบายเศรษฐกิจที่สนับสนุนการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม และก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มีการจ้างงานเต็มที่ ระดับราคามีเสถียรภาพ ระมัดระวังความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย ้ายเงินทุนระหว่างประเทศโดยการสร้างความ เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพของตลาดเงินและตลาดทุนในประเทศ รวมถึงการสร้างความร่วมมือในภูมิภาคเพื่อรองรับความผันผวนที่อาจเกิดขึ้น ๓.๑.๒ ส่งเสริมให้ประชาชน เข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนอง

Page 47: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๔๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ระบบภาษีและการจัดเก็บภาษีให้มีความเป็นธรรม มีประสิทธิภาพ และเพียงพอกับรายจ่ายเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต

๓.๑.๓ ส่งเสริมให้มีระบบการออมระยะยาว เพื่อให้มีเงินออมเพียงพอกับการดํารงชีพในยามชรา รวมทั้งเป็นการสร้างฐานเงินออมเพื่อการระดมทุนของประเทศในอนาคต

๓ .๑ .๔ วางระบบการดูแลและส่งเสริมการเคลื่อนย้ายเงินทุนทั้งระยะสั้นและระยะยาวให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศ ส่งเสริมการลงทุนของไทยในต่างประเทศ ทั้ งการลงทุนของผู้ ประกอบการและ นักลงทุนที่เป็นสถาบัน และดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ โดยให้สอดคล้องกับขีดความสามารถในการแข่งขัน เป้าหมายการส่งเสริมศักยภาพของสาขาการผลิตที่จําเป็น และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

ประเทศ และสอดประสานกับนโยบายการคลังและตลาดทุน

๔.๑.๓ รักษาวินัยการคลังเพื่อให้เกิดความยั่งยืนทางการคลังในระยะยาว ซึ่งครอบคลุมถึงเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ งบประมาณของท้องถิ่น ฐานะการเงินของรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ปฏิรูประบบงบประมาณแผ่นดินทั้งระบบให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศอย่างบูรณาการ ทั้งนี้ จะเร่งดําเนินการและเตรียมความพร้อมในการออกกฎหมายว่าด้วยการบริหารการคลังที่ ดี ให้เป็นกลไกในการกํากับและเป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติ

๔.๑.๔ ปรับปรุงระบบภาษีและการจัดเก็บภาษีให้มีความเป็นธรรม มีประสิทธิภาพ และเพียงพอกับรายจ่ายเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต

ร่วมมือทางด้านการเงินภายใต้กรอบการประชุมสุดยอดผู้นําอาเซียนเพื่อให้สามารถช่วยเหลือและร่วมกันแก้ไขปัญหาในกรณีที่ เกิด วิกฤตเศรษฐกิจและการเงินในภูมิภาค ๔.๑.๓ พัฒนาตลาดทุนและระบบสถาบันการเงินให้ เข้มแข็งและสามารถรองรับผลกระทบจากความผันผวนของสภาวะการเงินโลก และให้สามารถสนับสนุนการลงทุนและการดําเนินธุรกิจได้อย่างมั่นคง โดยการแก้ไขกฎ ระเบียบ และวางระบบการกํากับดูแลใ ห้ ส อ ดคล้ อ ง กั บ ก า ร เ ป ลี่ ย น แปล งนวัตกรรมทางการเงิน และส่งเสริมการออมระยะยาวเพื่อเป็นฐานการระดมทุนของประเทศในอนาคต ๔.๑.๔ ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงแนวทางการจัดสรรงบประมาณของประเทศให้สอดคล้องกับ

ต่อความต้องการที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม โดยให้เป็นทั้งแหล่งเงินทุนแก่ผู ้ประกอบการและเป ็นช ่องทางการออมของประชาชน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้มีรายได้น้อย รวมถึงการพัฒนาขีดความสามารถในการดําเนินงานขององค์กรทางการเงิน ชุมชน กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพต่าง ๆ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และสหกรณ์ทุกระดับ พร้อมกับการพัฒนาความรู้พื้นฐานทางการเงินแก่ประชาชน ๓.๑.๓ พัฒนาระบบสถาบันการเงินในประเทศให้รับผิดชอบต่อคน ส่วนใหญ่และผู ้ด ้อยโอกาสสามารถให ้บริการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมการเงินและความต้องการ ที่ เปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจและสังคมด้วยค่าบริการที่ต่ําและการบริการ ที่มีประสิทธิภาพ การสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงโดยการออกมาตรการที่จําเป็น

Page 48: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๔๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๓.๑.๕ ปรับปรุงประสิทธิภาพของตลาดทุนให้ทัด เทียมกับตลาดหลักในภูมิภาคและตลาดโลกทั้งด้านธรรมาภิบาล ราคา และคุณภาพ โดยให้ความสําคัญแก่การปรับปรุงมาตรการสิ่งจูงใจเพื่อสนับสนุนการออมของประเทศ การเพิ่มบทบาทของตลาดทุนและตลาดตราสารหนี้ในการเป็นแหล่งทุนสําหรับการลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ และการจัดให้มีกลไกเพื่อกํากับดู แลการ พัฒนาตลาดทุ น ให้ ประสานสอดคล้องกับการพัฒนาตลาดเงิน

๓ .๑ .๖ พัฒนารั ฐ วิ ส าหกิ จ ให้สามารถเป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาและการลงทุนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างฐานรายได้และมูลค่าให้แก่ทรัพย์สินของรัฐ มีการบริหารงานอย่างมืออาชีพ ตลอดจนกํากับดูแลการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจภายใต้หลักธรรมาภิบาล ทั้งการจัดทําและ

๔.๑ .๕ ส่งเสริมให้มีระบบการออมระยะยาว เพื่อให้ประชาชนมีเงินออมเพียงพอกับการดํารงชีพในยามชรา โดยได้รับอัตราตอบแทนจากการฝากเงินหรือการลงทุนที่เหมาะสมและในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ รวมทั้งเป็นการสร้างฐานเงินออมเพื่อการระดมทุนของประเทศในอนาคต

๔ .๑ .๖ ปรับปรุงประสิทธิภาพของตลาดทุนให้ทัดเทียมกับตลาดหลักในภูมิภาคและตลาดโลกทั้งด้านธรรมาภิบาล ราคา และคุณภาพ โดยให้ความสําคัญผ่านการส่งเสริมการออมของประเทศ การเพิ่มบทบาทของตลาดทุนและตลาดตราสารหนี้ในการเป็นแหล่งทุนสําหรับการลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ และเป็นกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทย และการให้บริการทางการเงินอย่างกว้างขวางทั่วถึง ทั้งนี้จะจัดให้มีกลไกเพื่อ

กําลังเงินของแผ่นดิน รวมทั้งเร่งออกกฎหมายการเงินการคลังของรัฐเพื่อให้เป็นกลไกในการกํากับและเป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติที่ดี ๔.๑.๕ ปรับปรุงโครงสร้างภาษีและการจัดเก็บภาษี เพื่อให้มีความเป็นธรรม โป ร่ ง ใ ส และสนั บสนุ นก า ร เพิ่ ม ขี ดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รวมทั้ งมาตรการภาษี เพื่ อสนับสนุน การประหยัดพลั งงาน และพลั งงานทางเลือก ๔.๑.๖ กําหนดกรอบการลงทุนภาครัฐทั้งในระยะปานกลางและระยะยาวที่มีความชัดเจนของแหล่งเงิน รูปแบบการล ง ทุ น แ ล ะ ก า ร เ พิ่ ม บ ท บ า ท ข อ งภาคเอกชนที่ เหมาะสม รวมทั้งพัฒนาเครื่ องมือและกลไกการระดมทุนที่ มีประสิทธิภาพสําหรับโครงการขนาดใหญ่ โดยคํานึ งถึ ง วินัยการคลัง และภาระ

และปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ รวมถึงส ่งเสริมหลักธรรมาภิบาลในระบบการเงิน ปรับปรุงระบบกํากับดูแลให้ได้มาตรฐานสากล เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นต ่อระบบการเงินและระบบเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม ๓.๑.๔ ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้ ง ร ะบบ เพื่ อ สนั บสนุ นก า ร เพิ่ ม ขี ดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และ สร้างฐานรายได้ภาษีที่ยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ทั้งจากภาษีและที่มิใช่ภาษี ๓.๑.๕ ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง โดยปรับปรุงองค์ประกอบและโครงสร ้า ง งบประมาณให ้เหมาะสม มีระบบบริหารความเสี่ยงทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ จัดลําดับความสําคัญของ

Page 49: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๔๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

แยกบัญชีเชิงสังคม ความโปร่งใส และการวัดประสิทธิภาพของการดําเนินงานในมาตรฐานไม่น้อยกว่าเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน

๓ .๒ นโยบายปรั บ โคร งสร้ า งเศรษฐกิจ

๓.๒.๑ ภาคเกษตร ๓.๒.๑.๑ เ ร่ ง ป รั บ

โครงสร้ างการผลิตทางการเกษตรให้สอดคล้องกับโอกาสทางการตลาดและการเปลี่ยนแปลงรสนิยมของผู้บริโภค ทั้งที่เป็นตลาดเ ดิมและตลาดใหม่ โดยกําหนดยุทธศาสตร์ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารของโลก เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของการทําประมง ปศุสัตว์ และพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศให้ครบวงจร รวมทั้งสนับสนุนการผลิตพืชพลั ง งาน เช่น ปาล์มน้ํ ามั น อ้อย มัน

กํ า กั บ ดู แ ล ก า รพั ฒน า ต ล า ดทุ น ใ ห้สอดคล้องกับการพัฒนาตลาดเงินและการเชื่อมโยงกับตลาดทุนทั่วโลก

๔.๑.๗ วางกรอบการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐที่มีแหล่งเงินและรูปแบบการลงทุนที่เหมาะสม โดยคํานึงถึงวินัยการคลังของประเทศ และสนับสนุนการเพิ่มบทบาทของภาคเอกชนเพื่อลดภาระการลงทุนของภาครัฐ

๔ .๑ .๘ พัฒนารัฐ วิสาหกิจให้สามารถเป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาและการลงทุนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างฐานรายได้และมูลค่าให้กับทรัพย์สินของรัฐ มีระบบการบริหารจัดการและการกํากับดูแลอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้หลักธรรมาภิบาล ทั้งการจัดทําและแยกบัญชีเชิงสังคม ความโปร่งใส และการวัดประสิทธิภาพของการดําเนินงาน รวมทั้งเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มี

งบประมาณของภาครัฐ ๔.๑.๗ ปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาการให้บริการ การใช้ทรัพย์สินให้เ กิ ดประ โยชน์ สู ง สุ ด การลดต้ นทุ นดําเนินงาน การบริหารความเสี่ยง การบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล และมีระบบการกํากับดูแลที่ดี รวมทั้งการฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจที่มีปัญหาฐานะการเงิน และการเร่งรัดการเบิกจ่ายลงทุนให้เป็นไปตามเป้าหมาย ๔.๒ น โ ย บ า ย ป รั บ โ ค ร ง ส ร้ า งเศรษฐกิจ ๔.๒.๑ ภาคเกษตร ๔.๒.๑.๑ เ ร่ ง รั ด ก า ร เ พิ่ มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรและพัฒนาระบบโลจิสติกส์ทางการเกษตร เพื่อเพิ่มผลตอบแทนด้านการเกษตรโดยส่งเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจสําคัญให้

งบประมาณรายจ ่ายให ้สอดคล ้องกับ ทิศทางการพัฒนาและให้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาในอนาคต ส่งเสริมบทบาทภ า ค เ อ ก ชน ใ น ก า ร ร ่ว ม ล ง ทุ น แ ล ะดําเนินการในกิจการของรัฐ ตลอดจน ส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพในการบริหารและจัดการรายได ้ในท้องถิ่นเพื่อลดการพึ่งพาเงินอุดหนุนจากส่วนกลาง ๓.๑.๖ ปรับปรุงโครงสร้างของรัฐวิสาหกิจโดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพการให้บริ การ การบริหารทรัพย ์สิน ให ้เกิ ด ประโยชน์สูงสุด และเร่งฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจ ที่มีป ัญหาฐานะการเงิน รวมทั้งปฏิรูประบบการกํากับดูแลการลงทุนและการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะรัฐวิสาหกิจที่มีสถานะเป็นบริษัทมหาชนเพื่อให ้รัฐวิสาหกิจเป็นกลไกที่สามารถสนับส นุนการขับ เคลื่ อนยุทธศาสตร์

Page 50: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๔๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

สําปะหลัง เพื่อสนับสนุนนโยบายพลังงานทดแทน และสนับสนุนการผลิตสินค้าใหม่ที่มีโอกาสทางการตลาด เช่น พืชเส้นใย และสมุนไพร เป็นต้น

๓.๒.๑.๒ ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้าเกษตร โดยการแปรรูปที่ได้คุณภาพและมาตรฐานสากลเพื่อเชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรมการเกษตร โดยการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาด้านมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร ความปลอดภัยอาหารตามมาตรฐานสากล รวมทั้งให้มีระบบป้องกันและควบคุมการระบาดของโรค ตลอดจนสนับสนุนการแปรรูปสินค้าเกษตรในชุมชน

๓.๒.๑.๓ เ ร่ ง รั ดการเจรจาข้อตกลงต่ าง ๆ ที่ เกี่ ยวข้องกับมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร เพื่อป้องกันมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี และพัฒนาโครงข่ายระบบการขนส่ง

ปัญหาฐานะการเงิน ๔ .๒ น โ ยบ า ยป รั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง

เศรษฐกิจ ๔.๒.๑ ภาคเกษตร

๔ .๒ .๑ .๑ พัฒนาการสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการเกษตรอย่างครบวงจร โดยเร่งรัดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของพืชเศรษฐกิจที่สําคัญให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมดินและน้ํา รวมทั้งจัดพื้นที่การผลิตพืชอาหารและพืชพลังงานให้เหมาะสม และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชพลังงาน เช่น ปาล์มน้ํามัน อ้อย มันสําปะหลัง เพื่อผลิตพลังงานทดแทนและอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพื่อรองรับวิกฤตอาหารและพลังงานโลก ๔.๒.๑.๒ พัฒนาการประมง โ ด ยบ ริ ห า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร แ ล ะสิ่งแวดล้อมของการประมง พัฒนาการ

เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ จัดหาปัจจัยการผลิตและโครงสร้างพื้นฐานการผลิตที่มีคุณภาพและมีความจําเป็น พัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาและระบบโลจิสติกส์ทางการเกษตรเพื่อลดต้นทุนทางการเกษตร รวมทั้งการจั ด พื้นที่ ก า รผลิ ตพื ชอาหารและพื ชพลังงานให้เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และมีราคาที่เหมาะสมและเป็นธรรมสําหรับพืชพลังงาน เพื่อสร้างความมั่นคงด้านรายได้ให้แก่เกษตรกร ๔.๒.๑.๒ ส่ง เสริมอาชีพและขยายโอกาสการทําประมงโดยพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา ประมงชายฝั่ง และประมงน้ําจืด ทั้งในระดับพื้นบ้านและเชิงอุตสาหกรรม ยกระดับราคาสินค้าประมงโดยท้องถิ่นมีส่วนร่วม ปรับปรุงกฎหมายและเขตจับสัตว์น้ํ าให้ ชัดเจนระหว่างประมงเพื่อการพาณิชย์และประมงชายฝั่ง

การพัฒนาและการลงทุนของประเทศได้อย ่างมีประสิทธิภาพและทันต ่อความเปลี่ยนแปลง ๓.๑.๗ บริหารสินทรัพย์ของประเทศที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ทั้งสินทรัพย์ของภาครัฐ ตลอดจนทุนในท้องถิ่นที่รวมถึงภูมิป ัญญาท้องถิ่น วิถี ชี วิต วัฒนธรรมร วม ทั้ งพิ จ า รณาก า ร จั ด ตั้ ง ก อ งทุ น ที่สามารถใช ้ในการบริหารสินทรัพย ์ ของชาติให้เป็นประโยชน์ เช่น กองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงสํารองแห ่งชาติและกองทุนความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น ๓.๒ นโยบายสร้างรายได้ ๓.๒.๑ ส่งเสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ จัดให้มีการพัฒนาการท ่อง เที่ ย วและแหล ่ง ท ่อง เที่ ย วรวม ทั้ งหลั กประกันความ

Page 51: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๕๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

สินค้าเกษตรทั้งในพื้นที่ชนบทและเมือง เพื่อขยายตลาดของสินค้าเกษตรและอาหารสู่ตลาดโลก

๓.๒.๑.๔ ส่งเสริมการทําการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ในระดับชุมชนตามแนวพระราชดําริ เพื่อให้ครัวเรือนเกษตรกรมีความมั่นคงทางด้านอาหาร ส่งเสริมการขยายกระบวนการเรียนรู้ระบบเกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสาน วนเกษตร โครงการอาหารกลางวัน และธนาคารโคกระบือตามแนวพระราชดําริ โดยเกษตรกรและชุ มชน เป็ นผู้ กํ าหนดทิ ศทางและแนวทางด้วยตนเอง

๓.๒.๑.๕ ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันเกษตรกรทั้งในด้านการรวมกลุ่มสหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนสภาเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการวางแนวทางพัฒนาการเกษตรและพัฒนาความสามารถในการแข่งขันด้วย

เพาะเลี้ยงสัตว์น้ําทั้งประมงชายฝั่งและประมงน้ําจืดในระดับพื้นบ้าน ส่งเสริมค ว า ม ร่ ว ม มื อ ด้ า น ก า ร ป ร ะ ม ง กั บต่างประเทศในน่านน้ําสากล และพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมสัตว์น้ํา ๔.๒.๑.๓ เพิ่มศักยภาพการผลิตและการตลาดด้ านปศุสัต ว์ โดยการพัฒนาการผลิตทุกขั้นตอนให้มีความปลอดภัยและมาตรฐานสากล ปรับปรุงพันธุ์ปศุสัตว์ เช่น โค กระบือ สุกร และอื่นๆ พัฒนาศักยภาพระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคสัตว์ พัฒนาศักยภาพการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ และเปิดตลาดสินค้าปศุสัตว์สู่ตลาดโลก ๔.๒.๑.๔ ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้าเกษตร โดยการแปรรูปที่ไ ด้คุณภาพและมาตรฐานสากล เพื่ อเชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรมการเกษตร และ

และบังคับใช้โดยเคร่งครัด รวมทั้งพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมสัตว์น้ํา ควบคู่กับการเจรจาส่งเสริมความร่วมมือด้านการประมงกับต่างประเทศในการทําประมงนอกและในน่านน้ําสากล และส่งเสริมการใช้พลั งงานทดแทนในกิจการประมง รวมทั้งจัดตั้งองค์กรระดับชาติเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาการประมงของประเทศ ทั้งในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ํา และอุตสาหกรรมต่อเนื่องด้านการประมง ๔.๒.๑.๓ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พสินค้าปศุสัตว์ โดยปรับปรุงและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์เศรษฐกิจสําคัญ อาทิ โค กระบือ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ พัฒนาการผลิตทุกขั้นตอนให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล พัฒนาศักยภาพในการป้องกันและควบคุมโรคระบาดในสัตว์ พัฒนาศักยภาพการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ และขยายการ

ปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยวในภาวะปกติและภาวะวิกฤต รวมทั้งการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์เชิงวัฒนธรรม เชิงสุขภาพและสปา ที่มีคุณภาพและมูลค่าเพิ่มสูง ให้มีรายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ๒ เท่าตัวในเวลา ๕ ปี ๓.๒.๒ ขยายบทบาทให้ธุรกิจการเกษตรและอาหารซึ่งเป็นแหล่งรายได้ และการจ้างงานในประเทศมาเป็นเวลานานให้ก้าวข้ามไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิ ต และกา รค ้า อ าห า รคุณภาพสู ง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและอาหาร เช่น ข้าว น้ําตาล มันสําปะหลัง และอื่น ๆ จะทําให้ เป้าหมายการเป็นครัวที่มีคุณภาพของโลกสัมฤทธิผลรวดเร็วยิ่งขึ้น ๓.๒.๓ ส่งเสริมและผลักดันให้

Page 52: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๕๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ตนเอง ๓.๒.๒ ภาคอตุสาหกรรม

๓.๒.๒.๑ พัฒนาป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ผ ลิ ต ภ า พ ข อ งภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งสร้างมูลค่าให้กับสินค้า อุตสาหกรรม ด้วยการยกระดับความสามารถ ทักษะแรงงาน การบริหารจัดการของผู้ประกอบการ และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ปรับปรุงประสิทธิภาพเครื่องจักร ระบบบริหารจัดการขนส่งสินค้าและบริการภายในกลุ่มอุตสาหกรรมบนพื้นฐานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ๓.๒.๒.๒ พัฒนาและขับเคลื่อนอุตสาหกรรมที่ประเทศไทยมีศักยภาพสูงและมีความได้เปรียบ เ ช่น อาหาร เหล็ก ยานยนต์ ปิโตรเคมี พลังงาน และอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ให้เป็นฐานการผลิตในระดับภูมิภาคและระดับโลก ด้วย

ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาด้านมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหารตามมาตรฐานสากล เ ร่ ง รั ดการ เจรจาข้ อตกลงต่ า ง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร เพื่อป้องกันมาตรการกีดกันทางการค้าที่ ไม่ ใช่ภาษี รวมทั้งให้มีระบบป้องกันและควบคุมการระบาดของโรค ตลอดจนสนับสนุนการแปรรูปสินค้าเกษตรในชุมชน ๔ .๒ .๑ .๕ ส่งเสริมการทําการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ในระดับชุมชนตามแนวพระราชดํ าริ เพื่ อ ให้ครัวเรือนเกษตรกรมีความมั่นคงทางด้านอาหาร ส่งเสริมการขยายกระบวนการเรี ยนรู้ ร ะบบเกษตรอินทรี ย์ เกษตรผสมผสานวนเกษตร โครงการอาหารกลางวัน และธนาคารโคกระบือตามแนวพระราชดําริ โดยเกษตรกรและชุมชนเป็น

ส่งออกสินค้าปศุสัตว์ในตลาดโลก รวมทั้งส่งเสริมการทําปศุสัตว์อินทรีย์ครัวเรือนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๒.๑.๔ ดูแลเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรและการตลาดสินค้าเกษตร โดยจัดให้มีระบบประกันความเสี่ยงด้านราคาสินค้าเกษตร พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าให้มีความเข้มแข็ง สร้างตลาดกลางเพื่อการค้าส่งและค้าปลีก สินค้าเกษตรในทุกภูมิภาค ผลักดันให้มีการเปิดตลาดสินค้าเกษตรแห่งใหม่ให้ครอบคลุมทั่วโลก และส่งเสริมระบบเกษตรพันธะสัญญา รวมทั้ ง ใช้ระบบไตรภาคีภาครัฐ เอกชน และเกษตรกร ในการแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตร ๔.๒.๑.๕ ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรโดยส่งเสริมการวิจัยและพัฒนามาตรฐานการผลิตและความปลอดภัยด้านสินค้าเกษตรและอาหารตาม

อุตสาหกรรมพลังงานป ิโตรเลียมและพลังงานทดแทนสามารถสร ้างรายได ้จากความต้องการภายในประเทศ รวมทั้งสร ้างการจ้างงานให้แก่ประเทศโดยถือ เป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใหม่ ๓.๒.๔ ยกระดับความสามารถ ในการแข่งขันและขยายช่องทางการตลาดของธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจบริการ ในประเทศ และธุรกิจวิสาหกิจชุมชน ให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตสินค ้าและบริการที่มีคุณค ่าและคุณภาพสูงซึ่ งจะต ้องสร ้างคนที่มีฐาน ความรู้ ความชํานาญ และความคิดสร้างสรรค์ ต่อยอดความรู้สู่การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัย พัฒนา สร้างตราสินค้าใหม่จากภูมิป ัญญาท ้องถิ่นโดยเฉพาะงานศิลปหัตถกรรม ผลิตภัณฑ์ชุมชน อัญมณี และอื่น ๆ ๓.๒.๕ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ

Page 53: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๕๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

การส่งเสริมการลงทุนหรือให้สิทธิพิเศษกับอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ รวมทั้งจัดหาและพัฒนาพื้ นที่ แ ละ โครงสร้ า งพื้ น ฐ านที่เ ห ม า ะ ส ม เ พื่ อ ร อ ง รั บ ก า ร พั ฒ น าอุตสาหกรรมในระยะ ๒๐ ปีข้างหน้า โดยคํานึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่ ๓.๒.๒.๓ สร้างสินค้าที่มีคุณภาพและมาตรฐานเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาให้แก่สินค้าที่ผลิตในประเทศไทย โดยสนับสนุนการพัฒนาทักษะฝีมือผสมผสานกับการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น กลุ่มสินค้าแฟชั่น อัญมณีและเครื่องประดับ และสินค้าอื่นๆ พร้อมทั้งใช้มาตรการด้านการตลาดและสร้างตราสัญลักษณ์สินค้าของไทยให้เป็นที่นิยมทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๓.๒.๒.๔ สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาด

ผู้กําหนดทิศทางและแนวทางด้วยตนเอง ๔.๒.๑.๖ ปรับโครงสร้างการผลิตภาคการเกษตร โดยสร้างระบบนิคมการเกษตร และเร่งรัดการกําหนดเขตการใช้ที่ดิน เพื่อการผลิตและการจัดการสินค้าเกษตรทุกประเภทอย่างมีประสิทธิภาพและครบวงจร รวมทั้งมีความเหมาะสมและสมดุลทั้งด้านอาหารและพลังงานทดแทน ด้วยการบูรณาการหน่วยงานและภาคีความร่วมมือต่างๆ เพื่อเพิ่มรายได้เกษตรกร ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร ตลอดจนสงวนและคุ้มครองพื้นที่การเกษตรจํานวน ๑๓๐ ล้านไร่ สําหรับทําการเกษตรอย่างยั่งยืน ๔ . ๒ . ๑ . ๗ ส ร้ า ง ค ว า มเข้มแข็งให้ภาคการเกษตรทั้งระบบ โดยเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพเกษตรกรรุ่นใหม่ทุกระดับวัย ทั้งในด้านการผลิต การ

มาตรฐานสากลในระดับชุมชน และมีการเชื่ อมโยงการผลิตทางการเกษตรกับอุตสาหกรรมการเกษตร ส่งเสริมการแปรรู ป สิ น ค้ า เ ก ษ ต ร ที่ ไ ด้ คุ ณ ภ า พ แ ล ะมาตรฐานสากล ส่งเสริมความแข็งแกร่งของตราสินค้า จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรอย่างครบวงจร รวมทั้งเร่งรัดการเจรจาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนสนับสนุนเงินทุนพัฒนาเครื่องจักรเพื่อแปรรูปขั้นต้นของสินค้าเกษตร ๔.๒.๑.๖ สร้างความมั่นคงด้านอาหาร โดยส่งเสริมการทําการเกษตรตามแนวพระราชดําริ ขยายกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาเกษตรทฤษฎีใหม่ โครงการอาหารกลางวัน และธนาคารโคกระบื อตามแนวพระราชดํ า ริ และ

ขยายการลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดิบเพื่อสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค ๓.๒.๖ ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศในสาขาที่เป็นการผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยีมีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่คนไทย รวมถึงการลงทุนในการสร้างเมืองใหม่ในพื้นที่ที่เหมาะสม และโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ โดยปรับปรุงกฎ ระเบียบ และสภา ว ะแ วดล ้อ ม ขอ งก า ร ล งทุ น ใ ห ้เอื้ออํานวยและดึงดูดนักลงทุน ๓.๒.๗ เสริมสร้างกระบวนการ สร้างอาชีพ สร้างงานที่มีคุณภาพและม ีรายได ้สู งให ้แก ่ประชาชนอย ่างทั่ วถึ ง เป็นระบบ ในทุกระดับชั้นความรู้ และ ส่งเสริมให้เกิดความรู้ ความชํานาญ และ

Page 54: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๕๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ย่อม รวมทั้ ง วิสาหกิจ ชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อเป็นฐานการผลิตของระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มเพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้าและศักยภาพในการแข่งขัน ด้วยการสนับสนุนด้านองค์ความรู้และนวัตกรรม รวมถึงการสร้างธรรมาภิบาลในการประกอบการและความรับผิดชอบต่อสังคม ๓.๒.๒.๕ ส่งเสริมและข ย า ยบทบ าท ศู น ย์ บ่ ม เ พ า ะ สํ า ห รั บผู้ประกอบการที่มุ่งสร้างสินค้าและบริการที่มีมูลค่าสูง โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ออกแบบให้มีความเหมาะสมตามศักยภาพในพื้นที่ต่าง ๆ พร้อมทั้งสร้างศูนย์พัฒนาและออกแบบผลิต ภัณฑ์อุตสาหกรรม ตลอดจนสนับสนุนให้มีการนําองค์ความรู้และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ๓.๒.๒.๖ จัดตั้งกองทุนพัฒนาความสามารถในการแข่งขันและการ

บริหารจัดการผลผลิต การบริหารองค์กรเกษตรกรรูปแบบต่าง ๆ ด้วยองค์ความรู้จากนวัตกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาระบบการเรียนรู้ทั้งในและนอกระบบการศึกษา เพื่อเพิ่มศักยภาพของภาคเกษตรให้เป็นฐานรากที่มั่นคงของระบบเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ๔.๒.๒ ภาคอุตสาหกรรม ๔.๒.๒.๑ พัฒนาประสิทธิภาพของภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งสร้างมูลค่าให้แก่สินค้าอุตสาหกรรม โดยบูรณาการความร่วมมือขององค์กรและหน่วยงานของรัฐบาลเพื่ อสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม และยกระดับความสามารถ ทักษะแรงงาน มาตรฐานผลิต ภัณฑ์ ป รั บ ป รุ ง ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ข อ งผู้ ป ร ะ กอบก า ร เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ าพเครื่องจักรและระบบบริหารจัดการขนส่ง

สนับสนุนการทําเกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสานวนเกษตรที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน เพื่อลดการใช้สารเคมีและเพิ่ มมูลค่ าสินค้ า เกษตร รวมทั้ งสนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับความมั่นคงทางด้านอาหาร ๔.๒.๑.๗ เ ร่ ง รั ด ก า ร จั ด ห าแหล่งน้ําให้ทั่วถึงและเพียงพอ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรน้ําเพื่อการผลิตทางการเกษตร โดยเน้นการเพิ่มสระน้ําในไร่นาและขุดลอกคูคลองเพื่อบรรเทาอุทก ภัยและภัยแล้ ง ส่ ง เสริมการ ใ ช้ประโยชน์จากน้ําให้มีประสิทธิภาพและเ ห ม า ะ ส ม กั บ ช นิ ด พื ช เ พิ่ ม พื้ น ที่ชลประทานทั้งขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ตลอดจนขยายระบบการกระจายน้ํ า ในพื้นที่ ชลประทานให้ ใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ ๔.๒.๑.๘ คุ้มครองและรักษา

ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อสร้างโอกาส ในการเข้าถึงแหล่งเงินกู้ และเงินร่วมลงทุนระยะยาว รวมทั้งจัดตั้งกองทุน ต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนให้เกิดการผลิต การแปรรูป และการค้าอย่างทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้สินค้าและบริการที่มีคุณภาพ สามารถขายได้ในราคาที่ดี ๓.๒.๘ ส่งเสริมการขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการเงิน ภายใต้ประโยชน์ร่วมกัน ของกรอบความร ่วมมือและข ้อตกลงทางการค้าหลายฝ่าย โดยจัดมาตรการเตรียมพร้อมและให้ธุรกิจและประชาชนไทยสามารถปรับตัวเพื่อแสวงหาโอกาสใหม่ และมีความพร้อมรองรับผลกระทบ ที่อาจจะเกิดขึ้นในทุกภาคส่วน ๓.๓ นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ๓.๓.๑ ภาคเกษตร

Page 55: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๕๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ลงทุนเพื่อกระตุ้นอุตสาหกรรมให้มีการปรับ ตัว และสนับสนุนการลงทุนของอุตสาหกรรมที่ ใช้ เทคโนโลยีสูงและใช้พลังงานน้อย รวมทั้งขยายบทบาทของกองทุ นที่ มี อ ยู่ ใ นปั จ จุ บั น ให้ ส ามารถส นั บ ส นุ น ก า ร ป รั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ งภาคอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๓.๒ .๓ ภาคการท่องเที่ยวและบริการ

๓.๒.๓.๑ เ ร่ ง ส ร้ า งรายได้จากการท่องเที่ยว โดยฟื้นฟู พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวให้ยั่งยืน และสร้างแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในเชิงกลุ่มพื้นที่ที่มีศักยภาพ สามารถเชื่อมโยงธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชุมชน รวมถึงการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ควบคู่กับการส่งเสริมตลาดนักท่องเที่ยวคุณภาพ เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มดูแลรักษาสุขภาพ กลุ่มประชุมและ

สินค้าและบริการภายในกลุ่มอุตสาหกรรม บนพื้นฐานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ๔.๒.๒.๒ พัฒนาและขับเคลื่อนอุตสาหกรรมที่ประเทศไทยมีศักยภาพสูงและมีความได้เปรียบ เช่น อาหาร เหล็ก ยานยนต์ ปิโตรเคมี พลังงาน และอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ให้เป็นฐานการผลิตในระดับภูมิภาคและโลก ด้วยการส่งเสริมการลงทุนหรือให้สิทธิพิเศษกับอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ รวมทั้งจัดหาและพัฒนาพื้นที่และโครงสร้างพื้นฐานที่เ ห ม า ะ ส ม เ พื่ อ ร อ ง รั บ ก า ร พั ฒ น าอุตสาหกรรมในระยะ ๒๐ ปีข้างหน้า โดยคํานึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่ ๔ .๒ .๒ .๓ สร้างสินค้าที่มีคุณภาพและมาตรฐานเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาให้แก่สินค้าที่

พื้นที่ที่เหมาะสมกับการทําเกษตรกรรมที่ไ ด้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านชลประทานแล้ว เพื่อเป็นฐานการผลิตทางการเกษตรในระยะยาว ฟื้นฟูคุณภาพดิน จัดหาที่ดินทํากินให้แก่เกษตรกรยากจนในรูปของธนาคารที่ดิน และเร่งรัดการออกเอกสารสิทธิให้แก่เกษตรกรยากจนและชุมชนที่ทํากินอยู่ ในที่ ดินของรัฐที่ ไม่มีสภาพป่าแล้ ว ในรูปของโฉนดชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรในรูปของนิคมการเกษตร ๔.๒.๑.๙ พัฒนาภาคเกษตรให้มีความเข้มแข็ ง โดยสร้ างและพัฒนาคุ ณ ภ า พ เ ก ษ ต ร ก ร รุ่ น ใ ห ม่ ใ ห้ มีความสามารถในการบริหารจัดการผลผลิตและการบริหารองค์กรเกษตรกรรูปแบบต่างๆ ด้วยองค์ความรู้จากนวัตกรรม ภูมิ ปัญญาท้องถิ่ น และเทคโนโลยีที่เหมาะสม ผ่านระบบการเรียนรู้ทั้งในและ

๑) ส่งเสริมสนับสนุนให้ สภ า เ ก ษ ต ร ก ร แ ห ่ง ช า ติ เ ป ็น ก ล ไ ก ของเกษตรกรในการสื่อสารกับรัฐบาลและ ร ่วม กันพัฒนา เกษตรกรด ้วยตนเอง ตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย ๒) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช สอดคล้องกับสถานการณ ์การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก และถ่ายทอดองค์ความรู้จากการวิจัยไปสู่เกษตรกรเพื่อให้มีการใช้พันธุ์ดี ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่โดยเฉพาะการใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิดทั้งนี้เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต ๓) เพิ่มศักยภาพกระบวนการผลิตด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพียงพอกับ

Page 56: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๕๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

แสดงสินค้า และกลุ่มที่มีความสนใจด้านระบบนิ เวศ วัฒนธรรมท้องถิ่น แหล่ งประวัติศาสตร์และโบราณสถาน เป็นต้น และดูแลให้นักท่องเที่ยวปลอดภัยจากอาชญากรรม การฉ้อฉล และอุบัติเหตุที่เกิดจากความบกพร่องของผู้ประกอบการ

๓.๒.๓.๒ พัฒนาธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ เพื่อสร้างโอกาสการขยายฐานการผลิตและการตลาดในระดับภูมิภาค เช่น ธุรกิจบริการสุขภาพ ธุรกิจการป ร ะ ชุ มและแสด งสิ น ค้ า ก า รศึ กษ านานาชาติ การก่อสร้าง ธุรกิจภาพยนตร์ แ ล ะ ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ กี ฬ า แ ล ะนันทนาการ เป็นต้น โดยให้ความสําคัญกับการพัฒนาความเข้มแข็งของผู้ประกอบการ การ เสริ มสร้ า งบรรยากาศการลงทุน มาตรฐานธุรกิจและการพัฒนาบุคลากรให้พร้อมรับการขยายตัวของธุรกิจ และการส่งเสริมด้านการตลาด

ผลิตในประเทศไทย โดยสนับสนุนการพัฒนาทักษะฝีมือผสมผสานกับการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น กลุ่มสินค้าแฟชั่น อัญมณี และเครื่องประดับ และสินค้าอื่นๆ พร้อมทั้งใช้มาตรการด้านการตลาดและสร้างตราสัญลักษณ์สินค้าของไทยให้เป็นที่นิยมทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๔.๒.๒.๔ สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งวิสาหกิจชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อเป็นฐานการผลิตของระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มเพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้าและศักยภาพในการแข่งขันด้วยก า รสนั บสนุ น ด้ านอ งค์ ค ว าม รู้ แ ล ะนวัตกรรม รวมถึงการสร้างธรรมาภิบาลในการประกอบการและความรับผิดชอบต่อสังคม

นอกระบบการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงภาคเกษตรและสังคมไทย ๔.๒.๑.๑๐ แก้ไขปัญหาหนี้สิน ฟื้นฟูอาชีพและความเป็นอยู่ของเกษตรกร โดยเร่ ง ดํา เนินการจัดการหนี้สินของเกษตรกรทั้ ง ในและนอกระบบ เพื่ อบรรเทาความเดือดร้อน และรักษาที่ดิน ทํากินให้แก่เกษตรกร ๔.๒.๒ ภาคอุตสาหกรรม ๔.๒.๒.๑ สร้างความแข็งแกร่งและความสามารถในการแข่ งขัน ในตลาดโลกให้กับอุตสาหกรรมไทยด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้า โดยร่วมมือกับภ า ค เ อ ก ช น ส ถ า บั น วิ จั ย แ ล ะส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ก า ร พั ฒ น าความสามารถของผู้ประกอบการ พัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน ปรับปรุงประสิทธิภาพเครื่องจักร พัฒนาการออกแบบสินค้าและ

ความต้องการภายในประเทศและการส่งออก เพิ่มสมรรถนะการควบคุม ป้องกัน วินิจฉัย และบําบัดโรค การติดต่อระหว่างสัตว์สู่คน การพัฒนาเทคโนโลยีด้านชีวภัณฑ์สัตว์ และการตรวจสอบคุณภาพ ๔) พัฒนาการประมง ทั้งในการเพาะเลี้ยงและในแหล่งน้ําธรรมชาติ โดยการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและจัดระเบียบการทําประมงให้สมดุลกับศักยภาพการผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื้นที่อนุรักษ์ เพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว ์น้ําเศรษฐกิจที่ เป ็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม แสวงหาลู่ทางการทําประมงในน ่านน้ําต ่างประเทศที่ ไม ่ขัด ต่อระเบียบขององค์การระหว่างประเทศและประเทศที่นํ า เข ้า โดยการพัฒนา กองเรือประมงน้ําลึกและความร่วมมือกับต่างประเทศ รวมทั้งพัฒนาสินค้าประมงให้มีคุณภาพและปลอดภัยตั้งแต่

Page 57: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๕๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๓.๒.๓.๓ ส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือของกลุ่มอุตสาหกรรมการค้าและบริการที่เน้นความสําคัญของศักยภาพพื้นที่และเอกลักษณ์ทางด้านวัฒนธรรม รวมทั้งความสามารถทางด้านบุคลากรเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ เช่น ธุรกิจบริการด้านสุขภาพและการแพทย์ที่เ ชื่ อ ม โ ย ง กั บ ก า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น าอุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์

๓.๒.๔ การตลาด การค้า และการลงทุน

๓.๒.๔.๑ ส่ ง เ ส ริ มนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม ป้องกันการผูกขาดตัดตอน และคุ้มครองผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสร้างความมั่นใจให้กับผู้ประกอบการในด้านการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา

๓.๒.๔.๒ ดําเนินการตลาดเชิงรุกเพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้าง

๔.๒.๒.๕ ส่งเสริมและขยายบ ท บ า ท ศู น ย์ บ่ ม เ พ า ะ สํ า ห รั บผู้ประกอบการที่มุ่งสร้างสินค้าและบริการที่มีมูลค่าสูง โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ออกแบบให้มีความเหมาะสมตามศักยภาพในพื้นที่ต่าง ๆ พร้อมทั้งสร้างศูนย์พัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ตลอดจนสนับสนุนให้มีการนําองค์ความรู้และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

๔.๒.๓ ภาคการท่องเที่ ยวและบริการ ๔ .๒ .๓ .๑ ผลั ก ดั นความร่วมมือของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และเอกชน ในการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจตลอดถึ ง คุ ณค่ า ท า ง สั ง ค มจ ากก า รท่ อ ง เที่ ย ว โ ดย พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวให้ยั่งยืน มีความสะดวก สะอาด ปลอดภัย ได้เอกลักษณ์

ผลิตภัณฑ์ ลดต้นทุนโลจิสติกส์ และเพิ่มความร่วมมือในภูมิภาคในการผลิตสินค้าเชิงลูกโซ่ผ่านการเจรจาระหว่างประเทศ ๔.๒.๒.๒ กํ าหนดมาตรกา รแก้ไขปัญหาของแต่ละอุตสาหกรรมและพัฒนาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในอนาคต เ ช่ น อุ ต ส าหก ร รมผลิ ต เ ค รื่ อ ง จั ก รภายในประเทศ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรม อัญมณี เป็นต้น โดยปรับปรุงมาตรการส่งเสริมการลงทุนด้านภาษีและที่มิใช่ภาษีให้สามารถจูงใจนักลงทุนได้ และส่งเสริมการร่วมทุนกับบริษัทต่างประเทศในอุตสาหกรรมที่มีเทคโนโลยีขั้นสูง ๔.๒.๒.๓ ร่วมมือกับภาคเอกชนในการปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานสินค้าให้ทัดเทียมและล้ําหน้าในระดับสากล โดยสนับสนุนให้มีกลไกการระดมทุ น แ ล ะ ป ร ะ กั น ค ว า ม เ สี่ ย ง ใ ห้ กั บ

ต้นน้ําถึงปลายน้ํา ตลอดจนพัฒนากระบวนการตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ําตามมาตรฐานสากล ๕) เสริมสร้างฐานรากของครัวเรือนเกษตรกรให้เข้มแข็งโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตที่เป็นขั้นตอน โดยมีการวางแผนการผลิตและการ จําหน่ายล่วงหน้าที่แม่นยํา และประสานโครงสร ้า งพื้ น ฐานของทางราชการ และ เ อกชน ให ้เ กิ ดป ระ โ ยชน ์สู ง สุ ด สร ้างกระบวนการผสมผสานระหว ่างเทคโนโลยีและภูมิปัญญาชาวบ้าน ๖) จัดทําระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรที่ มี ข ้อมู ลการ เกษตรของครัวเรือนครบถ้วน สามารถเชื่อมโยงกับบัตรเครดิตสําหรับเกษตรกร และมีการปรับปรุงให ้ทันสมัยอยู ่เสมอเพื่อความสะดวกในการสนับสนุนช ่วยเหลือและ

Page 58: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๕๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออก พร้อมทั้งรักษาส่วนแบ่งในตลาดหลักไม่ ให้ลดลง โดยมุ่ ง เน้นการส่ งออกสินค้าที่ มีอัตราการขยายตัวสูงในตลาดใหม่

๓.๒.๔.๓ ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจเพื่อผลประโยชน์ทางการค้าภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางด้านการค้าในระบบพหุภาคีและท วิภาคี เ พื่ อ สนั บสนุ นการปรั บโครงสร้ า งทาง เศรษฐกิจ รวมทั้ งการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการขยายตลาดการค้าระหว่างประเทศและการค้าชายแดน

๓.๒.๔.๔ ทบทวนการจัดตั้งสํานักงานพาณิชย์ในต่างประเทศและปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการด้านการค้า

และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในเชิงกลุ่มพื้ นที่ ที่ มี ศั กยภาพสามารถ เชื่ อม โยงธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชุมชน ตลอดจนดูแลให้นักท่องเที่ยวปลอดภัยจากอาชญากรรม การฉ้อฉล และอุบัติเหตุ ที่ควรป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้ ทั้งที่ เกิดจากความบกพร่องในการดําเนินงานหรือจากภัยธรรมชาติ รวมทั้งให้ความสําคัญในเรื่องการควบคุมปริมาณนักท่องเที่ยว และผลกระทบสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว ๔ .๒ .๓ .๒ ส่ ง เ ส ริ ม ก า รท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน รวมถึงการท่องเที่ยวเชื่อมโยงระหว่างจังหวัดต่าง ๆ ควบคู่กับการส่งเสริมตลาดนักท่องเที่ยวคุณภาพทั้งที่เป็นชาวไทยและชาวต่างประเทศ เช่น กลุ่มครอบครัว กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มดูแลรักษาสุขภาพ กลุ่มท่องเที่ยวศรัทธา กลุ่มประชุมและแสดง

ภาคเอกชนเพื่อกระตุ้นให้ภาคเอกชนลงทุนทางด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีมากขึ้ น รวมทั้ ง ให้การ คุ้มครองสิท ธิ ในทรัพย์สินทางปัญญาสําหรับสินค้าที่ผลิตในประเทศและมีตราสัญลักษณ์ไทย ๔.๒.๒.๔ เ ร่ ง ผ ลิ ต บุ ค ล า ก ร ด้ านอาชี ว ะตามความ ต้อ งการของตลาดแรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งเพิ่มค่าตอบแทนให้ใกล้เคียงกับปริญญาตรี และกําหนดหลักสูตรให้สามารถต่อยอดในระดับปริญญาได้ ๔.๒.๒.๕ สร้างความเข้มแข็งให้แก่อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม โดยรัฐอํานวยความสะดวกในการจัดตั้งเครือข่ายรวมกลุ่ม และปรับปรุงมาตรฐานการปล่อยสินเชื่อ ขยายขอบเขตการดําเนินการให้สินเชื่อ และประกันสินเชื่อ โดยใช้เครือข่ายธนาคารและสถาบันการเงินของรัฐ เพื่อให้อุตสาหกรรม

พัฒนาเกษตรกร สร้างหลักประกันความมั่ น ค ง ในก า รประกอบอาชี พ ให ้แ ก ่เกษตรกร จัดให ้มีอาสาสมัครเกษตร หมู ่บ้ า น เ พื่ อ ส นั บ ส นุ น ก า ร ทํ า ง า น ของภาครัฐ ตลอดจนจัดให้มีรายการ โทรทัศน์เพื่อการเกษตรเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการผลิตและการตลาดแก่เกษตรกรทั่วไป ๗) เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่จากโครงการกอ งทุ น ตั้ ง ตั ว ไ ด ้ ร ่ว ม มื อ สนั บ สนุ นสถาบันการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการเกษตรทุกสาขา และดําเนินการให้บุคลากรของสถาบันการศึกษาได้ทําหน้าที่สนับสนุนการส่งเสริมการเกษตร พัฒนารูปแบบ การจัดการผลิต การบรรจุผลิตภัณฑ์และพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการตรวจสอบย้อนกลับแหล่งผลิต เร่งรัดการ

Page 59: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๕๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ของประเทศให้เป็นไปอย่างบูรณาการ โดยเชื่ อมโยงกลไกในระดับนโยบายและหน่วยงานปฏิบัติที่มีภารกิจเกี่ยวข้อง เพื่ออํานวยความสะดวกและลดขั้นตอนให้แก่ธุรกิจภาคเอกชนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของตลาดโลกที่เปลี่ยนแปลงไป

๓.๒.๔.๕ ส นั บ ส นุ นการลงทุ น ในต่ า งประ เทศ ในสาขาที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ ทั้งในการลงทุนตั้งโรงงานผลิตสินค้า การทําสัญญาสินค้าเกษตรตามข้อตกลง การเปิดสาขา การหาตัวแทนและหุ้นส่วนในต่างประเทศเพื่อสร้างเครือข่ายธุรกิจไทยในต่างประเทศ

๓.๒.๔.๖ ป รั บ ป รุ งแก้ ไขกฎหมายและกฎระเบียบที่ เป็นอุปสรรคต่อการค้าการลงทุน เพื่อสร้างบรรยากาศการลงทุนที่ดีและสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ

สินค้า กลุ่มที่มีความสนใจด้านระบบนิเวศ การผจญภัย และกลุ่มสนใจวัฒนธรรมท้องถิ่นและแหล่งประวั ติศาสตร์และโบราณสถาน เป็นต้น ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงการมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชนในแต่ละท้องถิ่น ๔ .๒ .๓ .๓ ส่ ง เ ส ริ มภ าคบริการโดยเฉพาะผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมที่มีศักยภาพ เพื่อขยายฐานการดําเนินการและการตลาดสู่ร ะดั บ ภูมิ ภาค อาทิ บริ ก ารสุ ขภาพ การศึกษานานาชาติ การบริหารจัดการขนส่ งสินค้ าและบริ การ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การก่อสร้าง ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับกีฬาและนันทนาการ และธุรกิจรับจ้างบริหารระบบธุรกิจ เป็นต้น รวมทั้งสร้างโอกาสใหม่ให้แก่เศรษฐกิจเชิ งสร้ า งสรรค์ที่ จ ะ เพิ่ มมู ล ค่ า ให้ แ ก่ผู้ประกอบการและธุรกิจของคนไทย เช่น

ขนาดกลางและขนาดย่อมสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนดังกล่าวได้ ๔.๒.๒.๖ จั ด ตั้ ง เ ข ต พั ฒ น าเศรษฐกิจพิเศษเพื่อส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรมที่ มี ความสอดคล้องกั บศักยภาพของแต่ละพื้นที่ เช่น การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เป็นต้น ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงการอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนของชุมชนและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ๔.๒.๒.๗ ส่งเสริมให้อุตสาหกรรมมีความรับผิดชอบต่อสังคม ทั้งในด้านคุณภาพและมาตรฐานสินค้าและบริการ และมาตรฐานความปลอดภัยในสถานประกอบการและสิ่งแวดล้อม

๔ .๒ .๓ ภาคการท่อง เที่ ยวและบริการ ๔.๒.๓.๑ ขยายฐานภาคบริการใน โครงสร้ า งการผลิ ตของประ เทศ

พัฒนาเกษตรอุตสาหกรรม เช่น ยางพาราและพืชพลังงาน เช่น ปาล์มน้ํามัน อ้อย มันสําปะหลัง เพื่อรองรับวิกฤตพลังงานโลก ส่งเสริมการผลิตสินค้าใหม่ที่ให้ผลตอบแทนสูงโดยมีเป้าหมายเพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรต่อผลผลิตมวลรวมของประเทศอย่างต่อเนื่อง ๘) พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก โดยการส่งเสริมการผลิตสินค้าใหม่ที่มีกําไรสูง มีการแปรรูปอย่างครบวงจรเพื่อแสวงหามูลค่าเพิ่มสูงสุด พัฒนาระบบตลาดทุกขั้นตอน ยกระดับผลผลิต ให้มีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับในตลาด ต่างประเทศ สร้างกลุ่มธุรกิจรายสินค้าระดับภูมิภาคเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ แข่งขัน และสร้างโอกาสชี้นําในเรื่องราคาโดยเฉพาะตลาดข้าว เร ่งรัดการเจรจา ข้อตกลงต่างๆ ที่เกี่ยวกับมาตรฐานสินค้า

Page 60: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๕๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๓.๓ นโยบายโครงสร้างพื้นฐาน และร ะบบบริ ห า รจั ด ก า รขนส่ ง มวลชน สินค้าและบริการ

๓.๓.๑ พั ฒ น า บ ริ ก า รโครงสร้างพื้นฐานให้กระจายไปสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึงและเพียงพอ โดยเฉพาะการจัดให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานอันจําเป็นต่อการดํารงชีวิตของประชาชน ทั้งน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค บริการสื่อสารโทรคมนาคม และที่อยู่อาศัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

๓.๓.๒ พัฒนาระบบคมนาคมขนส่งและเชื่อมโยงโครงข่ายการบริหารจัดการขนส่งมวลชนสินค้าและบริการ ทั้งพื้นที่ชนบท เมือง และระหว่างประเทศ โดยให้ความสําคัญแก่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการขนส่งระบบรางให้เชื่อมโยงการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ เพื่อลดต้นทุนสินค้าและบริการเพื่อการ

ธุรกิจภาพยนตร์ ธุรกิจจัดประชุมและแสดงสินค้า ธุรกิจออกแบบแฟชั่น ธุรกิจที่ใช้ความโดดเด่นทางวัฒนธรรมและความเป็นไทย เป็นต้น โดยจัดทําแผนแม่บทเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ที่ให้ความสําคัญในการพัฒนาองค์ความรู้และสร้างนวัตกรรม ความเข้มแข็งของผู้ประกอบการ มาตรฐานธุรกิจ บุคลากรและการตลาด

๔.๒.๔ การตลาด การค้า และการลงทุน ๔.๒.๔.๑ ส่งเสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม ป้องกันการผูกขาดตัดตอน และคุ้มครองผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ประกอบการในด้านการคุ้มครองและป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ๔.๒.๔.๒ ปรั บปรุ งพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้า

โดยเพิ่มความหลากหลายของธุรกิจบริการ เพิ่มมูล ค่า เพิ่มความสามารถในการแ ข่ ง ขั น พั ฒ น า แ ร ง ง า น ฝี มื อ ทั้ ง ในด้านคุณภาพและความรู้ด้านภาษา และเชื่อมโยงธุรกิจภาคบริการ อุตสาหกรรม และเกษตรเข้าด้วยกันให้เป็นกลุ่มสินค้า เช่น ธุรกิจสุขภาพ อาหาร และการท่อง เที่ ย ว รวมทั้ งสิ นค้ าบริการที่ ใ ช้ความ คิดสร้ า งสรรค์บนพื้ นฐานของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่เชื่อมโยงกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ๔.๒.๓.๒ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทั้งของรัฐและเอกชนโดยรักษาและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเดิมที่มีอยู่แล้ว ทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยเชื่อมโยงกับวิถี ชี วิตของชุมชน รวมทั้งจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษด้านการท่องเที่ยวและกําหนดจุดขายของ

เกษตรและอาหารในตลาดโลกส่งเสริมให้ป ร ะ เทศ ไทย เป ็นค รั ว โ ลกทั้ ง ใ นแ ง ่สินค้าเกษตร อาหารไทย และสนับสนุนการลงทุนภาคเกษตรในต่างประเทศ ๙) ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม ่ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ ดําเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม สร้างความ เข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อเผชิญกับวิกฤตอาหารโลก สร้างความสมดุลระหว่างพืชอาหารและพืชพลังงาน ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์และเกษตรทางเลือก ปรับโครงสร้างและจัดหาที่ทํ า กินให ้แก ่เกษตรกรผู ้ยากไร ้และดําเนินการฟื้นฟูคุณภาพดินให้คงความอุ ดมสม บู รณ ์อย ่า ง ยั่ ง ยื น ตลอดจน การคุ้มครองที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ๓.๓.๒ ภาคอุตสาหกรรม ๑) ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศ

Page 61: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๖๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ส่งออก ๓.๓.๓ พัฒนาการขนส่งทาง

น้ําและกิจการพาณิชยนาวี ทั้งภายในและระหว่างประเทศ ตลอดจนพัฒนาท่าเรือน้ําลึกบริเวณพื้นที่ภาคใต้ พัฒนาท่าเรือชุมชน และกองเรือไทย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดการใช้พลังงานในภาคขนส่ง เชื่อมโยงประตูการค้าใหม่และสนับสนุนการท่องเที่ยว

๓.๓.๔ พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูมิภาค และอุตสาหกรรมการบินของไทย เพื่ อ ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการบิน การท่องเที่ยว และการขนส่งสินค้าทางอากาศชั้นนําของเอเชียและโลก

๓.๔ นโยบายพลังงาน ๓ .๔ .๑ สร้ า งความมั่ นคง

ทางด้านพลังงาน ด้วยการจัดหาพลังงานให้เพียงพอต่อการพัฒนาประเทศเพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชน โดยเร่งรัดให้มีการ

การลงทุน เพื่อสร้างบรรยากาศการลงทุนที่ดีและสร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ ๔.๒.๔.๓ ดําเนินการตลาดเชิงรุกเพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก โดยส่งเสริมการส่งออกและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุ โรปตะวันออก พร้อมทั้งรักษาส่วนแบ่งในตลาดหลักไม่ให้ลดลง โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมสินค้าและบริการที่มีอัตราการขยายตัวสูงในตลาดใหม่ ๔.๒.๔.๔ พัฒนาสินค้าและบริการที่สร้างโอกาสใหม่ในการหารายได้ เช่น สินค้าและบริการฮาลาล ซึ่งจะขยายโอกาสในการส่งออก การบริการ และดึงดูดการลงทุนและการท่องเที่ยวทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ

แหล่งท่องเที่ยวของแต่ละภาคและกลุ่มจังหวัดให้มีความเหมาะสมเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เช่น กรุงเทพมหานครที่ทรงเสน่ห์ ภาคใต้เป็นศูนย์กลางท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก ภาคเหนือเป็นศูนย์กลางอารยธรรมล้านนา ภาคอีสานเป็นศูนย์กลางท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรมและชายแดน ภาคกลางเป็นศูนย์กลางท่องเที่ยวอารยธรรม มรดกโลก และมรดกธรรมชาติ เป็นต้น ๔.๒.๓.๓ พัฒนามาตรฐานบริการด้านการท่องเที่ยวโดยจัดให้มีมาตรฐานธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เช่น มาตรฐานธุรกิจนําเที่ยว มาตรฐานการเดินทาง มาตรฐานร้านจําหน่ายสินค้าที่ระลึก มาตรฐานที่พักและโรงแรม เป็นต้น ร วม ทั้ งพัฒนามาตรฐานบุ คล ากรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เช่น พนักงานโ ร ง แ ร ม พนั ก ง า น บ ริ ษั ท นํ า เ ที่ ย ว

ด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุน ของผู้ประกอบการ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล รวมทั้งส่งเสริมให้เอกชนลงทุนวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ทั้งในกระบวนการผลิตและออกแบบผลิตภัณฑ์ตรงตามความต้องการของผู้ซื้อและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างตราสินค้าไทย ๒) ยกระดับภาคอุตสาหกรรม เข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ที่ใช้ปัญญา ใช้เทคโนโลยี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดแทนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก โดยส ่ง เสริมการสร ้างนวัตกรรมจากวัฒนธรรมของชาติ เพื่ อนํารายได ้เข้ าประเทศ เช่น อุตสาหกรรมถ่ายทําภาพยนตร์ อุตสาหกรรมอาหารไทย

Page 62: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๖๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ลงทุนสํารวจและพัฒนาพลังงานทั้งจากในประเทศ เขตพื้นที่พัฒนาร่วม และจากประเทศเพื่อนบ้านให้เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งส่ ง เสริมความร่วมมือด้านพลังงานกับต่างประเทศ ๓.๔.๒ ส่งเสริมให้มีการกํากับดูแลกิ จการพลั ง ง าน ให้ มี ร าคาพลั ง ง านที่เหมาะสม เป็นธรรม และก่อให้เกิดการแข่ งขันลงทุนในธุ รกิ จพลั งงาน โดยมีมาตรฐาน คุณภาพการให้บริการและความปลอดภัยที่ดี

๓.๔ .๓ พัฒนาและวิจัยพลังงานทดแทนทุกรูปแบบเพื่อเป็นทางเลือกแก่ประชาชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมในการตัดสินใจพัฒนาพลั ง ง านทา ง เ ลื อ กอื่ น ๆ ที่ ใ ช้เทคโนโลยีชั้นสูงและพลังงานที่สอดคล้องกับท้องถิ่น

๔.๒.๔.๕ ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจเพื่อผลประโยชน์ทางการค้าภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงทางด้านการค้าในระบบพหุภาคีและทวิภาคี เพื่อสนับสนุนการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการขยายตลาดการค้าระหว่างประเทศและการค้าชายแดน ๔ .๒ .๔ .๖ สนับสนุนการล ง ทุ น ใ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ส า ข า ที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพทั้งในการลงทุนตั้งโรงงานผลิตสินค้า การทําสัญญาสินค้าเกษตรตามข้อตกลง การเปิดสาขา การหาตัวแทนและหุ้นส่วนในต่างประเทศเ พื่ อ ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย ธุ ร กิ จ ไ ท ย ใ นต่างประเทศ ๔.๓ นโยบายโครงสร้างพื้นฐาน และระบบบริหารจัดการขนส่งมวลชน สินค้าและบริการ

มัคคุเทศก์ พนักงานร้านอาหาร พนักงานรถนํ า เ ที่ ย ว เ ป็ น ต้ น และปรั บป รุ งมาตรฐานการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวขัองกับการท่องเที่ยวทั้งในด้านความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว และค่าธรรมเนียมและค่าบริการของรัฐ ๔.๒.๓.๔ พัฒนาด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว โดยสนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกําหนดนโยบายและกลยุทธ์ด้านการตลาด และกํ าหนดกลยุท ธ์การประชาสัมพันธ์เพื่อสนับสนุนจุดขายที่มีความโดดเด่นของไทยให้เป็นศูนย์กลางระดับโลก โดยเฉพาะความพร้อมของการให้บริการทางด้านศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้าระหว่างประเทศ และศูนย์กลางท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ รวมทั้งส่งเสริมบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้ อ ง ถิ่ น ใ ห้ เ ข้ า ม ามี ส่ ว น ร่ ว ม ในกา ร

อุตสาหกรรมการกีฬา อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมการออกแบบ เป็นต้น ๓ ) พั ฒ น า แ ล ะ ส ่ ง เ ส ริ มอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และมีโอกาสในการขยายตลาด เช่น สินค้าเกษตรอินทรีย์ อาหารฮาลาล เป็นต้น เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร ๔) สร้างความเข้มแข็งให้แก่วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย ่อม โดยสนับสนุนช่องทางการเข ้าถึงแหล่ง สินเชื่อผ่านสถาบันการเงินต่าง ๆ ส่งเสริมสถาบันเฉพาะทางให้เป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดสอบผลิตภัณฑ์ ส่งเสริม การรวมกลุ ่ม อุตสาหกรรมและการ

Page 63: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๖๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๓.๔.๔ ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง รวมทั้งสนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพทั้ ง ในภาคการผลิต ภาคบริการ และภาคประชาชน โดยมีมาตรการจูงใจที่เหมาะสม

๓.๔.๕ ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงานควบคู่ไปกับการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม ส่ ง เสริมกลไกการพัฒนาพลังงานที่สะอาด รวมทั้งให้ความสําคัญกับการจัดการก๊ าซ เรือนกระจกเพื่ อช่ วยบรรเทาสภาวะโลกร้อน

๓.๕ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓.๕.๑ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น โครงข่ายสื่อสารความเร็วสูงให้ทั่วถึง เพียงพอ ในราคาที่เหมาะสม เป็นธรรม และแข่งขันได้ เพื่อเป็นโครงข่ายหลักสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยไปสู่สังคมแห่งภูมิปัญญา ช่วย

๔.๓.๑ พัฒนาบริการโครงสร้างพื้นฐานให้กระจายไปสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึง เพียงพอ และมีคุณภาพ โดยเฉพาะการจัดให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานอันจําเป็นต่อการดํารงชี วิตของประชาชน เ ช่น น้ํ าสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภค การกําจัดขยะมูลฝอย บริการสื่อสารโทรคมนาคม ที่อยู่อาศัย และถนนในชนบทปลอดฝุ่น เป็นต้น ๔ .๓ .๒ พัฒนาระบบคมนาคมขนส่งและเชื่อมโยงโครงข่ายการบริหารจัดการขนส่งมวลชน สินค้าและบริการที่สะดวกและปลอดภัย ทั้งพื้นที่ชนบท เมือง และระหว่างประเทศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการขนส่งระบบรางให้สามารถเชื่อมโยงการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ เพื่อลดต้นทุนสินค้าและบริการเพื่อการส่งออก

ประชาสั ม พัน ธ์ เ พื่ อ ยก ร ะดั บ แหล่ งท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักทั่วโลก ๔.๒.๓.๕ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทั้งหมดให้มีความทันสมัยและสนับสนุนซึ่งกันและกัน และเพิ่มประสิทธิภาพของการบังคับใช้กฎหมายทางด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ๔.๒.๔ การตลาด การค้า และการลงทุน ๔.๒.๔.๑ ส่งเสริมระบบการค้าเสรีและเป็นธรรม โดยมีภาคเอกชนเป็นผู้นําทางธุรกิจรัฐเป็นผู้ส่งเสริม สนับสนุน และดูแล และให้มีการบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการค้าและกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคอย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม ป้องกันการผูกขาดตัดตอน ป้องกันการเอาเปรียบผู้บริโภค และให้ความคุ้มครองผู้บริโภค

เชื่อมโยงอุตสาหกรรมตั้งแต่ต้นน้ําจนถึงปลายน้ํา และปรับปรุงหลักเกณฑ์ส่งเสริมการลงทุนสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้เอื้ออํานวยต่อการลงทุนมากยิ่งขึ้น ๕) กําหนดมาตรฐานและคุณภาพขั้นพื้นฐานของสินค้าอุตสาหกรรมเมื่อมีการเปิดเสรีการค้ามากขึ้น เพื่อป้องกันสินค้านําเข้าที่ไม่ได้คุณภาพซึ่งอาจก่อให้เกิดภัยอันตรายต ่อชี วิตและทรัพย ์สินและก ่อ ให ้เกิ ดมลพิษต ่อสิ่ งแวดล ้อม รวมทั้งให้มีการบังคับใช้มาตรฐานผลิตภัณฑ ์อุ ต ส าหก ร รมสํ า ห รั บ สิ น ค ้า ที ่ผลิตภายในประเทศอย่างจริงจัง ส่งเสริมให้เกิดการยอมรับมาตรฐานและคุณภาพ สินค้าร่วมกันในกลุ่มอาเซียน ๖) พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม แห่งใหม่โดยพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมใหม่ ในทุกภูมิภาคที่ เหมาะสมเพื่อรองรับ

Page 64: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๖๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ลดความเหลื่อมล้ําระหว่างเขตเมืองและชนบท และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ

๓.๕.๒ พั ฒ น า อุ ต ส า ห ก ร ร มซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และอุตสาหกรรมที่เ กี่ ย วข้ อ งด้ านบริ ก า รความรู้ ผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ และจัดให้มีกลไกสนับสนุนแหล่งทุนสําหรับผู้ประกอบธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพได้มาตรฐานและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในภูมิภาค

๓.๕.๓ สนับสนุนการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาระบบบริหารจั ดการและบริ การภาครั ฐ ด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การเชื่อมโยงข้อมูลการบริหารจัดการขนส่งสินค้าและบริการ การเตือนภัยและ

๔.๓.๓ พัฒนาการขนส่งทางน้ําและกิจการพาณิชยนาวี ทั้งภายในและระหว่างประเทศ รวมถึงการพัฒนาท่าเรือน้ําลึกบริเวณพื้นที่ภาคใต้และโครงข่ายเชื่อมโยงอนุภูมิภาคเป็นประตูการค้าใหม่ ตลอดจนการพัฒนาท่าเรือชุมชน และกองเรือไทย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการให้มีการขนส่งทางน้ําเพิ่มขึ้นและสามารถเชื่อมโยงกับระบบขนส่งอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔ .๓ .๔ พัฒนาท่าอากาศยานสากล ท่ าอากาศยานภู มิ ภ าค และอุตสาหกรรมการบินของไทย เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการบิน การท่องเที่ยว และการขนส่งสินค้าทางอากาศชั้นนําของเอเชียและโลก ๔ .๓ .๕ ส่ ง เ ส ริ ม ก า รพั ฒนาอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องด้านการขนส่ง เพื่ อ ให้ เกิ ดการ เรี ยนรู้ และถ่ ายทอด

รวมทั้งออกกฎหมายค้าปลีกเพื่อกํากับดูแลธุรกิจค้าปลีกอย่างเป็นระบบโดยให้ธุรกิจรายใหญ่และรายย่อยอยู่ร่วมกันได้อย่างเกื้อกูลและยั่งยืน ๔.๒.๔.๒ ขยายตลาดสินค้าและบริการส่งออกของไทย โดยกําหนดกลยุทธ์ด้านการตลาดร่วมกับภาคเอกชนเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งในตลาดที่มีอยู่แล้ว และขยายฐานการตลาดไปสู่ประเทศใหม่ๆ เช่น ยุโรปตะวันออก ตะวันออกกลาง และเอเชีย เป็นต้น รวมทั้งพัฒนาระบบการกระจายสินค้าให้รวดเร็วโดยใช้ความได้เปรียบ ใน เชิ งแหล่ งที่ ตั้ งทางภูมิ ศาสตร์และศักยภาพการขนส่งของไทย ๔ .๒ .๔ .๓ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ชน์ จ า กข้อตกลงเขตการค้าเสรีทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภา คี ควบคู่ ไปกับการเจรจาข้อตกลงเขตการค้าเสรีที่มีปัญหา ทั้งที่อยู่ระหว่างการเจรจา และที่ได้มีการเจรจาไป

การลงทุนด้านอุตสาหกรรมที่ไม่ก่อมลพิษ และพัฒนาเส้นทางการขนส่งเชื่อมโยงระหว ่า งพื้ นที่ อุ ตสาหกรรมดั งกล ่า ว กับท ่าเรือน้ําลึกแหลมฉบังและท่าเรือ มาบตาพุด รวมทั้งการพัฒนาสะพานเศรษฐกิจระหว ่างฝ ั่งอันดามันและฝ ั่ง อ่าวไทยสําหรับรองรับอุตสาหกรรมที่ ไม่ก่อ มลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน ๗) เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได ้ โดยปรับปรุ ง เทคโนโลยีการผลิต ลดการใช ้ทรัพยากรและลดปริมาณ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ด้วยหลักการการลดการใช้การใช้ซ้ํา และการนํากลับมาใช้ใหม่ เพิ่มปริมาณการใช้พลังงานทดแทนในภาคอุตสาหกรรม เพื่ อส ่ง เสริมให ้ผู ้ประกอบการสร้างรายได้จากการขาย

Page 65: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๖๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ความมั่นคงของรัฐ บริการการศึกษาและสาธารณสุ ข ตลอดจนการพัฒนาระบบ ภูมิสารสนเทศและเทคโนโลยีอวกาศ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ

เทคโนโลยีทั้งด้านการผลิตและการบริหารจัดการ ๔.๓.๖ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาโครงการขนาดใ หญ่ ร ว ม ทั้ ง ดํ า เ นิ น ม า ต ร ก า ร ล ดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและชุมชนอย่างจริงจัง ๔.๔ นโยบายพลังงาน ๔ .๔ .๑ เสริมสร้างความมั่นคงทางด้านพลังงานให้มีพลังงานใช้อย่างเพียงพอต่อการพัฒนาประเทศ และให้พึ่งพาตนเองทางพลังงานได้มากขึ้น เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชน โดยเร่งรัดการสํารวจและผลิตพลังงานภายในประเทศเพิ่มขึ้น เสริมสร้างความร่วมมือและความสั ม พัน ธ์ ด้ านพลั ง ง านอั น ดี กั บประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งการลงทุนด้านพลั ง ง า น ใ นต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ดู แ ล ว า งแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าให้มีความ

แล้ ว เพื่ อ ให้ เ กิ ดประโยชน์สู งสุ ด ต่อประเทศโดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาครั ฐ รวมทั้งกําหนดมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบอย่างเป็นระบบทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ๔ .๒ .๔ .๔ ปรับปรุ งมาตรการบริหารการนําเข้า เพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม การทุ่มตลาด และสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานทางด้านคุณภาพและความปลอดภัย ๔.๒.๔.๕ ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยให้มีการขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาให้ถูกต้อง และปกป้องคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาของสินค้าและผลิตภัณฑ์ไทยในต่างประเทศ ๔.๒.๔.๖ ส่งเสริมการลงทุนในภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการที่ไทยมีศักยภาพ โดยเฉพาะสินค้าอาหาร

คาร์บอนเครดิต และลดภาวะโลกร้อนรวมทั้งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและตรวจสอบสภาวะแวดล ้อมและพัฒนา เมื อ งหรื อพื้ นที่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าวเพื่อนําไปสู่สังคมคาร์บอนต่ํา ๘) ส่งเสริมและจัดให้มีมาตรการทางภาษี และมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช ้พลั ง งานจากภาคเกษตร อุตสาหกรรมรถยนต์ประหยัดพลังงาน อุตสาหกรรมรถยนต์ที่ใช้พลังงานทดแทนและสะอาด ได้แก่ เอทานอล ไบโอดีเซล และก๊าซธรรมชาติ (NGV) ๙) สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุ ตสาหกรรมทุ กสาขาการผลิ ต เ ข ้าประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมซึ่งมีความพร้อมทั้ ง ระบบสาธารณูปโภค

Page 66: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๖๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

เหมาะสมต่อภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมในการตัดสินใจพัฒนาพลังงานทางเลือกอื่น ๆ ที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง ๔ .๔ .๒ ส่งเสริมให้มีการกํากับดูแลกิจการพลังงานให้ราคาพลังงานในประเทศมีความเหมาะสม มีเสถียรภาพ ภายใ ต้การผันแปรอย่ างรุนแรงของตลาดโลก สอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจและการลงทุน โดยกําหนดโครงสร้างราคาเชื้อเพลิงให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริงตามกลไกตลาดและเป็นธรรมต่อประชาชน เพื่อก่อให้เกิดการแข่งขันและการลงทุนในธุรกิจพลังงาน พร้อมทั้งดูแลให้กิจการพลังงานมีมาตรฐาน คุณภาพ การให้บริการ และความปลอดภัยที่ดี ๔.๔.๓ ส่งเสริมและวิจัยพัฒนาพลังงานทดแทนทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่อง ด้วยการกําหนดให้พลังงานทดแทนเป็น

แ ล ะ บ ริ ก า ร ฮ า ล า ล อุ ต ส า ห ก ร ร มภ าพยนต ร์ สิ น ค้ า แ ล ะบ ริ ก า ร ที่ ใ ช้นวัตกรรมและภูมิปัญญา การลงทุนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งสนับสนุนการล ง ทุ น ใ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ส า ข า ที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพ และสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงทางธุรกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๔.๒.๔.๗ ปรับปรุงประสิทธิภาพและจัดระบบการอํานวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุนชายแดน โดยนําระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ที่สําคัญได้แก่ ศูนย์บริการครบวงจร ระบบอํานวยความสะดวกช่องทางเดียว ระบบการตรวจร่วมจุดเดียว ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และระบบโลจิ ส ติกส์ อิ เ ล็ กทรอนิกส์ เป็นต้น ๔ .๒ .๔ .๘ ปรับปรุงและเร่งรัดกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์เรื่องภาษี

พื้นฐาน ความเพียงพอของแหล่งพลังงาน การจัดการของเสีย การจัดการมลพิษเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี รวมถึงการจัดและวางระบบการผลิตที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมในระยะยาว ๑๐) เร่งรัดสํารวจและแสวงหาแหล่งแร่สําคัญเพื่อนํามาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสําคัญ กับการกํากับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน ๓.๓.๓ ภาคการท่องเที่ยว การบริการ และการกีฬา ๑) การพัฒนาการท่องเที่ยว ๑.๑) ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนการท่องเที่ยวและเร่งรัดการปรับปรุงมาตรฐานในเรื่องสิ่งอํานวยความสะดวก ความปลอดภัย และสุขอนามัย โดยคํานึงถึงการเข้าถึง

Page 67: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๖๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

วาระแห่งชาติ โดยเฉพาะในด้านของเชื้อเพลิงชีวภาพ อาทิ แก๊สโซฮอล์ ไบโอดีเซล การเร่งรัดการใช้ก๊าซธรรมชาติในภาคขนส่งและอุตสาหกรรมให้มากขึ้น การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพในประเทศ รวมทั้งการกําหนดมาตรการส่งเสริมการผลิตและใช้พลังงานทดแทนอย่างเหมาะสม และจูงใจต่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค และมีความสมดุลด้านอาหาร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม ๔.๔.๔ ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยรณรงค์ส่งเสริมให้ เกิดวินัยในการประหยัดพลังงานของคนในชาติ และส นั บ ส นุ น ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ โดยส่งเสริมให้เกิดมาตรฐานในการออกแบบอาคารประหยัดพลังงาน การเพิ่ มมาตรฐานประสิท ธิภาพการประหยัดพลังงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อ

โดยยกระดับหน่วยงานพิจารณาเรื่องอุทธรณ์จากระดับกรมขึ้นมาอยู่ในระดับกระทรวง และให้ตัวแทนภาคเอกชนเข้ามามีส่ วนร่ วม ในการพิจารณาตัดสินอุทธรณ์เช่นเดียวกับผู้พิพากษาสมทบ รวมทั้งมีการประกาศกําหนดเวลาแน่นอนในการวินิจฉัยคําอุทธรณ์ ๔.๓ นโยบายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ๔ .๓ .๑ ขยายกา ร ให้ บ ริ ก า รสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่มีความจําเป็นต่อการดํารงชีวิตของประชาชนให้กระจายไปสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึง เพียงพอ และมีคุณภาพ ทั้ งบริการน้ํ าสะอาด ไฟฟ้า สื่อสารโทรคมนาคมพื้นฐาน และที่อยู่อาศัย รวม ทั้งพัฒนาถนนไร้ฝุ่ น โดยยกระดับมาตรฐานทางในชนบทเป็นถนน

แหล่งท่องเที่ยวของผู้พิการและผู้สูงอายุ ๑.๒) พัฒนา บูรณะ และ ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเดิมที่มีอยู่แล้ว ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในเ ชิ ง กลุ ่มพื้ นที่ ที่ มี ศั ก ยภาพสามา รถเชื่อมโยงธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม และวิถี ชี วิตของชุมชนตามแผนพัฒนาการ ท่องเที่ยวที่เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ของประเทศ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลงทุนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ๑.๓) ยกระดับและรักษามาตรฐานบริการด้านการท่องเที่ยวเพื่อให้การประกอบการและดําเนินธุรกิจเป็นไปตามมาตรฐานสากล รวมทั้ งพัฒนามาตรฐานบุคลากรที่ เกี่ยวข ้องกับการ ท่องเที่ยว ตลอดจนปรับปรุงการบริการ

Page 68: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๖๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ผู้บริโภค การพัฒนาระบบขนส่งมวลชน รวมทั้งพัฒนาระบบบริหารจัดการการขนส่ งสิ นค้ าและบริ ก าร ให้ ใ ช้ ร ะบบรถไฟฟ้าและระบบรางมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาน้ํามันเชื้อเพลิง ลดปัญหามลพิษ และลดปัญหาการจราจรติดขัดในเขตเมือง ๔.๔.๕ ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงาน ควบคู่ไปกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยกําหนดมาตรฐานการผลิตพลังงานและมาตรฐานเชื้อเพลิง เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รณรงค์และส่งเสริมการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อนโดยส่งเสริมให้เกิดโครงการกลไกการพัฒนาพ ลั ง ง า น ที่ ส ะ อ า ด ( CDM-Clean Development Mechanism) ให้เพิ่มมากขึ้น ๔.๕ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ๔.๕.๑ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น โครงข่าย

คอนกรีตหรือลาดยาง ๔.๓.๒ พัฒนาระบบการคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์อย่างบูรณาการ ทั้งในด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การปรับปรุงพัฒนากฎหมายและระเบียบที่เ กี่ ย ว ข้ อ ง ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ธุ ร กิ จ ก า รให้บริการโลจิสติกส์ การอํานวยความสะดวกทางการค้ า และการพัฒนาบุ ค ล า ก ร โ ล จิ ส ติ ก ส์ ร ว ม ทั้ ง จั ด ตั้ งคณะกรรมการระดับชาติเพื่อเป็นกลไกขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร พั ฒ น า ด้ า น โลจิสติกส์อย่างจริงจัง ๔ .๓ .๓ พัฒนาระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ โดยเชื่อมโยงการขนส่งทางถนน ทางราง ทางน้ํา และทางอากาศอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกในการขนส่ง เช่น ส ถ า นี บ ร ร จุ แ ล ะ แ ย ก สิ น ค้ า ก ล่ อ ง ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าในภูมิภาค

ภาครัฐเพื่อให้สามารถดึงดูดและรองรับตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มคุณภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๔) ส่งเสริม สนับสนุนตลาดนักท่องเที่ยวคุณภาพทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ โดยใช้กลยุทธ์การตลาดเ ชิ ง รุ ก ใ น ก ลุ ่ม ต ่า ง ๆ ทั้ ง ร ะ ดั บภายในประเทศและระหว่างประเทศเพื่อให้ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลก ศูนย ์กลางการประชุมและแสดง สินค้าระหว่างประเทศ และศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจลงตรา การยกเว้น ค ่าธรรมเนียมการตรวจลงตราให ้แก ่นักท่องเที่ยวที่อยู่ในกรอบการค้าเสรี หรือมีความสัมพันธ์ด้านการค้าการลงทุนร่วมกับประเทศไทย และการยกเว้นการ ตรวจลงตราให ้แก ่นั กท ่อง เที่ ยวจาก ประเทศกลุ่มเป้าหมาย

Page 69: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๖๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

สื่อสารความเร็วสูง ให้ทั่วถึง เพียงพอ ในราคาที่เหมาะสม เป็นธรรม และแข่งขันได้ เพื่อเป็นโครงข่ายหลักสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยไปสู่สังคมแห่งภูมิปัญญา ช่วยลดความเหลื่อมล้ําระหว่างเขตเมืองและชนบท และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ ๔ .๕ .๒ พัฒนาอุ ตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และอุตสาหกรรมที่เกี่ ยวข้อง ด้านบริการความรู้ ผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ และจัดให้มีกลไกสนับสนุนแหล่งทุนสําหรับผู้ประกอบธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพ ได้มาตรฐาน และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในภูมิภาค

เ ป็น ต้น เพื่ อ เพิ่ มประสิ ท ธิภาพและ ลดต้นทุนโลจิสติกส์ ๔ .๓ .๔ พัฒนาโครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลให้มีความสมบูรณ์ และรถไฟชานเมืองให้สามารถเชื่อมต่อการเดินทางกับโครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและระบบขนส่งสาธารณะอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวกรวดเร็ว ในราคาที่ เหมาะสม รวมทั้งขยายการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนไปยังเมืองหลักในภูมิภาค ๔.๓.๕ พัฒนาโครงข่ายรถไฟทางคู่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะในเส้นทางที่มีปริมาณการขนส่งหนาแน่น และพัฒนาเส้นทางเชื่อมโยงฐานการผลิตในภูมิภาคและระหว่างประเทศ ปรับปรุงบูรณะทาง รวมทั้งพัฒนาการให้บริการและสิ่งอํานวยความสะดวกให้ได้มาตรฐาน เพื่อเพิ่ม

๑.๕) ส่งเสริมกิจกรรมและรูปแบบการท ่อ ง เที่ ย ว เพื่ อ ส ร ้า งคุณค ่า และ มูลค ่า เพิ่ มทางการท ่อง เที่ ยว พัฒนาคุณภาพการบริการท่องเที่ยว สนับสนุนการถ่ายทําภาพยนตร์ต่างชาติในประเทศไทย และส่งเสริมการเสนอตัวให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพการจัดกิจกรรมนานาชาติขนาดใหญ่ ๑.๖) ผลักดันความร่วมมือ ของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้บริการ นักท่องเที่ยวอย่างมีคุณภาพ รวมทั้งพัฒนามาตรฐานบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยวให้เพียงพอกับความต้องการ ปรับปรุ งแก ้ไขกฎหมายและระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว และ เพิ่ มประสิท ธิภาพของการบั งคับ ใช ้ก ฎ ห ม า ย ที่ เ กี่ ย ว ข ้อ ง เ พื่ อ อํ า น ว ย ความสะดวก ดูแลความปลอดภัย และป้องกันการเอาเปรียบนักท่องเที่ยว

Page 70: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๖๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๔ . ๕ . ๓ ส นั บ ส นุ น ก า ร นํ าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการและบริการภาครัฐและเอกชน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การเชื่อมโยงข้อมูลการบริหารจัดการขนส่งสินค้าและบริการ การเตือนภัยและความมั่นคงของรัฐ รวมถึงการป้องกันการเข้าถึงสื่อที่เป็นภัยต่อสังคมโดยเฉพาะต่อเด็กและเยาวชน การบริการการศึกษาและสาธารณสุข ตลอดจนการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศและเทคโนโลยีอวกาศ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ และจัดทําแผนแม่ บทกา ร พัฒนาระบบ เทค โน โลยีสารสนเทศภาครัฐที่ครอบคลุมด้านการลงทุนในฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การพัฒนาบุคลากร และการสร้างเครือข่ายในการเชื่อมโยงและใช้ประโยชน์ของข้อมูลและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกัน

ความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และ ลดต้นทุนการขนส่ง ๔.๓.๖ พัฒนาโครงข่ายทางหลวงสายประธาน สายหลัก และโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ให้เชื่อมโยงเมืองหลักในภูมิภาคและเส้นทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และสอดคล้องกับการพัฒนาโครงข่ายการขนส่งรูปแบบอื่น ๆ โดยเฉพาะโครงข่ายรถไฟ รวมทั้งการปรับปรุงทางหลวงและมีมาตรการบังคับใช้กฎหมายเพื่อลดอุ บั ติ เหตุบนท้องถนน เพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัย ในการเดินทางและการขนส่งสินค้า ๔.๓ .๗ พัฒนากิจการพาณิชยนาวี และโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งทางน้ํา โดยเฉพาะการพัฒนาการให้บริการของท่า เรือแหลมฉบั ง ให้มีมาตรฐาน เป็นท่าเรือที่ทันสมัยระดับโลก พัฒนาการขนส่ งชายฝั่ ง และการขนส่ งทางน้ํ า

พร้อมทั้งป้องกันแก้ไขปัญหาผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน ๑.๗) พัฒนาด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ส่งเสริมบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนให้ เข้ามามีส่วนร่วมในการกําหนดนโยบาย กลยุทธ์ด้านการตลาด และการ ประชาสั ม พัน ธ ์เ พื่ อ ย ก ร ะดั บ แหล ่ง ท่องเที่ยวของไทยให้เป็นที่รู้จักทั่วโลก ๒) การพัฒนาภาคบริการ ๒.๑) เร่งรัดพัฒนาผู้ประกอบการด้านบริการให้มีองค์ความรู้ เสริมสร้างน วั ตกร รมและทั กษะทั้ ง ด ้า นภาษา มาตรฐานการบริการ และการจัดการ เพื่อสร ้างความเข ้มแข็งและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของความตกลงระหว ่างประเทศด้านการค้าบริการ การเสริม สร้างบรรยากาศการลงทุน มาตรฐาน

Page 71: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๗๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ภายในประเทศและระหว่างประเทศ ให้เชื่อมโยงกับระบบขนส่งอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มสัดส่วนการขนส่งทางน้ําให้มากขึ้น ๔ .๓ .๘ พั ฒ น า แ ล ะ ข ย า ยความสามารถของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานหลักในภูมิภาค ให้สามารถรองรับปริมาณการจราจร ทางอากาศได้อย่างเพียงพอในอนาคต พัฒนาท่าอากาศยานดอนเมืองให้เกิดป ร ะ โ ย ชน์ สู ง สุ ด และพัฒน า ธุ ร กิ จอุตสาหกรรมการบิน เช่น ศูนย์ซ่อมบํารุงอ า ก า ศ ย าน แ ล ะ ธุ ร กิ จ เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง เ พื่ อ ส นั บ สนุ น ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ ไทย เ ป็ นศูนย์กลางการบิน การท่องเที่ยว และการขนส่งสินค้าทางอากาศชั้นนําของเอเชีย ๔ .๓ .๙ ส่ ง เสริมการ วิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตที่เกี่ยวข้องด้านการขนส่ง เช่น การต่อเรือ การต่อตู้

ธุรกิจและการพัฒนาบุคลากรให้พร้อมรับการขยายตัวของธุรกิจ และส่งเสริมขีดความสามารถในการแข ่งขันของภาคบริการไทย ๒.๒) พัฒนาธุรกิจบริการที่มีศักยภาพเพื่อขยายฐานการผลิตและการตลาดสู่ระดับภูมิภาค โดยเพิ่มความหลากหลาย มูลค่า ความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริการ ทั้งนี้ เพื่อให้ เป็นแหล่งสร้างรายได้เงินตราต่างประเทศและรายได้ท้องถิ่น เช่น การท่องเที่ยว ธุรกิจบริการสุขภาพ ธุรกิจการประชุมและแสดงสินค้าการศึกษานานาชาติ การก่อสร้างธุรกิจภาพยนตร์ ธุรกิจออกแบบแฟชั่น ธุรกิจอัญมณี การบริหารจัดการขนส ่ง สินค้าและบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับกีฬาและนันทนาการ รวมทั้งสินค้าบริการที่ใช้ความคิดสร ้า งสรรค ์บนพื้ นฐานของ

Page 72: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๗๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

รถไฟและรถไฟฟ้า เป็นต้น โดยให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีทั้งด้านการผลิตและการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ๔ .๓ .๑ ๐ เ ร่ ง แ ก้ ไ ข ปั ญ ห าผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการดําเนินโครงการขนาดใหญ่อย่างจริงจัง ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และปรับโครงสร้างการบริหารจัดการ และกา รกํ า กั บ ดู แลก า รพัฒนาและกา รให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และมีการแข่งขันที่เป็นธรรม ๔ .๓ .๑๑ พัฒนาระบบขนส่ งและโลจิสติกส์ในภูมิภาคและเชื่อมโยงกับโครงข่ายคมนาคมกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมขนส่งตามแนวเศรษฐกิจเหนือ – ใต้ แนวเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก โครงการสะพานเศรษฐกิจเชื่อมอ่าวไทยและอันดามัน และโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงอินโดนีเซีย –

วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่เชื่อมโยงกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ๓) การพัฒนากีฬา ๓.๑) ส่งเสริมให้ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางกีฬาของภูมิภาคและของโลก จัดให้มีการแข่งขันกีฬาและกีฬาคนพิการระดับโลกที่สําคัญ ๆ ตลอดจนการประชุมเกี่ยวกับกีฬาระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวโดยความร ่วมมือและการมีส ่วนร ่วม จากทุกฝ่ายเป็น “ทีมไทยแลนด์” ๓.๒) จัดหาและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการกีฬาให้เพียงพอโดยเฉพาะสิ่งอํานวยความสะดวก เช่น สนามกีฬา วัสดุ อุปกรณ์ที่ทันสมัย และจัดให้มีผู้ฝึกสอนและอาสาสมัครการกีฬาประจําศูนย์และสนามกีฬา รวมทั้งส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการลงทุนและการบริ จาค เพื่ อพัฒนาการกีฬาด ้วย

Page 73: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๗๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

มาเลเซีย – ไทย รวมทั้งปรับปรุงระบบอํานวยความสะดวกทางการค้าและการขนส่งสินค้าข้ามแดนในพื้นที่บริ เวณชายแดนที่สําคัญ คือ ด่านหนองคาย แม่สอด มุกดาหาร สระแก้ว ด่านสิงขร และช่องเม็ก เป็นต้น

๔.๔ นโยบายพลังงาน ๔ .๔.๑ พัฒนาพลังงานให้

ประเทศไทยสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น โ ด ย จั ด ห า พ ลั ง ง า น ใ ห้ เ พี ย ง พ อ มีเสถียรภาพ ด้วยการเร่งสํารวจและพัฒนาแหล่ ง พลั ง ง า นป ร ะ เ ภทต่ า ง ๆ ทั้ งภายในประเทศและต่างประเทศ และเร่งให้มีการเจรจากับประเทศเพื่อนบ้านในระดับรัฐบาลเพื่อร่วมพัฒนาแหล่งพลังงาน วางแผนพัฒนาไฟฟ้าให้มีการกระจายชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช้ เพื่อลดความเสี่ยงด้านการจัดหา ความผันผวนทางด้านราคา และลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพ

มาตรการจูงใจที่เหมาะสม เช่น มาตรการภาษี มาตรการส่งเสริมการลงทุน และมาตรการการเงิน ภายใต้ความโปร่งใสและมีธรรมาภิบาล ๓.๓) จัดให้มีทุนการศึกษาและทุนสนับสนุนแก ่เ ด็กและเยาวชนที่ มีความสามารถและมีแนวโน้มว่าจะเป็นผู้มีค ว ามสามารถสู ง ด ้านกีฬา ในระดั บนานาชาติ ให้สามารถพัฒนาเป็นนักกีฬาทีมชาติที่สร้างชื่อเสียงและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เยาวชนของประเทศ รวมทั้งปรับบทบาทของกองทุนพัฒนากีฬาแห่งชาติ ให้สนับสนุนภารกิจในการพัฒนานักกีฬาตั้งแต่ระดับเด็กและเยาวชน ๓.๔) พัฒนากีฬาเพื่อความ เป็นเลิศ ด้วยการนําวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการกีฬามาประยุกต์ใช้อย่างจริงจัง เพื่อพัฒนากีฬาที่มีศักยภาพไปสู่กีฬาอาชีพ พร้อมไปกับการพัฒนาผู้ฝึกสอน

Page 74: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๗๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

โดยเฉพาะโครงการผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก และโครงการผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก รวมทั้งศึกษาความเหมาะสมในการพัฒนาพลังงานทางเลือกอื่น ๆ มาใช้ประโยชน์ในการผลิตไฟฟ้า

๔ .๔ .๒ ดํ า เ นิ น ก า ร ใ ห้นโยบายด้านพลังงานทดแทนเป็นวาระแห่งชาติ โดยสนับสนุนการผลิตและการใช้พลังงานทดแทน โดยเฉพาะการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพและชีวมวล เช่น แก๊สโซฮอล์ (อี ๑๐ อี ๒๐ และอี ๘๕) ไบโอดี เ ซ ล ข ย ะ แ ล ะ มู ล สั ต ว์ เ ป็ น ต้ น เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ลดภาวะมลพิษ และ เพื่ อประ โยชน์ ของเกษตรกร โดยสนับสนุนให้มีการผลิตและใช้พลังงานหมุนเวียนในระดับชุมชน หมู่บ้าน ภายใต้มาตรการสร้างแรงจูงใจ ที่เหมาะสม รวมทั้งสนับสนุนการใช้ก๊าซ

และผู้ตัดสินให้ได้มาตรฐานสากลปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎระเบียบ เพื่อใช้เป็น เครื่องมือในการบริหารจัดการองค ์กรกีฬาอย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนให้ ผู้พิการเข้าถึงการกีฬาและการแข่งขันกีฬาในทุกระดับ เพื่ อพัฒนาไปสู ่การเป ็น นักกีฬาที่มีความสามารถในนามทีมชาติไทยในการแข่งขันกีฬาและมหกรรมกีฬา ต่าง ๆ ๓.๓.๔ การตลาด การค้า และการลงทุน ๑) ส่งเสริมนโยบายการ แข่งขันอย่างเสรี และเป็นธรรมเพื่อป้องกันการผูกขาดตัดตอน ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทขององค ์กรที่ เกี่ยวข ้องกับการ คุ ้มครองผู ้บริโภคทั้งภาครัฐและเอกชน แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่าง ๆ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู ้บริโภค รวมทั้งสร้างความมั่นใจให้แก่ผู ้ประกอบการ

Page 75: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๗๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ธรรมชาติในภาคขนส่งให้มากขึ้น โดยขยายระบบขนส่ ง ก๊ าซธรรมชาติ ใ ห้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ ตลอดจนส่งเสริมและวิจัยพัฒนาพลังงานทดแทนทุกรูปแบบอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

๔ .๔ .๓ กําก ับด ูแลราคาพล ัง ง าน ให ้อยู ่ใ น ระด ับที ่เ หมาะสม ม ีเ ส ถ ีย ร ภ า พ แ ล ะ เ ป ็น ธ ร ร ม ต ่อประชาชน โดยกําหนดโครงสร้างราคาเชื ้อเพลิงที ่เหมาะสม และเอื ้อต่อการพัฒนาพืชพลังงาน รวมทั้งสะท้อนต้นทุนที ่แท้จริงมากที ่ส ุด และบริหารจัดการผ ่า นกล ไกตลาดและกอ งท ุนน้ํ า ม ัน เพื ่อให้มีการใช้พลังงานอย่างประหยัด และส่งเสริมการแข่งขันและการลงทุนในธุรกิจพลังงาน รวมทั ้งพัฒนาคุณภาพการให้บริการและความปลอดภัย

๔.๔.๔ ส่งเสริมการอนุรักษ์

ในด้านการคุ้มครองและป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของสินค้าและผลิตภัณฑ์ไทยในต่างประเทศ ๒) สร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยปรับปรุงพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบที่ส่งเสริมการค้าการลงทุนที่ครอบคลุมการลงทุนด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ และปรับปรุงมาตรการบริหารการนําเข้าเพื่อป้องกันการค้าที่ไม่เป็นธรรม การทุ่มตลาด และสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานทางด้านคุณภาพและความปลอดภัย การปรับเปลี่ยนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให้มีคุณภาพที่สามารถขยายตัวได้อย่างยั่งยืน กระจายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้อย่างทั่วถึง และมีภูมิคุ ้มกันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบันและอนาคต ๓) สนับสนุนการลงทุนใน

Page 76: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๗๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

และประหยัดพลังงาน ทั้งในภาคครัวเรือน อุตสาหกรรม บริการ และขนส่ง โดยรณรงค์ให้ เกิดวินัยและสร้างจิตสํานึก ในการประหยัดพลังงาน และสนับสนุนการใช้พลั งงานอย่างมีประสิท ธิภาพ มีมาตรการจู ง ใจ ให้มี การลงทุนจากภาคเอกชนในการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน และมาตรการสนับสนุนให้ครัวเรือนลดการใช้ไฟฟ้าในช่วงการใช้ไฟฟ้าสูงสุด รวมทั้งการวิจัยพัฒนาและกําหนดมาตรฐานอุปกรณ์ ไฟฟ้าและมาตรฐานอาคารประหยั ดพลั ง ง าน ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน และการขนส่งระบบราง เพื่อให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถชะลอการลงทุนด้านการจัดหาพลังงานของประเทศ

๔.๔.๕ ส่งเสริมการจัดหาและการใช้พลั งงานที่ ให้ความสํ าคัญ

ต่างประเทศในสาขาที่ผู ้ประกอบการไทย มีศักยภาพทั้งในการลงทุนตั้งโรงงานผลิต สินค้า การทําสัญญาสินค้าเกษตรตาม ข้อตกลง การเปิดสาขา การหาตัวแทนและหุ ้นส ่วนในต ่างประเทศเพื่อสร ้างเครือข่ายธุรกิจไทยในต่างประเทศ ส่งเสริมและสนับสนุนการเป ิดร ้านอาหารไทย ของคนไทย ตามนโยบายครัวไทยสู ่ครัวโลก และนโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก ๔) ปรับปรุงมาตรการการส่งเสริมการลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์ แก่ธุรกิจในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การกีฬา และบริการ โดยเน้น กิจการที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม มีการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง และมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม ๕) ส่งเสริมการขยายตลาดเชิงรุกเพื่อรักษาตลาดเดิมและสร้างตลาดใหม่เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปตลาดหลัก

Page 77: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๗๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ต่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยกําหนดมาตรฐานด้านต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดโครงการกลไกการพัฒนาพลังงานที่สะอาด เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน และลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก

๔ .๕ น โ ย บ า ย เ ท ค โ น โ ล ยีสารสนเทศและการสื่อสาร

๔ .๕ .๑ พัฒนา โครงข่ ายสื่อสารโทรคมนาคมพื้นฐานให้ครอบคลุมทั่วประเทศ และสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการสื่อสารอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อให้ประชาชน ชุมชน และองค์กร ต่างๆ สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารและความรู้ได้อย่างทั่วถึงและสนับสนุนการพัฒน าป ร ะ เ ทศ ไทย ไปสู่ เ ศ ร ษ ฐ กิ จฐานความรู้ รวมทั้งพัฒนาบริการสื่อสารที่ทันสมัยเพื่อรองรับความต้องการของภาค

โดยส่งเสริมการส่งออกสินค้าและบริการในตลาดใหม่ ได้แก่ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และยุโรปตะวันออกพร้อมทั้งรักษาส่วนแบ่งในตลาดหลักไม่ให้ลดลง ตลอดจนการเตรียมความพร้อมในเชิง ของทักษะ เทคโนโลยี และวิทยาการที ่จําเป็นในการแข่งขันระดับโลกเพื่อการขยายตัวอย่างยั่งยืนของประเทศในอนาคต และเป็นการส่งเสริมให้สินค้าและบริการของไทยเป ็นที่ รู ้จั กและยอมรับอย ่าง แพร่หลายจากผู้บริโภคในประเทศต่างๆ ๖) พัฒนาสินค้าและบริการ ที่ ส ร้ า ง โอกาสใหม ่ในการหาราย ได ้ การผลิตสินค้าและบริการอันเป็นที่ต้องการของผู ้บริโภคในตลาดโลก ซึ่งพัฒนาจากแนวคิดระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ที่ ใช้นวัตกรรม ภูมิป ัญญาท ้องถิ่นโดยคํานึงถึงการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะขยายโอกาสในการส่งออก ลดต้นทุนจาก

Page 78: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๗๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ธุรกิจ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการให้บริการภาครัฐ บริการศึกษา บริการสาธารณสุข และโลจิสติกส์ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ๔.๕.๒ พัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทั้งในด้ านซอฟต์ แ ว ร์ แ ละฮา ร์ ด แ ว ร์ โ ดยสนับสนุนให้มีการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งก า ร พั ฒน า ศั ก ย ภ าพ ข อ ง บุ ค ล า ก ร เพื่ อ ร อ ง รั บก า ร เป็ นศู นย์ กล า ง ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในภูมิภาค

การพัฒนาระบบการกระจายสินค้าจากแหล่งผลิตท้องถิ่นไปสู ่ตลาดในทุกระดับ โดยให ้ความสําคัญในการเชื่อมโยงให ้ประเทศไทยเป็นประตูสู ่ตลาดโลกของภูมิภาค รวมทั้งพัฒนาและส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการค้าสินค้าและบริการระหว่างประเทศและศูนย์กลางการผลิตและส่งออกอาหารฮาลาลในโลก ๗) ขยายความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการตลาดภายใต้กรอบความร่วมมือและข้อตกลงการค้าเสรีในระบบพหุภาคี และทวิภาคี โดยเร่งรัดการใช้ประโยชน์จากความตกลงที่มีผลบังคับใช้แล้ว พร้อมทั้งวางแนวทางป ้อ งกั นผล เสี ยที่ จ ะ เกิ ดขึ้ น กําหนดมาตรการในการให้ความช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบ และสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจเพื่อเตรียมพร ้อมในการ

Page 79: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๗๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

พัฒนาสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับกฎ ระเบียบ และมาตรฐานต่าง ๆ ๘) เร่งรัดจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยให้ความสําคัญต่อจังหวัดชายแดน เพื่อส่งเสริมการค้า การตลาด การลงทุน การจ้างงาน และการใช้วัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้านซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์จากความเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่ง ของภูมิภาคอาเซียน ๓.๔ นโยบายโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาระบบรางเพื่อขนส่งมวลชน และการบริหารจัดการระบบขนส่งสินค้าและบริการ ๓.๔.๑ พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง ระบบประปา และระบบไฟฟ้าให้กระจายไปสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึงเพียงพอ รวมทั้งส่งเสริมการประหยัดพลังงานและลดต้นทุนการขนส่งเพื่อยกระดับ

Page 80: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๗๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

คุณภาพชีวิตและเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันพร้อมทั้งสร้างโอกาสการกระจายรายได้ กระจายเศรษฐกิจ และกระจายการลงทุนสู ่ชนบทรวมทั้งกํากับ ดูแลอัตราค่าบริการที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ และกลุ ่มผู ้ได ้รั บประโยชน ์และ การคุ้มครองผู้บริโภค ๓.๔.๒ ขยายการให้บริการน้ําส ะ อ า ด เ พื่ อ ก า ร อุ ป โ ภ คบ ริ โ ภ ค ใ ห ้ครอบคลุมประชาชนในทุกพื้นที่ และสร้างการเข้าถึงบริการน้ําสะอาดอย่างเท่าเทียมกันทั่วประเทศเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ๓.๔.๓ พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกด ้านการขนส ่งต ่อ เนื่ องหลายรูปแบบ เพื่อเชื่อมโยงกับฐานการผลิตและฐานการส่งออกของประเทศ รวมทั้งเร่ง ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการระบบรางของประเทศให้มีประสิทธิภาพในระยะยาว

Page 81: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๘๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๓.๔.๔ พัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางรางโดยเชื่อมโยงโครงข่ายและการบริหารจัดการขนส่งผู้โดยสาร และสินค้าและบริการที่สะดวกและปลอดภัยทั้งในพื้นที่ชนบท พื้นที่เมือง และระหว่างประเทศ รวมทั้งสนับสนุนการขยายฐานการผลิตตามแนวเส้นทางรถไฟ ๑) พัฒนาระบบรถไฟทางคู่เชื่อมชานเมืองและหัวเมืองหลักในเส้นทางที่มีความสําคัญ ๒) ศึกษาและพัฒนารถไฟความเร็วสูงสายกรุงเทพฯ–เ ชียงใหม ่ กรุงเทพฯ–นครราชสีมา กรุงเทพฯ–หัวหิน และเส้นทางอื่นเพื่อเตรียมการเชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ๓) ศึกษาและพัฒนาขยายทางรถไฟสายแอร์พอร์ต เรล ลิงค์ ต่อจาก ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไปยังชลบุรีและพัทยา

Page 82: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๘๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๓.๔.๕ เร่งรัดโครงการรถไฟฟ้า ๑๐ สายทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้สามารถเริ่มก่อสร้างได้ครบใน ๔ ปี โดยเก็บค่าบริการ ๒๐ บาทตลอดสายทั้งระบบ รวมทั้งเร่งพัฒนาระบบตั๋ว ร่วมบัตรเดียว และพัฒนาที่อยู่อาศัยให้ผู้มีรายได ้น ้อยให ้มี โอกาสได ้ที่ อยู ่อาศั ย ในราคาและค ่าเช ่าถูกตามบริเวณใกล้สถานีรถไฟฟ้า ๓.๔.๖ พัฒนาการขนส่งทางน้ําและกิจการพาณิชยนาวี ขนส่งเดินเรือชายฝั่งทะเล ทั้งฝั่งด้านทะเลอันดามันและฝั่งด้านทะเลอ่าวไทย โดยพัฒนาท่าเรือน้ําลึกและสะพานเศรษฐกิจเชื่อมสองฝั่งทะเลภาคใต้ ๓.๔.๗ พัฒนาท่าอากาศยานสากล ท่าอากาศยานภูมิภาค และอุตสาหกรรมการบินของไทย รวมทั้งเพิ่มความสามารถท่าอากาศยานสุวรรณภูมิให้

Page 83: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๘๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

รองรับผู้โดยสารจากปีละ ๔๕ ล้านคน เป็นปีละ ๖๕ ล้านคนขึ้นไป เพื่อให้ป ระ เทศ ไทย เป ็นศู นย ์กลา งการบิ น การท่องเที่ยว และการขนส่งสินค้าทางอากาศชั้นนําของเอเชียและโลก ๓.๕ นโยบายพลังงาน ๓.๕.๑ ส่งเสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงานสามารถสร้างรายได้ให้ประเทศ ซึ่งถือเป็นอุตสาหกรรม เชิงยุทธศาสตร์ เพิ่มการลงทุนในโครง สร ้างพื้นฐานด ้านพลังงานและพัฒนา ให ้เป ็นศูนย ์กลาง ธุรกิจพลั ง งานของภูมิภาคโดยใช ้ความได ้เปรียบเชิ งภูมิยุทธศาสตร์ ๓.๕.๒ สร้างเสริมความมั่นคงทางพลังงาน โดยแสวงหาและพัฒนาแหล่ง พลังงานและระบบไฟฟ้าจากทั้งในและ ต่างประเทศ รวมทั้งให้มีการกระจาย แหล่งและประเภทพลังงานให ้มีความ

Page 84: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๘๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

หลากหลาย เหมาะสม และยั่งยืน ๓.๕.๓ กํากับราคาพลังงานให้มีราคาเหมาะสม เป็นธรรม และมุ่งสู่การสะท้อนต้นทุนที่แท้จริง โดยปรับบทบาทกองทุนน้ํามันให้เป็นกองทุนสําหรับรักษาเสถียรภาพราคา ส่วนการชดเชยราคานั้นจะดําเนินการอุดหนุนเฉพาะกลุ่ม ส่งเสริมให้มีการใช้ก๊าซธรรมชาติมากขึ้นในภาคขนส่ง และส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซลในภาคครัวเรือน ๓.๕.๔ ส่งเสริมการผลิต การใช้ ตลอดจนการวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก โดยตั้ง เป ้าหมายให้สามารถทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิลได้อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ภายใน ๑๐ ปี ทั้งนี้ ให้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างครบวงจร ๓.๕.๕ ส่งเสริมและผลักดันการอนุรักษ์พลังงานอย่างเต็มรูปแบบ โดยลด

Page 85: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๘๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ระดับการใช้พลังงานต่อผลผลิตลงร้อยละ ๒๕ ภายใน ๒๐ ปี และมีการพัฒนาอย่างครบวงจร ส่งเสริมการใช้อุปกรณ์และอาคารสถานที่ที่มีประสิทธิภาพสูง ส่งเสริมกล ไ กก า รพัฒนาพลั ง ง านที่ ส ะ อ าด เพื่อลดก๊าซเรือนกระจกและแก้ป ัญหาภาวะโลกร้อน สร้างจิตสํานึกของผู้บริโภคในการใช ้พลังงานอย ่างประหยัดและ มีประสิทธิภาพให้เป็นระบบจริงจังและ ต่อเนื่องทั้งภาคการผลิต ภาคการขนส่ง และภาคครัวเรือน ๓.๖ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓.๖.๑ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเร ่งรัดพัฒนาโครงข ่ายสื่อสารความเร็วสูงให ้ครอบคลุม ทั่วถึง เพียงพอมีคุณภาพด้วยราคาที่เหมาะสม และการแข่งขันที่เป็นธรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไปสู ่สังคมแห่งความรู ้ ภูมิปัญญา นวัตกรรม

Page 86: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๘๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

และความคิดสร ้างสรรค ์ช ่วยลดความเหลื่อมล้ําระหว่างสังคมเมืองและชนบท สนับสนุนการเข้าถึงข้อมูลและข่าวสาร ยกระดับคุณภาพการศึกษาเสริมสร ้างศักยภาพในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ส่งเสริมการลดการใช้พลังงาน เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม และเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศในระยะยาว ๓.๖.๒ ส่งเสริมการเข้าถึงการใช้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสาธารณะที่มีการใช ้งานตามความเหมาะสมโดยไม ่ คิดค่าใช้จ่าย ผลักดันให้คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ใช้กองทุนวิจัย และพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ จัดให้มีบริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตามมาตรฐานการให ้บริการในพื้นที่ สาธารณะ สถานที่

Page 87: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๘๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ราชการ และสถานศึกษาที่กําหนดโดย ไม่คิดค่าใช้จ่ายหรือกําหนดเป็นเงื่อนไขให้ผู ้ประกอบการจัดให้บริการโทรคมนาคมอย่างทั่วถึง ๓.๖.๓ ส่งเสริมการใช้คลื่นความถี่อั น เ ป ็น ท รั พ ย า ก ร ข อ ง ช า ติ ใ ห ้มีประสิทธิภาพสูงสุดโดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ อีกทั้งดํารงรักษาไว้ซึ่งสิทธิอันพึงได้ของประเทศในการใช ้เทคโนโลยีด ้านการสื่ อสารโทรคมนาคมเหนือพื้นผิวโลก ๓.๖.๔ ส่งเสริมการใช้สื่อวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน รวมทั้งการพัฒนาการปรับ เปลี่ ยนระบบการใช ้เทคโนโลยี จากระบบอนาล็อกเป็นระบบดิจิตอล ทั้งนี้ ต้องคํานึงถึงการก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้ ง ต ่อประชาชน และประ เทศชาติ โดยผลักดันให ้คณะกรรมการกิจการ

Page 88: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๘๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

กระจายเสียง กิจการโทรทัศน ์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติดําเนินการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ๓.๖.๕ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง และจัดให้มีก ล ไ ก ส นั บ ส นุ น แ ห ล ่ง ทุ น สํ า ห รั บ ผู้ประกอบการเทคโนโลยีสารสนเทศขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพได้มาตรฐานและส อ ด ค ล ้อ ง กั บ ค ว า ม ต ้อ ง ก า ร ข อ งอุตสาหกรรมเพื่อผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในภูมิภาค

Page 89: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๘๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๔. นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

๔.๑ อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดยให้ความสํ าคัญแก่ การ ใช้ ภูมิ ปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น ตลอดจนความปลอดภัยทางชีวภาพเพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหารและสุขภาพ และสร้างมูลค่าเพิ่มสู่เศรษฐกิจระดับประเทศและสากลในระยะต่อไป

๔.๒ เ ร่ ง รั ด ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า รทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนท้องถิ่น อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะภาคเอกชน ให้มีความสมดุลของการใช้ประโยชน์ การถือครอง และการอนุรักษ์ฐ านทรั พยากร ที่ ดิ น ป่ า ไม้ สั ต ว์ ป่ า ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรทางทะเลและ

๕. นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕.๑ อนุรักษ์ทรัพยากรดินและป่าไม้ โดยเร่งรัดปราบปรามการบุกรุกทําลายป่า ซึ่งรวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือและอุปกรณ์ สร้ างข วัญและกําลั ง ใจเจ้าหน้าที่ กําหนดบทลงโทษที่เด็ดขาด การป้องกันการเผาป่า ไร่นา และทําลายหน้ า ดิน การลดการ ใช้ ส าร เคมี เพื่ อการเกษตร รวม ทั้งการฟื้ นฟู ดินและป้องกันการชะล้างทําลายดิน โดยการปลูกหญ้าแฝกตามแนวพระราชดําริ รวมทั้งอนุรักษ์ป่าต้นน้ําและป้องกันรักษาป่าที่สมบูรณ์ สนับสนุนให้มีการปลูกและฟื้นฟูป่า และป่าชุมชนตามแนวพระราชดําริ และส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในพื้นที่ที่เหมาะสม รวมทั้งการทําฝายต้นน้ําลําธารหรือฝายชะลอน้ําตามแนวพระราชดําริ

๕. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕.๑ คุ้มครองและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งฟื้นฟูอุทยานทางทะเลอย่างเป็นระบบ เร่งจัดทําแนวเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยจัดแบ่งประเภทที่ดินระหว่างที่ดินของรัฐและเอกชนให้ชัดเจน เร่งประกาศพื้นที่ป่าอนุรักษ์ กําหนดเขตและส่ ง เ ส ริ มกา รปลู ก ป่ า ป่ า ชุ มชน เพิ่มฝายต้นน้ําลําธารและฝายชะลอน้ําตามแนวพระราชดําริ ส่งเสริมป่าเศรษฐกิจในพื้นที่ที่เหมาะสม ป้องกันการเกิดไฟป่า ปราบปรามการบุกรุกทําลายป่าอย่างจริงจัง ส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝกเพื่อลดการชะล้างพังทลายของดิน ลดการใช้สารเคมี และฟื้นฟูดินในบริเวณพื้นที่ที่ดินมีปัญหา

๕. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕.๑ อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากร ป่าไม้และสัตว์ป่า โดยเร่งให้มีการปลูกป่าเพิ่มขึ้นควบคู่ไปกับการป้องกันการลักลอบบุกรุกทําลายป่าไม้ และสัตว์ป่า เร่งสํารวจและจัดทําแนวเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน ส่งเสริมการบริหารจัดการป่าแบบกลุ่มป่า ป่าชุมชน อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สนับสนุนการจัดการอย่างมีส่วน ร่วม และให้คนกับป่าอยู่ร่วมกันในลักษณะที่ทําให้คนมีภารกิจดูแลป่าให้มีความยั่งยืน โดยการปรับปรุงกฎหมายป่าไม้ทั้ง ๕ ฉบับให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ สร้างแรงจูงใจและส่งเสริมรายได้จากการอนุรักษ์ ป่าไม้ ฟื้นฟูป่าไม้ตามแนวทางพระราชดําริเพิ่มความชุ ่มชื้นของป่าโดยฝายต ้นน้ํา ลําธาร ป้องกันไฟป่า ส่งเสริมการอนุรักษ ์

Page 90: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๘๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ชายฝั่ง และทรัพยากรธรณี โดยการใช้ระบบภูมิสารสนเทศ ควบคู่กับการปรับปรุงและบังคับใช้กฎหมายตลอดจนกฎระเบียบที่ เกี่ ยวข้ องอย่ างเคร่ งครั ด โดยเร่ งรั ดปราบปรามการทําลายป่า สัตว์ ป่า และทรัพยากรธรรมชาติอย่างจริงจัง รวมทั้งการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องให้เกิดประโยชน์สูงสุด และมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาประเทศและคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน

๔.๓ อนุรักษ์ทรัพยากรดินและป่าไม้ โดยการยุติการเผาไร่นาและทําลายหน้าดิน การลดการใช้สารเคมี เพื่ อการเกษตร รวมทั้งการฟื้นฟูดินและป้องกันการชะล้างทําลายดิน โดยการปลูกหญ้าแฝกตามแนวพระราชดําริ รวมทั้งมีการกระจายและจัดการกรรมสิท ธิ์ที่ ดินอย่างเป็นธรรม อนุรักษ์และป้องกันรักษาป่าที่สมบูรณ์ สนับสนุนให้มีการปลูกและฟื้นฟูป่าตามแนว

๕.๒ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนโดยเฉพาะระดับพื้นที่ ให้มีความสมดุลของการใช้ประโยชน์ การถือครอง และการอนุรักษ์ฐานทรัพยากรที่ ดิน ป่าไม้ ป่าชายเลน สัตว์ป่า ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และทรัพยากรธรณี โดยการใช้ระบบภูมิสารสนเทศ เทคโนโลยี ควบคู่กับการปรับปรุงและบังคับใช้กฎหมายตลอดจนกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด รวมทั้งให้ความสําคัญในการเร่งรัดการประกาศพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย การกําหนดพื้นที่ศักยภาพแร่ การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง การอนุรักษ์และฟื้นฟูปะการังและหญ้าทะเล การอนุรักษ์และแก้ไขปัญหาเรื่องช้าง และการธํารงรักษาสืบสานทางวัฒนธรรมอย่าง

รวมทั้งจัดให้มีระบบบริหารจัดการน้ําในระดับประเทศทั้งน้ําผิวดินและน้ําใต้ดิน เพื่อตอบสนองความต้องการของภาคเศรษฐกิจ และการอุปโภคบริโภค ๕.๒ คุ้มครองและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ที่มีความสําคัญเชิงระบบนิเวศเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยสํารวจ จัดทําระบบฐานข้อมูล อนุรักษ์ พัฒนา และ ใช้ ประ โยชน์ จ ากความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหาร พลังงาน สุขภาพ และสร้ า ง มู ล ค่ าท า ง เ ศ รษฐกิ จ บนฐาน ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่มีการแบ่งปันผลประโยชน์อย่ าง เป็นธรรม รวมทั้งให้การคุ้มครองเพื่อให้เกิดความปลอดภัยทางชีวภาพ ๕.๓ จัดให้มีระบบการป้องกัน รวมทั้งเตือนภัยและบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัยธรรมชาติ โดยนําระบบข้อมูล

ใช ้ประ โยชน ์จ ากทรั พยากร ชี วภาพ จากป่าและแบ่งป ันผลประโยชน ์อย ่าง เป็นธรรม รวมทั้งนําระบบสารสนเทศมาใช้ในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ๕.๒ อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยการฟื้นฟูทะเลไทยจัดสร้างและขยายปะการังเทียมและหญ้าทะ เล โดยการมี ส ่วนร ่วมของชุ มชน เพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนและแก้ไขกฎระเบียบให้สามารถใช้ประโยชน์จากป่าชายเลนได้ปรับปรุงการบริหารจัดการพื้นที่คุ ้มครองทางทะเล อุทยานแห ่งชาติทางทะเล บนฐานนิเวศอย่างมีส่วนร่วม เร่งประกาศเขตคุ้มครองทางทะเล และชายฝั่งในพื้นที่ระบบนิเวศสําคัญ รักษาความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล ปรับปรุงและขยายเขตการทําประมงชายฝั่ง จํากัดและยกเลิกเ ค รื่ อ ง มื อ ป ร ะ ม ง ที่ ทํ า ล า ย ล ้า ง เพิ่ มประสิท ธิภาพกระบวนการดูแล

Page 91: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๙๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

พระราชดําริ สนับสนุนการจัดการป่าชุมชนและส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในพื้นที่ที่เหมาะสมตามหลัก วิชาการ และการสนับสนุนบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการน้ํา เช่น การทําฝายต้นน้ําลําธารหรือฝายชะลอน้ําตามแนวพระราชดําริ

๔ .๔ จัดให้มีมาตรการป้องกันและพัฒนาระบบข้อมูลและเตือนภัยจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น อุทกภัย ภัยแล้ง ธรณีพิบัติ และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิ อ ากาศ และดํ า เนิ นมาตรการลดผลกระทบและคว าม เ ดื อ ด ร้ อนขอ งประชาชนจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ๔.๕ เร่งรัดการควบคุมมลพิษทางอากาศ ขยะ น้ําเสีย กลิ่น และเสียง ที่เกิดจากการผลิตและบริโภค โดยเฉพาะเร่งรัดการสร้างระบบบําบัดน้ําเสียที่เกิดขึ้นจากสังคมเมืองแ ล ะ ก า ร ผ ลิ ต ใ น ภ า ค เ ก ษ ต ร แ ล ะอุตสาหกรรม การจัดทําระบบกําจัดขยะ

จริงจัง ๕.๓ คุ้มครองและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ที่มีความสําคัญเชิงนิเวศ รวมทั้งอนุรักษ์ พัฒนา และ ใช้ ประ โยชน์ จ ากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดยให้ความสําคัญในก า ร สํ า ร ว จ จั ด ทํ า ฐ า น ข้ อ มู ล ค ว า มหลากหลายทางชีวภาพ การใช้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น ตลอดจนความปลอดภัยทางชีวภาพ และสร้างกลไกการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ เพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหาร พลังงาน สุขภาพ และสร้างมูลค่าเพิ่มสู่เศรษฐกิจในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับสากลในระยะต่อไป ๕ .๔ จัดให้มีมาตรการป้องกันและพัฒนาระบบข้อมูลและเตือนภัยจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น อุทกภัย ภัยแล้ง หมอกควัน ไฟป่า ธรณีพิบัติ และการ

ภูมิสารสนเทศมาใช้กําหนดพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเตือนภัยพิบัติ พัฒนาระบบฐานข้อมูล และติดตั้งระบบเตือนภัย และจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานอันจําเป็นที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ที่มีความเปราะบางหรือเสี่ยงต่อ ภัยพิบัติอันเกิดจากภาวะโลกร้อน เช่น น้ําท่วม แผ่นดินหรือโคลนถล่ม น้ํ าแล้ ง ตลอดจนธรณีพิบัติ และการเกิดคลื่นยักษ์ในทะเล เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทุกแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญ ๕.๔ ควบคุมและลดปริมาณของเสียที่กลายมาเป็นมลพิษทั้งในรูปขยะ ขยะอันตราย มลพิษทางอากาศ กลิ่น เสียง และน้ําเสีย โดยส่งเสริมการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การใช้เทคโนโลยี เพื่ อ ให้ เกิดการใช้ซ้ํ าหรื อหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ส่งเสริมการป้องกั นมลพิษ ตั้ งแ ต่จุ ด กํ า เนิ ด เพิ่ มศักยภาพและขีดความสามารถขององค์กร

เกี่ยวกับความมั่นคงทางทะเล ปรับปรุงแก้ไขเพิ่ม เ ติมกฎหมายให ้สอดคล ้องกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. ๑๙๘๒ แก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งตามหลักวิชาการ ๕.๓ ดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและเร่งรัดการควบคุมมลพิษ โดยการปรับปรุงกฎหมายสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการการประเมิน สิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ปรับปรุงกองทุนสิ่ งแวดล ้อมเพื่อให ้เอื้อต ่อการ เข้าถึงขององค์กรภาคประชาชน ผลักดันกฎหม าย ว ่า ด ้ว ย อ ง ค ์ก ร อิ ส ร ะ ด ้า น สิ่งแวดล้อม ลดมลพิษทางอากาศ ขยะ น้ําเสีย กลิ่น และเสียง ที่เกิดจากการผลิตและบริโภค โดยเฉพาะเร ่งรัดการสร้างระบบบําบัดน้ําเสียที่เกิดขึ้นจากสังคมเมือง

Page 92: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๙๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

โดยวิธีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการกําจัดขยะและบําบัดน้ําเสีย

๔.๖ ส่งเสริมให้ภาครัฐและภาคเอกชนวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการอนุรั กษ์พลั งงาน การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การผลิตวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ การหมุนเวียนการใช้วัตถุดิบและเทคโนโลยีที่สะอาด และการใช้หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายเพื่อกระตุ้นให้เกิดการลดการก่อมลพิษและลดภาระของสังคมตามธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม

๔.๗ ส่งเสริมการสร้างความตระหนักทางด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการดําเนินกิจกรรมและการปรับพฤติกรรมการผลิตและการบริโภค เพื่อบรรเทาผลจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนสนับสนุนการดําเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ จะนํ ามาสู่ การ เพิ่ ม

เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และดําเนินมาตรการลดผลกระทบและความเดือดร้อนของประชาชนจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งการช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนจากผลกระทบสิ่งแวดล้อมอื่น โดยสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน ๕.๕ ควบคุมมลพิษทางอากาศ ขยะ น้ําเสีย กลิ่น และเสียง ที่เกิดจากการผลิตและบริ โภค ให้ เป็นไปตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะเร่งรัดการสร้างระบบบําบัดน้ําเสียที่เกิดขึ้นจากสังคมเมืองและการผลิตในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม การจัดทําระบบกําจัดขยะโดยวิธีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การเพิ่มขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการกําจัดขยะและบําบัดน้ําเสีย การเพิ่มพื้นที่สีเขียว และการลดมลพิษทางอากาศ รวมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ

ปกครองส่วนท้องถิ่น ในการบําบัดน้ําเสีย กําจัดขยะชุมชน และเพิ่มพื้นที่สี เขียว โดยเฉพาะการจัดให้มีศูนย์กําจัดขยะชุมชนกลางในทุกจังหวัด มีการบังคับใช้กฎหมาย,อย่างจริงจังสําหรับผู้ก่อมลพิษที่ฝ่าฝืนกฎหมาย เร่งแก้ไขปัญหามลพิษในพื้นที่ที่ วิกฤตซ้ําซาก รวมทั้งสนับสนุนมาตรการจูงใจด้านภาษีและสิทธิต่างๆ กับผู้ประกอบการที่ร่วมโครงการแก้ไขปัญหาโลกร้อนและลดมลพิษ ๕.๕ พัฒนาองค์ความรู้ในการบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาที่ชุมชนและนักวิชาการในท้องถิ่นมีส่ วนร่ วม และที่ภาคเอกชนสามารถนําไปใช้ รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่ช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างประหยัด และช่วยลดมลพิษ ๕.๖ ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการ

แ ล ะ ก า ร ผ ลิ ต ใ น ภ า ค เ ก ษ ต ร แ ล ะอุตสาหกรรม การจัดการระบบกําจัดขยะของเสียอันตรายมลพิษทางอากาศ หมอกควันโดยวิธีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และเพิ่มขีดความสามารถขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในการจัดการขยะมูลฝอยและก า ร จั ด ก า รน้ํ า เ สี ย ชุ ม ชน ส ่ง เ ส ริ ม การพัฒนาเมืองและกิจกรรมที่ลดการผลิตก๊าซเรือนกระจก โดยมีเป้าหมายให้ประเทศไทยเป็นสังคมคาร์บอนต่ํา และ สร ้างกฎเกณฑ์ที่ เหมาะสมเพื่อให ้เกิดสมดุลระหว่างการพัฒนาอุตสาหกรรมและการรักษาสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมการใช้หลักการบุคคลที่ก ่อให้เกิดภาวะมลพิษ ต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย และหลักการการตอบแทนคุณค่าระบบนิเวศอย่างเป็นรูปธรรม ๕.๔ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ําในการใช้ประโยชน์ที่ดิน

Page 93: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๙๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ประสิ ทธิ ภาพในการจั ดการทรั พยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

การวิเคราะห์และประเมินผลกระทบสิ่ งแวดล้อม โดยคํานึงถึงความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการพัฒนา ๕ .๖ ดูแลและรักษาคุณภาพน้ํ าในแม่น้ําและคูคลอง โดยเฉพาะพื้นที่วิกฤตด้านคุณภาพน้ํา เช่น เจ้าพระยา ท่าจีน และทะเลสาบสงขลา โดยการสนับสนุนกลไกและกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภ า ค ส่ ว น ก า ร เ พิ่ ม ส ม ร ร ถ น ะ แ ล ะความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การส่งเสริมการบําบัดน้ําเสียจากแหล่งกําเนิด และการสนับสนนุการจัดการน้ําเสียชุมชนขนาดเล็ก ๕.๗ ส่งเสริมให้ภาครัฐและภาคเอกชนวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน การจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การผลิตวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ การหมุนเวียนการใช้วัตถุดิบและเทคโนโลยีที่

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งสร้างจิตสํานึกในการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง ในรูปของสมัชชาสิ่งแวดล้อมมี ส่วนร่วมบริหารจัดการ และจัดให้มีการใช้ระบบประเมินผลกระทบสิ่ งแวดล้อมเชิงกลยุทธ์ เพื่อเป็นกลไกกํากับให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้งสนองโครงการพระราชดําริด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทุกโครงการอย่างจริงจัง

และทรัพยากรธรรมชาติ โดยการปฏิรูปการจัดการที่ดินโดยให้มีการกระจายสิทธิที่ ดินอย ่างเป ็นธรรมและยั่ งยืนโดยใช ้มาตรการทางภาษี และจัดตั้งธนาคารที่ดินให ้แก ่คนจนและ เกษตรกรรายย ่อยพิจารณาให้ประชาชนได้ใช้ประโยชน์ที่ดินทิ้งร ้างทางราชการ ปกป้องที่สาธารณ ประโยชน์ ที่ ดินทุ ่งเลี้ยงสัตว์ ห้ามการ ป ิด กั้ นชายหาดสาธารณะ ผลักดันกฎหมายในการรับรองสิทธิของชุมชน ในการจัดการทรัพยากรที่ดิน น้ํา ป่าไม้ และทะเล ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แก้ไขปัญหาการดําเนินคดีโลกร้อนกับ คนจน ๕.๕ ส่งเสริมและสร้างความตระหนักแ ล ะ จิ ต สํ า นึ ก ท า ง ด ้า นท รั พ ย า ก รธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ประชาสัมพันธ์

Page 94: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๙๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

สะอาด และการใช้หลักผู้ก่อมลพิษเป็น ผู้รับภาระค่าใช้จ่ายเพื่อกระตุ้นให้เกิดการลดการก่อมลพิษและลดภาระของสังคมตามธรรมาภิบาลด้านสิ่งแวดล้อม มีการต่อยอดภูมิปัญญาดั้งเดิมด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม ๕.๘ ส่งเสริมและสร้างความตระหนักและจิตสํานึกทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่การดําเนินกิจกรรมและการปรับพฤติกรรมการผลิตและการบริโภคสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อบรรเทาผลจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งสนับสนุนการดําเนินงานข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย อ า ส า ส มั ค ร พิ ทั ก ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ให้ความสําคัญแก่ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนสนับสนุนการ

และเผยแพร่การดําเนินกิจกรรม และการปรับพฤติกรรมการผลิตและการบริโภค สินค ้าและการบริ ก ารที่ เ ป ็นมิ ตรต ่อ สิ่ ง แ ว ดล ้อ ม ร ว มทั้ ง ส นั บ ส นุ น ก า รดําเนินงานของเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล ้อม ให้ความสําคัญแก่ความร่วมมือระหว่าง หน ่วยงานและองค ์กรทั้ งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนสนับสนุนการดําเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่จะนํามาสู่การ เพิ่ มประสิท ธิภาพในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕.๖ ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ําอย่างบูรณาการโดยการจัดให้มีการบริหารจัดการน้ําในระดับประเทศทั้งน้ํา ผิวดินและน้ําใต้ดินอย่างมีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงศักยภาพของลุ่มน้ํา จัดหาและจัดสรรน้ําให้เพียงพอต่อการใช้ประโยชน ์ด้วยการบูรณาการระบบน้ําในประเทศ

Page 95: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๙๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ดําเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่จะนํามาสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการจั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะสิ่งแวดล้อม

ทั้ง ๒๕ ลุ่มน้ํา สนับสนุนเกษตรกรทํา แหล ่งน้ําในไร ่นาพร ้อมการผันน้ําจาก ลุ่มน้ําอื่น ๆ และการจัดสร้างระบบโครงข่ายน้ํ าอย ่า งมี ป ระสิ ท ธิภาพ ทั่ ว ถึ ง ต ามศักยภาพของพื้นที่ เพื่อสนองความต้องการของภาคเศรษฐกิจและการอุปโภคบริโภค ๕.๗ สร้างภูมิคุ้มกันและเตรียมความพร้อมในการรองรับและปรับตัวต่อผล กระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและพิบัติภัยธรรมชาติ โดยการพัฒนาองค์ความรู ้และระบบฐานข้อมูลเกี่ ยวกับผลกระทบที่ เกิดขึ้นจากการเปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิ อ ากาศ เพิ่ ม ขีดความสามารถในการพยากรณ์และ คาดการณ์ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิ อ า ก าศและภั ย ธ ร รมช าต ิในระดับประเทศและระดับพื้นที่ จัดทํายุทธศาสตร ์รองรับพิบั ติ ภัยระยะยาว

Page 96: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๙๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ส่งเสริมและเร่งรัดการเตือนภัยและการเตรียมความพร ้อมในการรับมือความแปรปรวนในปัจจุบัน เพื่อให้เป็นฐาน กับการรับมือความเปลี่ยนแปลงในระยะยาว ป้องกันภัยพิบัติโดยเฉพาะน้ําท่วม สึนามิ แผ่นดินไหวและดินถล่ม สร้างกลไก ส ่งเสริมการเข ้าถึงข ้อมูลระดับชุมชน ท้องถิ่น เพิ่มขีดความสามารถในระดับชุมชนให ้เข ้มแข็งพร ้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติต่าง ๆดําเนินการศึกษาอย่างรอบคอบในเรื่องของความจําเป็นของโครงการพัฒนาเขื่อนและเกาะเพื่อป้องกันกรุงเทพฯ และภาคกลางให ้ปลอดภัยจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ําทะเล และจากการละลายของน้ําแข็งขั้วโลกตามสภาวะโลกร้อนที่กําลังเกิดขึ้น ๕.๘ พัฒนาองค์ความรู้ในการบริหารจัดการด ้านทรัพยากรธรรมชาติและ

Page 97: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๙๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

สิ่งแวดล้อม โดยการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค ์ค ว ามรู ้ที่ ชุ ม ชน ท ้อ งถิ่ น ส่งเสริมการทําวิจัยร่วมกับต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่ช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างประหยัดและช่วยลดมลพิษ จัดหาบุคลากรทางวิทยาศาสตร์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาเครือข่ายนักวิจัยเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ระหว่างนักวิจัยและภาคีอื่น ๆ สนับสนุนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อให ้เกิดความมั่นคงทางอาหาร รวมทั้งการฟื้นฟูดินและการป้องกันการชะล้างทําลายดิน ดําเนินการศึกษา สํารวจและกําหนดยุทธศาสตร์การใช้ทรัพยากรธรณีอย่างยั่งยืน รวมถึงการศึกษาและอนุรักษ์ซากดึกดําบรรพ์

Page 98: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๙๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๕. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตักรรม

๕.๑ ส่ ง เ ส ริ ม ก า รนํ า ง า น วิ จั ย ท า งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาประเทศ ควบคู่กับการพัฒนาระบบวิจัยและพัฒนาเชิงนวัตกรรมที่มีอยู่ ให้สนองความต้องการของภาคการผลิตและบริการ โดยให้ความสําคัญแก่การเชื่อมโยงระหว่างภาคเอกชน สถาบันวิจัย และมหาวิทยาลัย ตลอดจนพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ ซึ่งจะนําไปสู่การวิจัยและพัฒนาต่อยอดและมีการใช้ประโยชน์องค์ความรู้และเทคโนโลยีในเชิงพาณิชย์

๕.๒ สร้างเสริมความรู้ความคิดของประชาชนทางด้านวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งเร่งผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพและคุณธรรม ให้สอดคล้องกับการเจริญเติบโตของภาคการ

๖. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม ๖ .๑ ส่ง เสริมการนํางานวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสาขาหลักมา ใ ช้ ใ นการพัฒนาประ เทศ ไ ด้ แ ก่ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ และนาโนเทคโนโลยี รวมถึงเทคโนโลยีอนาคตที่มี การลงทุนไว้แล้ว เช่น เทคโนโลยีอวกาศ และเทคโนโลยีพลังงานทดแทน เป็นต้น โดยให้ความสํ า คัญแก่การ เชื่ อมโยงระหว่างภาคเอกชน สถาบันวิจัย และมหาวิทยาลัย ตลอดจนพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ ซึ่งจะนําไปสู่การวิจัย พัฒนาต่อยอด และมีการใช้ประโยชน์องค์ความรู้และเทคโนโลยีในเชิงพาณิชย์ ๖.๒ สร้างเสริมความรู้ความคิดของป ร ะ ช า ช น ใ ห้ มี ฐ า น ค ว า ม คิ ด เ ชิ ง

๖. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม ๖.๑ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ นโครงการวิจัยตามแนวพระราชดําริ การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งงานวิจัยขั้นพื้นฐาน และงานวิจัยประยุกต์ เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ในเ ชิงพาณิชย์และพัฒนาอุตสาหกรรม ร ว มทั้ ง เ ร่ ง รั ด ก า ร วิ จั ย แ ล ะพั ฒ น าเทคโนโลยีที่มีความสําคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชี วิตและพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ในอนาคต อาทิ เทคโนโลยีสํ า ห รั บ ผู้ พิ ก า ร เ ทค โน โ ลยี อ วก าศ เ ท ค โ น โ ล ยี พ ลั ง ง า น ท ด แทน แ ล ะเทคโนโลยีเพื่อความมั่นคง ๖.๒ เ ร่ ง รั ด ผ ลิ ต บุ ค ล า ก ร ด้ า นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและบุคลากรด้านการวิจัยให้สามารถตอบสนองความ

๖. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม ๖.๑ เร่งพัฒนาให้ประเทศไทยเป็น สังคมที่อยู ่บนพื้นฐานขององค์ความรู ้ โดยพัฒนาความรู ้ด ้านวิทยาศาสตร ์ให ้ ประชาชนได ้ใช ้ในชี วิตประจํ า วันให ้ทัดเทียมกับพัฒนาการในระดับนานาชาติจัดให ้มีแหล ่งความรู ้สาธารณะเพิ่มขึ้น ทั้งในรูปองค์กร เช่น พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร ์สิ่งพิมพ์ และผ่านทางเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจน ยกมาตรฐานการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับ ๖.๒ เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัยและครูวิทยาศาสตร์ให้เพียงพอ ต่อความต้องการของประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศอย่างมั่นคงและนําพาประเทศไทยเข ้าสู ่ระบบเศรษฐกิจฐาน

Page 99: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๙๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ผลิตและบริการ ตลอดจนพัฒนาเส้นทางอาชีพเพื่อรักษาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไว้ในระบบ รวมทั้งจัดให้มีสิ่งอํ านวยความสะดวกที่ สามารถ ดึง ดูดบุคลากรที่มีความรู้ขั้นสูงจากต่างประเทศเพื่อให้ เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้แก่บุคลากรไทย

๕.๓ พัฒนาโครงสร้ า งพื้ นฐานด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมให้มีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการ และสนับสนุนการสร้างทรัพย์สินทางปัญญาของคนไทยเพื่อป้องกันมิให้ไทยถู ก เ อ า เ ป รี ย บ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี จ า กต่างประเทศ โดยพัฒนาระบบการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานให้ทันสมัย รวมทั้ งพัฒนาศูนย์ บ่มเพาะธุ รกิจที่ ใ ช้เทคโนโลยี อุทยานวิทยาศาสตร์ และศูนย์แห่งความเป็นเลิศในสาขาเทคโนโลยีที่

วิทยาศาสตร์ และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมจากทุนทางสังคม และพัฒนาระบบเชื่อมโยงสถาบันจัดการความรู้ของประเทศทุกระดับให้เป็นเครือข่ายทุนทางปัญญาของประเทศเพื่อสนับสนุนการสร้างคุณค่าและนวัตกรรม ๖.๓ เร่งผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพและคุณธรรม เพื่อนําไปสู่การสร้างสรรค์สินค้าและบริการที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง ตลอดจนพัฒนาเส้นทางอาชีพเพื่อรักษาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไว้ในระบบ รวมทั้งจัดให้มีสิ่งอํานวยความสะดวกที่สามารถดึง ดูดบุคลากรที่มีความรู้ชั้นสูงจากต่างประเทศเพื่อให้เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้กับบุคลากรไทย ๖ .๔ พัฒนาโครงสร้ างพื้ นฐานด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมให้มี

ต้องการของภาคการผลิต โดยพัฒนาเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ และมีหน่วยงานวิจัยที่สามารถรองรับบุคลากรได้อย่างเพียงพอ เช่น ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจข น า ด ก ล า ง แ ล ะ ข น า ด ย่ อ ม ศูนย์แห่ งความเป็นเลิศ และอุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นต้น ๖.๓ ปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนาของประเทศ โดยจัดให้มีกองทุนวิจัยร่วมภาครัฐและเอกชนที่รัฐลงทุนร้อยละ ๕๐ และจั ดหาสิ น เชื่ อดอก เบี้ ย ต่ํ า ให้ กั บภาคเอกชนที่เข้าร่วมงานวิจัย เพิ่มเติมงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศ ปรับปรุ งคุณภาพและมาตรฐานของงานวิจัยพื้นฐาน และการวิจัยและพัฒนาแบบครบวงจรที่ ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ รายได้และการจ้างงาน และการเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ให้มีโครงการวิจัยที่ก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นรูปธรรม เช่น ยา

ความรู้แบบสร้างสรรค ์และนวัตกรรมใหม่พัฒนาสายงานการวิจัยเพื่อให้นักวิจัยมีระบบความก้าวหน้าในวิชาชีพ รวมทั้งพัฒนาแหล่งงานด้านการวิจัยเพื่อรองรับบุคลากรการวิจัยทั้งในภาครัฐและเอกชน ๖.๓ สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมทั้งสถาบันการศึกษา ขั้นสูงให้เกิดการวิจัยและพัฒนา และการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อมุ ่งสู ่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ก า ร พัฒนา ภู มิ ป ัญญาท ้อ ง ถิ่ น ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคการบริการโดยเฉพาะในสาขาที่ประเทศไทยมีศักยภาพสูงและจําเป็นต่อการพัฒนาประเทศ เช่น สาขาความหลากหลายทางชีวภาพ ๖.๔ จัดระบบบริหารงานวิจัยให้เกิดประสิทธิภาพสูง โดยการจัดเครือข่าย

Page 100: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๙๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

สําคัญ ๕.๔ ปรับปรุงระบบการวิจัยของประเทศให้

สอดคล้องกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ โดยพัฒนามาตรการจูงใจ และกฎหมายให้เอื้อต่อการลงทุนวิจัยและพัฒนาของภาคธุรกิจเอกชน และส่งเสริมการลงทุนจัดหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีความสําคัญเชิงยุทธศาสตร์จากต่างประเทศมาใช้ประโยชน์

คุณภาพและปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการ และสนับสนุนการสร้างทรัพย์สินทางปัญญาของคนไทยเพื่อป้องกันมิให้ไทยถูกเอาเปรียบทางเทคโนโลยีจากต่างประเทศ โดยพัฒนาระบบการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานให้ทันสมัย รวมทั้ งพัฒนาศูนย์ บ่มเพาะธุรกิจที่ ใ ช้เทคโนโลยี อุทยานวิทยาศาสตร์ และศูนย์แห่งความเป็นเลิศในสาขาเทคโนโลยีที่สําคัญ ๖.๕ จัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติเชิงบูรณาการและสร้างเครือข่ายการวิจัยที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาประเทศไปสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ โดยมีการวิจัยทั้งขั้นพื้นฐานและวิจัยประยุกต์ รวมทั้งให้มีการติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ผ ล น โ ย บ า ย แ ล ะยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ และส่งเสริม

เคมีภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ และสินค้ า เกษตร โดยเชื่ อมโยงระหว่ างภาคเอกชน สถาบันวิจัย และมหาวิทยาลัย ตลอดจนเครือข่ายวิสาหกิจ

ความร่วมมือเพื่อการวิจัยระหว่างหน่วยงานและสถาบันวิจัยที่สังกัดภาคส่วนต่าง ๆ ในประเทศ รวมทั้งสถาบันอุดมศึกษาเพื่อลดความซ้ําซ้อนและทวีศักยภาพ จัดทําแผนวิจัยแม่บทเพื่อมุ่งเป้าหมายของการวิจัยให้ชัดเจน เน้นให้เกิดการวิจัยที่ครบวงจรตั้งแต่การวิจัยพื้นฐานไปถึงการสร้างผลิตภัณฑ์โดยมุ ่งให้เกิดห่วงโซ่คุณค่าในระดับสูงสุด ส่งเสริมการลงทุนด้านการวิจัยโดยมุ่งเข้าสู่ระดับร้อยละ ๒ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ๖.๕ ส่งเสริมการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การวางแผนการผลิตด้านการเกษตร การป้องกันและแก ้ไ ขป ัญหาภั ย พิ บั ติ ยกระดั บคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

Page 101: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ภาคเอกชนให้มีการ วิจั ยและพัฒนาเพิ่มขึ้น ๖.๖ ปรับระบบวิจัยให้ได้มาตรฐานโดยพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานวิจัย พัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย ส่งเสริมให้มีการกําหนดเส้นทางอาชีพนักวิจัยที่ชัดเจน พัฒนาระบบฐานข้อมูลงานวิจัยและระบบงานวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อลดความซ้ําซ้อน โดยสร้างศูนย์และแหล่งเรียนรู้ทางการวิจัย

Page 102: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๖. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ๖.๑ ส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน โดยส่งเสริมความร่วมมือทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน และสื่อมวลชน เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจอันดีและความใกล้ชิดระหว่างกัน อันจะนําไปสู่การขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน การส่งเสริมการท่องเที่ยว การขยายการคมนาคมขนส่ง และความร่วมมือด้านอื่นๆ ภายใต้กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาค เช่น ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (ACMECS) แผนงานความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ําโขง (GMS) แผนงานความร่วมมือทางเศรษฐกิจอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) และความริเริ่มแห่งอ่าว เบงกอลสําหรับความร่วมมือหลากหลาย

๗. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ๗.๑ ส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน โดยขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การเงิน การค้าการลงทุน การท่องเที่ยว การคมนาคมขนส่ง และความร่วมมือด้านอื่น ๆ ภายใต้กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาค เพื่อส่งเสริมความเป็นเพื่อนบ้านที่ดีต่อกัน ๗.๒ สร้างความสามัคคีและส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียนเพื่ อ ให้บรรลุ เ ป้ าหมายในการจัด ตั้ งประชาคมอาเซียนในฐานะที่ ไทยเป็นประธานอา เซี ยนจนกระทั่ งถึ งสิ้ น ปี ๒๕๕๒ และส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย ภายใต้กรอบความร่วมมือด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการเงินซึ่งมีความจําเป็นเร่งด่วน

๗. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ๗.๑ พัฒนาความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านในทุกมิติและทุกระดับ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีและการเคารพซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดเสถียรภาพ ความมั่นคง และความเจริญรุ่งเรืองร่วมกันของภูมิภาค โดยส่งเสริมความร่วมมือในทุกสาขากับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคต่าง ๆ และเร่งแก้ไขปัญหากับประเทศเพื่อนบ้านโดยสันติวิธีบนพื้นฐานของสนธิสัญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ๗.๒ ส่งเสริมความร่วมมือเพื่อสร้างความแข็งแกร่งของอาเซียนในวาระที่ไทยดํารงตําแหน่งประธานอาเซียน และบรรลุการจัดตั้งประชาคมอาเซียนตามกฎบัตรอาเซียน โดยให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มี

๗. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ๗.๑ เร่งส่งเสริมและพัฒนาความ สัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านโดยส่งเสริมความร่วมมือทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชนและสื่อมวลชนเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจอันดีและความใกล้ชิดระหว่างกัน อันจะนํ า ไปสู ่ก า รขยายความร ่วมมื อทา งเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน การส่งเสริมการท่องเที่ยว การขยายการคมนาคม ขนส่ง และความร่วมมือด้านอื่น ๆ ภายใต้กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคเพื่อส่งเสริมความเป็นเพื่อนบ้านที่ดีต่อกัน ๗.๒ สร้างความสามัคคีและส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน เพื่ อ ให ้บรรลุ เป ้าหมายในการจั ด ตั้ งประชาคมอาเซียนและส ่งเสริมความ ร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชียภายใต้้

Page 103: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ส า ข า ท า ง วิ ช า ก า ร แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ (BIMSTEC) เป็นต้น

๖.๒ ส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศในเอเชีย กรอบความร่วมมือเอเชีย และเพิ่มบทบาทในการสร้างความแข็งแกร่งของอาเซียนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน และผลักดันบทบาทอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศในวาระที่ไทยเป็นประธานอาเซียน ๖.๓ มีบทบาทที่สร้างสรรค์ในองค์กรระหว่างประเทศ โดยเฉพาะเวทีสหประชาชาติและองค์กรระดับภูมิภาคต่างๆ เพื่อรักษาสันติภาพ ความมั่นคง ส่งเสริมกระบวนการประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน มนุษยธรรม ตลอดจนร่วมมือในการแก้ไขประเด็นปัญหาข้ามชาติทุกด้านที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของมนุษย์

๖.๔ กระชับความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์กับประเทศและ

ภายหลังวิกฤตการเงินของโลกที่เกิดขึ้นใน ปี ๒๕๕๑ เพื่อนําไปสู่การเริ่มต้นของการสร้างประชาคมทางการเงินของเอเชีย ๗.๓ ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีและความร่วมมือกับทุกประเทศและองค์กรมุสลิมระหว่างประเทศ เพื่อให้ประเทศและองค์กรเหล่านี้มีความเข้าใจที่ถูกต้องและสนับสนุนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ๗ .๔ มีบทบาทที่ ส ร้ า งสรรค์ และส่งเสริมผลประโยชน์ของชาติในองค์การร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ ว ทีสหประชาชาติและองค์กรระดับภูมิภาคต่าง ๆ เพื่อรักษาสันติภาพและความมั่นคง ส่งเสริมกระบวนการประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน มนุษยธรรม และการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตลอดจนร่วมมือในการแก้ไขประเด็นปัญหาข้ามชาติทุกด้านที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของมนุษย์

ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ส่ง เสริมให้ป ระ เทศสมาชิ ก ร่ วม กัน เคารพสิ ท ธิมนุษยชน และผลัก ดัน ให้อา เซี ยนมีบทบาทนําที่สร้างสรรค์ในเวทีระหว่างประเทศ รวมทั้งขยายความร่วมมือกับประเทศในเอเชียอื่น ๆ ภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆ ทั้งในภูมิภาคเอเชีย และระหว่างเอเชียกับภูมิภาคอื่น ๗.๓ ส่งเสริมความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับประเทศมุสลิมและองค์กรมุสลิมระหว่างประเทศ เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องและสนับสนุนแนวทางแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย ๗.๔ กระชับความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์กับประเทศที่มีบทบาทสําคัญของโลกและประเทศคู่ค้าของไทยในภูมิภาคต่าง ๆ เพื่อรักษาและข ย า ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ท า ง ก า ร เ มื อ ง ความมั่นคง เศรษฐกิจ การค้า การเงิน

กรอบความร่วมมือด้านต่าง ๆ และเตรียม ความพร้อมของทุกภาคส่วนในการเข้าสู ่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความมั่นคง ๗.๓ เสริมสร้างบทบาทที่สร้างสรรค์และส่งเสริมผลประโยชน์ของชาติใน องค์การระหว่างประเทศ โดยเฉพาะเวทีสหประชาชาติและองค์กรระดับภูมิภาค ต่าง ๆ เพื่อรักษาสันติภาพและความมั่นคง ส่งเสริมกระบวนการประชาธิปไตยสิทธิมนุษยชน มนุษยธรรม สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนร่วมมือในการแก้ไขประเด็นปัญหาข้ามชาติทุกด้านที่ส่ง ผลกระทบต่อความมั่นคงของมนุษย์ ๗.๔ กระชับความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์กับประเทศ กลุ่มประเทศ และองค์การระหว่างประ เทศที่ มีบทบาทสํ าคัญของโลก

Page 104: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

กลุ่มประเทศที่มีบทบาทสําคัญของโลก จัดทําข้อตกลงการค้าเสรีในกรอบพหุภาคีและกับประเทศต่าง ๆ เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศโดยรวม สร้างกลไกเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการให้สามารถปรับตัวรับผลกระทบและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากความตกลงการค้าเสรี

๖.๕ ดําเนินงานเชิงรุกทางการทูตเพื่อประชาชน วัฒนธรรม และการศึกษาตลอดจนการแลกเปลี่ยนในระดับประชาชนกับนานาประเทศ พร้อมทั้งส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการกับประเทศกําลังพัฒนา และสานต่อความร่วมมืออย่างใกล้ชิดเพื่อความเข้าใจอันดีกับองค์กรทางศาสนาอื่น ๆ

๖.๖ คุ้มครองผลประโยชน์ของคนไทย ดูแลคนไทยและแรงงานไทยในต่างประเทศ โดยเฉพาะคนไทยที่ประกอบอาชีพและมีถิ่นฐานในต่างประเทศ ส่งเสริมบทบาทของชุมชนชาวไทยในการรักษาเอกลักษณ์และความเป็นไทย

๗.๕ กระชับความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์กับประเทศ กลุ่มประเทศ และองค์การเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่มีบทบาทสําคัญของโลก เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นในประเทศไทย พร้อมกับการสร้ าง ภูมิคุ้ ม กันและขีดความสามารถในการแข่งขันให้เศรษฐกิจไทย ๗ .๖ สนับสนุนการเข้าถึงในระดับประชาชนของนานาประเทศ พร้อมทั้งส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีและความร่วมมือทางวิชาการกับประเทศกําลังพัฒนา เพื่อให้ประชาชน รัฐบาล และประชาคมระหว่างประเทศมีทัศนคติในทางบวกต่อประชาชนและประเทศไทย ๗.๗ สนับสนุนการทูตเพื่อประชาชน คุ้มครองผลประโยชน์ของคนไทย ดูแลคนไทยและแรงงานไทยในต่างประเทศ โดยเฉพาะคนไทยที่ประกอบอาชีพและมี

การลงทุน และการท่องเที่ยว รวมทั้ งแสวงหาตลาดใหม่ เพื่ อพัฒนาความร่ ว ม มื อ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร วั ต ถุ ดิ บ วิ ท ย าศ าสตร์ แ ล ะ เ ทค โน โ ล ยี และ องค์ความรู้ใหม่ ๗.๕ ส่งเสริมการมีบทบาทร่วมกับประชาคมโลก ในเรื่องการกําหนดบรรทัดฐานระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องการค้าสินค้าเกษตร และกฎระเบียบด้านทรัพย์สินทางปัญญา การปกป้องรักษาและฟื้นฟูสันติภาพและความมั่นคง การส่งเสริมและคุ้มครองค่านิยมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน มนุษยธรรม การอนุรักษ์และแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและพลังงาน ตลอดจนร่วมมือในการแก้ไขประเด็นปัญหาข้ามชาติทุกด้านที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งส่งเสริมให้ไทยเป็นที่ ตั้ งของสํานักงานสาขาขององค์การระหว่างประเทศ และมีความ

เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นในประเทศไทย พร ้อมกับการสร ้าง ภูมิคุ ้ม กันและขีดความสามารถในการแข่งขันให้เศรษฐกิจไทย ๗.๕ สนับสนุนการเข้าถึงในระดับประชาชนของนานาประเทศ พร้อมทั้ง ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีและความร่วมมือทางวิชาการกับประเทศกําลังพัฒนา เพื่อให้ประชาชน รัฐบาล และประชาคมระหว่างประเทศ มีทัศนคติในทางบวก ต่อประชาชนและประเทศไทย ๗.๖ ส่งเสริมการรับรู้และความเข้าใจของประชาชนเกี่ ยว กับป ัญหาเรื่ องพรมแดนและการเปลี่ยนแปลงในโลกที่มีผลกระทบต่อประเทศไทยเพื่อก่อให้เกิดฉันทามติในการกําหนดนโยบายและดําเนินนโยบายต่างประเทศ ๗.๗ สนับสนุนการทูตเพื่อประชาชน คุ ้มครองผลประโยชน์ของคนไทย ดูแล

Page 105: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ถิ่นฐานในต่างประเทศ ส่งเสริมบทบาทและความแข็งแกร่งของชุมชนชาวไทยในการรักษาเอกลักษณ์และความเป็นไทย

ร่วมมือทางวิชาการกับประเทศกําลังพัฒนาเพิ่มขึ้น ๗.๖ สนับสนุนการเข้าร่วมในข้อตกลงระหว่างประเทศทั้งทวิภาคีและพหุภาคีที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศ เร่งรัดการให้สัตยาบันในข้อตกลงที่ได้ลงนามไว้แล้วและปรับปรุงแก้ไขข้อตกลงที่ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อประชาชนและสังคม ๗.๗ ส่งเสริมการรับรู้และความเข้าใจของประชาชนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในโลกที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย เพื่อก่อให้เกิดฉันทามติในการกําหนดนโยบายและดําเนินนโยบายต่างประเทศ ๗ .๘ ส ร้ า ง ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ข อ งต่างประเทศต่อประเทศไทยและการเข้าถึงระดับประชาชน โดยส่งเสริมความเข้าใจที่ถู ก ต้ อ งและความ เชื่ อมั่ นของนานาประเทศ ต่อการเมืองและเศรษฐกิจไทย เพื่อรักษาภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศไทย

คนไทยและแรงงานไทยในต่างประเทศ โดยเฉพาะคนไทยที่ประกอบอาชีพและมีถิ่นฐานในต่างประเทศ ส่งเสริมบทบาทและความแข็งแกร่งของชุมชนชาวไทยในการรักษาเอกลักษณ์และความเป็นไทย ๗.๘ ใช้ประโยชน์จากโครงข่าย คมนาคมขนส่งในภูมิภาคอาเซียนและ อนุภูมิภาคให้เป็นประโยชน์ต่อการขยายฐานเศรษฐกิจทั้งการผลิตและการลงทุนโดยให้ความสําคัญในการพัฒนาจังหวัดและกลุ ่มจังหวัดที่อยู ่ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจและเมืองชายแดน ๗.๙ ประสานการดําเนินงานของ ส่วนราชการในต่างประเทศตามแนวทางนโยบายทีมประเทศไทยเพื่ อ ให ้การดํ า เ นิ น ง า น ด ้า น ก า ร ต ่า ง ป ร ะ เ ท ศ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณภาพ ๗.๑๐ ส่งเสริมความร่วมมืออย่าง

Page 106: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

แ ล ะ สนั บ ส นุ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง ใ น ร ะ ดั บประชาชนกับประเทศต่างๆ เพื่ อ ให้ประชาชน รัฐบาล และประชาคมระหว่างประเทศมีทัศนคติในทางบวกต่อประเทศและประชาชนไทย ๗.๙ คุ้มครองและส่งเสริมสิทธิและผลประโยชน์ของคนไทย แรงงานไทย และภาคธุรกิจเอกชนไทยในต่างประเทศ และสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนไทยในต่างประเทศ

ใกล ้ชิดกับประเทศมุสลิมและองค ์กรอิสลามระหว่างประเทศ เพื่อสร้างความเข ้า ใจที่ ถูกต ้องว ่าประเทศไทยกําลั งดําเนินการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย ในฐานะปัญหาภายในประเทศที่ มี ความสํ าคัญด ้วยหลักการตามแนวพระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา”

Page 107: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๗. นโยบายความมั่นคงของรัฐ ๗ .๑ เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่ งสถาบันพระมหากษัตริย์ ดํารงรักษาไว้ซึ่งพระบรมเดชานุภาพแห่งพระมหากษัตริย์มิให้ผู้ใดล่วงละเมิดได้ รวมทั้งเสริมสร้างจิตสํานึกประชาชนในชาติ ให้ มี ความจงรั กภั กดี ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ตลอดจนสร้างบรรยากาศให้เกิดความรัก ความสามัคคี และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของคนในชาติ ๗.๒ เสริมสร้างระบบป้องกันประเทศให้มีความมั่นคง มีศักยภาพในการรักษาเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งเขตอํานาจรัฐ และผลประโยชน์ของชาติ โดยมุ่งพัฒนาความทันสมัยของอาวุธยุทโธปกรณ์ และเตรียมความพร้ อมขอ งกํ า ลั งพล ในกองทั พ ตลอดจนการผนึกกําลังประชาชนให้มีส่วนร่วมในการรักษาความมั่นคงของประเทศ พร้อมทั้งให้การสนับสนุนภารกิจในการ

๒. นโยบายความมั่นคงของรัฐ ๒.๑ เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่ง

สถาบันพระมหากษัตริย์ ดํารงรักษาไว้ซึ่งพระบรมเดชานุภาพแห่งพระมหากษัตริย์มิให้ผู้ใดล่วงละเมิดได้ รวมทั้งเสริมสร้างจิตสํานึกประชาชนในชาติ ให้มีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์และป้องกันไม่ ให้ตกเป็นเครื่ องมือใช้แสวงหาผลประโยชน์เฉพาะกลุ่ม ตลอดจนสร้างบรรยากาศให้เกิดความรัก ความสามัคคี และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของคนในชาติ

๒.๒ เสริมสร้างระบบป้องกันประเทศให้มีความมั่นคง มีศักยภาพในการรักษาเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งเขตอํานาจรัฐ และผลประโยชน์ของชาติ โดยมุ่งพัฒนาความทันสมัยของอาวุธยุทโธปกรณ์ และเตรียมความพร้ อมของกํ าลั งพลในกองทัพ ตลอดจนการผนึกกําลังประชาชนให้มี

๒. นโยบายความมั่นคงของรัฐ ๒ .๑ ปกป้องและเทิ ดทู นสถาบั นพระมหากษัตริย์ให้มีความมั่นคงในการเปน็ศูนย์รวมจิตใจและความรักสามัคคีของคนในชาติ โดยการเสริมสร้างจิตสํานึกให้มีความจงรักภักดี เทิดทูน ปกป้องสถาบันพระมหากษัตริ ย์ รวมทั้ งป้องกันอย่างจริงจั งมิ ให้มีการล่วงละเมิดพระบรม เดชานุภาพ ๒.๒ เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศให้มีความพร้อมในการรักษาเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งดินแดน รวมทั้งการคุ้มครองผลประโยชน์ของชาติ โดยการเตรียมความพร้อมของกองทัพ การฝึกกําลังพลให้ เกิดความชํานาญในการปฏิบัติภารกิจ และการจัดงบประมาณให้สอดคล้องกับภารกิจของ แต่ละเหล่าทัพ ตลอดจนจัดให้มีแผนการสํารองอาวุธและพลังงานเพื่อความมั่นคง

๒. นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ ๒.๑ เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย ์ ดํารงไว ้ซึ่ ง พ ร ะ บ ร ม เ ด ช า นุ ภ า พ แ ห ่ง อ ง ค ์พระมหากษัตริ ย์ น้อมนําพระราชดําริ ทั้งปวงไว้เหนือเกล้าเหนือกระหม่อม พร้อมทั้งอัญเชิญไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมเพื่อให้ป ร ะช าชน ในช าติ มี ค ว า มต ร ะหนั ก ในพระมหากรุณาธิคุณและจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งจะส่งเสริมและเผยแพร ่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริเพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคม แห่งการรู้รักสามัคคี และดําเนินชีวิต อย่างพอเพียง ๒.๒ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของกองทัพและระบบป้องกันประเทศ ให ้มี ความพร ้อมในการพิทั กษ ์รั กษา เอกราช อธิปไตย ความมั่นคง และ ผลประโยชน์แห่งชาติ สนับสนุนให้กองทัพ

Page 108: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

พัฒนาประเทศและการรักษาสันติภาพภายใต้กรอบกติกาของสหประชาชาติ ๗.๓ เร่งพัฒนาระบบการจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง แรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย และบุคคลที่ยังไม่มีสถานะที่ชัดเจน เน้นการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดกับขบวนการลักลอบเข้าเมืองที่ผู้มีอิทธิพลให้การสนับสนุน เพื่อลดขนาดและผลกระทบของปัญหาความมั่นคงระยะยาวให้เหลือน้อยที่สุด ควบคู่ไปกับการจัดการแก้ไขปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลที่ไม่มีสถานภาพที่ ชัดเจนภายใต้ความสมดุลระหว่างการรักษาความมั่นคงของชาติกับการดูแลสิทธิขั้นพื้นฐาน

๗.๔ พัฒนาและเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ รวมทั้งมุ่งพัฒนาระบบบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนให้เกิด

ส่วนร่วมในการรักษาความมั่นคงของประเทศ พร้อมทั้งให้การสนับสนุนภารกิจในการพัฒนาประเทศและการรักษาสั น ติ ภ า พ ภ า ย ใ ต้ ก ร อ บ ก ติ ก า ข อ งสหประชาชาติ

๒.๓ พัฒนาระบบการจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง แรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย และบุคคลที่ยังไม่มีสถานะที่ชัดเจน เน้นการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดกับขบวนการลักลอบเข้ าเมือง ที่ผู้มีอิทธิพลให้การสนับสนุน ดูแลให้ความเป็นธรรมและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดปัญหาที่กระทบต่อความมั่นคงและความสงบสุขภายในประเทศควบคู่ไปกับการจัดการแก้ไขปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลที่ไม่มีสถานภาพที่ ชัดเจน ภายใต้ความสมดุลระหว่างการรักษาความมั่นคงของชาติกับการดูแลสิทธิขั้นพื้นฐาน

๒.๔ พัฒนาและเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการ

สนับสนุนและส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อให้สามารถผลิตอ า วุ ธ ยุ ท โ ธปกรณ์ ไ ด้ เ อ ง ปรั บ สิ ท ธิประโยชน์กําลังพล เ บี้ยเลี้ยง และค่าเสบียงสนามของทหารหลักและทหารพราน รวมทั้งสวัสดิการของกําลังพลให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ พัฒนาความร่วมมือทางการทหารกับประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศอื่น ๆ และส่งเสริมบทบาทในการรักษาสันติภาพของโลกภายใต้กรอบสหประชาชาติ ๒.๓ เสริมสร้างสันติภาพของการอยู่ร่วมกันกับประเทศเพื่อนบ้าน มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยการเจรจาโดยสันติวิธี ให้ความสําคัญกับการสํารวจและการปักปันเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้านอย่ า งถู ก ต้องตามข้ อตกลงและสนธิสัญญา ประสานงานและร่วมมือกับ

มีโครงสร้างที่เหมาะสมและมีความทันสมัย ส ่ง เสริม กิจการอุตสาหกรรมป ้องกันป ร ะ เ ท ศ ใ ห ้ส า ม า ร ถบู รณ าก า ร ขี ดความสามารถของภาครัฐและเอกชนให้ เป็นเอกภาพ นําไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ในก า ร ผ ลิ ต อ า วุ ธ ยุ ท โ ธ ป ก รณ ์ไ ด ้เ อ ง สนับสนุนสิทธิและหน้าที่กําลังพลของกองทัพเพื่อให้เป็นทหารอาชีพในระบอบประชาธิปไตยและสามารถผนึกกําลังกับประชาชนให้มีส่วนร่วมในการรักษาความมั่นคงของประเทศ รวมทั้งกําหนดเป็น บทบาทของทหาร ในการช ่วย เหลื อประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีเกิดภัยพิบัติร ้ายแรง ขณะเดียวกันจะปรับปรุงสวัสดิการของกําลั งพลทุกระดับให ้มีมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ดียิ่งขึ้น ๒.๓ พัฒนาและเสริมสร้างความ ร ่วมมือระหว ่างประเทศ ส ่งเสริมให ้กองทัพพัฒนาความสัมพันธ์ทางทหารกับ

Page 109: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ควบคู่กับการรักษาความมั่นคง ตลอดจนการดําเนินการอย่างจริงจังเพื่อการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล และเร่งขจัดเงื่อนไขความไม่เข้าใจกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือระหว่างกันทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านความมั่นคง

๗ .๕ ปฏิรูประบบข่ าวกรองให้ เกิดประโยชน์ต่อการรักษาความมั่นคงและการเสริมสร้ างผลประโยชน์ของชาติ โดยจัดระบบบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานพลเรือน ตํารวจ ทหาร และให้ความสําคัญแก่ข้อมูลเชิงลึกด้านเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงที่เป็นประโยชน์ต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาของชาติได้อย่างแท้จริง

๗ .๖ พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ โดยเน้นการบริหารวิกฤติการณ์ทั้ง

ป้องกันและแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ รวมทั้ งมุ่ งพัฒนาระบบบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจควบคู่กับการรักษาความ มั่นคง ตลอดจนการดําเนินการอย่างจริงจังเพื่อการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล และเร่งขจัดเงื่อนไขความไม่เข้าใจกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือระหว่างกันทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านความมั่นคง

๒ .๕ ปฏิรูประบบข่าวกรองให้เกิดประโยชน์ต่อการรักษาความมั่นคงและการเสริมสร้างผลประโยชน์ของชาติ โดยจัดระบบบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานพลเรือน ตํารวจ ทหาร และให้ความสําคัญแก่ข้อมูลเชิงลึกด้านเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงที่เป็นประโยชน์ต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาของชาติได้

ประเทศเพื่อนบ้านในการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่กระทบต่อความมั่นคงในพื้นที่ชายแดน รวมทั้งเสริมสร้างความปลอดภั ย ในชี วิ ตและทรั พย์ สิ นของประชาชนในบริเวณชายแดน ๒.๔ แก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบไม่ให้มีผลกระทบต่อความมั่นคง โดยการปรับปรุงระบบการเข้าเมือง การจัดระเบียบชายแดน และการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว รวมทั้งการแก้ไขปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลที่ชัดเจน บนความสมดุลระหว่างการดูแลสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลกับการรักษาความมั่นคงของชาติ ๒.๕ เสริมสร้างศักยภาพในการจัดการกับ ปัญหาภัยคุกคามข้ ามชาติ โดยให้ความสําคัญแก่การพัฒนาระบบและกลไกต่าง ๆ ให้พร้อมที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายและอาชญากรรม

มิตรประเทศและมีความพร้อมในการป ฏิ บั ติ ก า ร เ พื่ อ สั น ติ ภ า พ ใ น ก ร อ บสหประชาชาติ พัฒนาความสัมพันธ์ของหน่วยงานด้านความมั่นคงและกองทัพ กับประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งจะแก้ไขปัญหา ต่างๆ กับประเทศเพื่อนบ้านบนพื้นฐานของการสร้างบรรยากาศความไว้เนื้อเชื่อใ จ ทั้ ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ ภ า ค ป ร ะ ช า ช น ดําเนินการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนตามหลักฐานพื้นฐานของกฎหมายและสนธิสัญญาที่มีอยู่เพื่อมิให้เป็นเงื่อนไขของความขัดแย้ง รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อระงับยับยั้งและปราบปรามอาชญากรรมข ้ามชาติและ ยาเสพติดให้หมดไป ๒.๔ พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ โดยเน้นการบริหารวิกฤตการณ์ เพื่อรับมือภัยคุกคามด้านต่าง ๆ ทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติและภัยที่มนุษย์สร้างขึ้น

Page 110: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๐๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ที่เกิดจากภัยธรรมชาติและภัยที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยมุ่งระดมสรรพกําลังจากทุกภาคส่วนให้สามารถดําเนินงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกัน แก้ไข บรรเทา และฟื้นฟูความเสียหายของชาติที่เกิดจากภัยต่าง ๆ

อย่างแท้จริง ๒.๖ พัฒนาระบบการเตรียมพร้อม

แห่งชาติ โดยเน้นการบริหารวิกฤตการณ์เพื่อรับมือกับภัยคุกคามด้านต่าง ๆ ทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติและภัยที่มนุษย์สร้างขึ้นที่นับวันมีแต่จะมากขึ้น โดยมุ่งระดมสรรพกํ า ลั ง จ า กทุ ก ภ า ค ส่ ว น ใ ห้ ส า ม า ร ถดําเนินงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกัน แก้ไข บรรเทา และฟื้นฟูความเสียหายของชาติที่เกิดจากภัยต่าง ๆ

ข้ ามชา ติทุ ก รู ปแบบ รวมทั้ งพัฒนากฎหมาย และบั ง คั บ ใ ช้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกับนานาประเทศและส่ ง เสริมการปฏิ บั ติตามพันธกรณีระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติ

ที่มากขึ้น โดยมุ่งระดมสรรพกําลังจากทุกภาคส่วนให้สามารถดําเนินงานร่วมกัน อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกัน แก้ไข บรรเทา และฟื้นฟูความเสียหายของชาติที่เกิดจากภัยต่าง ๆ รวมถึงให้ความสําคัญ ในการเตรียมพร้อมเพื่อเผชิญกับปัญหาความมั่นคงในรูปแบบใหม่ในทุกด ้าน ได้แก่ ด้านพลังงาน ด้านสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงของมนุษย์ อาชญากรรมข้ามชาติ การก่อการร้าย และอุบัติภัย ทั้งนี้ เพื่อให้ มีความพร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของประเด็นปัญหาด้านความมั่นคงในยุคโลกาภิวัตน์ ๒.๕ เร่งดําเนินการแก้ไขปัญหายา เสพติด องค์กรอาชญากรรม การค้ามนุษย์ ผู ้หลบหนี เข ้า เมืองแรงงานต ่างด ้าว ผิดกฎหมาย และบุคคลที่ไม่มีสถานะชัดเจน โดยการปรับปรุงระบบป้องกันและบั งคั บ ใ ช ้กฎหมายรวมทั้ ง กฎหมาย

Page 111: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

การป ้องกันและปราบปรามการฟอกเงินอย่างเข้มงวด ดูแลให้ความเป็นธรรมและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดปัญหาที่กระทบต่อ ค ว า ม มั่ น ค ง แ ล ะ ค ว า ม ส ง บ สุ ขภายในประเทศควบคู ่ไปกับการจัดการ แก้ไขปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล ภายใต้ความสมดุลระหว่างการรักษาความมั่นคงของชาติกับการดูแลสิทธิขั้นพื้นฐาน

Page 112: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๘. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี ๘.๑ ประสิทธิภาพการบริหารราชการ

แผ่นดิน ๘.๑.๑ ปรับปรุ งการให้บริการ

ประชาชน ด้วยการสร้างนวัตกรรมและนําเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการให้บริการรูปแบบต่าง ๆ เพื่อลดภาระและอํานวยความสะดวกแก่ประชาชน

๘.๑.๒ พัฒนาระบบและกํ าหนดมาตรการเพื่อดึงดูดผู้มีความรู้ความสามารถเข้ามารับราชการ ด้วยการปรับปรุงระบบค่าตอบแทนและสิ่งจูงใจให้เทียบเคียงหรือแข่งขันได้ในตลาดแรงงาน เพื่อให้ระบบราชการเป็นนายจ้างอันเป็นที่หมายปองของผู้สมัครงาน รวมทั้ งสนับสนุนให้มีการเคลื่อนย้ายถ่ายโอนกําลังคนทั้ งภายในระบบราชการและระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับภาคส่วนอื่น ๆ

๘ . นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ๘.๑ ประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดิน ๘ .๑ .๑ ปรับปรุ งการให้บริ การประชาชน ด้วยการสร้างนวัตกรรมและนําเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการให้บริการรูปแบบต่างๆ เพื่อลดภาระและอํานวยความสะดวกแก่ประชาชน ๘.๑.๒ พัฒนาระบบงานให้มีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ ส่งเสริมให้ใช้หลักธรรมา ภิบาลเป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ และพัฒนาสมรรถนะของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกระดับอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีขีดความสามารถในการปฏิบัติราชการและการส่งมอบบริการสาธารณะ โดยจะเน้นการพัฒนาข้ าราชการใน

๘. นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

๘ .๑ ประสิ ท ธิ ภ าพกา รบ ริ ห า รราชการแผ่นดิน

๘ .๑ .๑ สนับสนุนการกระจายอํานาจทางการคลังสู่ท้องถิ่นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถและความเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น โดยมีการปรับปรุ งกฎหมายเพิ่มอํานาจให้ท้องถิ่นจัดเก็บรายได้จากภาษีอากรและค่าธรรมเนียมไ ด้ ม ากขึ้ น เ พื่ อ ใ ห้ ท้ อ ง ถิ่ น ส าม า รถจัดบริการสาธารณะที่ได้มาตรฐานและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยคํานึงถึงความจําเป็นและเหมาะสมตามศักยภาพของท้องถิ่น

๘.๑.๒ สนับสนุนการดําเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ยึดหลัก

๘. นโยบายการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ๘.๑ ประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดิน ๘.๑.๑ พัฒนาระบบราชการ อย่างต่อเนื่อง เน้นการบริหารเชิงกลยุทธ์ในระดับชาติอย่างมีวิสัยทัศน์และมุ ่งผลสัมฤทธิ์ นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในก า ร ว า ง แ ผ น แ ล ะ ตั ด สิ น ใ จ ใ ห ้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทําให้บทบาทและภารกิจของหน ่วยงานภาครัฐมีความกระชับ มีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า เหมาะสมกับสถานการณ์ ทั้งการดูแลพื้นที่การปฏิบัติราชการตามอํานาจหน้าที่ปกติ และการปฏิบัติราชการตามระเบียบวาระงานพิเศษ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และเกิ ดประ โยชน ์สู ง สุ ดกั บก า รบริ ก า รประชาชน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง

Page 113: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๘.๑.๓ พัฒนา ระบบง านและสมรรถนะของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกระดับอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีขีดความสามารถในการปฏิบัติราชการและการส่งมอบบริการสาธารณะ โดยจะเน้นการพั ฒ น า ข้ า ร า ช ก า ร ใ น ตํ า แ ห น่ ง ที่ มีความสําคัญต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และสร้างผู้นําการเปลี่ยนแปลงในระบบราชการ รวมทั้งจะวางมาตรการสําหรับประเมินผลการปฏิบัติงานและจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นธรรมตามผลงาน เพื่อให้เกิดขวัญกําลังใจและแรงจูงใจในการพัฒนาผลงาน

๘.๑.๔ พัฒนาคุณภาพชี วิ ตของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ดีขึ้นเพื่อให้สามารถดํารงชีพอย่างมีศักดิ์ศรี โดยการเพิ่มเงินเดือน ค่าตอบแทน และสวัสดิการให้ เหมาะสมกับสภาพการทํางานและสถานการณ์ค่าครองชีพที่เปลี่ยนแปลงไป

ตําแหน่งที่มีความสําคัญต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และสร้างผู้นําการเปลี่ยนแปลงในระบบราชการ รวมทั้งวางม า ต ร ก า ร สํ า ห รั บ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า รปฏิบัติงานและจ่ายค่าตอบแทนที่ เ ป็นธรรมตามผลงาน เพื่อให้เกิดขวัญกําลังใจและแรงจูงใจในการพัฒนาผลงาน ๘.๑.๓ พัฒนาคุณภาพชี วิตของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ดีขึ้น เพื่อให้สามารถดํารงชีพอย่างมีศักดิ์ศรี โดยการเพิ่มเงินเดือน ค่าตอบแทน และสวัสดิการให้เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพการทํางาน รวมทั้งปรับปรุงสวัสดิภาพการทํางานและภาระหนี้สิน เพื่อให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐมีความสมดุลระหว่างการทํางานกับชีวิตส่วนตัว ๘.๑.๔ เสริมสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล

ธรรมาภิบาลและปรับระบบการทํางานให้มีประสิทธิภาพ มุ่งตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ความรับผิดชอบต่อชุมชน และมีความโปร่งใสมากขึ้น โดยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล และมีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผนและการทํางาน ตลอดจนการจัดบริการสาธารณะร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และร่วมติดตามตรวจสอบการดําเนินงานของท้องถิ่น

๘.๑.๓ ปรับบทบาทและภารกิจการบริหารราชการระหว่ างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นให้ชัดเจน ไม่ซ้ําซ้อน เพื่อสามารถดําเนินภารกิจที่สนับสนุนเชื่ อมโยงกัน และประสานการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม ควบคู่ ไปกับการเร่งรัดการดําเนินการ ถ่ายโอนภารกิจและงบประมาณให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วย

๘.๑.๒ เสริมสร้างประสิทธิภาพของระบบการบริหารงานแบบบูรณา การอย่างต ่อเนื่อง ยกระดับสมรรถนะของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ พัฒนาและส่งเสริมรูปแบบโครงสร้าง และระบบการบริหารงานใหม่ที่มีความยืดหยุ่น คล่องตัวสูง และปรับปรุงระบบบริการประชาชนให้เป็นเชิงรุกมากขึ้น ทั้งในรูปแบบการเพิ่มศูนย์บริการครบวงจรที่ครอบคลุมการให้บริการที่หลากหลายขึ้น และการให้บริการถึงตัวบุคคลผ่านระบบศูนย์บริการร่วมและระบบรัฐบาลเล็กทรอนิกส์ที่สมบูรณ์แบบมุ่งเน้นการจัดการความรู้และพัฒนาส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐให ้เป ็นองค ์กรแห่งการเรียนรู้ มีการ สร ้า งน วัตกรรมในการทํ า งานอย ่า งประหยัดและมีประสิทธิภาพ ๘.๑.๓ พัฒนาและส่งเสริมระบบการบริหารงานบุคคลภาครัฐโดยยึด

Page 114: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

รวมทั้งปรับปรุงสวัสดิภาพการทํางานและภาระหนี้ สิ น เพื่ อ ให้ ข้ า ร าชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีความสมดุลระหว่างการทํางานกับชีวิตส่วนตัว ๘.๑.๕ เสริมสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ และพัฒนาความโปร่งใสในการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ พร้อมทั้งป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างจริงจัง เพื่อให้ภาคราชการเป็นที่เชื่อถือไว้วางใจแก่ประชาชน

๘.๑.๖ ส่งเสริมการกระจายอํานาจการปกครองสู่ท้องถิ่นอย่างจริงจัง โดยสร้างดุลยภาพระหว่างการกํากับดูแลและความเป็นอิสระของท้องถิ่ น โดยไม่กระทบความสามารถในการตัดสินใจดําเนินงานตามความต้องการของท้องถิ่น สร้างความเข้มแข็งและขีดความสามารถในการบริหาร

ให้แก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ และพัฒนาความโปร่งใสในการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ พร้อมทั้งป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างจริ งจั ง เพื่ อ ให้ ราชการ เป็นที่ เ ชื่ อถื อไว้วางใจของประชาชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมและชุมชน รวมถึงพัฒนาและนํามาตรการทางสังคมมาใช้ควบคู่กับการบังคับใช้กฎหมายต่างๆ เพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบให้หมดสิ้น ตลอดจนสนับสนุนการสร้างค่านิยมของสังคมให้ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริตและถูกต้องชอบธรรม ๘.๑.๕ พัฒนาระบบและกําหนดม า ต ร ก า ร เ พื่ อ ดึ ง ดู ด ผู้ มี ค ว า ม รู้ความสามารถเข้ามารับราชการ ด้วยการปรับปรุงระบบค่าตอบแทนและสิ่งจูงใจให้

การกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้มีการติดตามประเมินผลและรายงานผลอย่างต่อเนื่อง

๘.๑.๔ บูรณาการความเชื่อมโยงของการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิ ภ าค สู่ท้ อ งถิ่ น โ ดยส นับสนุ นการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการผ่านกระบวนการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่สอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์ระดับชาติและระดับภาค ตลอดจนเชื่อมโยงกับแผนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแผนชุมชน โดยคํานึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในทุกขั้นตอนของการจัดทําแผน

๘.๑.๕ สนับสนุนให้มีการบริหารท้องถิ่นรูปแบบพิเศษให้สอดรับกับระดับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของพื้นที่ โดยสนับสนุนให้ท้องถิ่นที่มีศักยภาพและ

หลักการบริหารกิจการบ ้านเมืองที่ ดีที่สามารถประเมินผลงานได ้ด ้วยระบบคุณธรรม และให้หลักประกันความมั่นคงบนพื้นฐานของความรู้ความสามารถและผลงานสาธารณะ ตลอดจนปรับปรุ งพัฒนาทัศนคติ วิธีคิด และวิธีปฏิบัติงานของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการให ้บริการแก ่ประชาชน ๘.๑.๔ พัฒนาสมรรถนะของ ข้าราชการและเจ ้าหน ้าที่ของรัฐอย ่าง ต่อเนื่องเพื่อให้มีขีดความสามารถในการปฏิบัติราชการและการส ่งมอบบริการสาธารณะโดยจะเน้นการพัฒนาข้าราชการในตําแหน่งที่มีความสําคัญต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศและสร ้างผู ้นําการเปลี่ยนแปลงในระบบราชการ ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิตของข้าราชการและ เจ้าหน้าที่ของรัฐให้ดีขึ้นเพื่อให้สามารถ

Page 115: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

จัดการงบประมาณและบุคลากรของท้องถิ่นเพิ่มขึ้น ตลอดจนพึ่งพาตนเองด้วยฐานรายได้ที่ท้องถิ่นจัดเก็บเองได้มากขึ้น ๘.๑.๗ สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทในการจัดบริการสาธารณะของท้องถิ่นเพิ่มขึ้น โดยคํานึงถึงความจํา เป็นและความเหมาะสมตามศักยภาพของท้องถิ่น รวมทั้งความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ตลอดจนขยายการให้บริการที่ครอบคลุมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เชื่อมโยงและบูรณาการกับแผนชุมชนและแผนระดับต่าง ๆ ในพื้นที ่ ๘.๑.๘ เร่งรัดดําเนินการถ่ายโอนภารกิจของราชการส่วนกลางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งการจัดสรรรายได้ ให้ท้องถิ่นแต่ละประเภท อย่างเหมาะสม

เทียบเคียงหรือแข่งขันได้ในตลาดแรงงาน เพื่อให้ระบบราชการเป็นนายจ้างอันเป็นที่หมายปองของผู้สมัครงาน รวมทั้งสนับสนุนให้มีการเคลื่อนย้ายถ่ายโอนกําลังคนทั้งภายในระบบราชการและระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับภาคส่วนอื่น ๆ ๘.๑.๖ สนับสนุนการดําเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพและความโปร่งใส สามารถแก้ไขปัญหาท้องถิ่นให้สามารถพึ่งตนเองได้ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม ทรัพยากรธรรมชาติ และดูแลผู้ด้อยโอกาส ให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยคํานึงถึงความจําเป็นและความเหมาะสมตามศักยภาพของท้องถิ่น และเชื่อมโยงและบูรณาการภารกิจกับแผนชุมชนและแผนระดับต่าง ๆ ในพื้นที่ รวมทั้งเป็นฐานสําคัญในการส่ ง เสริมและพัฒนาประชาธิปไตยใน

ความพร้อมจัดตั้งเป็นมหานคร ๘ .๑ .๖ สร้ า งม าตรฐ านด้ าน

คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลให้แก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ พร้อมทั้ งพัฒนาความโปร่ ง ใสในการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจของประชาชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน รวมถึงการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ตลอดจนสนับสนุนการสร้างค่านิยมของสังคมให้ ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริตและถูกต้องชอบธรรมและส่งเสริมเสรีภาพในการรวมกลุ่มของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ

๘.๑.๗ จัดระบบงานให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และส่งเสริมพัฒนาระบบบริหารผลงานและสมรรถนะ

ดํารงชีพอย ่างมีศัก ดิ์ศรี โดยเฉพาะข ้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐระดับต้นซึ่งจะปรับค ่าตอบแทนให ้อยู ่ในระดับที่เพียงพอแก่การดํารงชีวิต ดูแลครอบครัว และสามารถรักษาเกียรติศักดิ์ของการเป็นบุคลากรภาครัฐ ๘.๑.๕ เสริมสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลให้แก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ และพัฒนาความโปร ่งใสในการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานภาครัฐ พร้อมทั้งป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤต ิมิชอบของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างจริงจังเพื่อให้ข ้าราชการเป็นที่เ ชื่ อถื อ ไ ว ้ว า ง ใจของประชาชนด ้วย กระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมและชุมชน โดยปรับปรุงกฎหมายให้มีการเปิดเผยบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ

Page 116: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑๕

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๘ .๑ .๙ สนั บ ส นุ น ร ะบบก า รบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการของผู้ว่าราชการจังหวัด ผ่านกระบวนการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และการจัดทํางบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เ พื่ อ ใ ห้ จั ง ห วั ด แ ล ะ ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด ว า งยุทธศาสตร์การพัฒนาและทิศทางการพัฒนาพื้ นที่ ในอนาคตที่ สอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐบาลเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ศักยภาพของพื้นที่ และความต้องการของประชาชน

๘.๒ กฎหมายและการยุติธรรม ๘ .๒ .๑ ดูแลให้มีการปฏิบัติและ

บังคับใช้กฎหมายอย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นธรรม และทั่วถึง และส่งเสริมการให้ความรู้เ กี่ ย ว กั บ กฎหม า ยที่ มี ผ ล ก ร ะทบต่ อประชาชนและภาคธุรกิจ รวมตลอดถึงเพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และสนับสนุนการ

ท้องถิ่นให้เข้มแข็ง ๘.๑ .๗ ปรั บปรุ งการจั ดระบบความสัมพันธ์ของราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นให้มีความเหมาะสม โดยเร่งรัดดําเนินการถ่ายโอนภารกิจของราชการส่วนกลางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดสรรรายได้ให้ท้องถิ่นแต่ละประเภทอ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม ร ว ม ทั้ ง เ พิ่ ม ขี ดความสามารถในการบริหารจัดการงบประมาณและบุคลากรของท้องถิ่นและส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพึ่งพารายได้ของตนเองได้มากขึ้น ๘.๑.๘ สนับสนุนระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการของผู้ว่าราชการจังหวัดผ่านกระบวนการจัดทําแผนพัฒนาแบบบูรณาการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

ของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกระดับอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีประสิทธิภาพ ปร ะสิ ท ธิ ผ ล ใ น ก า ร ส่ ง ม อบบ ริ ก า รสาธารณะ พร้อมทั้งการพัฒนาข้าราชการ โดยเฉพาะข้าราชการรุ่นใหม่ที่จะต้องเป็นกําลังสําคัญของภาคราชการในอนาคต

๘ .๑ .๘ ปรั บเงิ นเดื อน ค่ าจ้ าง ค่ าตอบแทน และสิท ธิประโยชน์ของข้ า ราชการและ เจ้ าหน้ าที่ ของรั ฐ ให้เ ห ม า ะ ส ม กั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล ะประสิทธิภาพของผู้ปฏิบัติงานในลักษณะที่อาจแตกต่างกันตามพื้นที่ ตามการแข่งขันของการจ้ า งงานในแต่ ละสายอาชีพ ที่ เหมาะสม และตามความจําเป็นเพื่อรักษาคนเก่ง คนดีไว้ในราชการ รวมทั้งการสร้างความสมดุลของคุณภาพชีวิตข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ดีขึ้น เพื่อให้สามารถดํารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี มี ข วัญกํ า ลั ง ใ จที่ จ ะปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ

ตําแหน่งระดับสูงและตําแหน่งที่มีอํานาจมาก รวมทั้งบุคลากรขององค์กรอิสระ ต่อสาธารณชน เพื่อความโปร่งใสของผู้ดํารงตําแหน่งเหล่านี้และเปิดโอกาสให้สาธารณชนร่วมตรวจสอบบุคลากรของภาครัฐเพิ่มขึ้น พัฒนาและนํามาตรการทางสังคมมาใช ้ควบคู ่กับการบังคับใช ้กฎหมายเพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ตลอดจนสนับสนุนการสร้างค่านิยมของสังคมให้ ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต ความเสมอภาคเท่าเทียมกันและความถูกต้องชอบธรรม ๘.๑.๖ สนับสนุนการดําเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถให้บริการสาธารณะตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ตามความคาดหวัง รวมทั้งส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Page 117: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑๖

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ใ ห้ ค ว าม ช่ ว ย เ หลื อท า ง กฎหมายแ ก่ประชาชน

๘.๒.๒ พัฒนากฎหมายให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงและความจําเป็นของสังคม รวมทั้งจัดให้มี “องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย” และ “องค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม” ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อปรับปรุงและพัฒนากฎหมายของประเทศและกระบวนการยุติธรรม

๘ . ๒ . ๓ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น าระบบงานยุติธรรมทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการป้องกันอาชญากรรมและสร้างความเป็นธรรมในสังคม การพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางอาญาให้เป็นไปตามหลักนิติธรรม ก า ร ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ ห ลั ก วิ ช า ก า ร นิติวิทยาศาสตร์ การส่งเสริมการเข้าถึงความยุ ติธรรมและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอํานวยความยุติธรรม เช่น

วางยุทธศาสตร์การพัฒนาและทิศทางพัฒนาพื้นที่ในอนาคตที่สอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐบาลเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ศักยภาพของพื้นที่ และความต้องการของประชาชน ๘.๑.๙ สนับสนุนกระบวนการจัดทําแผนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ และสามารถเชื่อมโยงกับแผนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแผนพัฒนาจังหวัดเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน ๘.๑.๑๐ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยให้ประชาชนมีส่ วนร่ วมกํ าหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น เพื่อเป็นพลังขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติที่บรรลุตามเป้าหมาย รวมทั้งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ร่วมเสนอความเห็น ปัญหาและ

ประโยชน์สุขของประชาชน ๘.๒ กฎหมายและการยุติธรรม

๘.๒.๑ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบที่ล้าสมัยและเปิดช่องให้เกิดการทุจริตประพฤติมิชอบหรือทําให้เ กิ ดประ โยชน์ ทั บซ้ อน รวมทั้ ง ออกกฎหมายใหม่ ๆ เพื่อป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ ขยายและยกเลิกอายุความในคดีอาญาบางประเภทและคดีทุจริต ปราบปรามการทุจริตประพฤติ มิชอบในทุกระดับอย่ างจ ริงจั ง และสนับสนุนให้ประชาชนมีโอกาสตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐมากขึ้น ส่งเสริมคุณธรรมคู่ความรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษาเพื่อปลูกฝังค่านิยม “คนไทยต้องไม่โกง”

๘ .๒ .๒ พัฒนากระบวนกา รยุ ติธรรมให้มี ระบบการอํ านวยความยุติธรรมที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นธรรมต่อทุกกลุ่ม โดยส่งเสริมให้มีการ

หลายๆ แห่งร่วมกันจัดบริการสาธารณะ บ า ง อ ย ่า ง ซึ่ ง โ ด ย ส ภ า พ ห รื อ เ พื่ อประสิทธิภาพ ควรที่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นต้องร่วมกันทําโดยคํานึงถึงความ จําเป็นและความเหมาะสมตามศักยภาพของท้องถิ่น ให้มีการเชื่อมโยงและบูรณาการภารกิจกับแผนชุมชนและแผนระดับ ต่าง ๆ ในพื้นที่ เพื่อเป็นฐานสําคัญในการส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยใน ท้องถิ่นให้เข้มแข็ง ปรับปรุงการจัดระบบความสัมพันธ ์ของราชการบริหารส ่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นให้มีความเหมาะสม ตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถในการบริหาร จัดการงบประมาณและบุคลากรของท ้องถิ่น ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้ที่เหมาะสมและมีระบบบริหารงานบุคคลที่มีประสิทธิภาพพร้อมรองรับภารกิจและให้บริการที่ดีแก่ประชาชน ตลอดจนเสนอ

Page 118: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑๗

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

การพัฒนาระบบยุ ติ ธ รรมชุ มชนและยุติธรรมจังหวัด การพัฒนาและจัดให้มีกระบวนการยุติธรรมทางเลือก (ซึ่งเป็นกระบวนการชะลอการลงโทษ เช่น ใช้วิธีการทํางานบําเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม เป็นต้น) ควบคู่กับกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก รวมทั้งการพัฒนาระบบและวิธีป ฏิ บั ติ เพื่ อ แก้ ไ ขฟื้ นฟู ผู้ ก ระทํ าผิ ด ให้เหมาะสมต่อกลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม

๘.๒.๔ เสริมสร้างความยุติธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมุ่งพัฒนากฎหม า ย แ ล ะ ร ะ บบ ง า น ยุ ติ ธ ร ร ม ที่สอดคล้องกับพื้นที่ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมท้องถิ่น บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ขจัดเงื่อนไขความไม่ยุติธรรม และพัฒนาระบบการพิสูจน์การกระทําความผิดที่มีประสิทธิภาพ

แ น ว ท า ง แ ก้ ไ ข แ ล ะ มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ นกระบวนการตัดสินใจ ๘.๒ กฎหมายและการยุติธรรม ๘.๒.๑ สนับสนุนการดําเนินการทางกฎหมายของหน่วยงานของรัฐในการให้ความเห็น หรือตรวจสอบการตรากฎหมายของรัฐให้เป็นไปโดยถูกต้องตามหลักนิติธรรม จัดให้มีการพัฒนากฎหมายเ พื่ อ ป รั บ ป รุ ง ก ฎ ห ม า ย ใ ห้ ทั น ส มั ย เหมาะสมกับการพัฒนาประเทศและเป็นประโยชน์ต่อสังคม ๘.๒.๒ ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับใช้กฎหมายอย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นธรรม และทั่วถึง และส่งเสริมการให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่มีผลกระทบต่อประชาชนและภาคธุรกิจ รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และสนับสนุนการให้ ความ ช่ วย เหลื อทางกฎหมายแก่

นําหลักความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และหลักการระงับข้อพิพาททางเลือกมาใช้ในการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท ให้มีการ จัด ตั้งองค์กรประนอมข้อพิพาท มีกระบวนการชะลอการฟ้อง สําหรับคดีประมาท คดีลหุโทษ และคดีที่มีอัตราโทษจําคุกไม่เกิน ๓ ปีเป็นอย่างน้อย มีระบบหรือกระบวนการให้สามารถพิจารณาคดีได้รวดเร็วและเป็นธรรมมากขึ้น

๘ .๒ .๓ พั ฒ น า ก ฎ ห ม า ย ใ ห้เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ สังคม และก า รคุ้ ม ค รอ งสิ ท ธิ ส่ ว น บุ คคล ปรั บระบบงานและกระบวนการให้ประชาชนได้รับความยุติธรรมและสิทธิเสรีภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ทั้งนี้ จะเร่งดําเนินการจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย และองค์ ก ร เพื่ อการปฏิ รู ปกระบวนการยุติธรรม ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย รวมทั้งสนับสนุน

กฎหมายเกี่ยวกับการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่ บัญญัติ เป ็นหลักการไว ้ในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยหมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น ๘.๑.๗ พัฒนาระบบราชการให้ เป็นระบบที่โปร่งใสขึ้นโดยการวางระบบการตรวจสอบและประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานคุณธรรม จริยธรรม ความคุ้มค่า พัฒนากระบวนการติดตาม เปิดเผยข้อมูล ข่าวสาร ปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ตลอดจนการใช้จ่ายงบประมาณแผ่นดินให้เกิดความสุจริตและมีประสิทธิภาพ ๘.๑.๘ ส่งเสริมให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยให ้ประชาชนมี ส ่วนร ่วม กํ าหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติ และท้องถิ่น รวมทั้งให้ประชาชนมีโอกาสแสดงประชาทัศน์

Page 119: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑๘

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๘.๓ ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารจากทางราชการและสื่อสาธารณะอื่นได้อย่างกว้างขวาง ถูกต้อง เป็นธรรม และรวดเร็ว

ประชาชน ๘.๒.๓ พัฒนาปรับปรุงกฎหมายและระบบงานยุติธรรมทั้งทางอาญาและทางแพ่งให้เป็นไปตามหลักนิติธรรม โดยมีจุดมุ่งหมายให้กระบวนการยุติธรรมทางอาญามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการนําผู้กระทําความผิดมาดําเนินคดีและลงโทษตามกฎหมาย บนพื้นฐานของการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งการพัฒนากฎหมายและระบบงานยุติธรรมในทางแพ่งและในด้านอื่น ๆ ที่จะทําให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความยุติธรรมและสิทธิและเสรีภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ทั้งนี้ จะเร่งดําเนินการจัด ตั้งองค์กรเพื่อปฏิรูปกฎหมายและองค์ ก ร เพื่ อการป ฏิ รู ปกระบวนการยุติธรรม ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

การดําเนินการทางกฎหมายของหน่วยงานของรัฐในการให้ความเห็น หรือตรวจสอบการตรากฎหมายของรัฐให้เป็นไปโดยถูกต้องตามหลักนิติธรรม

๘ .๒ .๔ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการยุติธรรมให้มากขึ้น ภายใต้การใช้อาสาสมัครเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในกระบวนการยุติธรรมตั้งแต่ชั้นป้องกันอาชญากรรม การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท การตรวจสอบการใช้ อํ านาจและการปฏิ บั ติหน้ าที่ ของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ส่งเสริมให้ผู้กระทําความผิดที่พ้นโทษสามารถกลับสู่ชุมชนมาใช้ชีวิตร่วมกันได้อย่างปกติสุข ตลอดจนจัดให้มีบริการด้านทนายและการปรึกษาทางกฎหมายแก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย

๘.๒.๕ พัฒนาระบบและวิธีการปฏิบัติในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทําความผิดที่เป็นเด็กหรือเยาวชนและผู้ใหญ่ให้มีความ

ในประเด็นสําคัญต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็น พลังขับเคลื่อนนโยบายไปสู ่การปฏิบัติ ที่บรรลุตามเป้าหมาย รวมทั้งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการรับรู้ ข ้อมูลข ่าวสาร ร ่วมเสนอความเห็น ปัญหาและแนวทางแก้ไขและมีส่วนร่วม ในกระบวนการตัดสินใจ ๘.๑.๙ ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการที่ดีในภาคเอกชนโดยเฉพาะระบบการตรวจสอบกิจการที่โปร่งใส และสนับสนุนให้ภาคเอกชนยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อลูกค้า ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้สังคม โดยการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อสร้างความเป็นธรรม ตลอดจนป้องกันการผูกขาดตัดตอนทั้งทางตรงและทางอ้อม

Page 120: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๑๙

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๘ .๒ .๔ พัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือกให้มีระบบการอํานวยความยุ ติธรรมที่ มีประสิท ธิภาพและประสิทธิผลควบคู่กระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก โดยส่งเสริมให้มีการนําหลักความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ และหลักการระงับข้อพิพาททางเลือกอื่นมาใช้ในการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาททั้งระบบ ทั้งการดําเนินการในชุมชนโดยยังไม่เข้าสู่ระบบยุติธรรมในชั้นตํารวจ อัยการ และศาล โดยผลักดันให้มีกฎหมายกลางที่สามารถจัดระบบและรองรับการดําเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ บูรณาการ และสามารถคุ้มครองสิทธิผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้อย่างเหมาะสม ๘.๒.๕ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการยุติธรรมให้มากขึ้น โดยการนําหลักการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและภาคประชาชนในลักษณะ

ห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม ต่ อกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้ผู้กระทําความผิดไ ด้รับโอกาสในการแก้ ไข ฟื้นฟู และสามารถกลับตนเป็นพลเมืองดี ไม่หวนกลับไปกระทําความผิดซ้ําอีก บนพื้นฐาน ของสิทธิและเสรีภาพที่ผู้กระทําความผิดพึงได้รับ

๘ .๒ .๖สนั บ สนุ น และพัฒนาตํารวจให้มีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใส และเป็นตํารวจมืออาชีพที่มีเกียรติและศั ก ดิ์ศรี รวมทั้ ง ดํ า เนินการ ให้มี ก ารกระจายอํานาจของตํารวจทั้งในส่วนที่ไม่ใช่ภารกิจหลักและกระจายอํานาจการบริหารไปยังส่วนภูมิภาค

๘.๒.๗ เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารกระบวนการยุติธรรม เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว าม โปร่ ง ใ ส สามา รถตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐได้ รวมทั้ งส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการติดตาม

๘.๒ กฎหมายและการยุติธรรม ๘.๒.๑ ปฏิรูประบบกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทั้งระบบให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับหลักการประชาธิปไตย เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง และสอดคล้องกับหลักนิติธรรม เร่งรัดจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุ ติธรรมที่ ดํ า เนินการโดยอิสระตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ รวมถึงสนับสนุนคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายและองค์กรเพื่ อการปฏิรูปกระบวนการยุ ติธรรม ให้สามารถดําเนินการตามเจตนารมณ ์ของรัฐธรรมนูญได้อย่างเป็นรูปธรรม ปฏิรู ปกระบวนการบั งคั บ ใ ช้กฎหมายเพื่อให้หน่วยงานภาครัฐทั้งหลายบังคับใช้กฎหมายอย่างยุติธรรม เสมอภาค เท่าเทียม โปร่งใส มีประสิทธิภาพ ถูกต้องตามหลักนิ ติธรรมและปฏิญญาสากล ว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และให้ประเทศไทย

Page 121: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๒๐

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

“หุ้นส่วน” ภายใต้หลักการยุติธรรมชุมชน มาใช้ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ และร่วมดําเนินการในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอํานวยความยุติธรรม ตั้งแต่ ชั้นป้ องกั นอาชญากรรม การไกล่ เกลี่ ย ข้อพิพาท จนถึงการดูแลผู้กระทําความผิดที่พ้น โทษและกลับสู่ ชุมชน โดยให้มีสํานักงานยุติธรรมจังหวัดเป็นองค์กรกลางในการดําเนินการพัฒนากลไกระบบงานยุติธรรม ยุติธรรมทางเลือก และสร้างแนวทางในการดําเนินงานร่วมกับภาคประชาชน ศู น ย์ ยุ ติ ธ ร ร ม ชุ ม ชน หน่ ว ย ง า น ใ นกระบวนการยุติธรรม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปอย่างบูรณาการ ส า ม า ร ถ อํ า น ว ย ค ว า ม ยุ ติ ธ ร ร ม แ ก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๘.๒.๖ พัฒนาระบบและวิธีการปฏิบัติในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทําความผิด

ประเมินผลการทํางานของตํารวจ อัยการและผู้ใช้อํานาจรัฐอื่น ๆ ๘.๓ สื่อและการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร

๘ .๓ .๑ ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสาธารณะจากทางราชการ และสื่อสาธารณะอื่นได้อย่างกว้างขวาง เป็นธรรม และรวดเร็ว รวมทั้ ง ให้กลไกภาครัฐ เปิดโอกาสให้ป ระชาชนมี ส่ ว น ร่ ว ม ในทุ กมิ ติ ต ามบ ท บั ญ ญั ติ ข อ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ งราชอาณาจักรไทย

๘.๓.๒ ปรับปรุงกลไกการสื่อสารภาครัฐให้ดํารงบทบาทสื่อเพื่อประโยชน์สาธารณะและสร้างความสมานฉันท์ในชาติ

๘.๓.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีผลตอบแทนเชิงพาณิชย์ต่ํา

มีระบบและกระบวนการอํานวยความยุติธรรมเป็นมาตรฐานเดียว ซึ่งจะมี ส่วนช่วยในการสร้างความเชื่อมั่นในการลงทุนอัน เป็นหั ว ใจสํ าคัญของระบบเศรษฐกิจสมัยใหม่ ๘.๒.๒ ปรับปรุงระบบการช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมด้วยมาตรการเชิงรุก ให้เข้าถึงความเป็นธรรมได้ง่าย รวดเร็ว ทั้งการช่วยเหลือด้านกฎหมาย ส่งเสริมกองทุนยุติธรรม เพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือคนจนและ คนด้อยโอกาสการคุ้มครองดูแลรักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชน การเยียวยา ผู้บริสุทธิ์และผู้ได้รับผลกระทบที่เกี่ยวข้อง การกระจายโอกาสการเข้ าถึ งความยุติธรรมไปสู่ระดับจังหวัด การเสริมสร้างความเข้มแข็งและยุติธรรมระดับชุมชนและหมู่บ้าน การพัฒนาทางเลือก ของกระบวนการยุติธรรม

Page 122: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๒๑

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

ที่เป็นเด็กหรือเยาวชนและผู้ใหญ่ให้มีความห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม ต่ อกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้ผู้กระทําความผิดได้รับโอกาสในการแก้ ไข ฟื้นฟู และสามารถกลับตนเป็นพลเมืองดี ไม่หวนกลับไปกระทําความผิดซ้ําอีก โดยอยู่บนพื้นฐานของสิทธิและเสรีภาพที่ผู้กระทําความผิดพึงได้รับ ๘.๓ ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารจากทางราชการและสื่อสาธารณะอื่นได้อย่างกว้างขวาง ถูกต้อง เป็นธรรม และรวดเร็ว

โดยได้รับการสนับสนุนจากกองทุนพัฒนากิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์

๘.๓.๔ จัดให้มีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้ประกอบวิชาชีพสื่อเพื่อให้สื่อมีเสรี ปราศจากการแทรกแซง และมีความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งยกเลิกและปรั บปรุ งกฎหมายที่ ขั ด ต่ อสิ ท ธิเสรีภาพของประชาชน และสื่อมวลชนต า ม บ ท บั ญ ญั ติ ข อ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แห่งราชอาณาจักรไทย

๘.๒.๓ เพิ่มประสิทธิภาพการสืบสวนสอบสวน การป้องกัน และปราบปรามอาชญากรรม การนํามาตรการทางภาษีและการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินมาใช้ ในการดํ า เนินการ ต่อผู้กระทําผิด ดูแลแก้ไขและฟื้นฟูพัฒนาผู้กระทําความผิดให้เป็นคนดีสามารถกลับสู่สังคมได้ เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน การคุมประพฤติ การบังคับคดีและส่งเสริมความยุติธรรมและความเป็นธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ๘.๒.๔ ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม เ ชิ ง รุ ก โ ดยประชาชน มีส่วนร่วม จัดให้มีกลไกการบริหารจัดการแบบครบวงจร วิเคราะห์แนวโน้ม ของอาชญากรรมล่วงหน้า เพื่อป้องปรามและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่

Page 123: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๒๒

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

นําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาใช้ในการควบคุมอาชญากรรมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมเป็นพลังแผ่นดิน ในการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหาอาชญากรรม โดยให้หน่วยงานของรัฐที่ เกี่ยวข้องสนับสนุนในการจัดให้มีช่ อ ง ท า ง ก า ร เ ข้ า ถึ ง แ ล ะ รั บ ข้ อ มู ลสารสนเทศ ซึ่งรวมถึงกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม และกิจการวิทยุโทรคมนาคม ๘.๓ ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารจากทางราชการ สื่อสารมวลชน และสื่อสาธารณะ ทุกประเภทได้อย่างกว้างขวาง รวดเร็ว ถูกต้อง เป็นธรรม ๘.๓.๑ ส่งเสริมและพัฒนาช่ อ งท า ง ในก า ร รั บ รู้ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ของประชาชน ด้วยการเชื่อมโยง

Page 124: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๒๓

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

กับเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ที่ทันสมัยและส่งเสริมการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างสื่อสารมวลชน ในประชาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสื่อสารมวลชนโลก ๘.๓.๒ ส่งเสริมและพัฒนากิจการสื่อสารมวลชนทั้ งทางด้านเทคโนโลยี เครือข่าย และปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการทําหน้าที่เพื่อให้สอดคล้องกับวิวัฒนาการสมัยใหม่ และส่งเสริมให้สื่อมวลชนร่วมเป็นผู้นํา ในการแก้ ปัญหาและพัฒนาประเทศ โ ด ย เ พิ่ ม ร า ย ก า ร ที่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น ์ต่อประชาชนด้านต่าง ๆ เช่น การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม คุณธรรม นวัตกรรม การเตือนภัยกรณีภัยพิบัติต่าง ๆ หรืออื่นใ ด ที่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ส า ธ า ร ณ ะ โดยประสานความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

Page 125: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๒๔

นายสมัคร สนุทรเวช นายกรัฐมนตร ี

นายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ นายกรัฐมนตร ี

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตร ี

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตร ี

๘.๓.๓ ส่งเสริมให้สื่อสารมวลชนทุกประเภทมีอิสระและเสรีภาพในการเ ส น อ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร อ ย่ า ง มี ค ว า มรับผิดชอบต่อสั งคมและตระหนัก ต่อจรรยาบรรณของสถาบันสื่อสารมวลชน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการสร้างดุลยภาพของข่าวสาร

Page 126: จัดทําโดย - Parliament · 2011-08-23 · นายสมชาย วงศ์ัสดสวิ์ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิิ์ทธ

๑๒๕