าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 ·...

26
หัวขอโครงงาน มิเตอรสําหรับวัดปริมาณเอทานอลในแกสโซฮอล (Ethanol Meter for Gasohol) ผูทําโครงงาน นายวีระศักดิศรีสุขนิมิต อาจารยที่ปรึกษา ผศ.ดร. ดวงใจ นาคะปรีชา ดร. ณัฐชนน อมรธํามรงค และ อาจารย ชัยวัฒน เชื้อมั่ง สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549 บทคัดยอ ในงานนี้ไดทําการออกแบบและสรางมิเตอรตนแบบสําหรับวัดปริมาณเอทานอลในแกส โซฮอล หลักการทํางานของมิเตอร คือ การสกัดเอทานอล ออกจากน้ํามันแกสโซฮอล เขาชั้นน้ํา ตามดวยการทําปฏิกิริยาของเอทานอล กับน้ํายาเคมีในชั้นน้ํา การวัดคาการดูดกลืนแสงของสาร ผลิตภัณฑ ซึ่งแปรผันตรงกับความเขมขนของเอทานอล กระบวนการทุกอยางทั้งการสกัด การผสม สาร การเกิดปฏิกิริยาเคมี ตลอดจนการกําจัดตัวรบกวนการวัด ทําไดอยางอัตโนมัติอาศัยชิ้นงาน ประดิษฐหนึ่ง เรียกวา “Eth-extractor” ซึ่งทํางานภายใตการไหลอยางตอเนื่องของของเหลวที่ไม ละลายกัน 2 ชนิด และใชหลักการของความแตกตางของความหนาแนนเพื่อกําจัดตัวรบกวน เชน ฟองอากาศและทอนน้ํามัน การทํางานของมิเตอรนั้นถูกควบคุมโดยไมโครคอนโทรเลอร คุณสมบัติของมิเตอรตนแบบที่ประดิษฐขึ้น สรุปไดดังนีขนาดเล็กเคลื่อนยายสะดวก (18 x 30 x 18 ลูกบาศกเซนติเมตร) น้ําหนักเบา (5 กิโลกรัม) ใหผลการวิเคราะหภายใน 6 นาที โดย ใชปริมาตรน้ํามันแกสโซฮอลเพียง 20 ไมโครลิตร ความคลาดเคลื่อนของมิเตอรต่ํา (รอยละ 0.62 ของ ความเขมขนเอทานอลโดยปริมาตร เมื่อทดสอบกับสารมาตรฐานเขมขนรอยละ 10 โดยปริมาตร) เมื่อ เทียบกับเครื่องมือวิทยาศาสตรทั่วไปจัดวา ตนทุนการผลิตต่ํา (ประมาณ 100,000 บาท) เมื่อทําการ ทดสอบตัวอยางจํานวน 7 ตัวอยาง จากบริษัทผูผลิตที่ตางกัน มิเตอรใหผลลัพธวิเคราะหที่ไมแตกตาง อยางมีนัยสําคัญกับเครื่องแกสโครมาโตกราฟ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยใชหลักการ Pair t-test

Upload: others

Post on 17-Jan-2020

28 views

Category:

Documents


3 download

TRANSCRIPT

Page 1: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 75 -

หัวขอโครงงาน มิเตอรสําหรับวัดปริมาณเอทานอลในแกสโซฮอล (Ethanol Meter for Gasohol)

ผูทําโครงงาน นายวีระศักดิ์ ศรีสุขนิมิต อาจารยท่ีปรึกษา ผศ.ดร. ดวงใจ นาคะปรีชา ดร. ณัฐชนน อมรธํามรงค

และ อาจารย ชัยวัฒน เชื้อมั่ง สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในงานนี้ไดทําการออกแบบและสรางมิเตอรตนแบบสําหรับวัดปริมาณเอทานอลในแกสโซฮอล หลักการทํางานของมิเตอร คือ การสกัดเอทานอล ออกจากน้ํามันแกสโซฮอล เขาชั้นน้ํา ตามดวยการทําปฏิกิริยาของเอทานอล กับน้ํายาเคมีในชั้นน้ํา การวัดคาการดูดกลืนแสงของสารผลิตภัณฑ ซึ่งแปรผันตรงกับความเขมขนของเอทานอล กระบวนการทุกอยางทั้งการสกัด การผสมสาร การเกิดปฏิกิริยาเคมี ตลอดจนการกําจัดตัวรบกวนการวัด ทําไดอยางอัตโนมัติอาศัยช้ินงานประดิษฐหนึ่ง เรียกวา “Eth-extractor” ซ่ึงทํางานภายใตการไหลอยางตอเนื่องของของเหลวที่ไมละลายกัน 2 ชนิด และใชหลักการของความแตกตางของความหนาแนนเพื่อกําจัดตัวรบกวน เชน ฟองอากาศและทอนน้ํามัน การทํางานของมิเตอรนั้นถูกควบคุมโดยไมโครคอนโทรเลอร คุณสมบัติของมิเตอรตนแบบที่ประดิษฐขึ้น สรุปไดดังนี้ ขนาดเล็กเคลื่อนยายสะดวก (18 x 30 x 18 ลูกบาศกเซนติเมตร) น้ําหนักเบา (5 กิโลกรัม) ใหผลการวิเคราะหภายใน 6 นาที โดยใชปริมาตรน้ํามันแกสโซฮอลเพียง 20 ไมโครลิตร ความคลาดเคลื่อนของมิเตอรต่ํา (รอยละ 0.62 ของความเขมขนเอทานอลโดยปริมาตร เมื่อทดสอบกับสารมาตรฐานเขมขนรอยละ 10 โดยปริมาตร) เมื่อเทียบกับเครื่องมือวิทยาศาสตรทั่วไปจัดวา ตนทุนการผลิตต่ํา (ประมาณ 100,000 บาท) เมื่อทําการทดสอบตัวอยางจํานวน 7 ตัวอยาง จากบริษัทผูผลิตที่ตางกัน มิเตอรใหผลลัพธวิเคราะหที่ไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญกับเครื่องแกสโครมาโตกราฟ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยใชหลักการ Pair t-test

Page 2: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 76 -

หัวขอโครงงาน การสกัดและศกึษาประสิทธภิาพในการละลายโฟมโดยสารสกัดจากเมล็ด ผักชีลาว

(Extraction and Study of Efficiency in Foam Dissolving by the Dill Extract) ผูทําโครงงาน นางสาวภัททนิจ เกื้ออรุณ นางสาววรัชญา รัตนไพบูลย และ นายฐากร พฤกษธนากุล อาจารยท่ีปรึกษา นายชยัวฒัน เชื้อม่ัง สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ผักชีลาวเปนผักพื้นบานที่มีราคาถูก และสามารถหาไดงาย จากการศึกษาพบวาในผักชีลาวมีสาร Pinene ซ่ึงเปนสารอนุพันธของ Terpene เหมือนกับ Limonene ซ่ึงเปนสารที่สามารถละลายโฟมได ดังนั้นจึงไดทําการทดลองสกัดสารจากเมล็ดผักชีลาวโดยวิธีการกลั่นดวยไอน้ํา จากผลการทดลองพบวาจากเมล็ดผักชีลาว 1 กิโลกรัม สามารถสกัดน้ํามันไดประมาณ 6.8 กรัม เมื่อนํามาละลายโฟม โดยเปรียบเทียบอัตราเร็วในการละลายกับ Benzene พบวา Benzene สามารถละลายโฟม โดยใชเวลา 0.12.55 นาที ซ่ึงเร็วกวาสารสกัดจากเมล็ดผักชีลาว ที่ใชเวลา 1.15.17 นาที ในการละลายโฟมปริมาตร 2x2x1.3 ลูกบาศกเซนติเมตร และไดนําสารสกัดจากเมล็ดผักชีลาว ปริมาตร 1 ลูกบาศกเซนติเมตร มาละลายโฟมจนกระทั่งอิ่มตัว แลวนําไปเปรียบเทียบกับ Benzene พบวา สารสกัดจากเมล็ดผักชีลาว สามารถละลายโฟมไดมากที่สุด 1.161 กรัม ซ่ึงมากกวา Benzene ที่สามารถละลายโฟมไดมากที่สุด 1.119 กรัม

Page 3: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 77 -

หัวขอโครงงาน ธูปอโรมาจากกากใบชาเขียว (Aromatic Sticks from Green Tea Refuse) ผูทําโครงงาน นางสาว ชัชฎาภรณ ดอกนางแยม, นางสาว ปุญญพัฒน ศักดิ์สุภาพชน และ

นางสาว ฟารีดา แสงศรี อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอุษา จีนเจนกิจ รศ. ดร. จิตรี โพธิมามกะ และนายจิตวิัฒน ยวงเกตุ สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเขียว มีจุดประสงคเพื่อศึกษาการพัฒนาธูปอโรมาจากกากใบชาเขียว และศึกษาคุณสมบัติของธูปอโรมาที่ไดพัฒนาขึ้น โดยแบงการศึกษาเปน 2 ขั้นตอน ตอนที่หนึ่ง พัฒนาธูปอโรมาจากกากใบชาเขียว ตอนที่สอง ศึกษาคุณสมบัติของธูปโรมา ที่ไดพัฒนาขึ้น โดยทําการวิเคราะหหาปริมาณความรอน ปริมาณความชื้น และสํารวจความพึงพอใจตอกล่ินและคุณลักษณะของธูปอโรมาจากกากใบชาเขียว จากการศึกษาไดพัฒนาธูปอโรมาจากกากใบชาเขียว 3 กล่ิน ไดแก กล่ินใบชาเขียวแท กล่ินใบชาเขียวผสมน้ํามันหอมกลิ่นชาของลอทฟกับผงมะกรูด และกลิ่นใบชาเขียวผสมน้ํามันหอมกลิ่นชาของไดโซะและผงมะกรูด และจากการวิเคราะหคุณสมบัติของธูปอโรมาพบวา คาความรอนของธูปอโรมาจากกากใบชาเขียวใหความรอนเฉลี่ย 6,286.22 แคลอรีตอกรัม มีคาความชื้นเฉลี่ย 7.49 % กล่ินที่กลุมตัวอยางชอบมากที่สุดคือ กล่ินจากกากใบชาเขียวผสมน้ํามันหอมกลิ่นชาของไดโซะและผงมะกรูด รองลงมาคือ กล่ินจากากใบชาเขียวผสมน้ํามันหอมกล่ินชาของลอทฟกับผงมะกรูด และกลิ่นใบชาเขียวแทตามลําดับ ดานคุณลักษณะทั่วไปของผลิตภัณฑ ไดรับคะแนนการประเมินมากกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5 ทุกรายการ ผลการทดลองดังกลาวจะเปนขอมูลที่นําไปสูการพัฒนาผลิตภัณฑอ่ืนๆ จากากชาเขียวตอไปในอนาคต

Page 4: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 78 -

หัวขอโครงงาน สบูที่ทําจากน้าํที่ใชทําความสะอาดไก (Soap from the Chicken Cleaning Water) ผูทําโครงงาน นายปตยิาธร วทัญุตางกูร และ นายมนตชัย ปรีชาพลสิทธิ์ อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยอุษา จีนเจนกิจ สาขา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

โครงงานเรื่องสบูที่ทําจากน้ําที่ใชทําความสะอาดไก มีวัตถุประสงคเพื่อหาอัตราสวนที่เหมาะสมตอการทําสบูและพัฒนาผลิตภัณฑสบูใหมีคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมของสบูถูตัว ดวยกระบวนการสะปอนนิฟเคชัน โครงงานนี้ไดทําการ ทดลอง 2 ขั้นตอนคือ ขั้นแรกทดลองผลิตสบูดวยสวนผสมที่อัตราสวนตาง ๆ โดยใชอัตราสวนของโซเดียมไฮดรอกไซด ตั้งแต 0.10 - 0.21 กรัม ตอไขมันไก 1 กรัม ซ่ึงเปนอัตราสวนที่สอดคลองกับคาสะปอนนิฟเคชันของการผลิตสบูจากไขมันสัตวและพืช ขั้นที่สองเปนการทดสอบคุณภาพสบูและเทียบกับคามาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมสบูถูตัว ผลการทดลองพบวาอัตราสวนที่เหมาะสมในการผลิตสบูจากไขมนัไก คือสบูที่มีอัตราสวนของโซเดียมไฮดรอกไซด 0.16 และ 0.17 กรัม ตอไขมันไก 1 กรัม และจากการทดสอบคุณภาพของสบูที่ผลิตขึ้นพบวามีคา pH อยูระหวาง 10.1-10.2 และไมพบปริมาณดางอิสระอยูในสบูจนถึงพบรอยละ0.04 โดยน้ําหนัก ซ่ึงมีคุณภาพใกลเคียงกับเกณฑมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมสบูถูตัว (มอก. 29-2545) นอกจากนี้ยังไดทําการทดสอบคุณภาพของสบูดานอื่น ๆ อีก คือ ทดสอบปริมาณฟองและความคงทนของฟอง พบวา สบูที่มีอัตราสวนโซเดียมไฮดรอกไซด 0.16 และ 0.17 กรัมตอไขมันไก 1 กรัม มีปริมาณฟองและความคงทนของฟองไมแตกตางกัน ทดสอบความสามารถในการลดแรงตึงผิว พบวาสบูที่ผลิตขึ้นสามารถลดแรงตึงผิวของน้ําได โดยความสามารถในการลดแรงตึงผิวจะแปรผันตามความเขมขนของสารละลายสบู และทดสอบความสามารถในการทําละลายไขมัน พบวาความสามารถในการทําละลายไขมันมากเมื่อสารละลายสบูมีความเขมขนมากขึ้น

Page 5: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 79 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับฟอสเฟตของ cross-linked chitosan (The Study of the Efficiency of Cross-Iinked Chitosan to Adsorbed of Phosphate)

ผูทําโครงงาน นางสาวณฐัภรณ บุญเฉลียว นางสาววรรณาพักตร อาจณรงคกร อาจารยท่ีปรึกษา นายศราวุทธ แสงอุไร สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ไคโตซานมีคุณสมบัติในการดูดซับสารตาง ๆ หลายชนิด เราจึงไดเลือกทําการทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการดูดซับฟอสเฟตโดยนําไคโตซานมาละลายใน 0.167 M CH3COOH แลวนํามาหยดลงใน 0.2 M NaOH จะไดเม็ดบีดสที่มีขนาดประมาณ 2 mm.โดยแบงการทดลองออกเปน 3 ชุด คือ เม็ดบีดสไคโตซานที่ไมไดทํา cross - link เม็ดบีดสไคโตซานที่ทํา cross - link และ เม็ดบีดสไคโตซานที่ทํา cross - link กับ benzaldehyde เมื่อไดเม็ดบีดสทั้ง 3 ชุดแลวจึงนํามาดูดซับฟอสเฟตใน 4 ppm KH2PO4 พบวาเมื่อนําเม็ดบีดสทั้งสามชนิดมาดูดซับฟอสเฟต แลวนํามาตรวจสอบการดูดซับฟอสเฟต ผลปรากฎวา ประสิทธิภาพในการดูดซับฟอสเฟตของเม็ดบีดสที่ไมไดทํา cross - link และเม็ดบีดสที่ ทํา cross - link ดวย glutardialdehyde มีผลไดไมดี แตสําหรับเม็ดบีดสที่ ทํา cross - link ดวย glutardialdehyde กับ benzaldehyde มีประสิทธิภาพ ในการดูดซับฟอสเฟตไดดีกวาเม็ดบีดสทั้งสองชนิดที่ไดกลาวมา

Page 6: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 80 -

หัวขอโครงงาน แผนฟลมไคโตซาน-อะไมโลส ชะลอการเกิดราบนขนมปง (Film Chitosan- Amylose Use in Delay the Fungal Growing Process on Bread) ผูทําโครงงาน นางสาวพิมพรําไพ โมรานนท และ นางสาวอรณัฐ คมขํา อาจารยท่ีปรึกษา นายศราวุทธ แสงอุไร สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

เนื่องดวยในปจจุบัน ประเทศไทยมีการใชฟลมพลาสติกสําหรับหออาหารเปนจํานวนมาก ซ่ึงสงผลเสียตอสภาพแวดลอม จึงไดมีการผลิตแผนฟลมไคโตซาน ซ่ึงเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมาใชทดแทน แตมีราคาสูง จึงมีแนวคิดที่จะผลิตแผนฟลมไคโตซาน-อะไมโลส ซ่ึงมีคุณสมบัติคลายคลึงกัน สามารถใชในการถนอมอาหาร ยอยสลายไดงาย และสามารถรับประทานไดโดยไมเปนอันตรายตอรางกาย โดยการนําไคโตซานบริสุทธิ์ผสมกับแปง 3 ชนิด คือ แปงขาวโพด แปงขาวเหนียว และแปงมันสําปะหลัง แลวนําไปทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ โดยดูความหนา ความสามารถในการบวมน้ํา และลักษณะพื้นผิว และทดสอบความสามารถในการถนอมอาหารโดยการนําไปหอขนมปง พบวา แผนฟลมไคโตซาน-แปงขาวโพด มีความหนานอยที่สุดและมีความสามารถในการถนอมอาหารดีที่สุด สวนความสามารถในการบวมน้ําของแผนฟลมแตละชนิดจะใกลเคียงกัน จากนั้นจึงเพิ่มความยืดหยุนของแผนฟลมไคโตซาน-แปงขาวโพด โดยการเติม PVA ลงไป นําไปทดสอบความสามารถในการถนอมอาหาร พบวา แผนฟลมไคโตซาน-แปงขาวโพด-PVA มีความสามารถในการถนอมอาหารใกลเคียงกับแผนฟลมไคโตซาน-แปงขาวโพด

Page 7: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 81 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาและเปรียบเทียบชนิดของสาร Chitosan ที่สกัดจากสาร Chitin ของกุงกุลาดํา กุงขาว กุงกามกรามและตั๊กแตน (Studying and Comparing % Yield of Chitin and Chitosan from Shrimp’s Bark and Grasshopper)

ผูทําโครงงาน นางสาวพิม คีรีรัตน, นางสาวภัทรวด ี ลีลาภัทรพันธุ และ นายศุภฤกษ นาคดิลก อาจารยท่ีปรึกษา นายศราวุทธ แสงอุไร สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ไคติน เปนสารที่สกัดไดจากสัตวประเภทครัสเตเชียน และเปนวัตถุดิบในการสังเคราะหไคโตซาน ซ่ึงในปจจุบันสามารถนํามาใชประโยชนไดหลายทาง เชน ประโยชนทางการแพทย อุตสาหกรรมบําบัดน้ําเสีย เครื่องสําอาง และอีกมากมาย โดยทําการทดลองสกัดไคตินจากเปลือกกุง 3 พันธุ ไดแก กุงกุลาดํา (Penaeus monodon fabricius) กุงกามกราม(Macrobrachuim rosenbergii de man ) กุงขาว (Litopenaeus Vammamei)และจากเปลือกตั๊กแตน(Patanga succincta) โดยกําจัดแรธาตุในเปลือกกุงตัวอยางดวยสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเขมขน 2 M กวนตลอดเวลา 2 ช่ัวโมง ที่อุณหภูมิหอง (28 ± 2 OC) หลังจากนั้นทําการกําจัดโปรตีน ดวยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ความเขมขน 2 M กวนตลอดเวลา 2 ช่ัวโมง ที่อุณหภูมิหอง (28 ± 2 OC) พบวาเปลือกกุงกามกรามไดปริมาณไคตินสูงสุด เมื่อเทียบกับปริมาณสารตั้งตน ไดคา % Yield เปน 19.75 นําไคตินที่ไดมาสังเคราะหไคโตซาน โดยใชสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดความเขมขน 50% โดยน้ําหนัก ในอัตราสวน 1 ตอ 20 คนตลอดเวลา 2 ช่ัวโมง ที่อุณหภูมิ 140 ± 10 OC พบวาเปลือกกุงกุลาดําไดปริมาณไคโตซานสูงสุด เมื่อเทียบกับปริมาณสารไคตินตั้งตน ไดคา %Yield เปน 98.89 และเมื่อเทียบกับสารตั้งตน พบวาไคตินจากเปลือกกุงกุลาดําจะสังเคราะหปริมาณไคโตซานไดมากที่สุด ไดคา % Yield เปน 8.99

Page 8: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 82 -

หัวขอโครงงาน เปรียบเทียบคุณภาพน้าํมันไบโอดีเซลที่ผลิตจากน้ํามันถ่ัวเหลือง น้ํามันปาลม และน้ํามนัพืชที่ใชแลว ในอัตราสวนตางๆ (The Study of the Quality of Biodiesel from Soy Been Oil, Palm Oil and Used

Oil) ผูทําโครงงาน นางสาวกุลธิดา รุจิสรรคสกุล และนางสาวหทัยรัตน ยนปลัดยศ อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยศราวุทธ แสงอุไร สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ไบโอดีเซล (Biodiesel) เปนเชื้อเพลิงดีเซลที่ผลิตจากวัตถุดิบตามธรรมชาติ เชน น้ํามันถ่ัวเหลือง น้ํามันปาลม ไขมันสัตว เปนตน เมื่อไตรกรีเซอไรด(Triglyceride)ซ่ึงเปนองคประกอบทางเคมีของน้ํามันพืชและไขมันสัตว รวมตัวกับสารเรงปฏิกิริยาที่เปนดาง (Base catalyst) เชน โปแตสเซียมไฮดรอกไซด (Potassium Hydroxide (KOH)) และแอลกอฮอล (Alcohol) จะทําใหเกิดการรวมพันธะของกรดไขมัน และแอลกอฮอล เกิดเปนไบโอดีเซล (Biodiesel) และกลีเซอรอล (Glycerol) เรียกปฏิกิริยานี้วา Trans-esterification

ดังนั้นกลุมของขาพเจาจึงไดทําการศึกษาสมบัติบางประการของไบโอดีเซลที่ผลิตจากน้ํามันถ่ัวเหลือง น้ํามันปาลม และน้ํามันพืชท่ีใชแลวในอัตราสวนตางๆ โดยใชไฮโดรมิเตอรหาคา API ของน้ํามันแตละชนิด พบวาไบโอดีเซลทุกชนิดและทุกอัตราสวนมีคา API อยูในเกณฑมาตรฐานที่กรมธุรกิจพลังงานกําหนด โดยไบโอดีเซลที่ผลิตจากน้ํามันปาลมอัตราสวน 80:20 มีคา API สูงที่สุดคือ 29.47 ซ่ึงแสดงวาน้ํามันชนิดดังกลาวเบาที่สุด และไบโอดีเซลที่ผลิตจากน้ํามันถ่ัวเหลืองอัตราสวน 90:10 มีคา API ต่ําที่สุด คือ 25.77 เปนน้ํามันที่หนักที่สุด

Page 9: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 83 -

หัวขอโครงงาน ไบโอดีเซลจากสารสกัดจากเมล็ดสบูดํา (The Biodiesel from Jatropha Curcas Seed Oil)

ผูทําโครงงาน นางสาวนัฏฐา ยังนึก นางสาวภควดี วงศประพฤติดีและ นางสาวพิมพขวัญ หาญนันทอนันต

อาจารยท่ีปรึกษา นายศราวุทธ แสงอุไร สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ปจจุบันปริมาณการใชน้ํามันมีแนวโนมสูงขึ้นอยางมาก พลังงานทดแทนจึงเปนทางเลือกหนึ่ง ซ่ึงสามารถชวยแกไขปญหาพลังงานนี้ไดในโครงงานนี้จึงทําการศึกษาการผลิตไบโอดีเซลจากเมล็ดสบูดํ าโดยนําน้ํ ามันสบูดํ าซึ่ งอยู ในรูปไตรกลี เซอรไรดไปผ านกระบวนการ transesterification โดยทําปฏิกิริยากับเมทานอลจะไดผลิตภัณฑเปนเมทิลเอสเทอรออกมา จากนั้นนําเมทิลเอสเทอรที่ไดไปตรวจสอบวัดคาปริมาณกรดไขมันอิสระในน้ํามันเปรียบเทียบกับน้ํามันสบูดํากอนทําปฏิกิริยา พบวา ปริมาณกรดไขมันอิสระมีปริมาณลดลง 0.548×10-4 mol/cm3 หลังจากนั้น นําเมทิลเอสเทอรจากสบูดําที่ได ผสมกับน้ํามันดีเซลปกติในอัตราสวนที่แตกตางกัน 5 อัตราสวน ไดแก อัตราสวน 20:80, 40:60, 50:50, 60:40, 80:20 จะไดผลิตภัณฑเปนไบโอดีเซลที่ตองการ และนําผลิตภัณฑที่ไดมาตรวจสอบคุณภาพ โดยการวัดความถวงจําเพาะ พบวา น้ํามันผสมเมทิลเอสเทอรจากเมล็ดสบูดํา ตอน้ํามันดีเซลปกติ อัตราสวน 20:80 มีความถวงจําเพาะ 0.8502 ที่อุณหภูมิ 15 C ซ่ึงเปนอัตราสวนการผสมที่มีคุณภาพดีที่สุดในกลุมตัวอยางทั้งหมด

Page 10: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 84 -

หัวขอโครงงาน สเปรยขจัดคราบมันจากน้ํามนัเปลือกสมโอ (Product of Wiping Spray from Pomelo Peel Oil) ผูทําโครงงาน นางสาวชิตินทร บุญสุขจิตเสรี และ นางสาวศุภนิดา หอมพูลทรัพย อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวศศิน ี อังกานนท และ นายวัลลภ คงนะ สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

สมโอเปนผลไมตระกูลสมที่หาไดงายโดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตจังหวัดนครปฐม ทั้งนี้เปนผลไมที่ไมรับประทานเปลือก จึงเกิดเปลือกเปนขยะเหลือทิ้งจํานวนมาก จากการศึกษาขอมูลทางการวิจัยพบวา บริเวณเปลือกสมมีน้ํามันเปลือกสมที่มีคุณสมบัติในการชวยสลายหรือลดปริมาณคลอเรสเตอรอลซึ่งเปนลิปดชนิดหนึ่งได ดังนั้นจึงนาจะสามารถสลายหรือลดปริมาณลิปดชนิดอื่นไดเชนกัน โครงงานนี้จึงมีความมุงหมายที่จะนําคุณสมบัติดังกลาวมาประยุกตใชโดยการนําน้ํามันเปลือกสมโอพันธุ Citrus maxima (Burm. f.) Merr. (C. grandis (Linn.) Osbeck มาเปนสวนผสมของสเปรยขจัดคราบมันเพื ่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการชําระลางคราบมันระหวางสเปรยธรรมดากับสเปรยขจัดคราบที่มีสวนผสมของน้ํามันเปลือกสมโอ และเพื่อหาความเขมขนของน้ํามันเปลือกสมโอที่เหมาะสมโดยทดสอบดวยการลื่นไถลของลูกเหล็กทรงกระบอก จากการทดลองพบวาความเขมขนที่เหมาะสมในการชําระลางคราบมันของน้ํามันเปลือกสมโอในสเปรย คือ 1.5% โดยปริมาตรตอปริมาตร

Page 11: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 85 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาประสิทธิภาพของ Lemna perpusilla Torr.ในการดูดซึม Zn2+

(The Study of the Efficiency of Lemnaperpusila Torr. to Absorb Ion of Zn2+ )

ผูทําโครงงาน นางสาวณฐัธิดา เตชะนภารักษ นางสาวพิชญา โพธิล้ิมธนา และ นางสาวเพ็ญฤดี จินตสถาพร

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยศศินี อังกานนท สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ปจจุบันการนําพืชน้ํามาใชในการบําบัดน้ําเสียนั้นเปนวิธีที่นิยมอยางมาก เนื่องจากเปนการบําบัดน้ําเสียดวยวิธีทางธรรมชาติ ไมสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมเหมือนกับการใชสารเคมี ไมเสียคาใชจายสูง และเปนการใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด โครงงานนี้จึงจัดทําขึ้นเพื่อศึกษาแนวทางในการบําบัดน้ําเสียที่มีการเจือปนของ Zn2+ ที่มีความเปนพิษสูงและเปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิต ดังนั้นจึงทําการศึกษาประสิทธิภาพในการดูดซึมโลหะหนักโดยใชแหนเปดซึ่งเปนวัชพืชน้ําที่พบไดงายตามแหลงน้ําธรรมชาติทั่วไป โดยการเลี้ยงแหนเปดในสารละลาย Zn2+ แลวนํามาวิเคราะหหาปริมาณ Zn2+ ที่เหลือดวยวิธี Colorimetric analysis โดยเครื่องUV visible spectrophotometer จากการทดลองพบวาประสิทธิภาพของแหนเปดในการดูดซึมขึ้นอยูกับความเขมขนของ Zn2+ ระยะเวลาในการดูดซึม และสภาพแวดลอมของแหลงแหนเปด โดยแหนเปดจะมีประสิทธิภาพในการดูดซึม Zn2+ ไดดีที่สุดในชวงความเขมขน 5.80-6.22 ppm และอัตราการดูดซึมจะแปรผกผันกับระยะเวลา โดยแหนเปดสามารถดูดซึมไดดีในชวงสองวันแรก ทั้งนี้ประสิทธิภาพในการดูดซึมยังขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมของแหลงแหนเปดดวย

Page 12: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 86 -

หัวขอโครงงาน ศึกษาคุณภาพของถานจากเปลือกไมยูคาลิปตัสเมื่อผสมกับถานจากวัสดุธรรมชาติบางชนิด

(A Study of Eucalyptus Bark Charcoal’s Qualities When Mixed with Charcoals Made from Other Natural Materials)

ผูทําโครงงาน นายณัทธร เบญจาทิกุล นายจิรวัฒน ปณุวฒัน และนายธนพงษ ภูริพนัธุภิญโญ อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยอุษา จีนเจนกจิ อาจารยจตภุรณ สวัสดิ์รักษา และ อาจารยสรชัย แซล่ิม สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การศึกษาคุณภาพของถานจากเปลือกไมยูคาลิปตัสที่ผสมกับถานจากวัสดุธรรมชาติบางชนิด มีจุดประสงคเพื่อศึกษาการทําถานจากเปลือกไมยูคาลิปตัสซึ่งเปนวัสดุเหลือใชจากอุตสาหกรรมไมยูคาลิปตัส และศึกษาคุณภาพของถานจากเปลือกไมยูคาลิปตัสเมื่อผสมกับถานจากวัสดุธรรมชาติบางชนิด โดยเมื่อศึกษาถานที่ไดจากเปลือกไมยูคาลิปตัส พบวาถานจากเปลือกไมยูคาลิปตัสสามารถนําไปใชงานไดดี ไมมีกล่ิน การปะทุ และควันขณะกอไฟ และเมื่อนําถานจากเปลือกไมยูคาลิปตัสไปผสมกับถานจากวัสดุธรรมชาติอื่นๆ ไดแก ถานจากแกลบ ขี้กบ และกะลา ในอัตราสวน ถานจากเปลือกไมยูคาลิปตัส: ถานจากวัสดุธรรมชาติชนิดอื่นดังกลาว = 50:50, 70:30 และ 90:10 โดยน้ําหนัก แลวนําไปหาคาความรอนที่ไดโดยใช Bomb Calorimeter พบวาถานที่ใหคาความรอนมากที่สุดคือ ถานจากเปลือกไมยูคาลิปตัส : ถานจากกะลา ในอัตราสวน 50 : 50 โดยน้ําหนัก ซ่ึงใหคาความรอน 7,510.32 แคลอรีตอกรัม และถานที่ใหคาความรอนนอยที่สุดคือ ถานจากเปลือกไมยูคาลิปตัส : ถานจากแกลบ ในอัตราสวน 50 : 50 โดยน้ําหนัก ซ่ึงใหคาความรอน 5,980.25 แคลอรีตอกรัม และเมื่อพิจารณาปจจัยดานราคาของถาน รวมดวย พบวาถานที่สามารถนํ ามาใช ร วมกับถ านจาก เปลือกไม ยูคาลิปตัส หรือนํ าไปผสมกับถ านจาก เปลือกไม ยูคาลิปตัสแลวอัดแทงไดเหมาะสม และคุมคาที่สุด คือถานจากกะลา

Page 13: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 87 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของแบคทีเรียกลุม Acetogenic และ Acidogenic จากการหมักฟางในสภาพไรออกซิเจน

(The Study of the Optimum Temperature for Acetogenic and Acidogenic Bacteria from Straw Fermentation in Anaerobic System)

ผูทําโครงงาน นายธนวัชร จรีะตระกูล นายปกรณ ไตรประเสริฐพงศ และ นายปรัชญ ปยะวงศวิศาล อาจารยท่ีปรึกษา นายสุนทร พรจําเริญ นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ

รองศาสตราจารยจิตรี โพธิมามะกะ และนายกันต ปานประยูร สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในการศึกษาอุณหภูมิที่ เหมาะสมตอการเจริญของแบคทีเรียท่ีใชในการผลิตแกสไฮโดรเจนจากการหมักฟางในสภาพไรออกซิเจน ซ่ึงใชแบคทีเรียกลุมบําบัดน้ําเสีย ที่มีแบคทีเรีย 2 กลุมที่สําคัญ ไดแก Acidogenic Bacteria และ Acetogenic Bacteria โดยนํามาหมักกับฟางในถังหมักไรออกซิเจนทิ้งไวเปนเวลา 7 วัน ที่อุณหภูมิ 16 อุณหภูมิ ไดแก 30 32 34 36 38 40 42 44 46 48 50 52 54 56 58 และ 60 องศาเซลเซียส จากนั้นนําน้ําจากการหมักฟางไปตรวจสอบจํานวนโคโลนีของแบคทีเรียโดยกระบวนการนับโคโลนีบนจานเพาะเชื้อ (Plate Count) และใชกระบวนการวิเคราะหทางสถิติ พบวาขอมูลท่ีไดของแตละอุณหภูมิมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.01 ซ่ึงที่อุณหภูมิ 48 องศาเซลเซียส แบคทีเรียสามารถเจริญไดดีที่สุด ซ่ึงสามารถนับจํานวนโคโลนีของแบคทีเรียเฉลี่ยได 71.833 โคโลนี อันดับที่ 2 คือ อุณหภูมิ 46 องศาเซลเซียส สามารถนับจํานวนโคโลนีเฉลี่ยของแบคทีเรียได 67.000 โคโลนี และอันดับที่ 3 คือ อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส สามารถนับจํานวนโคโลนีเฉล่ียได 66.167 โคโลนี

Page 14: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 88 -

หัวขอโครงงาน ความสัมพันธระหวางระยะเวลาการแชเปลือกไขในฟลอูอไรดตอคาพลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยาการกัดกรอนโดยกรดไฮโดรคลอริก

(The Relation between the Period of Soaking Egg Shell in Fluoride Solute to the Activation Energy’s Number of the Hydrochloric Erosion Reaction)

ผูทําโครงงาน นาย ชินโชติ อมรโชควัชระ นายเชาวณิชย โพธาธนายง นายอรรถกร จรัสชัยวรรณา

อาจารยท่ีปรึกษา นายสุนทร พรจําเริญ และ ดร.เอกสิทธิ์ สมสุข สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ฟลูออไรดเปนสารที่มีอยูตามธรรมชาติ พบไดทั่วไปในเปลือกโลก น้ําและอาหารบางชนิดมีฟลูออไรดผสมอยูดวย แคลเซียมคารบอนเนตเปนสวนประกอบสําคัญที่สรางความแข็งแรงเชน กระดูก,ฟน และเปลือกไข จากการศึกษาพบวา ฟลูออไรดสามารถยับยั้งปฏิกิริยาการกัดกรอนแคลเซียมคารบอนเนตโดยกรดได ซ่ึงระยะเวลาในการแชแคลเซียมคารบอนเนตในสารละลายฟลูออไรดมีผลตอการยับยั้งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น โครงงานนี้จึงมีจุดประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางระยะเวลาการแชเปลือกไขในฟลูออไรดตอ คา พลังงานกอกัมมันต ของปฏิกิริยาการกัดกรอนโดยกรดไฮโดรคลอริก ที่ระยะเวลาการแชตางๆกัน โดยทําการทดลองศึกษาปฏิกิริยาที่ระยะเวลาการแช 0,15,30,45,60,75 และ 90 นาที ในแตละการทดลองทําที่อุณหภูมิ 30,50,70 และ 90 องศาเซลเซียส และวัดปริมาตรกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นทุกๆ 5 วินาที จนปฏิกิริยาส้ินสุด นําขอมูลที่ไดจากการทดลองมาหาคา พลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยา พบวาระยะเวลาการแชฟลูออไรดของเปลือกไขที่มากขึ้นมีผลทําใหคาพลังงานกอกัมมันตมากขึ้น โดยอัตราการเพิ่มของพลังงานการกอกัมมันตคอนขางจะคงที่ ที่ระยะเวลาการแชฟลูออไรด 60,75 และ 90 นาที และเมื่อนําผลการทดลองมาสรางสมการถดถอยเพื่อใชทํานายคาพลังงานกอกัมมันตจากระยะเวลาในการแชฟลูออไรดไดสมการดังนี้

Ea = log1.415515 {(t-9.88882924733161)/(9.338x10-6)} เมื่อ Ea คือ คาพลังงานกอกมัมันต, t คือ ระยะเวลาการแชเปลือกไขในฟลูออไรด

Page 15: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 89 -

หัวขอโครงงาน การผลิตไพโรเมตริกโคนโดยวิธีหลอในแมพิมพปูนปลาสเตอร (The Manufacturing Pyrometric Cone by Forming in Plaster Template) ผูทําโครงงาน นายวิศิษฐ พรหมรักษ และนายอรรถกฤต จรัสชัยวรรณา อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยสุนทร พรจําเริญ, อาจารยเศวต ภภูากรณ และ

อาจารยวีรวุฒิ เทียนขาว สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ปจจุบันการวัดอุณหภูมิระดับสูงในเตาเผา ตองใชเครื่องมือในการวัดที่มีราคาแพงและใชงานยาก จากการศึกษาคนควา พบวามีเครื่องมือชนิดหนึ่ง คือ ไพโรเมตริกโคน ซ่ึงสามารถวัดอุณหภูมิระดับสูงๆไดโดยใชหลักการการโคงงอของโคนเมื่อถึงจุดหลอมเหลว แตกรรมวิธีการผลิตโคนนั้นนิยมใชการขึ้นรูปจากแมพิมพโลหะซ่ึงใชงบประมาณสูง โครงงานนี้เปนการผลิตโคนไวใชเองโดยวิธีการขึ้นรูปในแมพิมพปูนปลาสเตอร ซ่ึงเปนวิธีที่ใชงบประมาณนอย มีกรรมวิธีในการทําไมยุงยาก โดยจะใชสูตรโคนเบอร 8 ในหนวยเซเกอร แลวแปรผันอัตราสวนระหวางซิลิกาและ ดินขาว เพื่อใหไดโคนที่หลอมเหลวที่อุณหภูมิตางๆ กัน ในชวงอุณหภูมิ 1200๐C - 1300๐C ทั้งหมด 7 สูตร จากการทดลองพบวา สูตรโคนทั้งหมดหลอมเหลวในชวงอุณหภูมิ 1250๐C - 1300๐C โดยสูตรโคนที่ 7 ซ่ึงมีสูตรคือ ดินขาว 55% เฟลดสปาร 20% ซิลิกา 15% และ หินปูน 10% สามารถนําไปใชเทียบอุณหภูมิไดจริงที่อุณหภูมิ 1300๐C ซ่ึงตรงกับโคนเบอร 10 ในมาตราวัดของเซเกอร สามารถนําไปใชประโยชนไดในอุตสาหกรรมเครื่องครัวเซรามิกสภายในประเทศ

Page 16: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 90 -

หัวขอโครงงาน การหาปริมาณน้ํามันและความสามารถในการเกิดปฏิกิริยา oxidation ของ ถ่ัวลิสง (Arachis hypogaea L.) งา (Sesamum indicum L.) และถ่ัวเหลือง (Glycine max L. Merr.)

(Determination of Oil Content and Antioxidant Capacity from Sesamum indicum L., Glycine max (L.) Merr., Arachis hypogaea L.)

ผูทําโครงงาน นางสาวพิมพใจ แนนไธสง นายดลลักษณ พูลเกษม และ นายพิชวฒัน สุขสุศิลป อาจารยท่ีปรึกษา นายสรชยั แซล่ิม นายอิทธิพล สวัสดิ์วงคไชย และนายวัลลภ คงนะ สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

พืชตระกูลถ่ัว จัดเปนพืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากถ่ัวเปนพืชที่มีคุณคาทางโภชนาการสูง กลาวคือ ถ่ัวมีน้ํามันเปนสวนประกอบอยูราว 45 – 55% ของเมล็ด และมีกรดไขมันที่ไมอ่ิมตัวที่เปนกรดไขมันจําเปนอยูในปริมาณคอนขางมากเชน กรดลิโนเลอิค กรดโอเลอิค และกรดไขมันอื่นๆ อีกมากมายที่เปนประโยชนตอรางกาย โครงงานนี้จึงศึกษาหาปริมาณน้ํามันที่สกัดไดจากถั่วลิสง (Arachis hypogaea L.) งา (Sesamum indicum L.) และถ่ัวเหลือง (Glycine max L. Merr.) ซ่ึงพบวาน้ํามันที่ไดจากถ่ัวลิสงมีปริมาณมากที่สุดถึง 0.309 mg/g และศึกษาหาประสิทธิภาพของน้ํามันดวยการศึกษาความสามารถการเกิดปฏิกิริยา oxidation โดยใชวิ ธีดักจับอนุมูลอิสระ 2, 2-Diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) และใช BHT (Butylhydroxytoluene) เปนสารมาตรฐาน และวัดคาการดูดกลืนแสงที่ความยาว 517 นาโนเมตร พบวาน้ํามันที่สกัดจากเมล็ดงามีความสามรถในการเกิดปฏิกิริยา oxidation ไดดีที่สุด และจากการทดสอบความอิ่มตัวดวยสารละลาย Br2 / CHCl3 พบวา น้ํามันที่สกัดจากถั่วลิสงมีความไมอ่ิมตัวมากที่สุด

Page 17: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 91 -

หัวขอโครงงาน การผลิตกระดาษซับหนามันจากไคโตซาน (The Production of Oil Blotting Sheet from Chitosan)

ผูทําโครงงาน นางสาวศิริลักษม หาภา, นางสาวสุรสา นาคจินดา และ นางสาววภิาวรรณ ปุริสา อาจารยท่ีปรึกษา นายสรชยั แซล่ิม สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในการศึกษาสมบัติของเยื่อแผนไคโตซาน พบวามีสมบัติในการดูดซับน้ํามันไดดี และมีสมบัติในการขึ้นรูปที่ดี ทางกลุมของขาพเจา จึงไดทดลองผลิตแผนซับหนามันจากไคโตซาน โดยมีขั้นตอนดังนี้ การเปลี่ยนเฟสแบบแหง (Dry phase inversion) ทดสอบหาอัตราสวนที่เหมาะสมระหวางไคโตซานละลายในสารละลายกรดอะซีติก แลวนําไปขึ้นรูปบนเพลท ผลการทดลองคือ ไคโตซาน 0.03 กรัมละลายในสารละลายกรดอะซีติก 5 ml การเติมพลาสติกไซเซอร ไดแก เยื่อกระดาษไข เยื่อกระดาษทิชชูชนิดบางและชนิดหนา และ PEG (Polyethylene glycal) ซ่ึงจากการทดสอบพบวา พลาสติกไซเซอร ที่เหมาะสมที่สุดคือ เยื่อกระดาษชั่งสาร การผสมพลาสติกไซเซอรชวยเพิ่มคุณภาพ ไดแก CaCO3 ZnO MgCO3 และแปงฝุน จากการทดสอบพบวา CaCO3และแปงฝุน ใหผลดีที่สุด จากขั้นตอนนี้จะทําใหแผนซับหนามันที่ไดเมื่อใชแลวทําใหผิวหนาเรียบเนียนเหมือนทาแปง ขั้นตอนสุดทายคือการทดสอบคุณภาพของแผนซับมัน โดยนํามาทดสอบประสิทธิภาพการซับน้ํา น้ํามันและเหงื่อเทียม และทดสอบความพึงพอใจของผูใช โดยใชโปรแกรมวิเคราะหและประมวลผลคาความพึงพอใจคือโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS-X11.5 พบวา กระดาษซับหนามันสูตรที่ 2 (เยื่อกระดาษชั่งสารผสมกับสารละลายไคโตซาน 0.03 g กรดอะซีติกเขมขน1% โดยปริมาตร จํานวน 5 ml อัตราสวน 1:2 และแปงฝุน 0.5 g) มีความพึงพอใจของผูใชในระดับคะแนนเฉลี่ยรวมมากที่สุด

Page 18: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 92 -

หัวขอโครงงาน สบูจากน้ํามันเมล็ดยางพาราสายพันธุ RRIM 600 (Soap from Oil of Seeds of Hevea Rubber Clone RRIM 600)

ผูทําโครงงาน นางสาวธัญพร ตันเจริญรัตน นางสาวณฐัยา ชูสุทธิ์ และ นางสาวพัทธนันท บูรณศกัดิ์เสถียร อาจารยท่ีปรึกษา นายสรชัย แซล่ิม สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ปจจุบันกระแสความนิยมผลิตภัณฑจากธรรมชาติมีเพิ่มมากขึ้น สบูจากสารธรรมชาติก็เปนผลิตภัณฑหนึ่งที่อยูในกระแสความนิยม โครงงานนี้จึงมีการผลิตสบูจากน้ํามันที่ไดจากเนื้อเมล็ดยางพาราสายพันธุ RRIM 600 โดยทําการทดลองสกัดน้ํามัน 5 วิธีคือ วิธีสกัดดวยตัวทําละลาย วิธีบีบ วิธีตมและเคี่ยว วิธีการกลั่นดวยไอน้ํา และวิธีการสกัดน้ํามันดวยซอกหเลต พบวา วิธีตมและเคี่ยว ใหปริมาณน้ํามันมากที่สุด แตการสกัดดวยซอกหเลตใหคุณภาพน้ํามันดีที่สุด แลวนําน้ํามันที่ไดไปผลิตสบูสูตรตาง ๆ ไดทั้งหมด 13 สูตร แตละสูตรจะตางกันที่อัตราสวนของน้ํามันที่ใชผสม ปฏิกิริยาที่ใชในการทําสบูคือปฏิกิริยาซาพอนนิพิเคชัน (Saponification Reaction) เมื่อผลิตสบูขึ้น 13 สูตร จึงนําสบูทั้งหมดมาทําการทดสอบประสิทธิภาพของสบู โดยเปรียบเทียบกับสบูที่มีขายอยูในทองตลาด จํานวน 4 สูตร (คัดเลือกจากกระแสความนิยม) คือ Lux, Pearl, Parrot และ Imperial ซ่ึงทดสอบความสามารถในการอิมัลซิไฟ (Emulsify) น้ํามัน พบวาสารละลายสบูสูตรที่ 12 (น้ํามันมะกอก 100 %) และสูตรที่ 13 (น้ํามันยางพารา 100 %) สามารถทําใหน้ํามันพาราฟนแตกตัวไดดี ทดสอบความเปนกรด-เบส พบวา สบูสูตรที่ 12 (น้ํามันมะกอก 100 %) มีความเปนเบสมากที่สุด และสบูสูตรที่ 15 (Parrot) มีความเปนเบส นอยท่ีสุดคือ 11.96 และ10.15 ตามลําดับ ทดสอบปฏิกิริยากับกรดอนินทรีย (การเตรียมกรดไขมันจากสบู) พบวาสบูสูตรที่ 1, 2, 3, 5, 6, 7, 9, 11, 14, 15, 16 และ 17 มีกรดไขมันเกิดขึ้น และเมื่อนําไปเผาไฟ จะเกิดเปลวไฟขึ้น ทดสอบปฏิกิริยากับไอออนของแคลเซียม เหล็ก และแมกนีเซียม พบวาสบูสูตรที่ 2, 9 และ 16 จะไมเกิดตะกอน กับ 1% แคลเซียมคลอไรด สบูสูตรที่ 2 – 17 จะไมเกิดตะกอน กับ 1% แมกนีเซียมคลอไรด และสบูสูตรที่ 2 ไมเกิดตะกอนกับ 1% เฟอริกคลอไรด การวิเคราะหหาฟอสเฟต พบวาสบูสูตรที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 11, 12, 13, 15 และ 17 มีฟอสเฟต โดยสูตรที่ 1 มีฟอสเฟตมากที่สุด ทดสอบความพึงพอใจ ของกลุมตัวอยางนักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ จํานวน 60 คน ให

Page 19: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 93 -

ทดลองใชผลิตภัณฑ แลวตอบแบบสอบถาม โดยแบบสอบถามเปนแบบมาตราจัดอันดับ ระดับ 4 คือมีความพึงพอใจในสบูที่ผลิตขึ้นมากที่สุด ระดับ 1 คือมีความพึงพอใจในสบูนอยที่สุด โปรแกรมที่ใช วิเคราะหและประมวลผลคาความพึงพอใจ คือโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS – X 12 การสํารวจขอมูลจากแบบสอบถาม ซ่ึงสามารถแปลงขอมูลในรูปแบบพฤติกรรม ความพึงพอใจ ในดานการเกิดฟอง กล่ิน สี การขจัดคราบสิ่งสกปรก พบวาสบูสูตรที่ 13 (น้ํามันยางพารา 100 %) มีความพึงพอใจของผูใชในระดับคะแนนเฉลี่ยรวมมากที่สุดเทากับ 3.45 คือสบูที่ผลิตไดมีประสิทธิภาพและความพึงพอใจในระดับดี รองลงมาคือสูตรที่ 17 (Imperial) มีความพึงพอใจของผูใชในระดับคะแนนเฉลี่ยรวมเทากับ 3.43

Page 20: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 94 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาอัตราสวนที่เหมาะสมในการผลิตถานเชื้อเพลิงอัดแทงจากวัสดุเหลือใชของยางพารา

(The study of a suitable proportion to produce stick charcoal from the Para-Rubber’s leftover)

ผูทําโครงงาน นางสาวพรรณรัตน เกิดภาคี นางสาวภารดี กอวุฒิกุลรังสี และ นายอัคคณิต คามเกตุ อาจารยท่ีปรึกษา นายสรชยั แซล่ิม สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

เชื้อเพลิงเปนแหลงพลังงานที่สําคัญในชีวิต ในปจจุบันความตองการใชเชื้อเพลิงมากขึ้นเร่ือย ๆ ทําใหเชื้อเพลิงขาดแคลนและมีราคาสูง (อนุชิต กิจสวัสดิ์, 2543) ในการทําสวนยางพาราพบวา ไมยางพาราและเปลือกนอกของเมล็ดยางพารามีปริมาณมาก และวัสดุดังกลาวไมไดถูกนํามาใชประโยชน นอกเหนือจากปลอยใหยอยสลายเองตามธรรมชาติ งานวิจัยนี้ศึกษาอัตราสวนที่เหมาะสมในการผลิตถานอัดแทงจากไมยางพาราและเปลือกนอกของเมล็ดยางพาราที่ใหคาพลังงานเชื้อเพลิงมากที่สุด ทําการทดลองโดยนําถานจากไมยางพารามาผสมกับถานจากเปลือกนอกของเมล็ดยางพาราในอัตราสวนตางๆ กัน โดยใชตัวประสาน 2 ชนิด คือ น้ําแปงสุกกับดินเหนียวละลายน้ํา สามารถผลิตถานอัดแทงไดทั้งหมด 22 สูตร คือ ถานที่ใชน้ําแปงสุกเปนตัวประสาน (A1-A11) และถานที่ใชดินเหนียวละลายน้ําเปนตัวประสาน (B1-B11) เมื่อนําไปหาคาพลังงานความรอนดวยเครื่องบอมบแคลอรีมิเตอรพบวา ถานสูตร A1 (ไมยางพารา) และถานสูตรB11 (เปลือกนอกของเมล็ดยางพารา) มีคาพลังงานความรอนมากที่สุดและนอยที่สุด คือ 4666.66 และ 3119.12 cal/g ตามลําดับ

Page 21: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 95 -

หัวขอโครงงาน สมบัติตานปฏิกิริยาออกซิเดชันของสวนสกัดหยาบของพืชผักสวนครัว (The antioxidation properties of crude extracts from Thai-home grown-

vegetable) ผูทําโครงงาน นางสาวกันทลัส เลิศสกุลพิริยะ นางสาวดวงรัตน เจียรดิษฐอาภรณ และนางสาวลลิตา วาสุถิตย อาจารยท่ีปรึกษา นายสรชัย แซล่ิม สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

นําพืชผักสวนครัว 10 ชนิด คือ กระชาย (Boesenbergia rotunda (Linn.) Mansf.) ขมิ้น(Curcuma zedoaria Roscoe) ผักชีฝร่ัง (Eryngium fortidum Linn.) ผักชีลาว (Anethum graveolens Linn.) ขา (Camellia sinensis (L.) Kuntze) พริก (Capsicum frutescens Linn.) มะระขี้นก(Momordica charantia Linn.) ขึ้นฉาย (Apium graveolens L. var. dulce Pers. (Apium graveolens L.)) ตะไคร (Cymbopogon citrates (DC.) stapf) และขิง (Zingiber officinale Rosc.) มาแชในตัวทําละลายไดคลอโรมีเทน อะซีโตน และเมทานอล ตามลําดับ เมื่อระเหยตัวทําละลายออกไปจะไดสวนสกัดหยาบ 30 ชนิด จากนั้นนําสวนสกัดหยาบทั้งหมดไปทดสอบฤทธิ์ตานปฏิกิริยาออกซิเดชัน โดยการดักจับอนุมูลอิสระของ 2, 2-Diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) radical และใช สารตานอนุมูลอิสระมาตรฐาน BHT (Butylhydroxytoluene) เปนตัวเปรียบเทียบ พบวาสวนสกัดหยาบไดคลอโรมีเทนของขมิ้น (IC50 = 46.874 mg/mL) และสวนสกัดหยาบอะซิโตนของมะระขี้นก (IC50 = 846.761 mg/mL) แสดงฤทธิ์ตานปฏิกิริยาออกซิเดชันไดดีที่สุดและนอยที่สุด ตามลําดับ

Page 22: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 96 -

หัวขอโครงงาน การหาปริมาณวิตามนิ C ในผลิตภณัฑสาหรายบรรจุหอ โดยวธีิ Small scale และวิธีไทเทรตโดยตรง (Direct Titration) (Determination of the Ascorbic acid in Alage- manufactured Products by

Method of Small Scale and Direct Titrations) ผูทําโครงงาน นางสาวภารวณิี ตั้งนันทนาการ นายจติริณ มาแตง และ นายสุขสันต เยาวพฤกษชัย อาจารยท่ีปรึกษา นายสรชยั แซล่ิม สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

สาหรายแผนอบแหงเปนอาหารที่ไดรับความนิยมนํามารับประทาน สารอาหารที่อยูในสาหรายแผนอบแหงจะประกอบดวย โปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมัน เกลือแรและวิตามิน วิตามินที่มีมากในสาหราย คือ วิตามินซีซ่ึงเปนสารที่ชวยปองกันโรคลักปดลักเปด, หวัด, ทําใหเสนเลือดฝอยแข็งแรงทั้งยังเปนสารตานอนุมูลอิสระที่ดี ผลิตภัณฑสาหรายแผนอบแหงที่มีจําหนายในทองตลาดยังไมมีการระบุปริมาณของวิตามินซี จุดประสงคของงานวิจัยนี้คือหาปริมาณวิตามินซี ในสาหรายตัวอยาง และเปรียบเทียบปริมาณวิตามินซีที่ใชวิธีการไทเทรตแบบ Small Scales และ Direct Titration โดยทําการเก็บตัวอยางสาหรายที่ขายในทองตลาด จํานวน 12 ชนิด คือ สาหรายตัวอยางที่ 1-12 วิธีการเตรียมตัวอยางสําหรับการหาปริมาณวิตามินซี คือนําสาหรายตัวอยาง 10 กรัม มาสกัดดวยน้ํา 700 ml ทําการปนดวยเครื่องปนจนสารตัวอยางละเอียด นํามากรอง แลวใชปเปตดูดสารละลายมา 10 ml เจือจางดวยน้ํา 200 ml และนํามาทําปฏิกิริยากับสารละลาย HCl สารละลาย KI สารละลาย KIO3และใชน้ําแปงเปนอินดิเคเตอร พบวา เมื่อหาปริมาณวิตามินซีโดยใชวิธี Small Scales สาหรายตัวอยางที่ 9 และ 5 มีปริมาณวิตามินซีสูงสุดและนอยที่สุด คือ 0.064 และ 0.023 mg/g ตามลําดับ และเมื่อใชวิธี Direct Titration พบวาสาหรายตัวอยางที่ 9 และ 5 มีปริมาณวิตามินซีสูงสุดและนอยที่สุด คือ 0.056 และ 0.027 mg/g ตามลําดับ ปริมาณวิตามินซีที่หาโดยวิธี Small Scales และ Direct Titration พบวาไมมีความแตกตางทางนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05

Page 23: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 97 -

หัวขอโครงงาน สมบัติการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรากอโรคในพริก 3 สายพันธุ คือ Alternaria sp., Collectotrichum sp. และ Colletotrichunt capsicของสวนสกัด หยาบจากกระเทียม (Allium sativum Linn.) (The Antifungal Properties in Chili Fungle Pathogens (Alternaria sp., Collectotrichum sp. and Colletotrichunt capsic) of Crude Extracts from Allium sativum Linn. )

ผูทําโครงงาน นางสาว ธนัมพร ฉันทพรม, นางสาว ปภัสรา วรรณทอง และ นางสาว ปาริฉัตร วงศเทววิมาน

อาจารยท่ีปรึกษา นายวัลลภ คงนะ ดร. จีรพนัธ วรพงษ และ น.ส. มนตฤดี ศรีไทรทรัพย สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในการศึกษาสารสกัดจากกระเทียมโดยใชตัวทําละลายที่แตกตางกันสามชนิด คือ น้ํากลั่น อะซีโตน และ เมทานอล แลวนําไปทดสอบการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรากอโรคในพริก 3 สายพันธุ คือ Alternaria sp., Colletotrichum sp. และ Colletotrichum capsici พบวาสารสกัดจากตัวทําละลายทั้งสามชนิดสามรถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราทั้งสามชนิดไดและสารสกัดจากตัวทําละลายอะซีโตนมีผลยับยั้งมากที่สุด รองลงมาคือ สารสกัดจากตัวทําละลายเมทานอล และน้ํากลั่นตามลําดับ ผลการทดลองดังกลาวเปนขอมูลที่จะนําไปสูการประยุกตใชสารสกัดจากกระเทียมจากตัวทําละลายทั้งสามชนิดเพื่อการกําจัดเชื้อรากอโรคในพริกโดยไมมีพิษตกคางเปนอันตรายตอผูบริโภคและสิ่งแวดลอมและงายตอการเตรียม

Page 24: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 98 -

หัวขอโครงงาน การศึกษาความเขมขนของสารละลายไฮโดรเจนเปอรออกไซดที่สงผลตอ

ระยะเวลาการคืนกลับของสีของกระดาษสา (The Effect of Hydrogen Peroxide on the Change of the Color of Saa-Paper)

ผูทําโครงงาน นางสาวพณิประภัสร พาปาน นายเตชินท เอี่ยมฤกษศิริ และ นายเวชพิสิฐ วงศวิวัฒนานนท อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสุภาวดี ศรีทาหาญ สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานสุรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

ในปจจุบันตางประเทศมีการกีดกันการนําเขาผลิตภัณฑกระดาษสา จากประเทศไทย เนื่องจากการใชสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรตซ่ึงเปนสารอันตรายในการฟอกขาว ผูผลิตจึงไดเปลี่ยนมาใชสารละลายไฮโดรเจนเปอรออกไซดที่ไมเปนอันตรายแตขจัดสารลิกนินในเยื่อปอสาไดนอยกวาแทน ซ่ึงลิกนินจะสงผลใหกระดาษสามีการคืนกลับสีเดิมหลังจากที่ฟอกสี ทําใหกระดาษสาเกิดมีสีเหลืองขึ้นเมื่อเวลาผานไป จึงไดมีการศึกษาผลของความเขมขนของสารละลายไฮโดรเจนเปอรออกไซดที่เหมาะสมที่สุด ที่จะทําใหกระดาษสาคงสภาพสีขาวอยูไดเปนเวลานาน การทดลองทําโดยผลิตกระดาษสาที่ผานการฟอกขาวดวยสารละลายไฮโดรเจนเปอรออกไซดทีมีความเขมขน 1 2 3 4 และ 5% จากนั้นเก็บบันทึกภาพทุก 2 สัปดาหเปนระยะเวลาประมาณ 3 เดือน เพื่อทําการหาคาเม็ดสีในภาพโดยใชโปรแกรม Photoshop CS2 นอกจากนี้ยังทําการหาปริมาณลิกนินทั้งกอนและหลังฟอกโดยอาศัยการทําปฏิกิริยาระหวางลิกนินกับ KMnO4 แลวนํามาไทเทรตดวย Na2S2O3 และรายงานคาปริมาณลิกนินโดยการคํานวณเลขแคปปา ผลการทดลองพบวาเยื่อกระดาษสาที่ฟอกสีดวยสารละลายไฮโดรเจนเปอรออกไซดที่มีความเขมขน 4% มีประสิทธิภาพในการขจัดลิกนินไดมากกวาคาความเขมนขนอื่นๆ ซ่ึงสงผลใหกระดาษสาคงสภาพสีขาวหลังจากการฟอกสีอยูไดนานที่สุด โดยใหอัตราการเปลี่ยนแปลงของเม็ดสีตอเดือนเทากับ 0.81 และคาเลขแคปปาเทากับ 0.54

Page 25: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 99 -

หัวขอโครงงาน การสังเคราะหอนภุาคทองคําระดับนาโนเมตร (Synthesis of Gold Nano Particles) ผูทําโครงงาน นาย ปวัฒน ไพโรจนพงศพนัธ และ นาย คณวัฒน จันทรลาวัณย อาจารยท่ีปรึกษา ดร.โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ และ นางสาว ศศินี อังกานนท สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวทิยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

อนุภาคของทองคําขนาดนาโนเมตรเปนอนุภาคโลหะที่มีความเสถียรมากที่สุดชนิดหนึ่งและสามารถแสดงสมบัติเชิงแสงและเชิงไฟฟาไดเปนอยางดี จึงถูกนําไปประยุกตใชในงานตางๆไดมากมาย เชน ตัวตรวจวัดทางชีวภาพ (biosensor) ในโครงงานนี้ศึกษาหาวิธีสังเคราะหอนุภาคทองคําขนาดนาโนเมตรในน้ําและตัวทําละลายอินทรีย และศึกษาหาสภาวการณสังเคราะหที่แตกตางกันและมีความเหมาะสมตอการสังเคราะห ไดแก ปริมาณของสารละลายทอง ปริมาณของสารชวยทําใหเสถียร และปริมาณของตัวรีดิวซ จากการทดลองพบวาอนุภาคทองคําในตัวทําละลายอินทรีย จะมีความเหมาะสมในการนําไปประยุกตใชในการทดลองอื่นๆมากกวาอนุภาคทองคําในตัวทําละลายน้ํา เนื่องจากมีขนาดอนุภาคราว 8-10 นาโนเมตรและมีการกระจายตัวของขนาดอนภุาคต่ํา ทําใหการแสดงคุณสมบัติของทองคําสามารถเปนไปไดมากกวา และการเกิดปฏิกิริยาทําไดงายกวา สําหรับสภาวะที่เหมาสมในการเก็บรักษาคือสภาวะที่แดดสองไมถึง เพื่อลดผลกระทบที่จะมีตอการกระจายตัวของอนุภาคของทองคํา

Page 26: าโครงงานmwitpro/form/abstract_thai_mwit14... · 2007-02-06 · โครงงานเรื่องธูปอโรมาจากกากใบชาเข

สาขาเคมี (Mwit’14) - 100 -

หัวขอโครงงาน ผลของสวนสกัดหยาบจากใบโพทะเลในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus และ Streptococcus pyogenes

(Effects of Crude Extracts from Thespesia populnea (Linn.) Soland. ex Correa to Staphylococcus aureus and Streptococcus pyogenes)

ผูทําโครงงาน นายจิรวัฒน ธเนศธาดา อาจารยท่ีปรึกษา นายสรชยั แซล่ิม นางสาวสุภาวดี ศรีทาหาญ นางสาวอรวรรณ ปยะบุญ และ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิทักษ สันตนิรันดร สาขาวิชา เคมี โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

โพทะเล (Thespesia populnea (Linn) Soland ex. Correa) เปนพืชสมุนไพรโบราณ จากรายงานการวิจัยของ Nagappa A.N. (2543) พบวา ผลโพทะเล (Thespesia populnea (Linn.) Soland. ex Correa) มีสวนชวยใหแผลหายเร็วขึ้น 79.17 % ใน 8 วัน และชวยในการลดขนาดแผลเปนลง 32.81 % สวนในใบโพทะเลยังไมมีรายงานการวิจัย ดังนั้น จึงไดทําการศึกษาถึงสมบัติการยับยั้งแบคทีเรียกอโรคที่ผิวหนัง คือ Staphylococcus aureus และ Streptococcus pyogenes ของสวนสกัดหยาบจากใบโพทะเล (Thespesia populnea (Linn.) Soland. ex Correa) ซ่ึงทําการทดลองโดยนําใบโพทะเล 300 กรัม มาแชในตัวทําละลาย เฮกเซน อะซิโทน เมทานอล เอทานอล และน้ํา ตามลําดับ เมื่อนําไประเหยแหง เอาตัวทําละลายออกจะไดสวนสกัดหยาบของเฮกเซน (6.22 g) สวนสกัดหยาบของอะซิโทน (12.84 g) สวนสกัดหยาบของเมทานอล (11.24 g) สวนสกัดหยาบของเอทานอล (10.91 g) และสวนสกัดหยาบของน้ํา (35.84 g) ตามลําดับ นําสวนสกัดหยาบของใบโพทะเลทั้ง 5 สวน มาทดสอบสมบัติการยับยั้งแบคทีเรียที่กอโรคบริเวณผิวหนังคือ Staphylococcus aureus และ Streptococcus pyogenes โดยใชวิธี Broth dilution susceptibility test (2-fold dilution) พบวา สวนสกัดหยาบอะซิโทนสามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียทั้งสองชนิดไดดีที่สุดโดยมีคา Minimum Inhibitory Concentration (MIC) และคา Minimum Bactericidal Concentration (MBC) มีคาเทากับ 3.2 และ 6.4 mg/ml ตามลําดับ