eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/57/แร่หินส.ค.57.pdf ·...

105
บริษัท ทรัพย์กองทอง จํากัด หมู่ที 2 ตําบลสามแยก อําเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ของ โครงการเหมืองแร่หินอุตสาหกรรมชนิดหินปูน เพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง ประทานบัตรที่ 25614/15668 รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบ สิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม รายงานผลและแผนการดําเนินงานด้านการฟื ้ นฟูพื ้ นที่ทําเหมือง บริษัท ไมน์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จํากัด 124/37 หมู่ที 1 ตําบลบ้านกลาง อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ : 02-9756653, 02-9796701, 083-5459195 โทรสาร : 02-9756653 จัดทําโดย สิงหาคม 2557

Upload: others

Post on 10-Feb-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • บริษทั ทรพัยก์องทอง จํากดั

    หมู่ที่ 2 ตําบลสามแยก อําเภอวิเชียรบุรี จงัหวดัเพชรบูรณ ์ ของ

    โครงการเหมืองแร่หินอุตสาหกรรมชนิดหินปูน

    เพือ่อุตสาหกรรมก่อสรา้ง

    ประทานบตัรที่ 25614/15668

    รายงานผลการปฏิบติัตามมาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบ

    สิง่แวดลอ้มและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่แวดลอ้ม

    รายงานผลและแผนการดําเนินงานดา้นการฟ้ืนฟูพื้ นที่ทําเหมือง

    บริษทั ไมน ์เอ็นจิเนียร่ิง คอนซลัแตนท ์จํากดั

    124/37 หมู่ท่ี 1 ตําบลบา้นกลาง อําเภอเมือง จงัหวดัปทุมธานี 12000

    โทรศพัท ์: 02-9756653, 02-9796701, 083-5459195 โทรสาร : 02-9756653

    จัดทาํโดย

    สิงหาคม 2557

  • โครงการเหมืองแร่หินอุตสาหกรรมชนิดหินปูน เพ่ืออุตสาหกรรมก่อสร้าง

    ประทานบัตรที่ 25614/15668

    บริษัท ทรัพย์กองทอง จาํกดั

    หมู่ที่ 2 ตาํบลสามแยก อาํเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์

    จัดทาํโดย

    บริษัท ไมน์ เอน็จิเนียร่ิง คอนซัลแตนท ์จาํกดั

    สงิหาคม 2557

    รายงานผลการปฏบัิติตามมาตรการป้องกนัและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม

    มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

  • สารบญั

    หน้า

    เอกสารแนบ II

    สารบญัรปู II

    สารบญัตาราง II

    บทท่ี 1 บทนํา

    1.1 ความเป็นมาของการจดัทาํรายงาน 1-1

    1.2 รายละเอยีดของโครงการโดยสงัเขป 1-1

    1.2.1 รายละเอยีดโครงการ 1-1

    1.2.2 ทีต่ัง้และลกัษณะภมูปิระเทศพืน้ทีโ่ครงการ 1-3

    1.2.3 เสน้ทางคมนาคมขนสง่ 1-3

    1.2.4 พืน้ทีแ่ละลกัษณะการใชป้ระโยชน์ทีด่นิ 1-3

    1.2.5 กจิกรรมของโครงการ 1-3

    1.3 การดาํเนินงานทางดา้นสิง่แวดลอ้ม 1-6

    1.3.1 การดาํเนินการตามมาตรการป้องกนัแกไ้ขและลดผลกระทบสิง่แวดลอ้ม 1-6

    1.3.2 การตดิตามตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้ม 1-6

    บทท่ี 2 มาตรการป้องกนั และแก้ไขผลกระทบส่ิงแวดล้อม

    และมาตรการติดตามตรวจสอบคณุภาพส่ิงแวดล้อม

    2.1 มาตรการป้องกนัและแกไ้ขและลดผลกระทบสิง่แวดลอ้ม 2-1

    2.2 มาตรการตดิตามตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้ม 2-10

    2.3 สรปุผลการตดิตามตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้ม 2-13

    2.3.1 คณุภาพอากาศ 2-15

    2.3.2 ระดบัเสยีง 2-16

    2.3.3 คา่ความสัน่สะเทอืนจากการใชว้ตัถุระเบดิ 2-17

    2.3.4 คณุภาพน้ํา 2-19

    บทท่ี 3 สรปุ มาตรการป้องกนั แก้ไข และลดผลกระทบทางด้านส่ิงแวดล้อม การติดตามตรวจสอบคณุภาพส่ิงแวดล้อมและข้อเสนอแนะ

    3.1 สรปุมาตรการป้องกนัแกไ้ขและลดผลกระทบสิง่แวดลอ้ม 3-1

    3.2 สรปุผลการตดิตามตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้ม 3-1

    3.2.1 คณุภาพอากาศ 3-1

    3.2.2 ระดบัเสยีง 3-2

    3.2.3 คา่ความสัน่สะเทอืนจากการใชว้ตัถุระเบดิ 3-4

    3.2.4 คณุภาพน้ํา 3-4

    3.3 ขอ้เสนอแนะ 3-5

    I

  • เอกสารแนบ

    เอกสารแนบ 1 เงือ่นไขมาตรการดา้นสิง่แวดลอ้มแนบทา้ยประทานบตัร

    เอกสารแนบ 2 สาํเนาประทานบตัร

    เอกสารแนบ 3 รายงานผลและแผนการดาํเนนิงานดา้นการฟ้ืนฟูพืน้ทีท่าํเหมอืง

    เอกสารแนบ 4 หนงัสอืรบัรองผลการตรวจวเิคราะหท์างหอ้งปฏบิตักิาร

    เอกสารแนบ 5 เอกสารสอบเทยีบเครือ่งมอื

    เอกสารแนบ 6 เอกสารอนุญาตขึน้ทะเบยีนหอ้งปฏบิตักิารวเิคราะห ์

    สารบญัรปู

    รปูท่ี หน้า

    1-1 แสดงจุดทีต่ ัง้โครงการ (ประทานบตัรที ่25614/15668) 1-2

    1-2 การใชป้ระโยชน์ทีด่นิบรเิวณพืน้ทีโ่ครงการและบรเิวณโดยรอบโครงการ 1-4

    1-3 เสน้ทางคมนาคมขนสง่แรข่องโครงการ 1-5

    2-1 แสดงตาํแหน่งสถานีตรวจวดัคณุภาพสิง่แวดลอ้ม 2-14

    3-1 กราฟผลการตรวจวดัคณุภาพอากาศในรปูปรมิาณฝุน่ละออง (TSP) เปรยีบเทยีบกบัคา่มาตรฐาน 3-2

    3-2 กราฟผลการตรวจวดัระดบัเสยีงเฉลีย่ (Leq) เปรยีบเทยีบกบัคา่มาตรฐาน 3-3

    3-3 กราฟผลการตรวจวดัระดบัเสยีงสงูสดุ (Lmax) เปรยีบเทยีบกบัคา่มาตรฐาน 3-3

    สารบญัตาราง

    ตารางท่ี หน้า

    1-1 แผนการตรวจวดัคณุภาพสิง่แวดลอ้ม 1-6

    2-1 มาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบสิง่แวดลอ้มตามทีเ่สนอไวใ้นรายงาน 2-1

    2-2 มาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบสิง่แวดลอ้มตามขอ้กาํหนดของ สผ. 2-8

    2-3 มาตรการตดิตามตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้ม 2-11

    2-4 ผลการตรวจวดัคณุภาพอากาศในรปูฝุน่ละออง (TSP) ระหว่างวนัที ่28-29 มนีาคม 2557 2-15

    2-5 ผลการตรวจวดัระดบัเสยีงระหว่างวนัที ่28-29 มนีาคม 2557 2-17

    2-6 ผลการตรวจวดัความสัน่สะเทอืนขณะระเบดิหน้าเหมอืง 2-18

    2-7 มาตรฐานควบคมุระดบัแรงสัน่สะเทอืนจากการทาํเหมอืงหนิ 2-19

    2-8 แสดงผลดชันแีละวธิกีารตรวจวดั 2-19

    2-9 แสดงผลการวเิคราะหค์ณุภาพน้ําหว้ยแกง่หนิป ู 2-20

    3-1 สรปุผลการตรวจวดัคณุภาพอากาศในรปูฝุน่ละออง (TSP) 3-2

    3-2 สรปุผลการเปรยีบเทยีบการตรวจวดัระดบัความดงัของเสยีง 3-3

    3-3 สรปุผลการตรวจวดัความสัน่สะเทอืนขณะระเบดิหน้าเหมอืง 3-4

    3-4 สรปุผลการวเิคราะหค์ณุภาพน้ํา 3-5

    II

  • บทที ่1 บทนาํ

  • บทท่ี บทนํา

    1.1 ความเป็นมาของการจดัทาํรายงาน

    สบืเนื่องจากผลการพจิารณารายงานการวเิคราะหผ์ลกระทบสิง่แวดลอ้มดา้นโครงการเหมอืงแร ่ ในการ

    ประชมุครัง้ที ่ 9/2544 วนัที ่ 18 พฤษภาคม 2544 ทีป่ระชมุมมีตเิหน็ชอบกบัการพจิารณารายงานการวเิคราะห์

    ผลกระทบสิง่แวดลอ้ม โครงการเหมอืงแรห่นิอตุสาหกรรมชนิดหนิปนู เพือ่อตุสาหกรรมกอ่สรา้ง ของบรษิทั ทรพัย์

    กองทอง จาํกดั คาํขอประทานบตัรที ่ 15อ/2540 (ปัจจบุนัได้รบัอนุญาตประทานบตัรเลขท่ี 25614/15668) ใน

    เขตปกครองตาํบลสามแยก อาํเภอวเิชยีรบุร ี จงัหวดัเพชรบรูณ์ (รปูท่ี 1-1) สาํนกังานนโยบายและแผน

    ทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดลอ้ม (เดมิ คอื สาํนกังานนโยบายและแผนสิง่แวดลอ้ม : สผ.) แจง้ผลการพจิารณา

    รายงานการวเิคราะหผ์ลกระทบสิง่แวดลอ้มของโครงการดงักล่าว และโครงการจะตอ้งปฏบิตัติามเงือ่นไขมาตรการ

    ป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบสิง่แวดลอ้ม และมาตรการตดิตามตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้ม ตามหนงัสอื

    วว 0804/6728 ลงวนัที ่15 มถุินายน 2544 (เอกสารแนบ 1)

    ดงันัน้ทางบรษิทั ทรพัยก์องทอง จาํกดั จงึไดม้อบหมายให ้ บรษิทั ไมน์ เอน็จเินียริง่ คอนซลัแตนท ์

    จาํกดั จดัทาํรายงานผลการปฏบิตัติามมาตรการป้องกนัและแกไ้ขลดผลกระทบสิง่แวดลอ้ม และมาตรการตดิตาม

    ตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้ม

    1.2 รายละเอียดของโครงการโดยสงัเขป

    1.2.1 รายละเอียดโครงการ

    1. ชือ่โครงการ โครงการเหมอืงแรห่นิอตุสาหกรรมชนิดหนิปนูเพือ่อตุสาหกรรมกอ่สรา้ง ประทานบตัรที ่25614/15668

    2. เจา้ของโครงการ บรษิทั ทรพัยก์องทอง จาํกดั โทรศพัท ์056 -718326

    3. สถานทีต่ัง้โครงการ 99 หมูท่ี ่2 ตาํบลสามแยก อาํเภอวเิชยีรบรุ ีจงัหวดัเพชรบรูณ์

    4. ขนาดทีต่ัง้โครงการ 90-0-25 ไร ่5. โครงการผา่นการพจิารณาของคณะกรรมการผูช้าํนาญการเมือ่วนัที ่18 พฤษภาคม 2544 6. โครงการไดร้บัอนุญาตประทานบตัรเมือ่วนัที ่24 ธนัวาคม 2547 โดยมอีายปุระทานบตัรถงึ วนัที ่23 ธนัวาคม 2557 ตามประทานบตัรที ่25614/15668 (เอกสารแนบ 2)

    1-1

  • 1-2

    รปูท่ี 1-1 แสดงจุดทีต่ ัง้พืน้ทีโ่ครงการ (ประทานบตัรที ่25614/15668)

    สญัลกัษณ์:

    ทีม่า : กรมแผนทีท่หาร (2512)

    พืน้ทีโ่ครงการ

    ประทานบตัรใกลเ้คยีง

    N

    กม. 0 0.5 1.0 2.0 1.5

    สภาพภมูปิระเทศบรเิวณพืน้ทีโ่ครงการ

    N

    กม. 0 0.5 1.0 2.0 1.5

    21 22

    37

    38

    1739

    40

    41

    42

    43

    17 18 19 20 21 22

    บ้านถํา้แก้วกายสิทธ์ิ

    44

    45

    46

    47 716

    จ.เพชรบูรณ์

    ท่ีตัง้พ้ืนท่ีโครงการ

    พืน้ทีโ่รงโมห่นิของโครงการ

  • 1.2.2 ท่ีตัง้และลกัษณะภมิูประเทศพืน้ท่ีโครงการ

    พืน้ทีโ่ครงการปรากฏตามแผนทีภ่มูปิระเทศของกรมแผนทีท่หาร มาตราสว่น 1:50,000 ลาํดบัชดุ

    L 7017 ระวาง 5240 ΙΙΙ อยูร่ะหว่างเสน้กรดิแนวตัง้ที ่ 717-719 ตะวนัออก และเสน้กรดิแนวนอนที ่ 1739-1741

    เหนือ ดงัรปูท่ี 1-1 มลีกัษณะภมูปิระเทศเป็นภเูขาทีร่ะดบัความสงูประมาณ 130-200 เมตร(ม.) (รทก.) ในปจัจุบนั

    พืน้ทีป่ระทานบตัรกาํลงัพฒันาหน้าเหมอืงใหม้ลีกัษณะเป็นขัน้บนัได โดยทาํเหมอืงบรเิวณทีต่่อเนื่องจากพืน้ทีท่ีผ่า่น

    การระเบดิและยอ่ยหนิตามประมวลกฎหมายทีด่นิมาตรา 9 ดงัรปูท่ี 1-2

    1.2.3 เส้นทางคมนาคมขนส่ง

    เสน้ทางเขา้สูพ่ ืน้ทีโ่ครงการ โดยทางรถยนตจ์ากจงัหวดัสระบุรไีปตามทางหลวงแผน่ดนิหมายเลข 1

    (กรงุเทพฯ-ลพบุร)ี ถงึสามแยกบา้นพแุค จากนัน้เดนิทางไปตามทางหลวงแผน่ดนิหมายเลข 21 (สามแยกพแุค-

    เพชรบรูณ์) ถงึสามแยกวเิชยีรบุร ี และตรงไปประมาณ 15 กโิลเมตร (กม.) ถงึบรเิวณบา้นซบัเกษตร จากนัน้

    เลีย้วขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 21 (สายเกา่) เป็นระยะทางประมาณ 5 กโิลเมตร จะถงึทางเขา้โรงโมห่นิทรพัย์

    กองทองแลว้เลีย้วขวาเขา้ไปตามถนนลกูรงัประมาณ 1.5 กม. จะถงึพืน้ทีโ่รงโมห่นิและพืน้ทีป่ระทานบตัรของ

    บรษิทั ทรพัยก์องทอง จาํกดั (รปูท่ี 1-3)

    1.2.4 พืน้ท่ีและลกัษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน

    1. การใชป้ระโยชน์ทีด่นิบรเิวณพืน้ทีโ่ครงการในปจัจุบนั สว่นใหญ่เป็นพืน้ทีท่าํเหมอืง พืน้ทีท่ ัง้หมด 90-0-25 ไร ่ ถกูใชป้ระโยชน์เพือ่กจิกรรมในการทาํเหมอืงพฒันาหน้าเหมอืงใหม้ลีกัษณะเป็นขัน้บนัไดมคีวามกวา้ง

    และสงู ไมน้่อยกว่า 10 ม. ดงัรปูท่ี 1-2

    2. การใชป้ระโยชน์ทีด่นิโดยรอบพืน้ทีโ่ครงการ ทศิเหนือ ตดิกบั พืน้ทีป่า่ไมแ้ละภเูขา

    ทศิใต ้ ตดิกบั พืน้ทีป่า่ไมแ้ละภเูขา

    ทศิตะวนัตก ตดิกบั พืน้ทีป่า่ไมแ้ละภเูขา

    ทศิตะวนัออก ตดิกบั พืน้ทีป่า่ไม ้ และถดัออกไปประมาณ 0.2 กม. เป็นพืน้ทีโ่รงโมห่นิ

    และสาํนกังานของโครงการ

    1.2.5 กิจกรรมของโครงการ

    1. การทาํเหมอืง การทาํเหมอืงของโครงการเป็นการทาํเหมอืงหาบบรเิวณภเูขา โดยใชร้ถ Bulldozer ในการพฒันา

    หน้าเหมอืงเปิดเปลอืกดนิ ในพืน้ทีต่่อเนื่องจากพืน้ทีท่าํเหมอืงเดมิตามประมวลกฎหมายทีด่นิมาตรา 9 สาํหรบัการ

    นําแรอ่อกจากแหล่งจะใชเ้ครือ่งเจาะตนีตะขาบชว่ยในการเจาะรวูตัถุระเบดิใช ้ AN-FO รว่มกบั Dynamite หรอื

    Emulsion เป็นตวัจุดระเบดิ

    2. การแต่งแร ่หนิกอ้นทีไ่ดจ้ากการระเบดิออกจากแหล่งจะถกูลาํเลยีงดว้ยรถบรรทกุเททา้ยสูโ่รงโมห่นิ ซึง่ตัง้อยู่

    นอกเขตประทานบตัรไปทางดา้นทศิตะวนัอออกหา่งจากพืน้ทีป่ระทานบตัรเป็นระยะทางประมาณ 0.2 กม.โดยเขา้

    ขบวนการโมห่นิใหไ้ดข้นาดหนิตามความตอ้งการ

    1-3

  • 1-4

    รปูท่ี 1-2 การใชป้ระโยชน์ทีด่นิบรเิวณพืน้ทีโ่ครงการและบรเิวณโดยรอบโครงการ

    สญัลกัษณ์ :

    พืน้ทีโ่ครงการ

    บ้านแก่งหินปนู ป่าไม้

    ป่าไม้

    ป่าไม้

    นาข้าว

    นาข้าว

    พื้นท่ีโครงการ

    โรงโม่หินของโครงการ

    สาํนักงานของโครงการ

    ทางหลวงหมายเลข 21(สายเก่า) ชุมชนบ้านแก่งหินปนู

    สาํนักงานโครงการ โรงโม่หินของโครงการ หน้าเหมืองปัจจบุนั

    ทางเข้าพื้นท่ีโครงการ

    28/04/2014

    28/04/2014 28/04/2014

    28/04/2014 28/03/2014

    28/03/2014

  • 1-5

    รปูท่ี 1-3 เสน้ทางคมนาคมขนสง่แรข่องโครงการ

    N

    กม. 0 10 20 30

    สญัลกัษณ์ :

    ทีต่ ัง้พืน้ทีโ่ครงการ

    ทศิทางการขนส่ง

    ทีม่า : สมาคมทางหลวงแหง่ประเทศไทย (2548)

    ทีต่ัง้พืน้ทีโ่ครงการ

  • 1.3. การดําเนินงานทางด้านส่ิงแวดล้อม

    มาตรการดา้นสิง่แวดลอ้มตามเงือ่นไขมาตรการป้องกนั และแกไ้ขผลกระทบสิง่แวดลอ้ม และมาตรการ

    ตดิตามตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้มโครงการ เหมอืงแรห่นิอตุสาหกรรมชนิดหนิปนู เพือ่อตุสาหกรรมกอ่สรา้ง

    ของ บรษิทั ทรพัยก์องทอง จาํกดั ประทานบตัรที ่25614/15668 ตามหนงัสอื วว 0808/6728 ลงวนัที ่15 มถุินายน

    2544 (เอกสารแนบ 2) สรปุรายละเอยีดไดด้งัต่อไปนี้

    1.3.1. การดาํเนินการตามมาตรการป้องกนัแก้ไขและลดผลกระทบส่ิงแวดล้อม

    ทางโครงการได้มอบหมายให้ บรษิัท ไมน์ เอน็จิเนียริง่ คอนซลัแตนท์ จํากดั เป็นผู้ตรวจสอบ และ

    รวบรวมขอ้มลู 2 6ผลก2 6ารปฏบิตัติามมาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบสิง่แวดล้อม ตามเงือ่นไขแนบทา้ยประทาน

    บัตรที่กําหนด ไว้ดังเอกสารแนบ 1 เพื่อนําเสนอต่อสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ

    สิง่แวดลอ้ม และกรมอตุสาหกรรมพืน้ฐานและการเหมอืงแร ่

    1.3.2. การติดตามตรวจสอบคณุภาพส่ิงแวดล้อม

    ทางโครงการไดม้อบหมายให ้ บรษิทั ไมน์ เอน็จเินียริง่ คอนซลัแตนท ์ จาํกดั ดาํเนินการตดิตาม

    ตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้ม พรอ้มทัง้เปรยีบเทยีบกบัคา่มาตรฐานทีก่าํหนด เพือ่นําเสนอต่อสาํนกังานนโยบาย

    และแผนทรพัยากร ธรรมชาตแิละสิง่แวดลอ้ม และกรมอตุสาหกรรมพืน้ฐานและการเหมอืงแร ่ สาํหรบัแผนการ

    ตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้มแสดงไดด้งัตารางท่ี 1-1

    ตารางท่ี 1-1 แผนการตรวจวดัคณุภาพสิง่แวดลอ้ม

    ดชันีตรวจวดั สถานีตรวจวดั ระยะเวลาตรวจวดั

    1. คณุภาพอากาศ (TSP) 1.บรเิวณสาํนกังานของโครงการ 2. ชมุชนบา้นแกง่หนิปนู

    3. บา้นนครนายก

    4. บา้นเขม็ทอง

    ทกุๆ 6 เดอืน

    2. คณุระดบัเสยีง 1.บรเิวณสาํนกังานของโครงการ 2. ชมุชนบา้นแกง่หนิปนู

    3. บา้นนครนายก

    4. บา้นเขม็ทอง

    ทกุๆ 6 เดอืน

    3. ตรวจวดัแรงสัน่สะเทอืน 1.. สาํนกัสงฆถ์ํ้าแกว้กายสทิธ ์ ทกุๆ 6 เดอืน 4. ตรวจวเิคราะหค์ณุภาพน้ํา 1. หว้ยแกง่หนิปนู ทกุๆ 6 เดอืน

    ทีม่า : ผลการพจิารณารายงานประเมนิผลกระทบสิง่แวดลอ้ม ตามหนงัสอื วว 0808/6728 ลงวนัที ่15 มถุินายน 2544

    1-6

  • บทที ่2

    มาตรการป้องกนั และแก้ไขผลกระทบ

    ส่ิงแวดล้อม และมาตรการติดตาม

    ตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดล้อม

  • บทที่ มาตรการป้องกนั และแก้ไขผลกระทบส่ิงแวดล้อม และมาตรการติดตาม

    ตรวจสอบคณุภาพส่ิงแวดล้อม

    2.1 มาตรการป้องกนัและแก้ไขและลดผลกระทบส่ิงแวดล้อม

    ผลการดาํเนินการตามมาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบสิง่แวดลอ้มโครงการเหมอืงแรห่นิอตุสาหกรรม

    ชนิดหนิปนูเพือ่อุตสาหกรรมก่อสรา้ง ประทานบตัรที ่ 25614/15668 ของบรษิทั ทรพัยก์องทอง จาํกดั ตัง้อยู่ทีต่าํบล

    สามแยก อาํเภอวเิชยีรบุร ี จงัหวดัเพชรบรูณ์ ตามทีเ่สนอไวใ้นรายงานการวเิคราะหผ์ลกระทบสิง่แวดลอ้ม และที่

    กาํหนดเพิม่เตมิโดยสาํนกังานนโยบายและแผนทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดลอ้ม สรปุไดด้งัตารางท่ี 2-1 และ

    ตารางท่ี 2-2 ตามลาํดบั

    ตารางท่ี 2-1 มาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบสิง่แวดลอ้มตามทีเ่สนอไวใ้นรายงาน

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนวทางแก้ไข ไม่มี

    ระยะเตรียมการทาํเหมือง

    1. ทรพัยากรส่ิงแวดล้อมด้านกายภาพ 1.1 ลกัษณะภมิูประเทศ (1) กาํหนดตําแหน่งและขอบเขตพืน้ที่

    ประกอบกจิกรรมทีเ่กีย่วขอ้งกบัการ

    ทาํเหมอืงตามแผนผงัโครงการให้

    ชดัเจน

    - กําหนดตําแหน่งและขอบเขตพื้นที่ทําเหมืองอย่างเด่นชดั โดยปฏิบตัิตาม

    แผนผงัโครงการทีแ่นบทา้ยประทานบตัร

    (2) ปรบัปรุงสภาพเสน้ทางขนส่งแรช่ว่งทีเ่ป็นถนนลกูรงัใหม้คีวามพรอ้ม

    และเหมาะสมต่อการใชง้าน

    - ปรบัปรุงถนนลกูรงัทางเขา้พื้นทีโ่ครงการให้มสีภาพเป็นถนนบดอดัแน่นพร้อมใช้

    งานไดด้อียู่เสมอ

    สภาพถนนลกูรงัทางเขา้พืน้ทีโ่ครงการ

    28/03/2014

    2-1

  • ตารางท่ี 2-1 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนวทางแก้ไข ไม่มี

    (3) ทาํการปลกูกลา้ไม ้เชน่ ยคูาลปิตสัและกระถนิณรงค ์บรเิวณขอบแปลง

    และรอบๆโรงโมข่องโครงการ

    - ปลูกไม้ยืนต้นโตเร็วบริเวณขอบแปลงประทานบัตรและรักษาสภาพป่าไม้

    ธรรมชาตบิรเิวณโดยรอบไวเ้พือ่เป็นแนว

    ขอบเขตประทานบตัร

    - ปลูกต้นสน และต้นยูคาลิปตัส เสริมบริ เ วณริมถนนลูกรังทาง เข้าพื้นที่

    โครงการและบรเิวณโดยรอบสํานักงาน

    โรงโมห่นิของโครงการ

    แนวตน้ไมบ้รเิวณขอบถนน

    1.2 อทุกวิทยา (1) ขดุครูะบายน้ําบรเิวณแนวเขตพืน้ที่

    โครงการทางดา้นทศิตะวนัออกตาม

    แนวหลกัหมดุที ่8-1-2 และทางดา้น

    ทศิใตต้ามแนวหลกัหมดุที ่2-3 ดงัรปู

    ที ่1 ในเอกสารแนบ 1 ใหม้ลีกัษณะ

    หน้าตดัรปูสีเ่หลีย่มคางหมมูขีนาด

    ความกวา้งทอ้งร่อง 0.5 เมตรลกึ 1

    เมตร มทีศิทางความลาดเทขอ

    ทอ้งร่องครูะบายน้ําประมาณ 5 องศา

    - ขุดคูระบายน้ํา พร้อมทัง้สรา้งคนัดนิ รมิ

    ขอบแปลงประทานบัตรระหว่างหมุด

    หลักฐานที่ 8-1-2 ของโครงการเพื่อ

    ระบายน้ําลงสู่บ่อดกัตะกอนทีอ่ยู่ระหว่าง

    หมดุหลกัฐานที ่2-3

    (2) สรา้งคนัทาํนบดนิบรเิวณแนว

    ขอบเขตพืน้ทีโ่ครงการดา้นทศิ

    ตะวนัออกและทศิใตข้นานไปกบัแนว

    ครูะบายน้ํา โดยใหค้นัทาํนบมี

    ลกัษณะหน้าตดัรปูสีเ่หลีย่มคางหมู

    ฐานกวา้ง 2 เมตร สงู 1.5 เมตร

    พรอ้มทัง้ปลกูพชืคลุมดนิ บรเิวณคนั

    ทาํนบทัง้หมดตลอดแนว

    - ทางโครงการดําเนินการตามขอ้กําหนดดงัรายละเอยีดทีเ่สนอในขอ้1.2 (1)

    2. ทรพัยากรสิง่แวดลอ้มทางชวีภาพ (1) ทางโครงการจะตอ้งกาํหนด

    ขอบเขตพืน้ทีใ่นการเปิดหน้า

    เหมอืงและกจิกรรมต่างๆ โดยการ

    แสดงสญัลกัษณ์หรอืปกัป้ายให้

    เหน็ไดอ้ย่างเด่นชดั

    - ทางโครงการดําเนินการตามเงื่อนไขที่กาํหนด โดยกําชบัพนักงานใหท้ําเหมอืง

    ในขอบเขตทีก่ําหนดตามแผนผงัการทํา

    เหมอืง

    (2) ออกกฎระเบยีบหา้มมใิหพ้นกังานล่าสตัว ์หรอืตดัฟนัตน้ไม ้บรเิวณ

    ปา่ไมข้า้งเคยีงโครงการ

    - ดําเนินการตามเงื่อนไขขอ้กําหนด โดย

    กาํชบัพนกังานใหท้าํเหมอืงในขอบเขตที่

    กําหนดตามแผนผังการทําเหมอืงและ

    หา้มมใิหพ้นกังานของโครงการล่าสตัวใ์น

    พืน้ทีป่า่ไมท้ีอ่ยู่ขา้งเคยีงโครงการ

    28/3/2014

    2-2

  • ตารางท่ี 2-1 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนวทางแก้ไข ไม่มี

    3. คณุค่าใช้ประโยชน์ของมนุษย ์(1) ทาํการปรบัปรุงเสน้ทางขนส่งแร่ที่

    เป็นถนนลกูรงัทัง้ทีอ่ยู่ในเขตและ

    นอกเขตโครงการ โดยการโรยผวิ

    ถนนดว้ยกรวด และบดอดัผวิถนน

    ใหแ้น่นพอต่อการรองรบัน้ําหนกั

    ของรถบรรทุกแร ่

    - ปรับปรุงถนนลูกรังเส้นทางขนส่งแร่บริเวณพื้นที่โรงโม่หินและบริเวณพื้นที่

    ประทานบตัร ใหม้สีภาพเป็นถนนบดอดั

    แน่นและปรับปรุงให้มีความแข็งแรง

    สามารถที่จะรบัน้ําหนักรถบรรทุกแร่ได ้

    สภาพเสน้ทางขนส่งแร่ระหว่าง

    โรงโมห่นิ-ประทานบตัร

    (2) จดัทาํป้ายสญัญาณเตอืนภยั เช่นระวงัและชะลอความเรว็ เป็นตน้

    บรเิวณเสน้ทางขนส่งเพือ่ส่งเสรมิ

    ความปลอดภยัและลดอุบตัเิหตุ

    - จัดทําป้ายเตือนผู้ที่ส ัญจรผ่านไป-มา บริเวณปากทางเข้าพื้นที่โครงการให้

    ระวงัรถบรรทุกเขา้-ออกพืน้ทีโ่ครงการ

    ป้ายแจง้เตอืนรถบรรทุกเขา้-ออกพืน้ที่

    โครงการ

    ป้ายแจง้เตอืนชะลอความเรว็

    4. คณุค่าต่อคณุภาพชีวิต 4.1 เศรษฐกิจ-สงัคมและทศันคติ

    (1) กาํหนด ใหม้กีารจา้งแรงงานในทอ้งถิน่ใหม้ากทีสุ่ดและใหค้วาม

    ยุตธิรรมต่อค่าจา้งแรงงาน

    - จ้างแรงงานท้องถิ่นทํางานในโครงการแล ะ จ่ าย ค่ า แ ร งขั ้นตํ่ า เ ป็ น ไปต าม

    กฎหมายแรงงานกาํหนด

    4.2 อาชีวอนามยั

    (1) จดัหาอุปกรณ์เพือ่ป้องกนัอนัตรายส่วน

    บุคคลใหก้บัพนกังานและเจา้หน้าทีข่ณะ

    ปฏบิตังิาน ใกลก้บัแหล่งกาํเนิดฝุน่ เช่น

    หน้ากากป้องกนักนัฝุน่ ทีค่รอบจมกู ปลัก๊

    อุห ูหมวกนริภยั รองเทา้นิรภยัและถุงมอื

    เป็นตน้ ใหพ้นกังานสวมใส่ตามลกัษณะ

    ของงานตลอดเวลาปฏบิตังิานพรอ้ม

    จดัเตรยีมอุปกรณ์ เพือ่การปฐมพยาบาล

    เบือ้งตน้ใหพ้รอ้มอยู่เสมอ

    - จดัเตรยีมอุปกรณ์ป้องกนัอันตรายส่วนบุคคลให้พนักงานทุกคนสวมใส่ในขณะ

    ปฏบิตังิาน

    พนกังานสวมใสช่ดุอปุกรณ์ป้องกนั

    28/3/2014

    28/3/2014

    28/3/2014

    28/3/2014

    2-3

  • ตารางท่ี 2-1 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนวทางแก้ไข ไม่มี

    (2) ใหก้ารศกึษาอบรมเรือ่งของ

    อาชวีอนามยัและความปลอดภยัถงึ

    วธิกีารทาํเหมอืงอย่างถูกวธิ ีรวมทัง้

    วธิกีารใชเ้ครือ่งมอืเครือ่งจกัรแต่ละ

    ประเภททีต่นเองจะตอ้งเป็น

    ผูร้บัผดิชอบใหแ้ก่พนกังานทุกคน

    - ทางโครงการได้มอบหมายให้หัวหน้าคนงานได้อบรมและให้ความรู้ในเรื่อง

    การใชเ้ครือ่งจกัรอุปกรณ์ในการทาํงาน

    ระยะดาํเนินการทาํเหมือง

    1. ทรพัยากรส่ิงแวดล้อมด้านกายภาพ การเปิดหน้าเหมอืงจะทาํใหส้ภาพ

    พืน้ทีโ่ครงการเปลีย่นแปลงไปตาม

    ระยะเวลาการทาํเหมอืง

    (1) เปิดหน้าเหมอืงไปตามทศิทางที่กาํหนดตามแผนผงัโครงการที่

    กาํหนดไวใ้นแต่ละช่วง

    - กําหนดตําแหน่งและขอบเขตพื้นที่ทําเหมืองอย่างเด่นชัด โดยปฏิบตัิตาม

    แผนผงัโครงการทีแ่นบทา้ยประทานบตัร

    (2) กาํหนดเปิดหน้าเหมอืงโดยวธิีเหมอืงหาบในลกัษณะแบบ

    ขัน้บนัได (Bench Method) โดยให้

    แต่ละขัน้มคีวามสงูไมเ่กนิ 10 เมตร

    และความกวา้งไมน้่อยกว่า 10

    เมตร พรอ้มทัง้ควบคุมความลาดชนั

    รวมไมเ่กนิ 45 องศา

    - ทําเหมอืงโดยวิธทีําเหมอืงหาบ พฒันาหน้าเหมืองให้มีล ักษณะเป็นขัน้บันได

    พร้อมทัง้ควบคุมความลาดชนัของหน้า

    เหมืองให้มีมีความปลอดภัยจากการ

    พงัทลายโดยรกัษาหน้าเหมอืงใหม้คีวาม

    ลาดชนัไมเ่กนิ 45 องศา

    การทาํเหมอืงในลกัษณะขัน้บนัได

    1.1 คณุภาพอากาศ เสยีง และการใช้

    วตัถุระเบดิ

    (1) การระเบดิหนิใชแ้ก๊ปถ่วงเวลาในการระเบดิ ในปรมิาณไมเ่กนิ 120

    กโิลกรมั/จงัหวะถ่วงสงูสุด ทาํการ

    ระเบดิวนัละ 1 ครัง้ในชว่งเวลา

    16.00-17.00 น.และจะตอ้งเปิด

    สญัญาณเตอืนก่อนและหลงัทาํการ

    ระเบดิทุกครัง้ใหไ้ดย้นิในรศัมไีมน้่อย

    กว่า 500 เมตร และมสีญัญาณให้

    มองเหน็ในระยะ 500 เมตร

    - ใช้ว ัตถุระเบิดในปริมาณไม่เกิน 120 กก./จงัหวะถ่วง

    - ทําการระเบิดวนัละ 1 ครัง้ในช่วงเวลา 16.00-17.00 น.

    - ส่งสญัญาณเตอืนโดยก่อนการระเบดิทุกครัง้

    ตดิป้ายเตอืนเวลาระเบดิบรเิวณทางเขา้

    พืน้ทีท่าํเหมอืง

    28/3/2014

    28/3/2014

    2-4

  • ตารางท่ี 2-1 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนวทางแก้ไข ไม่มี

    (2) ฉดีพรมน้ําบรเิวณหน้าเหมอืง ลานเกบ็กองแร่ช ัว่คราวและเสน้ทางลกูรงั

    ทีใ่ชใ้นการขนส่งแร่เป็นประจาํทุก

    วนัทีม่กีารดาํเนินกจิกรรมการทาํ

    เหมอืง

    - ฉีดพรมน้ําเส้นทางขนส่งแร่ที่เป็นถนนลกูรงั โดยใชส้เปรยน้ํ์าหวัฉดีพ่นฝอย รมิ

    เส้นทางขนส่ งแ ร่ บริ เ วณด้านห น้ า

    โครงการก่อนขึ้นสู่ทางหลวงหมายเลข

    21(สายเก่า)

    - จดัทําที่ล้างล้อรถบริเวณตาชัง่เพื่อลดเศษดินที่ติดล้อก่อนออกทางหลวง

    หมายเลข 21 (สายเก่า)

    สเปรยน้ํ์าฉดีพรมถนนเขา้-ออกโครงการ

    บรเิวณลา้งลอ้รถ

    (3) โรงโมห่นิตอ้งดาํเนินการตามแบบที่กาํหนดโดยกรมอุตสาหกรรม

    พืน้ฐานและ การเหมอืงแร่ โดย

    ตดิตัง้ระบบสเปรยน้ํ์าในจุดทีเ่ป็นตน้

    กาํเนิดฝุน่ในทุกจุด โดยใชส้เปรย์

    หวัฉดีแบบพ่นฝอยเพือ่ลดปรมิาณ

    ฝุน่ละอองแขวนลอย พรอ้มทัง้ทาํ

    การปลกูไมย้นืตน้โตเรว็รอบพืน้ที่

    โรงโมห่นิ เพือ่ลดฝุน่ละอองจากการ

    บดย่อยหนิอย่างน้อย 2 แถว แบบ

    สลบัฟนัปลาใหม้รีะยะห่างระหว่าง

    ตน้และแถว 2x2 เมตร

    - โรงโม่หินของโครงการสร้างอาคารปิดคลุม จุดที่ก่ อ ให้ เกิดฝุ่นละออง เช่น

    บริเวณยุ้งร ับหินใหญ่ บริเวณปากโม ่

    บริเวณตะแกรงคัดขนาด และบริเวณ

    สายพานลาํเลยีง

    - มีสเปรย์หัวฉีดพ่นฝอยบริเวณปากโม่แรกและปากโมค่ดัขนาดแร่

    - รกัษาสภาพป่าไมบ้รเิวณโดยรอบโรงโม่หนิใหม้สีภาพธรรมชาตเิดมิ

    อาคารปิดคลมุปากโมแ่ละสายพานลําเลยีง

    สเปรยน้ํ์าปลายสายพานลําเลยีง

    อาคารปิดคลมุยุง้รบัหนิใหญ่

    28/3/2014

    28/3/2014

    28//32014

    28/3/2014

    28/3/2014

    2-5

  • ตารางท่ี 2-1 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนวทางแก้ไข ไม่มี

    1.2 อทุกวิทยาและคณุภาพน้ํา

    (1) ออกแบบหน้าเหมอืงในแต่ละชว่งให้

    มลีกัษณะเป็นขัน้บนัไดกวา้ง 10

    เมตร สงู 10 เมตร ควบคุมความลาด

    ชนัขัน้บนัไดบรเิวณหน้าผาไมใ่หเ้กนิ

    45 องศา

    - ออกแบบหน้าเหมืองให้มีล ักษณะเป็นขัน้บนัได เฝ้าระวงัหน้าเหมอืงใหม้คีวาม

    ปลอดภยัจากการพงัทลาย

    (2) ควรงดการทาํเหมอืงในช่วงทีฝ่นตก

    และหลงัฝนตกใหม่ๆ

    - ไมม่กีารทาํเหมอืงในช่วงทีฝ่นตก

    2. ทรพัยากรส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ (1) ดแูลรกัษาสภาพปา่ไมบ้รเิวณพืน้ทีท่ี่

    ไมเ่กีย่วขอ้งกบัการทาํเหมอืงและ

    พืน้ทีป่า่ไมข้า้งเคยีงไวใ้หอ้ยู่ในสภาพ

    เดมิ

    - กําหนดตําแหน่งและขอบเขตพื้นที่ทําเหมอืงอย่างเด่นชดั ไม่บุกรุกพื้นทีป่่าไม้

    นอกเขตพืน้ทีป่ระทานบตัร

    (2) ทาํการฉดีพรมน้ําในช่วงเสน้ทางการ

    ขนส่งแร่ทีเ่ป็นถนนลกูรงัวนัละ 3-4

    ครัง้ พรอ้มทัง้ทาํการปิดคลุมทา้ย

    รถบรรทุกใหม้ดิชดิ เพือ่ป้องกนัการ

    ตกหล่นของแร่และการฟุ้งกระจาย

    ของฝุน่ละออง

    - ฉีดพรมน้ําเส้นทางขนส่งแร่ที่เป็นถนนลกูรงั โดยใชส้เปรยน้ํ์าหวัฉดีพ่นฝอย รมิ

    เสน้ทางขนส่งแร่ดา้นหน้าโครงการก่อน

    ขึน้สู่ทางหลวงหมายเลข 21(สายเก่า)

    - แจ้ ง เตือนรถบรร ทุกแร่ ให้ ปิดคลุ มรถบรรทุกก่อนออกนอกพืน้ทีโ่ครงการ

    (3) ดแูลรกัษาสภาพเสน้ทางลกูรงัและ

    ดาํเนินการปรบัปรุงใหอ้ยู่ในสภาพที่

    สามารถใชง้านไดด้ ีโดยหากพบว่า

    บรเิวณใดเกดิการชาํรุดจะตอ้ง

    ดาํเนินการซ่อมแซมทนัที ่

    - ปรับปรุงซ่อมแซมถนนลูกรังในพื้นที่โครงการใหใ้ชง้านไดด้อียู่เสมอ

    3. คณุค่าต่อคณุภาพชีวิต 3.1 เศรษฐกิจ-สงัคมและทศันคติ

    (1) รบัฟงัความคดิเหน็และประสานงานกบัผูนํ้าชุมชนเพือ่แกไ้ขปญัหาที่

    อาจจะเกดิจากการดาํเนินการ

    - โครงการมกีารประชุมชี้แจงและรับฟงัความคิดเห็นของราษฎรผ่านที่ประชุม

    องค์การบรหิารส่วนตําบล ในกรณีทีเ่กดิ

    ปญัหา

    (2) มสี่วนรว่มในการพฒันาทอ้งถิน่ในดา้นต่างๆตามความเหมาะสม

    - ใหค้วามร่วมมอืในการพฒันาชุมชน โดย

    การบริจาคและช่วยเหลือตามความ

    เหมาะสม

    2-6

  • ตารางท่ี 2-1 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนว

    ทางแก้ไข

    ไม่มี

    (3) ปฏบิตัติามมาตรการลดผลกระทบในดา้นต่างๆอย่างเคร่งครดั

    - ดาํเนินการตามขอ้กาํหนดตามมาตรการ

    ลดผลกระทบทางด้านสิง่แวดล้อมอย่าง

    เคร่งครดั

    3.2 เอชีวอนามยั

    (1) ตอ้งปฏบิตังิานไปตามลาํดบัข ัน้ตอน

    และปฏบิตัติามระเบยีบขอ้บงัคบัทีต่ ัง้ไว ้

    รวมทัง้ดแูลใหค้นงานม ีและใชอุ้ปกรณ์

    ป้องกนัอนัตรายทุกคนในขณะ

    ปฏบิตังิานอยู่ในพืน้ทีห่น้าเหมอืงและ

    โรงโมห่นิ

    - ดาํเนินการตามขอ้กาํหนด

    (2) สบัเปลีย่นหน้าทีข่องคนงานไมใ่ห้

    ทาํงานในบรเิวณทีม่เีสยีงดงันานเกนิไป

    พรอ้มทัง้ดแูลรกัษาเครือ่งจกัรอุปกรณ์

    ต่างๆใหอ้ยู่ในสภาพทีส่มบรูณ์ใชง้านได้

    ด ี

    - ดาํเนินการตามขอ้กาํหนด

    (3) ปฏบิตัติามวธิคีวามใหก้ารคุง้ครองแก่

    คนงาน และความปลอดภยัแก่

    บุคคลภายนอกตามกฎกระทรวงฉบบัที ่

    9 (พ.ศ. 2513) และกฎกระทรวงฉบบัที ่

    50 (พ.ศ. 2525) ออกตามความใน

    มาตราที ่17 แห่งพระราชบญัญตัแิร่

    พ.ศ. 2510 ส่วนทีเ่กีย่วขอ้งกบัการทาํ

    เหมอืงอย่างเคร่งครดั

    - ปฏบิตัติามกฎกระทรวงในเรื่องใหค้วาม

    คุม้ครองแก่คนงานตามทีก่าํหนดไว ้

    ระยะหลงัการทาํเหมือง

    พืน้ทีโ่ครงการจะเปลีย่นแปลงไปกลายเป็น

    หน้าผาหนิแบบขัน้บนัไดและพืน้ทีร่าบดาน

    หนิ

    (1) ดาํเนินการปรบัแนวขัน้บนัไดใหม้ีเสถยีรภาพและปลอดภยัจากการชะ

    ลา้งพงัทลาย

    - จะไดด้าํเนินการตามเงือ่นไขทีก่าํหนดเมือ่สิน้สุดการทาํเหมอืง

    (2) ปรบัเกลีย่คนัทาํนบครูะบายน้ํา ทีเ่กบ็กองแร่ช ัว่คราวละบ่อดกัตะกอน ใหค้นื

    สู่สภาพเดมิก่อนเลกิกจิการ

    - จะไดด้าํเนินการตามเงือ่นไขทีก่าํหนดเมือ่สิน้สุดการทาํเหมอืง

    (3) รือ้ถอนอาคารสิง่ปลกูสรา้งออกจากพืน้ทีโ่ครงการทนัที ่การฟ้ืนฟูพืน้ทีผ่่าน

    การทาํเหมอืงเพือ่ปรบัปรุงภมูทิศัน์

    ของโครงการใหส้อดคลอ้งกบัสภาพ

    พืน้ทีข่า้งเคยีง

    - จะไดด้าํเนินการตามเงือ่นไขทีก่าํหนดเมือ่สิน้สุดการทาํเหมอืง

    2-7

  • ตารางท่ี 2-1 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนว

    ทางแก้ไข

    ไม่มี

    การฟ้ืนฟพืูน้ท่ีผา่นการทาํเหมืองเพ่ือ

    ปรบัปรงุภมิูทศัน์ของโครงการให้

    สอดคล้องกบัสภาพพืน้ท่ีข้างเคียง

    (1) ปรบัเกลีย่พืน้ทีบ่รเิวณหน้าเหมอืง และ

    บรเิวณขัน้บนัไดใหม้เีสถยีรและความ

    ปลอดภยัจากการพงัทลาย โดยใหม้ี

    ความลาดชนัรวมไมเ่กนิ 45 องศา

    พรอ้มทัง้นําดนิมาปิดทบัตามขัน้บนัได

    และนําเมลด็หญา้มาหว่านตาม

    ขัน้บนัไดเพือ่ชว่ยคดิเกาะหน้าดนิ

    - จะไดด้าํเนินการตามเงือ่นไขทีก่าํหนดเมือ่สิน้สุดการทาํเหมอืง

    (2) บรเิวณทีร่าบขอบแปลงคาํขอประทาน

    บตัร ซึง่ใชเ้ป็นทีต่ ัง้ของครูะบายน้ํา คนั

    ทาํนบ และบ่อดกัตะกอนตอ้งทาํการ

    ปรบัถมพืน้ทีใ่หค้นืสู่สภาพใกลเ้คยีง

    ธรรมชาต ิพรอ้มทัง้ปลกูไมย้นืตน้โตเรว็

    จาํพวกยคูาลปิตสั ซึง่เป้นพนัธุไ์มท้ี่

    เหมาะสมต่อพืน้ที ่โดยปลุกใหเ้ตม็พืน้ที่

    มรีะยะห่างตน้และแถว 3x3 เมตร

    - จะไดด้าํเนินการตามเงือ่นไขทีก่าํหนดเมือ่สิน้สุดการทาํเหมอืง

    ตารางท่ี 2-2 มาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบสิง่แวดลอ้มตามขอ้กาํหนดของ

    สาํนกังานนโยบายและแผนทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดลอ้ม (สผ.)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนว

    ทางแก้ไข

    ไม่มี

    1. ในการขนส่ง หา้มมกีารขนส่งแร่ในช่วงเวลาเร่งด่วนทีร่าษฎรและนกัเรยีนเดนิทางไปกลบั

    ทีท่าํงานและโรงเรยีน หรอืในชว่งเวลา

    07.00-0.8.30 น.และ 15.00-17.00 น.

    - ในปจัจุบนัการดําเนินการของโครงการเริม่ดําเนินการเวลา 08.30 น. และเลิกงาน

    เวลา 17.30 น. ดงันัน้จงึไม่มผีลกระทบต่อ

    ราษฎรทีใ่ชเ้สน้ทางในบรเิวณนี้ และเลีย่ง

    การขนส่งช่วงเวลาดงักล่าว

    2. ใหด้าํเนินการปลกูไมย้นืตน้โตเรว็ ภายหลงัไดร้บัประทานบตัรแลว้ (ระยะเตรยีมการทาํ

    เหมอืง) และก่อนทีจ่ะมกีารดําเนินโครงการ

    โดยวธิกีารปลูก ใหม้รีะยะ 2x2 ม. โดยรอบ

    พืน้ทีโ่ครงการและโรงโมห่นิรวมทัง้ใหม้กีาร

    บาํรุงใหม้กีารบาํรุงรกัษาดแูลตน้ไมเ้หล่านัน้

    ใหม้กีารเจรญิเตบิโตทีด่ ี

    - ปลกูตน้ไมใ้นบรเิวณพืน้ทีท่ีส่ามารถ

    ดาํเนินการได ้เช่นบรเิวณโดยรอบโรง

    หนิ บรเิวณรมิเสน้ทางขนส่งแร่ในพืน้ที่

    โครงการ

    2-8

  • ตารางท่ี 2-2 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนว

    ทางแก้ไข

    ไม่มี

    3. หากไดร้บัการรอ้งเรยีนจากราษฎรทีอ่าศยัอยู่ใกล้เคียง ว่าได้รบัความเดือดร้อนรําคาญ

    จากการดําเนินโครงการ หรือสาธารณะ

    สมบัติได้ร ับความเสียหายจากกิจกรรม

    เหมืองแร่และสํานักงานนโยบายและแผน

    ทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดลอ้มไดต้รวจ

    พบว่า ไม่ปฏบิตัิตามมาตรการที่กําหนด

    ไวผู้ถ้อืประทานบตัรจะตอ้งยนิยอมยุตกิารทาํ

    เหมอืงตามคําสัง่ของทางราชการ แลว้แกไ้ข

    เหตุแห่งความเดอืดร้อนใหเ้สรจ็สิ้นก่อนทีจ่ะ

    ดาํเนินการต่อไป

    - การดาํเนินการทีผ่่านมาของโครงการไม่มีกรณีการร้องเรียนเกิดขึ้นแต่อย่างใด

    ทัง้นี้ ในกรณีที่เกิดการร้องเรียนจาก

    ราษฎรที่อาศัยอยู่ใกล้เคียง ว่าได้ร ับ

    ความเดือดร้อนรําคาญจากการดําเนิน

    โครงการ หรือสาธารณะสมบัติได้ร ับ

    ความเสียหายจากกิจกรรมเหมืองแร่

    ผู้ถือประทานบตัรจะยุติการทําเหมอืง

    ตามคําสัง่ของทางราชการ แล้วแก้ไข

    เหตุแห่งความเดือดร้อนให้เสร็จสิ้น

    ก่อนทีจ่ะดาํเนินการต่อไป

    4. หากผู้ถือประทานบตัรมคีวามประสงค์ที่จะเ ป ลี่ ย น แ ป ล ง วิ ธี ก า ร ทํ า เ ห มื อ ง ห รื อ

    เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมชนิดแร่ หรือการ

    ดําเนินงาน ที่แตกต่างจากที่เสนอไว้ใน

    รายงานจะต้องเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับ

    วธิกีารทาํเหมอืงและการดําเนิน งานในการ

    เปลีย่นแปลงดงักล่าว ประกอบกบัมาตรการ

    ป้องกนัผลกระทบทีส่อดคลอ้งกบั การ

    เปลี่ยนแปลงใหม่ใหส้ํานักงานนโยบายและ

    แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

    พิจารณา ให้ความเห็นชอบด้าน

    สิง่แวดลอ้มก่อน

    - ปฏิบตัิตามเงื่อนไขที่กําหนดในกรณีที่มีการ เปลี่ยนแปลงวิธีการทําเหมืองที่

    แตกต่างไปจากแผนผงัโครงการทีก่าํหนด

    5. ให้ทําการปรบัปรุงพื้นทีโ่ครงการ ที่ผ่านการทาํเหมอืงแร่ตามทีเ่สนอไวใ้นรายงาน พรอ้ม

    ทัง้ใหร้ายงานผลการดาํเนินงานใหส้ํานักงาน

    นโยบายและแผนทรพัยากรธรรมชาติและ

    สิ่งแวดล้อม และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน

    และการเหมอืงแร่ทราบทุก 3 ปี นับจากวนัที่

    ไดร้บัอนุญาตประทานบตัรโดยมรีายละเอยีด

    ของการดาํเนินการและตําแหน่งทีด่าํเนินการ

    อย่างเพยีงพอในปีทีผ่่านมา

    - ปจัจุบันทําได้เพียงการปรับเกลี่ยหน้าเหมอืงให้เกดิความปลอดภยั และพื้นที่ที่

    ผ่านการทําเหมืองไปแล้วบางส่วนจะ

    ปล่อยใหฟ้ื้นฟูตามธรรมชาต ิ

    - ทางโครงการจะได้จดัทําแผนฟ้ืนฟู เพื่อนําเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดัง

    เอกสารแนบ 3

    2-9

  • ตารางท่ี 2-2 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนว

    ทางแก้ไข

    ไม่มี

    6. ในระหว่างการทําเหมืองหากขุดพบวัตถุโบราณ หรือร่องรอยโบราณคดีไม่ว่าเป็น

    ภาพเขียนสีหรืออื่นๆ ที่มคีวามสําคญัทาง

    ประวัติศาสตร์ จะต้องรายงานและ ขอ

    ความร่วมมือกรมศิลปากรหรือสํานักงาน

    ศิลปากร ในท้องที่ เข้าไปดํา เนินการ

    ตรวจสอบพื้นที ่ทัง้นี้ ในระหว่างการ

    สาํรวจจะตอ้งหยุดการทาํเหมอืงชัว่คราวและ

    หากพสิูจน์แลว้ว่าเป็นแหล่งโบราณคด ีผูถ้ือ

    ประทานบตัรจะต้องปฏบิตัิตามเงือ่นไขของ

    หน่วยงาน ทีเ่กีย่วขอ้งโดยไม่มขีอ้เรยีกรอ้ง

    ใดๆ

    - ในระหว่างการทําเหมืองยังไม่พบวัตถุโบราณหรอืร่องรอยโบราณคดแีต่อย่างใด

    -

    2.2 มาตรการติดตามตรวจสอบคณุภาพส่ิงแวดล้อม

    มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามเงื่อนไขที่เห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์

    ผลกระทบสิง่แวดลอ้มโครงการเหมอืงแร่หนิอุตสาหกรรมชนิดหนิปูนเพื่ออุตสาหกรรมก่อสรา้ง ของประทานบตัรที ่

    25619/15668 ในนามบรษิทั ทรพัย์กองทอง จํากดั ตัง้อยู่ทีต่ําบลสามแยก อําเภอวิเชยีรบุร ีจงัหวดัเพชรบูรณ์

    สาํนกังานนโยบายและแผนทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดลอ้ม (เดมิ คอื สาํนักงานนโยบายและแผนสิง่แวดลอ้ม)

    แจง้ผลการพจิารณารายงานการวเิคราะหผ์ลกระทบสิง่แวดล้อมของโครงการดงักล่าว และโครงการจะตอ้งปฏบิตัิ

    ตามเงื่อนไขมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพสิง่แวดลอ้ม ตามหนังสอื วว 0804/6728 ลงวนัที ่15 มถุินายน

    2544 แสดงไดด้งัตารางท่ี 2-3

    2-10

  • ตารางท่ี 2-3 มาตรการตดิตามตรวจสอบคณุภาพสิง่แวดลอ้ม

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนว

    ทางแก้ไข

    ไม่มี

    1. คณุภาพอากาศ ตรวจวดัปรมิาณฝุน่ละอองแขวนลอยใน

    บรรยากาศ (TSP) โดยใชเ้ครือ่ง High Air

    Sample จาํนวน 4 สถาน ี

    • บรเิวณโรงโมห่นิของโครงการ

    • บา้นแก่งหนิปนู

    • บา้นนครนายก

    • บา้นเขม็ทอง

    - ได้ดําเนินการตรวจวดัตามเงื่อนไข โดยม ี

    ผลการตรวจวดัคุณภาพอากาศ สรุปไดใ้น

    หวัข้อท่ี 2.2.1 โดยมผีลการตรวจวัดใน

    ครัง้ล่าสุดระหว่างวันที่ 28-29 มีนาคม

    2557 มีค่าผลการตรวจวัดอยู่ในเกณฑ์

    มาตรฐานคุณภาพอากาศทีก่าํหนด

    การตรวจวดัคณุภาพอากาศ

    บรเิวณสาํนกังานโรงโม่หนิ

    บ้านแก่งหนิปนู(สถานีอนามยั)

    บ้านนครนายก

    บ้านเขม็ทอง(วดัดงเขม็)

    28/3/2014

    28/3/2014

    28/3/2014

    28/3/2014

    2-11

  • ตารางท่ี 2-3 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนว

    ทางแก้ไข

    ไม่มี

    2. เสียง ตรวจวดัระดบัเสยีง โดยทัว่ไปในรอบ 24

    ชัว่โมง โดยใชเ้ครือ่งวดัเสยีง (Sound

    Level Meter) จาํนวน 4 สถานี

    • บรเิวณโรงโมห่นิของโครงการ

    • บา้นแก่งหนิปนู

    • บา้นนครนายก

    • บา้นเขม็ทอง

    - ได้ดําเนินการตรวจวัดตามเงื่อนไข โดยม ี

    ผลการตรวจวดัระดบัเสยีง สรุปไดใ้นหวัข้อท่ี

    2.2.2 โดยมผีลการตรวจวดัในระหว่างวนัที ่

    28-29 มนีาคม 2557 มคี่าผลการตรวจวดัอยู่

    ในเกณฑม์าตรฐานทีก่าํหนด

    การตรวจวดัระดบัเสียง

    บรเิวณสาํนกังานโรงโม่หนิ

    บ้านแก่งหนิปนู(สถานีอนามยั)

    บ้านนครนายก

    บ้านเขม็ทอง(วดัดงเขม็)

    28/3/2014

    28/3/2014

    28/3/2014

    28/3/2014

    2-12

  • ตารางท่ี 2-3 (ต่อ)

    เง่ือนไขตามมาตรการ

    ผลการปฏิบติัตามมาตรการ

    ปัญหา อปุสรรค

    ภาพประกอบมาตรการ มี / แนว

    ทางแก้ไข

    ไม่มี

    3. แรงสัน่สะเทือน ตรวจวดัความสัน่สะเทอืนจากการระเบดิ

    หน้าเหมอืงของโครงการปีละ 3 ครัง้

    ในขณะระเบดิ จาํนวน 1 สถาน ี

    • บรเิวณสาํนกัสงฆถ์ํ้าแกว้กายสทิธิ ์

    - ทําการตรวจวดัแรงสัน่สะเทอืนจากการระเบิดหน้าเหมอืงของโครงการในวนัที ่

    28 มนีาคม 2557 บริเวณสํานักสงฆ์ถํ้า

    แก้วกายสทิธิพ์บว่าผลการตรวจวดัมคี่า

    ความเร็วอนุภาคสูงสุดตํ่ ากว่า 0.125

    มม./วินาที ซึ่งเป็นค่าที่ตํ่ ามากที่เครื่อง

    ตรวจวดัจะสามารถรบัคลืน่ได ้

    การตรวจวดัแรงสัน่สะเทอืน

    4. อทุกวิทยาและคณุภาพน้ํา ตรวจสอบปรมิาณสภาพทางน้ําหว้ยแก่ง

    หนิปนู ปรมิาณและการตื้นเขนิของ

    ทางน้ํา รวมทัง้ทศิทางการไหลของน้ํา

    วเิคราะหค์ุณภาพน้ําหว้ยแก่งหนิปนูโดยหาค่าความเป็นกรด-ด่าง ตะกอน

    แขวนลอย (Suspended Solids) ,

    ตะกอนละลาย (Dissolved Solids),

    ความกระดา้งรวม (Total Hardness)

    ความขุน่ (Turbidity) ปรมิาณเหลก็

    ทัง้หมด (Total Iron)

    - ได้ดําเนินการตรวจสอบสภาพทางน้ําห้ว ยแก่ งหินปูน ที่ อ ยู่ ท า งด้ าน ทิศ

    ตะวันออกเฉียงใต้ของพื้นที่โครงการ

    ระหว่างวนัที่ 28 มีนาคม 2557 พบว่า

    ทางน้ํามน้ํีาท่วมขงั ระดบัน้ํามคีวามลึก

    จากแนวตลิ่งประมาณ 0.5-1.0 เมตร

    และไดท้ําการเกบ็ตวัอย่างน้ําเพื่อทําการ

    วเิคราะหโ์ดยมคี่าความเป็นกรด-ด่าง อยู่

    ในเกณฑค์่ามาตรฐานทีก่าํหนด

    สภาพหว้ยแกง่หนิปูน (แหง้) ไมส่ามารถ

    เกบ็ตวัอยา่งได ้

    28/3/2014

    28/3/2014

    28/3/2014

    2-13

  • 2.3 สรปุผลการติดตามตรวจสอบคณุภาพส่ิงแวดล้อม มาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพสิง่แวดลอ้ม ตามเงือ่นไขทีเ่หน็ชอบในรายงานการวเิคราะหผ์ลกระทบ

    สิง่แวดลอ้มโครงการเหมอืงแรห่นิอตุสาหกรรมชนดิหนิปนูเพือ่อตุสาหกรรมกอ่สรา้ง ประทานบตัรที ่ 25614/15668

    บรษิทั ทรพัยก์องทอง จาํกดั ตาํบลสามแยก อาํเภอวเิชยีรบุร ีจงัหวดัเพชรบรูณ์ มคีณุภาพสิง่แวดลอ้มทีจ่าํเป็นตอ้ง

    ตรวจสอบดงันี้

    • คณุภาพอากาศ

    • ระดบัเสยีง

    • แรงสัน่สะเทอืน

    • คณุภาพน้ํา

    สาํหรบัตาํแหน่งสถานีตรวจวดัคณุภาพสิง่แวดลอ้มสรปุไดด้งัรปูท่ี 2-1 ดงันี้

    2-14

  • 2-14

    รปูท่ี 2-1 แสดงตาํแหน่งสถานีตรวจวดัคณุภาพสิง่แวดลอ้ม

    สญัลกัษณ์:

    ทีม่า : กรมแผนทีท่หาร (2512)

    พืน้ทีโ่ครงการ

    N

    กม. 0 0.5 1.0 2.0 1.5

    สภาพภมูปิระเทศบรเิวณพืน้ทีโ่ครงการ

    ทีต่ัง้พืน้ทีโ่ครงการ

    N

    กม. 0 0.5 1.0 2.0 1.5

    37

    38

    1739

    40

    41

    42

    43

    17 18 19 20 21 22

    44

    45 716

    2

    4

    3

    บ้านถํา้แก้วกายสิทธ์ิ v

    1

    สถานีตรวจวดัคุณภาพอากาศและระดบัเสยีง

    1

    2

    3

    4

    สาํนกังานโรงโมห่นิของโครงการ

    บา้นแก่งหนิปนู

    บา้นนครนายก

    บา้นเขม็ทอง

    สถานีตรวจวดัแรงสัน่สะเทอืน

    v สาํนกัสงฆถ์ํ้าแกว้กายสทิธิ ์

    สถานีเกบ็ตวัอย่างน้ํา

    w

    w หว้ยแก่งหนิปนู

  • 2.3.1 คณุภาพอากาศ

    1. ดชันีตรวจวดั การตรวจวดัคณุภาพอากาศในรปูฝุน่ละออง (TSP)

    2. ตาํแหน่งพิกดัของสถานีตรวจวดั - สาํนกังานโรงโมห่นิทรพัยก์องทอง UTM 47 P 0718707 E, 1740433 N

    - บา้นแกง่หนิปนู (สถานีอนามยับา้นแกง่หนิปนู) UTM 47 P 0719279 E, 1740383 N

    - บา้นนครนายก UTM 47 P 0718942 E, 1741489 N

    - บา้นเขม็ทอง (วดัดงเขม็) UTM 47 P 0716181 E, 1738386 N

    3. วิธีการตรวจวดัฝุ่ นละอองรวม (TSP) ฝุน่ละอองรวมซึง่แขวนลอยอยูใ่นอากาศจะถกูดดูผา่นกระดาษกรองชนิดกล๊าสไฟเบอร ์ ทีผ่า่นการ

    อบ-ชัง่ (Equilibrate) อยา่งน้อย 24 ชัว่โมง ดว้ยอตัราการไหลของอากาศในชว่ง 40-60 ลกูบาศกฟุ์ตต่อนาท ีตลอด

    ระยะเวลา 24 ชัว่โมง จากนัน้นํากระดาษกรองไปอบ-ชัง่ (Equilibrate) อกีครัง้ เพือ่ทราบน้ําหนกัของฝุน่ละออง แลว้

    นํามาคาํนวณคา่คว�