เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 ·...

15
เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 1 เรื่อง ลักษณะวิชาการสํารวจ การสํารวจเปนทั้งศาสตรและศิลปของการวัด เนื่องจากมีสวนเกี่ยวโยงกับวิชาการหลายสาขา เชน คณิตศาสตร เรขาคณิต ตรีโกณมิติ และคณิตศาสตรชั้นสูง ซึ่งจะเปนการคํานวณหาระยะทางในแนวราบ (Horizontal distance) ระยะทางในแนวดิ่ง (Vertical distance) ทิศทาง (Direction) มุม (Angle) ตําแหนง ของจุดตางๆ (Position) พื้นที(Areas) ปริมาตร(Volume) สวนที่เปนศิลปคือเปนการหาความสัมพันธของ ที่ตั้งของจุดตางๆ ที่อยูบนผิวโลก ใตผิวโลก หรือใกลกับโลก ซึ่งเปนการคนหาวิธีการวัดระยะ มุม ทิศทางของเสนแนวทางหรือจุดตางๆ ซึ่งสิ่งที่ไดมาจะเปนขอมูล (Data) จากการสํารวจในสนาม แลวจึงนํา ขอมูลนั้นมาคํานวณ ออกแบบ เขียนเปนแผนภาพ แผนผัง (Diagram) แผนที(Map) รูปดาน (Profile) รูปตัด (Cross section) การสํารวจเปนการหาความสัมพันธของจุดตางๆ 2 ลักษณะคือ 1.การหาตําแหนงหรือพิกัดของจุดตางๆ เหลานั้นเฉพาะทางพื้นราบ เพื่อนําขอมูลจากงานสนามมา สรางเปนแผนทีหรือแผนผัง 2.การหาระดับความสูงต่ําของจุดตางๆ เพื่อที่จะนํามาเปรียบเทียบวา จุดตางๆ ที่นํามาเปรียบเทียบกัน นั้นมีระดับแตกตางกันเทาใด การสํารวจตามแผนราบ และการสํารวจตามผิวโคง การสํารวจนั้นจะเกี่ยวของกับตําแหนงตางๆบนผิวโลกเสมอทั้งระยะทางและระดับความสูงต่ํา จะตอง สอดคลองกับลักษณะความโคงของโลก ไมเชนนั้นแลว การกําหนดตําแหนง ไมวาจะเปนตําแหนงทางราบ หรือทางดิ่ง ก็จะมีความผิดพลาดควบคูไปดวยจากเหตุดังกลาวจึงแบงการสํารวจออกเปน 2 ระบบ คือ 1.การสํารวจตามแผนราบ (Plane Surveying) 2.การสํารวจตามผิวโคง (Geodetic Surveying) การสํารวจแผนราบ หมายถึงการสํารวจที่ไมคิดถึงผลจากความโคงของโลก เปนการสํารวจบริเวณ พื้นที่เล็กๆ โดยสมมติวาผิวโลกที่สํารวจนั้นเปนพื้นระดับ (Horizontal plane) การวัดระยะทางระหวาง จุดตางๆ จึงวัดตามแนวเสนตรง (Chord) เพราะสะดวกในการทํางานมากกวา การสํารวจแบบนี้จะตองมี พื้นที่ไมกวางขวางมากนัก ประมาณวาไมเกิน 100 ตารางไมล หรือ 16.1 × 16.1 กิโลเมตร (ประมาณ 260 ตารางกิโลเมตร) จึงจะทําการสํารวจระบบนี้ไดโดยที่มีคาผิดพลาดไมมากนัก ในงานวิศวกรรมโยธาหรือ

Upload: others

Post on 05-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 1

เรื่อง ลักษณะวิชาการสํารวจ การสํารวจเปนทั้งศาสตรและศิลปของการวัด เนื่องจากมีสวนเกีย่วโยงกับวิชาการหลายสาขา เชน

คณิตศาสตร เรขาคณิต ตรีโกณมิติ และคณิตศาสตรช้ันสูง ซ่ึงจะเปนการคํานวณหาระยะทางในแนวราบ (Horizontal distance) ระยะทางในแนวดิง่ (Vertical distance) ทิศทาง (Direction) มุม (Angle) ตําแหนงของจุดตางๆ (Position) พื้นที่ (Areas) ปริมาตร(Volume) สวนที่เปนศิลปคือเปนการหาความสมัพันธของที่ตั้งของจุดตางๆ ที่อยูบนผิวโลก ใตผิวโลก หรือใกลกับโลก ซ่ึงเปนการคนหาวิธีการวัดระยะ มุม ทิศทางของเสนแนวทางหรอืจุดตางๆ ซ่ึงสิ่งที่ไดมาจะเปนขอมูล (Data) จากการสํารวจในสนาม แลวจึงนําขอมูลนั้นมาคํานวณ ออกแบบ เขียนเปนแผนภาพ แผนผัง (Diagram) แผนที่ (Map) รูปดาน (Profile) รูปตัด (Cross section) การสํารวจเปนการหาความสัมพันธของจุดตางๆ 2 ลักษณะคือ 1.การหาตําแหนงหรือพิกัดของจดุตางๆ เหลานั้นเฉพาะทางพืน้ราบ เพื่อนําขอมูลจากงานสนามมาสรางเปนแผนที่ หรือแผนผงั 2.การหาระดับความสงูต่ําของจุดตางๆ เพื่อที่จะนํามาเปรียบเทยีบวา จดุตางๆ ที่นํามาเปรียบเทียบกันนั้นมีระดับแตกตางกันเทาใด การสํารวจตามแผนราบ และการสํารวจตามผิวโคง

การสํารวจนั้นจะเกีย่วของกับตําแหนงตางๆบนผิวโลกเสมอทั้งระยะทางและระดบัความสูงต่ํา จะตองสอดคลองกับลักษณะความโคงของโลก ไมเชนนัน้แลว การกําหนดตําแหนง ไมวาจะเปนตําแหนงทางราบ หรือทางดิ่ง กจ็ะมีความผิดพลาดควบคูไปดวยจากเหตดุังกลาวจึงแบงการสํารวจออกเปน 2 ระบบ คือ

1.การสํารวจตามแผนราบ (Plane Surveying) 2.การสํารวจตามผิวโคง (Geodetic Surveying)

การสํารวจแผนราบ หมายถึงการสํารวจที่ไมคิดถึงผลจากความโคงของโลก เปนการสํารวจบริเวณพื้นที่เล็กๆ โดยสมมติวาผิวโลกที่สํารวจนั้นเปนพื้นระดับ (Horizontal plane) การวัดระยะทางระหวางจุดตางๆ จึงวดัตามแนวเสนตรง (Chord) เพราะสะดวกในการทํางานมากกวา การสํารวจแบบนี้จะตองมีพื้นที่ไมกวางขวางมากนกั ประมาณวาไมเกิน 100 ตารางไมล หรือ 16.1 × 16.1 กิโลเมตร (ประมาณ 260 ตารางกิโลเมตร) จึงจะทาํการสํารวจระบบนี้ไดโดยท่ีมคีาผิดพลาดไมมากนัก ในงานวิศวกรรมโยธาหรือ

Page 2: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 2

การกอสรางทั่วไปมักจะเกี่ยวของกับการสาํรวจแผนราบมากกวาการสํารวจตามผิวโคงของโลก เนื่องจากตองการคาความถูกตองไมสูงมากนัก และเปนงานที่มีขนาดพื้นทีไ่มกวางใหญมากนกันั่นเอง เชนการวางผังงานกอสราง การวางแนวทางเพื่อการกอสรางทางหลวง ทางรถไฟ คลอง การรังวัดที่ดนิ เปนตน

การสํารวจตามผิวโคง หมายถึงการสํารวจที่จะตองพิจารณาผลจากความโคงของผิวโลกเขาเกี่ยวของดวย เพื่อใหไดตําแหนงของจุดตางๆที่ถูกตอง เปนการสํารวจที่ใชสําหรับพื้นที่ขนาดใหญระดับประเทศ หรือระดับโลก ตองใชวิธีการและเครื่องมือที่มีความละเอียดสูง วัตถุประสงคของการสํารวจในขั้นนี้ก็เพื่อที่จะหาตําแหนงที่ถูกตองที่สุดบนพื้นโลก ซ่ึงจะใชเปนหมุดหลักฐานที่ใชในการกําหนดหมุดบงัคับชั้นรองลงมา ตารางเปรียบเทียบระยะทางการวัดแบบ Arc และ Chord

ระยะทางตาม Arc (ม.) ระยะทางตาม Chord (ม.) ความแตกตาง (ม.) 18,200 18,999.9 0.1 54,500 54,499.7 0.3 91,000 90,999.5 0.5

ชนิดของการสํารวจ การสํารวจจําแนกตามลักษณะการปฏิบัติงานและวัตถุประสงคของงานตางๆไดหลายประเภท ไดแก 1.การสํารวจภูมิประเทศ (Topographic Surveying) เปนการสํารวจที่ตองการรายละเอียดทั้ง 3 มิติ โดยการเก็บรายละเอียดสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เชน แมน้ําลําธาร ภูเขา รวมทั้งสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นมาเชน ถนน สะพาน คลอง อาคาร และสิ่งกอสรางตางๆ แลวนํามาเขยีนเปนแผนที่ แสดงลักษณะขอบเขตและความสูง-ต่ําของพื้นที ่

2.การสํารวจเกีย่วกับทีด่ิน (Land Surveying) เปนการสํารวจเกีย่วกับการกําหนดหลักเขต ผังบริเวณของที่ดิน การคํานวณพื้นที่เขตครอบครองที่ดิน การออกโฉนดที่ดิน

Page 3: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 3

3.การสํารวจเสนทาง (Route Surveying) เปนการสํารวจเพื่อวางแนวทาง การสรางทางขนสง หรือคมนาคม เชน ทางหลวง ทางรถไฟ คลองชลประทาน การวางทอระบายน้ํา

4.การสํารวจทางอุทกศาสตร (Hydrographic Surveying) เปนการสาํรวจพื้นที่ทองแมน้ํา ทะเล เพื่อประโยชนในการเดินเรือ การประปา หรือการกอสรางใตน้ํา 5.การสํารวจเหมืองแร (Mine Surveying) เปนการสํารวจเพื่อกําหนดเขตเหมือง กําหนดจุดทีจ่ะขุดปลองลงไปยังเหมืองแร แนวรางรถ อุโมงค 6.การสํารวจผังเมือง (City Surveying) เปนการสาํรวจในเขตเทศบาลเพื่อการสรางถนน ระบบการวางทอประปา ทอระบายน้ํา การสํารวจพื้นทีเ่พื่อวางแนวทางในการจดัผังเมือง 7.การสํารวจแผนที่รูปถายทางอากาศ (Protogrammetric Surveying) เปนการสาํรวจโดยการถายภาพจากเครื่องบิน หรือดาวเทยีม แลวนํามาแปลความหมายของภาพ เพื่อเขียนเปนแผนที่ วิธีนี้สามารถสํารวจพื้นที่กวางใหญไดภายในเวลารวดเร็วและมีความถูกตองสูง

Page 4: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 4

Page 5: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 5

แผนที่ภาพถาย บริเวณจังหวัดขอนแกน มาตราสวน 1:4000

จัดทําโดยกรมพัฒนาที่ดิน

Page 6: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 6

ลักษณะการทาํงานสํารวจแบงเปน 2 ลักษณะ คือ งานสนาม (Field works) เปนงานทีช่างสํารวจตองออกไปหาขอมูลในสนาม เชน การวัดระยะ วัดมมุ ทิศทาง หาคาระดับของพืน้ที่ตามสภาพภูมิประเทศ แลวบันทกึขอมูลลงในสมุดสนามเพื่อนําไปในงานตางๆตอไป

Page 7: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 7

งานสํานักงาน (Office works) เปนการนําขอมูลงานสนามมาดําเนินการเพื่อใหไดส่ิงที่ตองการเชน คํานวณหาระยะทาง หาพืน้ที่ ปริมาตร ความสูง งานเขียนเปนแผนที่ ทําหุนจาํลอง เปนตน

Page 8: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 8

หนวยของการวัด (Unit of measurement) หนวยของการวัดมีหลายระบบ ไดแกระบบเมตริก (Metric system) ระบบอังกฤษ (The imperial of

British system) หนวยอเมริกัน (American units) ตอมาไดมีการเปลี่ยนมาใชหนวยของระบบมาตรฐานสากล คือ หนวยเมตริก เอส ไอ (System international metric unit) ซ่ึงประเทศไทยก็ใชระบบเมตริก สําหรับงานสํารวจ เชนกัน

หนวยที่ใชสําหรับหนวย เอส ไอ ปริมาณ หนวยทีใ่ชสําหรับ หนวย เอส ไอ หนวยอ่ืนทีย่ังนิยมใช ความยาว (Length) มิลลิเมตร (มม.) เซนติเมตร (ซม.) เมตร (ม.) กิโลเมตร (กม.) พื้นที่ (Area) ตารางมิลลิเมตร (มม.2) ตาราง เซนติเมตร (ซม.) เมตร (ม.2) เฮคแตร(Hectare) ปริมาตร (Volume) ลูกบาศกมิลลิเมตร (มม.3) ลูกบาศกเซนตเิมตร (ซม.3) ลูกบาศกเมตร (ม.3) ลิตร มิลลิเมตร มวล (Mass) มิลลิกรัม (มก.) กรัม (ก.) กิโลกรัม (กก.)

หนวยการวัดมุม ที่ตกลงใชกันในหนวย เอส ไอ คือ เรเดียน (Radien) หนวยวัดมุม 1 เรเดียน เทากับมุมที่จุดศูนยกลางวงกลมรองรับสวนโคงขนาดยาวเทากบัรัศมีของวงกลมนั้น ยอวา Rad 2πRad = 1 รอบหมุน (Revolution) เทากับ 4 มุมฉาก แตในทางปฎบิัติระบบองศา (Sexagesimal) ยังคงนยิมใชกันอยู โดยแบงหนวยของการวัดดังนี ้ 60 ฟลิปดา (Seconds) = 1 ลิปดา (Minute) 60 ลิปดา (Minute) = 1 องศา (Degree) 360 องศา (Degree) = 1 มุมรอบจุดศูนยกลาง มุมเรเดียน เทยีบกับ องศา จะไดเทากับ 1 Rad = 180/π Degree = 57.29578 Degree

1 Degree = π/180 Rad = 0.0174533 Rad หนวยของอุณหภูม ิ (Temperature units) สําหรับหนวย เอส ไอ กําหนดใหใชองศาเคลวนิ (Degree Kelvin, K) ในทางปฎิบัติยงัคงใชองศาเซลเซียส (Degree Celsius, C)

Page 9: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 9

มาตราสวน (Scales) มาตราสวน คืออัตราสวนของมิตทิี่แสดงบนแผนที่หรือแบบแปลนตอมิติของส่ิงเดียวกันซึ่งวัดบนพื้นที่จริง วิธีการแสดงมาตราสวน 1.แสดงแบบคําพูด เชน 1 เซนติเมตร แทน 1 เมตร หมายถึง ระยะ 1 เซนติเมตร บนกระดาษใชแทนระยะ 1 เมตรบนพื้นที่จริง 2.แสดงดวยการวาดขนาดมาตราสวนลงบนแผนที่หรือแบบแปลน เชนมาตราสวน1เซนติเมตร แทน 1 เมตร อาจใชวิธีการวาดแสดง ดังรูป 3.แสดงแทนดวยเศษสวน วิธีการนี้จะบอกตัวเลขในรูปเศษสวน โดยตัวตั้งหรือเศษแทนระยะบนแผนที่หรือแบบแปลนและจะกําหนดใหเปน 1 สําหรับตัวหารหรือสวนแทนระยะบนพื้นทีจ่ริง ดังนั้นมาตราสวน 1 เซนติเมตร แทน 1 เมตร เขยีนไดเปน 1/100 หรือ 1:100 การแปลงมาตราสวนใหอยูในรปูเศษสวน ตัวอยางที่ 1 ระยะ 1 เซนติเมตรบนแผนที่ แทนระยะ 75 เมตร บนดิน เขยีนเปนรูปเศษสวนไดดังนี้ = = 1:7500 ตัวอยางที่ 2 แปลนมาตราสวน 1:200 อยากทราบวา ระยะบนแปลน 7 เซนติเมตร จะแทนระยะจริงเทาไร มาตราสวน 1:200 หมายถึงระยะบนแปลน 1 ซม. จะเทากับระยะจริง 200 ซม. ดังนั้นระยะบนแปลน 5 ซม. จะเทากับระยะจริง 200×5 ซม. = 1000 ซม. = 1000/100 ม. = 10 ม. ตัวอยางที่ 3 แผนที่มาตราสวน 1 : 500 ระยะทางระหวางจุด 2 จุด วดัได 60 เมตร จะตองเขยีนระยะบนแผนที่ยาวเทาไร มาตราสวน 1:500 หมายถึง ระยะจริง 500 ม. ระยะที่ใชบนแผนที่เทากับ 1 ม. ถา ระยะจริง 60 ม. ระยะที่ใชบนแผนที่เทากับ 1×60/500 ม. หรือ เทากับ 1×60/500×100 = 12 ซม.

1 0 1 2 3 4 5 6 7 8

1 0.5 0 1 2 3 4 5 6 7 8

หนวยบนพื้นดิน หนวยบนแผนที่

75 ×100 เซนติเมตร 1 เซนติเมตร

Page 10: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 10

มาตราสวนที่แนะนําใหใชสําหรับระบบเมตริก ไอ เอส โอ (I.S.O. ,The international Organization for standardization) กําหนดมาตราสวนของงานไว ดังนี ้ แผนที่ ใชมาตราสวน 1:1000000 1:500000 1:200000 1:100000 1:50000 สํารวจเพื่อวางผังเมือง ใชมาตราสวน 1:50000 1:20000 1:10000 1:5000 สํารวจผัง บริเวณ ใชมาตราสวน 1:2000 1:1000 1:500 แปลนงานกอสราง ใชมาตราสวน 1:1000 1:500 1:200 แบบโครงสราง ใชมาตราสวน 1:100 1:50 แบบสวนประกอบ ใชมาตราสวน 1:20 1:10 1:5 1:1 และรายละเอียด การเทียบมาตราสวนขนาดหนึ่งวาใหญหรือเล็กกวาอีกมาตราสวนหนึ่ง จะเทยีบจากคาตัวเลขของมาตราสวน เชน มาตราสวน 1:100 = 1/100 = 0.01 มาตราสวน 1:200 = 1/200 = 0.005 เนื่องจาก 0.01 มากกวา 0.005 ดังนั้น มาตราสวน 1:100 จึงใหญกวา 1:200 คณิตศาสตรสาํหรับการสํารวจ นักสํารวจที่ดจีําเปนตองมีความรูทางคณิตศาสตรโดยเฉพาะเกีย่วกับวิชาตรีโกณมิติ สูตรที่ใชเปนประจํา มีดังนี ้ จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม B เปนมุมฉากจะได 1. Sin A =

ba 2. Cos A =

bc 3. Tan A =

ca

4. Cosec A = ab =

SinA1 5.Sec A =

cb =

CosA1 6. Cot A =

ac =

TanA1

A B

C

B A A B

C C

a a b b

c c

Page 11: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 11

จากรูปสามเหลี่ยมทั้งสองรูป ใชสูตรตรีโกณมิติ ดังนี ้ 7. กฎของ Sine (Sine rule)

SinAa =

SinBb =

SinCc = 2R

เมื่อ R คือรัศมีของวงกลมรอบรูปสามเหลี่ยมนั้น 8. กฏของ Cosine (Cosine rule) a2 = b2 + c2 - 2bc CosA ถา A เปนมุมปาน มุม CosA = - Cos (180 – A) 9. กฏของพื้นที่ (Area rule) เมื่อรูความยาว 2 ดาน และมุมระหวางดานทั้ง สอง พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC = ½ ab SinC = ½ bc SinA = ½ ac SinB เมื่อรูคามุม 2 มุม และดานที่อยูระหวางมมุทั้งสอง พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC = a2 Sin B Sin C / (2 Sin (B+C)) = b2 Sin A Sin C / (2 Sin (A+C)) = c2 Sin A Sin B / (2 Sin (A+B)) เมื่อรูความยาวดานทั้ง 3 ดาน สูตร S S = (a + b + c ) /2 พื้นที่สามเหลี่ยม ABC = ))()(( cSbSaSS −−− การหาคามุมจากสูตร S มุม A = )(2 1 aSSCos −−

Page 12: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 12

เรื่อง การบาํรุงรักษาเครื่องมือสํารวจ การสํารวจเปนงานทีจ่ะตองใชเครื่องมือที่มีความละเอียดสูง ดังนั้นการดูแลรักษาเครื่องมือสํารวจจึงถือวามีความสําคัญมาก เพือ่ใหใชเครื่องมือไดอยางมีประสิทธิภาพไดขอมูลการวัดที่ถูกตอง และมีอายุการใชงานคงทนถาวรที่สุด เนื่องจากเครื่องมือสํารวจเปนเครื่องมือที่มีราคาแพงและมีความละเอยีดสงู หากการเก็บรักษาไมถูกวิธีอาจมผีลทําใหเครื่องมือมีความคลาดเคลื่อน และชํารุดเสียหายไดงาย การซอมแซมตองเสียคาใชจายสูงทําใหตนทุนในการทํางานสูงตามไปดวย จึงควรทราบแนวทางการบํารุงรักษาเครื่องมือสํารวจตามลักษณะของเครื่องมือตางๆ ดังนี้ กลองสํารวจ ในที่นี้รวมถึงการใชกลองทุกชนิด เชนกลองระดับ กลองวัดมุม กลองเทเลสโคปติดเข็มทิศ อุปกรณเหลานี้มีความละเอียดสูง และมีโอกาสแตกหักเสียหายไดงายจึงตองระมัดระวังใหมาก การดูแลรักษาควรปฏิบัติดังนี้ 1.กอนนาํไปใชควรตรวจสอบกลอง และอุปกรณประกอบทีจ่าํเปน วาอยูในสภาพสมบูรณพรอมใชงานหรือไม หากพบปญหาควรแกไขใหเรียบรอยกอนนําไปใชงาน 2.นําเตรียมอุปกรณที่เปนเครื่องชวยยดือายุการใชงานไปดวย เชน รมกันแดด ถุงพลาสติกสําหรับคลุมกลองเมื่อฝนตกกระทนัหัน 3.ขณะเคลื่อนยายกลองไปไกลควรใสกลองบรรจุใหเรียบรอย เพื่อปองกันการกระทบกระเทือนหากตกหลน 4.การตั้งกลองควรกางขากลองออกแลวเหยยีบกดปลายขาใหฝงลงดินโดยเหยียบน้ําหนกัตามการเอียงของขาตั้งกลอง แลวตรวจดูสกรูยึดวาแนนดีแลวจึงคอยนํากลองออกจากกลองขึ้นมาสวมขาตั้ง โดยใชมือหนึ่งจับที่ตวักลองตรงที่แข็งแรงหรือตรงหหูิ้วกลอง สวนมืออีกขางหนึ่งชอนรับทีส่วนลาง 5.เมื่อกลองอยูกลางแจงขณะที่กําลังปฏิบัติงานใหกางรมบังแดดใหกับตวักลอง เนื่องจากหากถูกแดดรอนมากจะทําใหกลองเกิดการคลาดเคลื่อน และอายุการใชงานสั้นลง 6.เมื่อฝนตกใหรีบนําถุงพลาสติกที่เตรียมไว คลุมกลองกอนแลวจึงยกกลองหลบเขาในที่รมเพื่อไมใหกลองเปยกหรือถูกละอองฝน ซ่ึงอาจทําใหน้ําซึมเขาภายในกลองและเกดิเปนเชื้อราภายในตวักลองหรือสนิมขึ้นได 7.การยายกลองระยะไมไกลมาก ใหตรวจดวูากลองยึดติดกับสวนขาตั้งมั่นคงแลว จึงคอยยกกลองเคลื่อนยาย วิธีการยกกลองหากเปนกลองขนาดเล็กเชนกลองระดับ ใชวิธีรวบขาตั้งแลวอุมตัง้หรือเอียงเล็กนอย หรือแบกพาดบาโดยใหตัวกลองอยูดานหนา เพื่อใหสามารถเห็นตัวกลองขณะเคลื่อนยายจะไดไมกระทบกระแทกกับตนไม กิ่งไม และสิง่ตางๆ หากเปนกลองขนาดใหญเชนกลองวัดมุมจะตองเคลื่อนยายโดยสะพายหรอือุมใหกลองอยูในลักษณะตั้ง เพราะกลองมีน้ําหนกัมากหากแบกขึ้นบาอาจทําใหแกนของกลองสึกหรอ หรือคดเสียหายได 8.การตั้งกลองตองหลีกเลี่ยงการตั้งกลองในที่ที่อาจเกิดการเสยีหายแกตวักลอง เชนบริเวณที่ใกลกบัทางสัญจรที่มีรถวิ่งไปมา สนามกีฬา บริเวณที่มกีารเลี้ยงสัตว พื้นที่ล่ืนไดงายเชนพื้นขัดมนั ปูกระเบื้อง หากจําเปนก็ควรใชความระมัดระวังเปนพเิศษ

Page 13: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 13

9. สกรูยึดลอคหนากลอง หรือสกรูปรับแนวควรหมุนปรับ ล็อคใหแนนพอควรไมควรหมุนใหแนนมากจนเกินไปเพราะอาจทําใหเกลียวเสียได หากสกรูฝดมากก็ควรหยอดน้ํามันหลอล่ืนเพื่อใหใชงานไดคลอง 10.เมื่อมีช้ินสวนของเครื่องมือ อุปกรณ หลวมหรือหลุดออกมา ใหตรวจดูใสกลับที่เดิม หากปลอยไวอาจทําใหสวนอื่นๆเสียหายตามมาก็ได แตถาไมทราบวาเปนสวนใดใหเก็บไวกอนเพื่อหาโอกาสซอมแซมภายหลัง 11.เมื่อเลิกใชงานใหทาํความสะอาดโดยใชแปรงขนออนนุมปดฝุนออก ใชน้ํายาเช็ดเล็นส และกระดาษเช็ดเลนส หรือผาออนนิ่มเช็ดสวนที่เปนเลนส ปลอยใหแหงดแีลวจึงเก็บลงกลอง ใหเขาที่ตามลักษณะที่ผูผลิตออกแบบมา 12.ถาไมไดใชงานเปนเวลานานๆ ควรนํากลองออกมาหมุนเคลื่อนอุปกรณตางๆ โดยเฉพาะกลองที่เปนระบบอิเลคทรอนิคสควรนํามาเปดสวทิชบาง หากเก็บไวนานโดยไมมีใชงานวงจรอาจเสียได 13.อยาวางสิ่งของทับลงบนกลองเก็บกลอง เพราะอาจทําใหกลองที่อยูในกลองเสียหายได 14.การปรับแตงกลองควรปรับเฉพาะสวนภายนอกเทานั้น ไมควรถอดสวนใดๆของกลองออก หากมีปญหาก็ควรสงซอมกับบริษัทที่เปนตวัแทนจําหนาย เพราะสวนตางๆมีความละเอียดมากการปรับแตงโดยไมมีความชํานาญอาจเสียหายได 15.ภายในกลองเก็บกลองควรมีสาร Sillica Gel เพื่อชวยดูดความชื้นภายในกลอง เปนการปองกันเชื้อราและสนิม 16.กอนใชงานควรศึกษาวิธีการใชและการดแูลรกัษากลองจากคูมอืการใชงานใหดีเสียกอน

Page 14: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 14

โซและเทป 1.ขณะใชงานตองระวงัไมใหโซหรือเทป พันกัน เพราะอาจเปนสาเหตุใหสวนทีพ่ันกันขาด หกัหรือบิด งอ เสียรูปไดขณะดึงปลายทั้งสองใหตึง 2.อยาลากถูไปกับพื้นขณะทําการรังวัด เพราะจะทําใหเกิดรอยขีดขวนตัวเลขลบเลือน หรือเกี่ยวกับตอไม ทําใหโซ – เทป ขาดได ควรดึงใหลอยจากพื้นเล็กนอย แลวเดินตามกนัไปโดยใหคนที่อยูหลังเปนคนดูแล 3.หากโซ – เทป เปยกน้ํา จะตองเชด็ ใหแหง กอนจึงนําไปเก็บ โซ – เทป เหล็กหากเก็บนานก็ควรทาน้ํามัน เพื่อปองกันสนิม

อุปกรณสํารวจอื่นๆ อุปกรณอ่ืนๆ ในทีน่ี้หมายถึงอุปกรณสํารวจนอกจากที่ไดกลาวแลว เชน ขาตั้งกลอง หลักเล็ง หวงคะแนน ลูกดิง่ สมุดสนาม และอุปกรณประกอบตางๆ ก็จะตองใชงานอยางระมดัระวังเชนเดยีวกัน 1.สมุดสนาม นับวาเปนสิ่งที่มีความสําคัญมาก จะตองเก็บรักษาอยางด ี หากสูญหาย หรือเปยกน้ํา ไมสามารถอานขอมูลที่บันทึกไวได ก็จะตองทําการสํารวจใหมทั้งหมด เปนการเสียทั้ง เวลา และคาใชจายในการทํางาน 2.หวงคะแนน หลักเล็ง หมุดตางๆ เมื่ออยูในสนามแตยังไมไดใชงาน ควรปกไวรวมกัน หากวางนอนเมื่อเลิกงานจะเสยีเวลาในการคนหาและอาจหาไมเจอ หากพื้นทีป่ฏิบัติงานเปนที่รก

Page 15: เรื่อง ลักษณะว ิชาการส ํารวจ · 2019-04-30 · เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะว

เอกสารประกอบการสอน TAWATCHAI ลักษณะวิชาการสํารวจ 15

3.ควรวางอุปกรณตางๆไวในทีเ่ดียวกัน และวางไวในที่ที่สามารถมองเห็นได เพื่อสะดวกในการดูแลและหยิบใชงาน 4.ไมวางไมระดับโดยพิงกับพนังในลักษณะที่ไมมั่นคง เพราะอาจลมหัก เสียหายได 5.อุปกรณที่เปนเหล็กควรทาสีน้ํามันปองกันสนิม อุปกรณที่ใชในการสังเกตควรทาสีขาว-แดง เพื่อใหมองเห็นไดงายสะดวกในการเก็บคืน 6.จุดที่เปนจุดหมนุหรือขอพับ ควรดแูลหยอดน้ํามนัหลอล่ืนบางเปนครั้งคราว 7.หากมีการชํารุด หรือช้ินสวนใดหลดุไป จะตองซอมใหอยูในสภาพที่พรอมใชงานหากปลอยไวไมซอมและยังนําไปใชงาน จะทําใหเสียหายมากจนไมสามารถซอมใหกลับมาใชงานไดอีก 8.เมื่อเลิกงานจะตองทาํความสะอาด สวนที่ปกลงดินจะตองเชด็ ลาง ที่เปนเหล็กก็ควรทาน้ํามันหรือจาระบีหากตองเก็บนาน อุปกรณที่ทําจากไมหากเปยกน้ําจะตองผ่ึงใหแหงกอนจึงเก็บเขาที่