ลปากร - silpakorn university · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล...

400
การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถิ่น สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที5 โดย นางสาวประโรม กุยสาคร วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2547 ISBN 974-653-955-8 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 20-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถิ่น สําหรับนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5

โดย นางสาวประโรม กุยสาคร

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศกึษา 2547 ISBN 974-653-955-8

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

..THE DEVELOPMENT OF DRILL EXERCISE ON MULTIPLICATION AND DIVISION BY INTEGRATING LOCAL WISDOM FOR FIFTH GRADE STUDENTS

By Prarom Kuisakhon

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION

Department of Curriculum and Instruction Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2004

ISBN 974-653-955-8

Page 3: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร อนมุัติใหวิทยานพินธเร่ือง “การพัฒนาแบบฝก เสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 ” เสนอโดย นางสาวประโรม กุยสาคร เปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาหลักสูตรและการนิเทศ ..................................................................... (รองศาสตราจารย ดร. จิราวรรณ คงคลาย)

คณบดีบณัฑิตวทิยาลัย วันที่.......เดือน......................พ.ศ. .................

ผูควบคุมวิทยานิพนธ 1. อาจารย ดร. ประเสริฐ มงคล 2. อาจารย ดร. มาเรียม นิลพนัธุ 3. รองศาสตราจารย ประทิน คลายนาค คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ .......................................................ประธานกรรมการ (อาจารย ดร. วัชรา เลาเรียนด)ี ........../..................../................. .......................................................กรรมการ .......................................................กรรมการ (อาจารย ดร. ประเสริฐ มงคล) (อาจารย ดร. มาเรียม นิลพนัธุ) ........../..................../................. ........../..................../................. .......................................................กรรมการ .......................................................กรรมการ (รองศาสตราจารย ประทิน คลายนาค) (อาจารย กมล ปยภัณฑ) ........../..................../................. ........../..................../.................

Page 4: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

K 44253305 : สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คําสําคัญ : แบบฝกเสริมทักษะ / การคูณการหาร / การบูรณาการภูมิปญญาทองถิน่ ประโรม กุยสาคร : การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถิ่น สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 (THE DEVELOPMENT OF DRILL EXERCISE ON MULTIPLICATION AND DIVISION BY INTEGRATING LOCAL WISDOM FOR FIFTH GRADE STUDENTS) อาจารยผูควบคุมวิทยานพินธ : อ. ดร. ประเสริฐ มงคล , ผศ. ดร. มาเรียม นิลพนัธุ และ รศ. ประทิน คลายนาค. 388 หนา. ISBN 974-653-955-8 การวจิัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถิน่ สําหรับนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 มีข้ันตอนการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ 4 ข้ันตอน คือ (1) ศึกษาขอมลูพื้นฐาน (2) พัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ (3) ทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ (4) ประเมินผลและปรับปรุงแกไข โดยกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือนกัเรียนชั้นประถมศกึษาปที ่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี สังกัดเทศบาลเมืองกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร จํานวน 32 คน แบบฝกเสริมทักษะที่สรางขึ้นทดลองใชในภาคเรียนที่ 2 ปการศกึษา 2546 เปนระยะเวลา 6 สัปดาห สัปดาหละ 5 ชั่วโมง แบบแผนการทดลอง คือ One Group Pretest – Posttest Design เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม ประเด็นการสนทนากลุม แบบฝกเสริมทักษะ แบบการบันทึกการประเมินชิ้นงานนักเรียน แบบทดสอบผลการเรียนรู และคูมือครู วิเคราะหขอมูลดวยคารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t – test แบบ dependent และการวิเคราะหเนือ้หา ผลการวิจัยพบวา (1) นักเรียนและผูที่เกี่ยวของตองการใหมีการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เพือ่ใหนกัเรียนไดเรียนรูเรื่องราวภูมิปญญาทองถิน่จากแหลงเรียนรูในทองถิ่น โดยเปนการเรียนรูจากเรื่องใกลตัวไปสูเรื่องที่ไกลตวั (2) แบบฝกเสริมทักษะที่สรางขึ้นประกอบดวย คํานํา คําอธิบายการใชแบบฝก ใบความรูสําหรับนักเรียน ชุดแบบฝกเสริมทักษะ แบบทดสอบ และคูมือครู โดยแบบฝกเสริมทักษะมเีนื้อหา 4 เรื่อง คือ การคูณการหารจํานวนนับ (งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค) การคูณการหารระคน (มรดกทางวฒันธรรม :หลวงพอโตวดัดอนไกดี) การคูณการหารเศษสวน (ชูชองามตากลวยไมไทย) และการคณูการหารทศนิยม (สระหลวงปูคูวัดดอนไกด)ี ซ่ึงแบบฝกเสริมทักษะที่สรางขึ้นมีคาประสิทธิภาพ 80.63 / 80.94 (3) ทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะกบันักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ขณะทดลองนักเรียนมีความกระตือรือรน ตั้งใจเรียนสามารถปฏบิัติกิจกรรมและทาํแบบฝกได นักเรียนมีความสนใจในการแสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูในทองถิน่ (4) ผลการเรียนรูทางการเรียน เรื่อง การคูณการหารโดยการบรูณาการภูมปิญญาทองถิน่ กอนและหลังใชแบบฝกแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05 โดยหลังใชแบบฝกเสริมทักษะนักเรียนมีคะแนนสูงกวากอนใช นักเรียนเห็นดวยตอการใชแบบฝกในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นวา การเรียนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถิ่นเปนการเรียนที่นาสนใจ ชวยใหนักเรียนเขาใจเนื้อหาในบทเรียนมากยิ่งขึ้น ทําใหนักเรียนเขาใจเรื่องที่เรียนอยางชัดเจน แตควรมีปรับในเรื่องระยะเวลาใหมีความยืดหยุน โดยจัดกจิกรรมใหมีความเหมาะสมกับความตองการและความถนัดของผูเรียน ภาควิชาหลกัสูตรและวิธีสอน บณัฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศลิปากร ปการศึกษา 2547 ลายมือชือ่นักศึกษา........................................................ ลายมือชือ่อาจารยผูควบคุมวิทยานพินธ 1........................................ 2. ................................... 3. ..................................

Page 5: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

K44253305: MAJOR: CURRICULUM AND SUPERVISION KEY WORD: DRILL EXERCISE / MULTIPLICATION AND DIVISION / INTEGRATING LOCAL WISDOM PRAROM KUISAKHON : THE DEVELOPMENT OF DRILL EXERCISE ON MULTIPLICATION AND DIVISION BY INTEGRATING LOCAL WISDOM FOR FIFTH GRADE STUDENTS. THESIS ADVISORS : PRASERT MONGKOL, Ed.D., ASST. PROF. MAREAM NILLAPUN,Ed.D., AND ASSO.PROF. PRATIN KLAYNAK,M.Ed. 388 pp. ISBN 974-653-955-8. The purposes of this research was to develop the drill exercise on multiplication and division by integrating local wisdom for the fifth grade students which consisted of 4 stages as follow: 1) the study of the fundamental data toward the development of drill exercise 2) the development of the drill exercise, 3) the implementation of the drill exercise and 4) the evaluation and improvement of the drill exercise. The samples 32 fifth grade students of Wad Dorn Kai Tee School, under the jurisdiction of Maung Kra Tum Ban Municipal, Samut sakhon Province. The implementation of the drill exercise was conducted for 6 weeks with 5 hours a week during the second semester of the academic year 2003.The research design was One group Pretest-Posttest Design.The research instrument were the interview form, the questionnaires,the focus group guidelines, the drill exercise, the work assessment form and the learning outcome test. Percentage, Means, Standard Deviation, t - test dependent and content analysis were used for analyzing the data. The research findings were as follow: 1) the drill exercise was needed by students and involved persons in order to help the students learning the local wisdom from the local sources from familiar to unfamiliar contents. 2) The drill exercise were consisted of the preface, the explanation of using the drill exercise, the content knowledge, the set of drill exercises the learning outcome tests and teacher’ manual. The drill exercises comprised of 4 contents the multiplication and division of natural numbers, the combination of multiplication and division, the multiplication and division of fractions and the multiplication and division of decimals relevant to the community. The efficiency of the drill exercise was 80.63/80.94 3) The drill exercise was implemented with the fifth grade students. During the implementation period, the students were enthusiastic , intentionally study and able to do the activities and the drill exercises. Furthermore they were interested in searching more knowledge from the local sources. 4) After the implementation of the drill exercise, the students’ learning outcome scores on multiplication and division were statistically significant implementation at the level of 0.05 and the students were also agreed with the drill exercise at a high level. The drill exercise on multiplication and division by integrating the local wisdom was interesting and promoting the students’ understanding local wisdom precisely. The drill exercises enhanced students to understand the contents more easily. However it was recommended that time on task should be flexible and the activities should be suitable for the students’ needs and capabilities. Department of Curriculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2004 Student’s signature………………………………………… Thesis Advisors’ signature 1. …………………………….. 2. ……………………………….. 3. ……………………………

Page 6: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

กิตติกรรมประกาศ วทิยานิพนธเร่ือง “การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5” ฉบับนี้สําเร็จลงดวยดีเนื่องจากไดรับความเมตตา ความหวงใย รวมทั้งความปรารถนาดีจากทาน อ. ดร. วัชรา เลาเรียนดี ประธานคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานพินธ อ. ดร. ประเสริฐ มงคล อ. ดร. มาเรียม นิลพันธุ รศ. ประทิน คลายนาค อาจารยที่ปรึกษาวทิยานิพนธ ซ่ึงใหคําปรึกษาแนะนําแนวทางตลอดจนการแกไขขอบกพรองตาง ๆ อาจารย กมล ปยภณัฑ ผูทรงคุณวุฒิและคณาจารยทกุทานที่ประสิทธิ์ประสาทวิชา ตลอดจนมวลความรูที่หลากหลายแกผูวิจัย ซ่ึงเปนประโยชนอยางยิ่งตอการทําวิทยานพินธ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณทุกทานเปนอยางสูง กราบขอบพระคุณ อาจารยสุพจน แกวชูกุล อาจารยพัชรี ปยภัณฑ อาจารยสุมน โปษยกฤต อาจารยศรีพัตรา ยิ้มเจริญ และคุณพุทธิพงศ รัตนานุพงศ ที่กรุณาเปนผูเชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือ และใหขอแนะนําที่เปนประโยชนตอการทําวิทยานิพนธใหมีความสมบูรณ ขอบพระคุณ ผูบริหาร คณะครู และนักเรียน โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดีทีใ่หความรวมมือเปนอยางดีในการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล ตลอดจนการสนับสนุนในการศึกษาตอของผูวิจัยและเปนกําลังใจเสมอมา ความประทับใจอันมิอาจลืมเลือนจากความมนี้ําใจ ความเปนหวงเปนใยจากพี่นองชาวหลักสูตรและการนิเทศ รุนพิเศษ 5 รวมทั้งรุนพี่ เพือ่นสนิทและทกุทานที่ไมไดกลาวถึง ที่เปนกําลังใจ ชวยเหลือ รวมทั้งถอยคําที่สรางกําลังใจเมื่อเกดิความทอแท ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้ง ขอขอบคุณและจารึกไวในความทรงจําตลอดไป กราบขอบพระคุณคุณพอสมศักดิ์ คุณแมสุรินทร กุยสาคร ที่เปนกาํลังใจชวยเหลือผูวิจัย ตลอดจนเปนหวงเปนใย จนผูวจิัยศึกษาสําเร็จดังที่ความตั้งใจ ประโยชนและคุณคาที่เกดิจากวิทยานพินธฉบับนี้ผูวิจยัขอมอบบูชาแดพระคณุพอแมและบูรพาจารยทุกทานทีป่ระสิทธิ์ประสาทวิชาความรูทั้งหลายแกผูวจิัย

Page 7: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

สารบัญ หนา

บทคัดยอภาษาไทย ................................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ .................................................................................................................... ฉ สารบัญตาราง ............................................................................................................................ ฎ สารบัญแผนภูมิ ......................................................................................................................... ฏ บทที่ 1 บทนํา ........................................................................................................................... 1 ความสําคัญและความเปนมาของปญหา ............................................................... 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ...................................................................................... 9 วัตถุประสงคของการวิจยั .................................................................................... 13 คําถามการวิจยั ..................................................................................................... 13 สมมติฐานการวิจัย .............................................................................................. 13 ขอบเขตการวจิัย .................................................................................................. 14 คํานิยามศัพทเฉพาะ ............................................................................................ 15 2 วรรณกรรมที่เกีย่วของ ............................................................................................... 17 หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ........................................................................................................ 17 คุณภาพของผูเรียน ................................................................................... 18 คุณภาพผูเรียนคณิตศาสตรเมื่อจบชวงชั้นที่ 2 (ป.4 – 6 ) ........................ 19 สาระหลัก ................................................................................................ 19 ผังมโนทัศนสาระการเรยีนรูคณิตศาสตรชวงชั้นที่ 2 (ป.4-6) ................. 21 ผังมโนทัศนสาระการเรยีนรูคณิตศาสตรช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ............. 22 มาตรฐานการเรียนรูและผลการเรียนรูที่คาดหวงั .................................... 23 กระบวนการเรียนรู ................................................................................. 26 การวัดและการประเมนิผล ...................................................................... 27 หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐานโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี พ.ศ.2544 .......... 27 ความนํา ................................................................................................... 27 วิสัยทัศน ................................................................................................. 29

Page 8: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

บทที่ หนา โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยีนเทศบาลวดัดอนไกดี .............. 29 สาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 .......................................................................... 30 วิสัยทัศน ............................................................................................... 30 กําหนดสาระการเรียนรูรายป ................................................................ 30 การเรียนการสอนคณิตศาสตร ........................................................................ 31 ความหมายของการสอนคณิตศาสตร .................................................... 31 จุดมุงหมายในการสอนคณิตศาสตร ...................................................... 33 หลักการสอนคณิตศาสตร ..................................................................... 34 ความรูเกี่ยวกบัการคูณการหาร ........................................................................ 37 การคูณ .................................................................................................. 37 การจัดกจิกรรมเพื่อพฒันาทักษะการคูณ ............................................... 38 การหาร ................................................................................................. 39 การจัดกจิกรรมเพื่อพฒันาทักษะการหาร .............................................. 40 การเรียนการสอนแบบบูรณาการ .................................................................... 40 ความหมายของการบูรณาการ ............................................................... 40 ความหมายของการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ................................. 41 ลักษณะสําคัญของการบูรณาการ .......................................................... 43 รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ............................ 44 ขั้นตอนในการจัดการเรยีนการสอนแบบบูรณาการ .............................. 48 แบบฝก ............................................................................................................ 52 ความหมายของแบบฝก .......................................................................... 52 ลักษณะของแบบฝก ............................................................................... 53 ประโยชนของแบบฝก ............................................................................ 54 หลักในการสรางแบบฝก ........................................................................ 56 หลักทางจิตวิทยาที่เกีย่วกับการสรางแบบฝก ......................................... 59 ภูมิปญญาทองถ่ิน ............................................................................................. 61 ความหมายของภูมิปญญาทองถ่ิน .......................................................... 61 ประเภทของภูมิปญญาทองถ่ิน ............................................................... 63

Page 9: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

บทที่ หนา ภูมิหลังอําเภอกระทุมแบน : ภูมิปญญาทองถ่ินอําเภอกระทุมแบน ................ 67 งานวิจยัที่เกีย่วของ ........................................................................................... 78 งานวิจยัในประเทศ ................................................................................ 78 งานวิจยัตางประเทศ ............................................................................... 84 สรุป ................................................................................................................. 86 3 วิธีดําเนินการวิจยั .................................................................................................... 88 ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาขอมูลพืน้ฐานในการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ ................ 88 ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาและหาประสิทธภิาพของแบบฝกเสริมทักษะ ............ 96 ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ .............................................. 100 ขั้นตอนที่ 4 การประเมินและปรับปรุงแบบฝกเสริมทักษะ ............................ 103 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ....................................................................... 107 4 การวเิคราะหขอมูล ................................................................................................. 110 การศึกษาขอมลูพื้นฐานในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ ............................... 110 การศึกษาเกี่ยวกับนโยบายทางการศกึษา ................................................ 110 การวิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศกัราช 2544 .............. 111 การศึกษาทฤษฎีแนวคิดและงานวิจยั ...................................................... 112 การศึกษาความตองการเกี่ยวกับการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ .............. 113 การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ .......................................................................... 125 การสรางแบบฝกฉบับราง ...................................................................... 125 การประเมินแบบฝกฉบบัราง .................................................................. 127 การปรับปรุงแกไข ................................................................................. 130 การหาประสิทธิภาพแบบเดี่ยว ............................................................... 130 การปรับปรุงแกไข ................................................................................. 130 การหาประสิทธิภาพแบบกลุม ............................................................... 131 การปรับปรุงแกไขแบบฝกฉบับราง ....................................................... 131 การทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ .................................................................... 131 การประเมินและปรับปรุงแกไขแบบฝกเสริมทักษะ ........................................ 134 การประเมินหลังการใชแบบฝกเสริมทักษะ ........................................... 135 การสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน .................................................. 137

Page 10: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

บทที่ หนา การประเมินทักษะและความสามารถ (ช้ินงาน) ของนักเรียน ............... 139 การปรับปรุงแบบฝกเสริมทักษะ .......................................................... 140 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ..................................................... 141 สรุปผลการวิจัย .............................................................................................. 142 อภิปรายผล ..................................................................................................... 144 ขอเสนอแนะ .................................................................................................. 151 ขอเสนอแนะเพื่อการนาํแบบฝกเสริมทักษะไปใช ............................... 151 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ..................................................................... 152 ขอเสนอแนะเพื่อการวจิัยครั้งตอไป ..................................................... 153 บรรณานุกรม ...................................................................................................................... 154 ภาคผนวก ........................................................................................................................... 162 ภาคผนวก ก รายช่ือผูเชี่ยวชาญ .................................................................... 163 ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณความตองการ ................................................... 165 ภาคผนวก ค แบบสอบถามความตองการ .................................................... 170 ภาคผนวก ง แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู .............................................. 174 ภาคผนวก จ ประเด็นสนทนากลุม ................................................................ 176 ภาคผนวก ฉ รายช่ือผูเขารวมสนทนากลุม .................................................... 181 ภาคผนวก ช แบบสอบถามความคิดเหน็ของนักเรียน ................................... 183 ภาคผนวก ซ แบบการบันทกึการประเมนิชิ้นงานนักเรียน ............................ 187 ภาคผนวก ฌ แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียน ........................................ 190 ภาคผนวก ญ การวิเคราะหขอมูล .................................................................. 204 ภาคผนวก ฎ แบบประเมินแบบฝกเสริมทักษะ ............................................. 217 ภาคผนวก ฏ นโยบายโรงเรยีนเทศบาลวดัดอนไกดี ...................................... 219 ภาคผนวก ฐ ตารางกําหนดเนื้อหาขอสอบเรื่องการคูณการหาร .................... 221 ภาคผนวก ฑ แบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณการ ภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ....... 224 ประวัติผูวจิัย .......................................................................................................................... 388

Page 11: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและผลการเรียนรูที่คาดหวงัรายป ............................ 23 2 สรุปวิธีดําเนนิการวิจัยข้ันตอนที่ 1 การศึกษาขอมูลพื้นฐาน ................................. 95 3 สรุปวิธีดําเนนิการวิจัยข้ันตอนที่ 2 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพแบบฝก ........ 98 4 สรุปวิธีดําเนนิการวิจัยข้ันตอนที่ 3 การทดลองใชแบบฝก ................................... 102 5 สรุปวิธีดําเนนิการวิจัยข้ันตอนที่ 4 การประเมินและปรับปรุงแบบฝก ................. 106 6 จํานวนและรอยละของผูใหสัมภาษณ .................................................................... 114 7 จํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถาม .......................................................... 118 8 จํานวนและรอยละของผูเขารวมสนทนากลุม ........................................................ 122 9 ผลการพิจารณาความสอดคลองของแบบฝกเสริมทักษะ ....................................... 129 10 สรุปขั้นตอนการดําเนินการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ .................................... 134 11 แสดงผลสัมฤทธิ์ของคะแนนรายแบบฝกกอนและหลังเรียน ................................. 136 12 แสดงผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนความรูความสามารถ .............................. 136 13 ความคิดเห็นของนักเรียนเกีย่วกบัการเรียนจากแบบฝกเสริมทักษะ ...................... 137 14 แสดงคะแนนการทําชิ้นงานของนักเรียน .............................................................. 140 15 ผลการพิจารณาความสอดคลองของแบบสอบถามความคิดเห็น ........................... 205 16 ผลการพิจารณาความสอดคลองของแบบประเมินชิ้นงาน ..................................... 207 17 แสดงผลการวิเคราะหคาความยากงายอํานาจจาํแนกแบบทดสอบกอนเรียน ......... 208 18 แสดงผลการวิเคราะหคาความยากงายอํานาจจาํแนกแบบทดสอบหลังเรียน .......... 209 19 แสดงผลการหาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ............. 210 20 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝกในขั้นเดี่ยว ............................................ 212 21 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝกในขั้นกลุม ............................................ 212 22 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝกในขั้นสนาม .......................................... 213 23 แสดงผลการทดสอบความรูความเขาใจกอน-หลังใชแบบฝก ................................ 215 24 ตารางกําหนดเนื้อหาขอสอบเรื่องการคูณการหาร ................................................. 222

Page 12: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

สารบัญแผนภูม ิแผนภูมิที่ หนา 1 กรอบแนวความคดิการวจิัย ................................................................................... 12 2 ผังมโนทัศนการเรยีนรูคณิตศาสตรชวงชั้นที่ 2 (ป.4-6) ......................................... 21 3 ผังมโนทัศนการเรยีนรูคณิตศาสตรช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ................................... 22 4 แผนผังการสนทนากลุม ......................................................................................... 121

Page 13: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

1

บทที่ 1

บทนํา ความสําคัญและความเปนมาของปญหา สังคมโลกในสหัสวรรษใหมไดเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ดวยอิทธิพลของความกาวหนาทางดานการสือ่สาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีเครือขายโยงใยไปทั่วโลก เชน ระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่เรียกวา “อินเตอรเน็ต” (Internet) อันทําใหสังคมโลกเปนสังคมแหงขาวสารขอมูล เปนโลกไรพรมแดน ดังนั้นการพัฒนาสังคมทามกลางการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทั้งในแงบวกและแงลบอันมีผลกระทบเชื่อมโยงจากบริบทสงัคมโลก เพื่อใหสังคมไทยสามารถกาวไปขางหนาไดอยางมั่นคง และทัดเทียมกับอารยประเทศไดอยางมีศักดิ์ศรี โดยที่ประชาชนมีความสุข ครอบครัว ชุมชนมีสันติ การพัฒนาคุณภาพคนจึงเปนสิ่งที่สําคัญ ดวยเหตุนี้การศึกษาจงึเปนปจจยัสําคัญในการสรางและพัฒนาความรู ความคิด ความประพฤติ และคุณธรรมของบุคคล สังคม บานเมืองใดใหการศกึษาทีด่ีแกเยาวชนไดอยางครบถวน ลวนพอเหมาะกันทุก ๆ ดาน สังคมและบานเมืองนัน้ก็จะมีพลเมืองที่มีคุณภาพ ซ่ึงสามารถธํารงรักษาความเจริญมั่นคงของประเทศชาติไว และพฒันาใหกาวหนาตอไปไดโดยตลอด (พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลปจจุบัน 2524 : 87) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 4 ไดระบุถึงความหมายของ “การศึกษา” เปนกระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล และสังคมโดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกดิจากการจดัสภาพแวดลอมทางสังคม การเรียนรูเปนปจจัยที่เกื้อหนนุใหบุคคลเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ซ่ึงกําหนดไวในมาตรา 22 ใหการจัดการศกึษาตองยึดหลักวาผูเรียนทกุคนมีความสามารถเรียนรู และพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศกึษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตนตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพสอดคลองกับมาตรา 24 ขอ 2 ขอ 3 และขอ 5 ไดระบุใหการจัดกระบวนการเรียนรูเพือ่ฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและแกปญหา จัดกจิกรรมใหผูเรยีนไดเรียนรูจากประสบการณจรงิฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอาน และเกดิการใฝรูอยางตอเนื่อง

Page 14: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

2 รวมทั้งสงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรียน และอํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกดิการเรยีนรู และมีความรอบรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหลงวิทยาการประเภทตาง ๆ (กระทรวงศึกษาธิการ 2546 : 11-12) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545 –2549) ไดกําหนดยทุธศาสตรโดยมีวตัถุประสงคเพื่อพัฒนาคน ใหมีคุณภาพ สุขภาพแข็งแรง คิดเปน ทําเปน มีการเรียนรูตลอดชวีิต มีวิธีคิดอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินยั ซ่ือสัตยสุจริต และรับผิดชอบตอสวนรวม รวมทั้งสามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศและภูมปิญญาทองถ่ินมาผสมผสานใหเกิดความสมดลุในการยกระดับคุณภาพชีวติ (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ 2545 : 38) การที่วัตถุประสงคดังกลาวจะประสบผลสําเร็จไดก็โดยการใหการศึกษากับคน และคณิตศาสตรก็เปนสาระการเรียนรูหนึ่งที่สามารถชวยในการพัฒนาคุณภาพชวีิตของคนได เพราะคณิตศาสตรเปนสาระหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาความคดิของมนุษยทําใหมนุษย มีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ ระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหา และแกสถานการณไดอยางถ่ีถวนรอบคอบ ทําใหสามารถคาดเดาวางแผนตัดสินใจและแกปญหาไดอยางถูกตองเหมาะสมคณิตศาสตรเปนเครื่องมือในการศกึษาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีตลอดจนศาสตรอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของ คณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอการดํารงชีวติและชวยพัฒนาคุณภาพชีวติใหดขีึ้น นอกจากนี้คณิตศาสตรยังชวยพัฒนามนุษยใหสมบรูณมีความสมดุลทั้งรางกาย จติใจ สติปญญา และอารมณ สามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน และสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 :1) ในทํานองเดียวกันคณิตศาสตรเปนสาระการเรียนรูทีม่ีความสําคัญมากในการพฒันาคุณภาพบคุคล เนื่องจากคณิตศาสตรจะชวยฝกทักษะการคิดอยางมีเหตุผล การคิดสรางสรรค ที่เปนพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิตและการเตรยีมตัวของนักเรยีน เพื่อเปนสมาชิกที่ดีของสังคม สงเสริมนักเรียนใหมกีารพัฒนาตนเอง รูจักวิธีการแกปญหาและสามารถตัดสินใจในการเลอืกอาชีพตามความถนัด ความสนใจ และความสามารถของตนเอง (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 :13) ความสําคัญดังกลาว หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 จึงกําหนดใหคณิตศาสตรเปนสาระการเรียนรูหนึ่งที่สถานศึกษาตองใชเปนหลักเพื่อสรางพื้นฐานการคิด การเรียนรู และการแกปญหาใหกับผูเรียน การใชหลักสูตรคณิตศาสตรระดับประถมศกึษา ผูสอนจะตองพยายามศึกษาคนควาใหเปนผูมีความรูในเนื้อหาสาระและพัฒนาดานวิธีสอน ดานเทคนิคการคิดคํานวณ เทคนิคการแกโจทยปญหา นอกจากนี้ผูสอนยังตองเปนบุคคลตัวอยางที่ดีในเรือ่งตาง ๆ อีกดวย (กระทรวงศึกษาธิการ 2545 ก : 25) ในสวนของกระบวนการเรียนรูการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเปนหลักการสําคัญหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน

Page 15: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

3 พุทธศักราช 2544 ซ่ึงหลักการสําคัญของการจัดการเรยีนการสอนแบบนี้ก็คือความยืดหยุนคลองตัว เอื้อใหผูเรียนสามารถนําความรูและประสบการณเดิมเขาสูหองเรียนได โดยครูตองจัดการเรยีนการสอนใหผูเรียนรูสึกวามีเสรีภาพในการเรียน (กระทรวงศึกษาธิการ 2544 ก : 58) สวนดานกระบวนการเรียนรูตามหลกัสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรนัน้มุงเนนใหผูเรียนไดมีทกัษะและกระบวนการที่สําคัญ คือ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ทักษะการคิดคํานวณ กระบวนการเชิงเหตุผล และกระบวนการคิด วิเคราะหในเชิงตรรกะ สวนในคุณลักษณะที่มุงหวังในกลุมคณิตศาสตรมุงหวังใหผูเรียนเปนผูมีเหตุผล มีสมาธิ มีความคิดเปนระบบ มวีิจารณญาณ มีจิตวิทยาศาสตร (scientific mind) นําคณิตศาสตรไปใชเพื่อประโยชนของสังคมและโลกในทางสรางสรรค มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค นําศักยภาพของคณิตศาสตรไปใชในการทํางานและพัฒนาเทคโนโลยี และชีวิตประจําวัน มีความซื่อสัตยสุจริต นารัก นาคบ มีระเบียบวนิัย ประณีต รอบคอบ มีสมาธิในการทํางาน ทํางานเปนระบบ รักการเรียนรูคณติศาสตร เปนตน (กระทรวงศึกษาธิการ 2544 ก : 10,13) จะเหน็ไดวาหลักสตูรตลอดจนกระบวนการเรยีนรูของหลักสูตร และคุณลักษณะที่มุงหวังในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรจะมุงเนนทั้งดานความรู ความเขาใจในเนื้อหาวิชา ทักษะในการคิดคาํนวณ และคุณลักษณะอนัพึงประสงคใหเกิดขึ้นกับตัวผูเรียน ตลอดจนการจดัการเรียนรูแบบบูรณาการเพื่อความยืดหยุนคลองตัว ยดึผูเรียนเปนสําคัญในการเรยีนการสอนตลอดจนเอื้อใหผูเรียนสามารถนําความรูและประสบการณมาใชแกปญหาในชีวิตประจําวันได ซ่ึงเหน็ไดวาคณิตศาสตรสามารถพัฒนาใหผูเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ตามความคาดหวังของหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 คือใหผูเรียนเปนมนุษยที่สมบูรณ เปนคนดี มีคุณธรรม มีคานิยมที่ดี มีจิตใจใฝรู และพัฒนาตนเองอยูเสมอ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห ตัดสินใจ แกไขปญหา และพึ่งตนเองได พฒันาตนเองไปสูความเปนสากลบนพื้นฐานของความเปนไทย (กระทรวงศึกษาธิการ 2544 ก : คํานํา) การจัดการเรียนรูตามพระราชบญัญัติการศึกษาแหงชาต ิ พทุธศักราช 2542 และตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พทุธศักราช 2544 จะตองเนนความสําคัญของผูเรียนควบคูไปกับธรรมชาติของวิชา ครูจะตองรูใจเด็กใหนักเรยีนรูทีห่ลักการวิธีการเรียนรู และคุณธรรมที่เกดิตามธรรมชาติของวิชาโดยในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร การเรียนคณิตศาสตรตองเรียนความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร ทักษะการคิดคํานวณ เรียนแลวตองเกิดคณุลักษณะ คือ ความมีเหตุผล ความรอบคอบ มีระเบียบวินัย เปนตน ส่ิงเหลานี้เรียกวา รอบรู ครูตองสงเสริมใหผูเรียนนําวิธีการ หลักการไปสรางงาน สรางโครงการ เพื่อใหรูลึกฝกบอย ๆ จนเกิดรูปแบบการคิด การปฏิบัติของตนเองและเขาใจถึงปญหาที่เรียกวา รูแจง (กระทรวงศึกษาธิการ 2544 ก : 21)

Page 16: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

4 เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนใหมีคุณคา และชวยลดปญหาการเรียนการสอนการนาํนวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษาสมัยใหมมาประยุกตใชไดแก ส่ือการสอนประเภทตาง ๆ เชน วิทยุ โทรทัศน ภาพยนตร แถบบันทึกภาพ สไลด และเครื่องชวยสอนอื่น ๆ เปนตน สําหรับกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรส่ือชนิดหนึ่งที่สอดคลองกับธรรมชาติของสาระที่จะตองใหผูเรียนไดรับการฝกบอย ๆ จนเกดิรูปแบบการคิดการปฏิบัติของตนเองมากที่สุด คอื แบบฝกเพราะแบบฝกเปนสื่อการสอนที่จัดทําขึ้นเพื่อใหผูเรียนไดศึกษาทําความเขาใจ และฝกจนเกิดแนวคดิที่ถูกตองและเกิดทักษะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง นอกจากนัน้แบบฝกยังเปนเครื่องบงชี้ใหครูทราบวาผูเรียนมีความรูความเขาใจในบทเรียนและสามารถนําความรูไปใชไดมากนอยเพียงใด ผูเรียนมีจดุเดนที่ควรจะสงเสริมหรือจุดดอยที่ตองปรบัปรุงแกไขตรงไหนและอยางไร (วรสุดา บุญยไวโรจน 2537 : 37) อีกทั้งแบบฝกยงัสามารถนําไปใชกับการเรยีนการสอนในรูปแบบตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย โดยผูสอนสามารถเลือกใชแบบฝกใหเหมาะกับการเรียนการสอนและเนื้อหาสาระตามตองการ เชน CIPPA Model ศูนยการเรียน ชุดการสอน การศึกษาดวยตนเอง เปนตน การคูณการหารเปนเนื้อหาสวนหนึ่งในวิชาคณิตศาสตร โดยการคูณและการหารเปนทักษะการคิดและความรูพืน้ฐานที่จําเปนของมนุษย เพื่อใชในการดํารงชีวิตประจําวนัและจําเปนสําหรับการเรียนคณิตศาสตรในชั้นสูงขึ้นไป การคูณและการหารเปนทักษะพืน้ฐานที่นกัเรียนจะตองไดรับการฝกฝนจนเกดิทักษะสามารถหาผลคูณและผลหารไดอยางรวดเร็ว ถูกตองและแมนยํา (วลัภา อารีรัตน 2532 : 18) ซ่ึงแบบฝกที่มีอยูในหนังสือแบบเรียนอยางเดียวจึงไมเพียงพอที่จะกอใหเกิดการเรยีนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ ครูจึงตองมีศลิปะในการสอน การเตรียมบทเรียน พรอมทั้งสรางแบบฝกหัดเพิ่มเตมิหลาย ๆ แบบ (Broughton 1967 ,Dacanay and Bowen 1963 , อางถึงใน โสภา พรหมรักษ 2536 :4-5) นอกจากนั้นแลวการฝกทักษะจากแบบเรียนอาจทําใหนักเรยีนเกิดความเบื่อหนายไมกระตอืรือรนเทาที่ควรผลที่ตามมาก็คือ ทําใหนกัเรียนไมชอบเรียนคณิตศาสตรมีเจตคติที่ไมดีตอการเรียนคณติศาสตร (ดวงเดือน ออนนวม 2536 : 55 ) ในสวนของการนําขอมูลภูมิปญญาทองถ่ินมาสัมพันธเชื่อมโยงสอดแทรกเนื้อหาสาระรวมกบัเรื่องการคูณการหาร ซ่ึงสอดคลองกับแนวการจัดการศึกษาตามพระราชบญัญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พุทธศักราช 2545 ที่วาการจัดกระบวนการเรียนรูตองเชื่อมโยงองคความรูกับศิลปะและภูมปิญญาของทองถ่ิน (กระทรวงศึกษาธิการ2545 ก : 3) อีกทั้งยังทําใหผูเรียนไดเรียนรูเรื่องราว และวัฒนธรรมที่อยูในทองถ่ินโดยถือวาเปนการบูรณาการการเรียนรู อันเปนไปตามแนวการจดัการเรยีนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุธศักราช 2544 ที่ใหการเรียนรูในสาระตาง ๆ มกีระบวนการและวธีิการที่หลากหลาย ผูสอนตองคํานึงถึงพัฒนาการทางดานรางกาย และสติปญญา วิธีการเรียนรู ความสนใจ และความสามารถของผูเรียนเปนระยะ ๆ อยาง

Page 17: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

5 ตอเนื่อง ดังนั้นการจดัการเรียนรูในแตละชวงชัน้ ควรใชรูปแบบ/วธีิการที่หลากหลาย เนนการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูรวมกัน การเรียนรูจากธรรมชาติ การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และการเรียนรูแบบบูรณาการ (กระทรวงศกึษาธิการ 2544 ข : 21) ตลอดจนการเรียนรูจากภูมิปญญาทองถ่ินซึ่งเปนสิ่งที่ใกลตัวผูเรียนเปนปจจุบันมองเหน็เปนรูปธรรม เปนสิ่งที่ชวยใหผูเรียนเกดิการเรียนรูไดรวดเร็วยิ่งขึ้นและสอดคลองกับกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา (อางถึงใน กระทรวงศึกษาธิการ , กรมวิชาการ 2539 : 5 ) ไดกลาวไววา การจัดการศึกษาไมสามารถแปลกแยกไปจากทองถ่ินเพราะการศึกษาตองนําเอาประเด็นทองถ่ินนั้น ๆ มาเปนสวนหนึ่งของการจัดการเรยีนการสอนเพื่อใหเดก็เกดิความภาคภูมใิจในรากเหงาของตนเอง สามารถทําใหเด็กจบการศึกษาออกไปมีสวนรับผิดชอบและมีความสามารถที่จะสรางสรรคสังคมได ปจจุบันพบวาการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรนั้น ไมประสบผลสัมฤทธ์ิเทาที่ควร จากรายงานผลการแขงขันคณิตศาสตรโอลิมปคนานาชาติเปรียบเทียบ ระหวางประเทศในแถบเอเชียและประเทศไทย ระหวางป พ.ศ.2537 – 2541 พบวาความรูความสามารถทางดานคณิตศาสตรของเด็กไทยต่ํากวาทกุประเทศ คอืประเทศจีนมคีะแนนรวมสงูสุด รองลงมาไดแก เวียดนาม ไตหวนั สิงคโปรและไทยตามลําดับ และจากการเปรียบเทยีบคะแนนเฉลี่ยในการทดสอบวิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรของนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปที ่4 จากประเทศเอเชียตะวันออกในป พ.ศ.2538 พบวาประเทศไทยมีคะแนนเฉลี่ยต่ํากวาทุกประเทศ คือ ประเทศสิงคโปรมีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาไดแกเกาหลีใต ญี่ปุน ฮองกง อิสราเอล และประเทศไทยตามลําดับ (วทิยากร เชียงกลู 2542 : 34,37) ซ่ึงผลการวิเคราะหและเปรียบเทยีบคะแนนสะทอนใหเห็นถึงปญหาในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตรวายังไมสามารถสรางใหผูเรียน ประสบผลสัมฤทธ์ิตามเปาหมายที่ตัง้ไว จากรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับประถมศึกษา ช้ันประถมศึกษาปที ่ 3 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี สังกัดเทศบาลเมอืงกระทุมแบน ปการศึกษา 2544 ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ พบวาคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร ไดเพยีงรอยละ 44.90 ซ่ึงต่ํากวาเกณฑคอื รอยละ 60 และต่ํากวากลุมสาระอื่น ๆ นอกจากนี้การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสาระการเรียนรูคณติศาสตรระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวดัดอนไกดี ปการศึกษา 2544 และปการศึกษา 2545 พบวาคะแนนเฉลี่ยไดรอยละ 62.86 และ 68.90 ตามลําดับซึ่งแมจะผานเกณฑเปาหมายที่ตัง้เอาไวรอยละ 60 แตกย็ังไมเปนที่นาพอใจเทาที่ควรและเมื่อแยกตามรายจุดประสงคการเรียนรูพบวาความรูความเขาใจ และทกัษะในการคิดคํานวณเรื่องการคูณการหารต่ํากวารายจุดประสงคอ่ืน ๆ จากรายงาน

Page 18: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

6 ดังกลาวแสดงใหเห็นวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตรของโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี ยังไมบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว สาเหตุที่เกิดขึ้นนั้นมาจากปญหาหลายประการ เชน ปญหาที่เกิดจากเนื้อหาของหลกัสูตร ตัวครูผูสอน และตัวนักเรียนเอง โดยปญหาดานเนื้อหาหลักสูตร ของวิชาคณิตศาสตรที่กําหนดใหเรียนมีมากเกนิไปทําใหยากแกการรับรูของนักเรียนสวนใหญ และยากแกการสอนในเวลาที่จํากัด ประกอบกับธรรมชาติของคณิตศาสตรมีลักษณะที่เปนนามธรรม ทําใหเขาใจยาก (บุญทัน อยูชมบุญ 2529 : 34-35) สวนปญหาดานตวัครูผูสอน พบวาครูผูสอนมักไมทําความเขาใจเกี่ยวกับหลักสูตร คูมือครู และการวัดผลประเมินผล ครูใชวิธีสอนที่ไมถูกตอง โดยใชวิธีอธิบายความรูมากที่สุด รองลงมาคือ การฟงผูเรียนพูด นอกจากนั้นยังมีการถามใหนกัเรียนตอบคําถาม เขียนกระดานดํา ตรวจงานนักเรียนและชมเชย มีครูเพยีงสวนนอยทีม่ีกิจกรรมรวมกับนักเรียน การปกครองควบคุมชั้นไมถูกตอง บรรยากาศการเรียนการสอนไมดี มีการลงโทษเมื่อนักเรียนไมทําแบบฝกหัดและครูไมมีความรูเกี่ยวกับเรื่องที่สอน และไมเคยไดรับการนิเทศ (สุโขทัยธรรมมาธิราช 2537 ,อางถึงใน วิไลวรรณ พุกทอง 2542 : 3) ซ่ึงปญหาดังกลาวสอดคลองกับการสัมภาษณผูบริหารและเพื่อนครูโดยพบวา ครูไมคอยไดเตรยีมการสอน สอนตามหนังสือแบบเรียน ไมคอยไดใหผูเรียนไดทําแบบฝกหัดเสริมเทาที่ควร สวนปญหาในดานตัวนกัเรียน พบวานกัเรียนขาดความรูพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในระดบัชั้นตนขาดความชอบ ความสนใจ และทัศนคติทีด่ีตอคณิตศาสตร โดยคิดวาการเรียนคณิตศาสตรเปนเรื่องที่ยากที่สุด เนื้อหาบางเร่ืองนักเรียนไมไดนํามาใชในชีวิตประจําวนั (จรรยา อาจหาญ 2534 , อางถึงใน วิไลวรรณ พุกทอง 2542 : 3 ) และจากการสัมภาษณครูผูสอนและนกัเรียนพบวาเนื้อหาทีเ่ปนปญหา และผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิต่ําก็คือ เนื้อหาเรื่องการคูณและการหาร ซ่ึงสอดคลองจากการสัมภาษณนกัเรียนสวนใหญพบวาเนือ้หาที่นักเรยีนไมคอยชอบเรยีน เบื่อหนายที่จะเรียนและทําไมคอยได ก็คือ เนื้อหาเรือ่งการคูณและการหาร เชนกัน จากขอมูลที่กลาวมาสามารถวิเคราะหและสรปุปญหาไดดังนี้ คือ (1) ดานเนื้อหาหลักสูตรมีเนือ้หาที่มากเกินไป มีลักษณะเปนนามธรรม อีกทั้งเปนเรื่องที่ไกลตัวซ่ึงยากแกการรับรูและเขาใจแกผูเรียน (2) ดานตัวครูผูสอน คือ ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยยึดตวัครูเปนศูนยกลางขาดความรูความเขาใจในเนื้อหาวิชาและเทคนคิวิธีสอนโดยยังคงสอนยึดเนื้อหาหลักสูตรจากสวนกลางไมไดปรับ หรือบูรณาการเนื้อหาใหเชื่อมโยงกับเรื่องที่ใกลตัวผูเรียนหรือเร่ืองราวในทองถ่ินอันจะทําใหผูเรียนเกดิความเขาใจในเนื้อหาไดงายข้ึน (3) ดานตัวนกัเรียน นักเรียนขาดทักษะในการคิดคํานวณ ไมไดรับการสงเสริมใหฝกคิดฝกทําและมีเจตคติที่ไมดีตอวชิาคณิตศาสตร เพื่อใหการจดัการเรียนการสอนวิชาคณติศาสตรมีผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมายที่วางไว ครูเปนผูที่มีบทบาทสําคัญยิ่งในการจัดการเรยีนการสอน โดยครูจะตองเปนผูที่ทําใหนกัเรียนรูจกัวิธี

Page 19: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

7 คิดและมีทักษะในการคิดคํานวณ เครื่องมือหรือวิธีการที่จะสรางเสริมใหนกัเรียนบรรลุเปาหมายก็คือ การฝกใหนักเรยีนมีความสามารถในการคิดคํานวณในชัน้เรียน ซ่ึงประสบการณฝกทักษะในการคิดคํานวณในชัน้เรียนนี้จะเปนรากฐานสําคัญถายโอนไปสูการพฒันาวิธีคิด และเสริมสรางทักษะการแกปญหาคณิตศาสตร ในชีวิตประจําวนัใหแกนักเรยีนได (จรูญ จียโชค 2532 : 28) จากการวิเคราะหคาํถามของครูผูสอนเกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร ระดับประถมศึกษา ของวิรัตน ไวยกุล และวณีา วโรตมะวชิญ (2529 , อางถึงใน สุกัญญา โพธิสุวรรณ 2541 : 3) พบวา การจัดกิจกรรมการเรยีนการสอนสาระการเรียนรูคณิตศาสตรใหเปนไปตามจดุประสงคของหลักสูตร ครูจําเปนตองกระตุนและสรางแรงจูงใจใหนกัเรียนฝกปฏิบตัิดวยเทคนิควธีิตางๆ จึงจะสามารถพัฒนาความรูความเขาใจนั้นใหเปนทักษะที่ชํานาญได กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตรจึงจําเปนตองใหผูเรียนฝกปฏิบัติดวยตนเอง ไดแกการทําแบบฝกหัด การเลนเกมคณิตศาสตร การวาดรูปเหมือนกับรูปที่กําหนด เปนตน จากงานวิจัยของ กติกา สุวรรณสมพงศ (2541 : 45) พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ทําแบบฝกหดัที่สรางขึ้น กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทีท่ําแบบฝกหัดในหนังสือเรียนไมแตกตางกนั แตความคงทนในการเรียนรู และเจตคติตอสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ของนักเรียนที่ทาํแบบฝกหัดทีส่รางขึ้นสูงกวานักเรียนที่ทําแบบฝกหัดในหนังสือเรียน สวนงานวจิัยของ สุกัญญา โพธิสุวรรณ (2441 : 51) พบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณติศาสตรของนักเรียนทีเ่รียนโดยใชแบบฝกทักษะการวิเคราะหโจทยปญหา สูงกวานกัเรียนที่เรียนโดยใชแบบฝกทักษะในแบบเรียนคณติศาสตรเพียงอยางเดยีว และนักเรียนที่เรียนโดยใชแบบฝกทักษะการวเิคราะหโจทยปญหายังมีกระบวนการในการแกโจทยปญหา โดยมีการอานวิเคราะหขอมูลสวนประกอบของโจทยปญหา การเลือกวิธีคํานวณ การเขยีนประโยคสัญลักษณ การแสดงวิธีทํา และการตรวจคําตอบ สวนนกัเรียนที่เรียน โดยใชแบบฝกในหนังสือเรียนคณิตศาสตรสวนใหญจะไมมกีระบวนการวเิคราะหขอมูล แตคิดแกปญหาโดยแสดงวิธีทําตามตัวอยางในแบบเรยีน จากที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวา แบบฝกหัดเปนสื่อการสอนที่มีประโยชนที่สามารถทําใหผูเรียนไดศึกษาทําความเขาใจ และฝกทําจนเกดิแนวคิดที่ถูกตองและเกดิทกัษะในเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง นอกจากนัน้แบบฝกหัดยงัเปนเครื่องบงชี้ใหครูทราบวาตวัผูเรียนมีความรูความเขาใจในบทเรียน และสามารถนําความรูนั้นไปใชไดมากนอยเพยีงใด ผูเรียนมจีุดเดนที่ควรจะสงเสริมหรือจุดดอยที่ตองปรับปรุงตรงไหน อยางไร (วรสุดา บุญยไวโรจน 2537 : 37) จากปญหาและความสําคัญดังกลาว ผูวจิัยในฐานะที่เปนครูผูสอนสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 จึงมีความสนใจที่จะพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะเรือ่ง การคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 เพื่อ

Page 20: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

8 เปนแนวทางในการนําไปใชเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นซึ่งสอดคลอง ตามพระราชบญัญัติการศึกษา พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 หมวดที่ 9 มาตรา 64-66 ไดกลาววา รัฐตองสงเสริมสนับสนุนเรงรัดพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร ใหมีความรูทักษะในการผลิตและพฒันาแบบเรยีน ตํารา หนังสือทางวิชาการ ส่ิงพิมพอ่ืนๆ และรูจักนําเทคโนโลยีเพื่อการศึกษามาใชเพื่อพัฒนาขดีความสามารถของผูเรียนไดอยางมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ นอกจากนั้นพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ในมาตรา 7 ไดกลาววา กระบวนการเรียนรูตองปลูกจิตสํานึกที่ถูกตองมีความภูมิใจในความเปนไทย สงเสริมศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทย สวนมาตรา 23 (3) กลาววา ใหนักเรียนมีความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใชภูมิปญญา อีกทั้งมาตรา 27 กลาววา ใหสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหนาทีจ่ดัทําสาระการเรียนรูเกีย่วกับสภาพปญหาในชุมชน และสังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน และมาตรา 29 ไดระบุวา ใหสถานศกึษารวมกับชุมชน องคกรตาง ๆ สงเสริมความเขมแข็งของชุมชนโดยการจัดการเรยีนรูภายในชุมชนใหผูเรียนไดใช กระบวนการในการแสวงหาความรูขอมูลขาวสาร และรูจักเลือกสรรภมูิปญญาและวทิยาการตาง ๆ ในชุมชน (กระทรวงศกึษาธิการ 2546 : 11, 13,14,30,31) อีกทั้งยังสอดคลองกับหลักการจัดการเรียนรูตามหลกัสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ที่วา การจัดการเรยีนรูแบบบูรณาการเปนหลักการสําคัญหนึ่งตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 นอกจากนั้นยังสอดคลองกับจุดมุงหมายของหลักสูตรที่ตองการใหผูเรียนเกิดคณุลักษณะอันพึงประสงค โดยใหผูเรียนมีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร มีจิตสํานกึในการอนุรักษ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กฬีา ภูมิปญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (กระทรวงศกึษาธิการ 2544 ข : บทนํา) จากขอมูลดังกลาว แบบฝกเสริมทักษะเรื่อง การคณูการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จะเปนนวตักรรมที่ชวยปรับปรุงแกไขปญหาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนบรรลุวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพสามารถวัดผลประเมินผลไดตรงตามสภาพจริง ซ่ึงสอดคลองกับแนวการจัดการศึกษาตามพระราชบญัญัติการศึกษาแหงชาติ อีกทั้งยังสอดคลองกับความตองการของผูสอนคณิตศาสตร ซ่ึงไดแสดงความคิดเห็นลงในแบบประเมนิผลการเรียนการสอน จากงานการนิเทศภายในของโรงเรียนตามโครงการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนดวยการประชมุปรึกษาหารือ พบวาผูสอนคณิตศาสตรเห็นวาการฝกฝนทักษะของนักเรียนยงันอยเกนิไป และตองการใหนักเรยีนไดฝกในเรื่องของทกัษะการคิดคํานวณใหมากจนเกิดความชํานาญและแมนยําในเรื่องที่เรียน นอกเหนือจากแบบฝกหัดในแบบเรียนเพียงอยางเดยีวเทานั้น ดวยเหตุนีผู้วิจัยจึงมีความสนใจในการ

Page 21: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

9 พัฒนาแบบฝกเสริมทักษะดงักลาว เพื่อเปนแนวทางสาํหรับแกปญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ํา และเจตคติทีไ่มดีตอวิชาคณติศาสตรของนักเรียนตอไป กรอบแนวคิดในการวิจัย ในการศึกษาคนควาเรื่อง การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 ผูวจิัยไดทําการศึกษาคนควาแนวคดิและงานวิจยัตางๆ ซ่ึงไดวิเคราะหสถานการณ และเงื่อนไขการเรียนรูอยางเปนระบบเพื่อใชในการจัดการเรียนการสอนใหบรรลุจุดมุงหมายและเพื่อ เปนแนวทางในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะทีพ่ัฒนาขึ้น โดยกรมวิชาการไดเสนอกระบวนการทํางานอยางเปนระบบซึ่งเรียกวาทักษะกระบวนการ 9 ขัน้ มีดังนี้ (1) ตระหนกัในปญหาและความจําเปน (2) คิดวิเคราะหวิจารณ (3) สรางทางเลือกอยางหลากหลาย (4) ประเมินและเลือกทางเลือก (5) กําหนดลําดับขั้นตอนการปฏิบัติ (6) ปฏิบัติดวยความชื่นชม (7) ประเมินระหวางปฏิบัติ (8) ปรับปรุงใหดีขึ้นอยูเสมอ (9) ประเมนิผลรวมดวยความภาคภูมใิจ (กระทรวงศกึษาธิการ , กรมวชิาการ 2539 : 2) นอกจากนัน้พรรณธิภา ออนแสง (2532 : 48) ไดเสนอแนะหลักในการสรางแบบฝกไวคือ (1) ตั้งวัตถุประสงค (2) ศึกษาเนื้อหาเกีย่วกับการสรางแบบฝก (3) ขั้นตอนตาง ๆ ในการสรางแบบฝก ประกอบดวย (3.1) การศึกษาปญหาความบกพรองของเด็กในการเรียนการสอน (3.2) ศกึษาจิตวิทยาและกระบวนการเรยีนรู (3.3) ศึกษาเนื้อหาทีจ่ะสอน (3.4) ศกึษาลักษณะของแบบฝก (3.5) กําหนดรูปแบบและสรางแบบใหตรงกับเนื้อหาที่ตองการแกไข ในสวนของการศึกษางานวิจยัที่เกี่ยวของกับการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ ซ่ึงชนาธิป พรกุล (2535,อางถึงใน ศรีพัตรา ยิ้มเจริญ 2543 : 8 ) ศึกษาการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบรับประกันผล สําหรับรายวิชาในหลักสูตรวิทยาลัยครู โดยเสนอขั้นตอนการพัฒนากระบวนการจัดการเรยีนการสอน 4 ขัน้ตอน คือ (1) การพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนการสอน (2) การทดลองใชกระบวนการ (3) การประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ (4) การปรับปรุงกระบวนการ สวนงานวิจัยของ นติยา อรรคษร (2543 : 28) ไดศกึษาเรื่องการพฒันาการเรียนการสอนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวติ ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โดยใชโครงงาน โดยเสนอขั้นตอนในการพัฒนาการเรยีนการสอน 4 ขั้นตอน คือ (1) ขัน้วางแผน (2) ขั้นปฏิบัติการ (3) ขั้นสังเกตการณ (4) ขั้นสะทอนผลการปฏิบัติการ นอกจากนัน้ หทัยรัตน อันดี (2544 : 11) ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดการเรียนรูเพื่อถายทอดภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษา ไดเสนอแนวทางในการพัฒนาชุดการเรียนรู 4 ขั้นตอน ดังนี ้ (1) ศึกษาความตองการและขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาชุดการเรียนรู (2) การพัฒนาชุดการเรียนรู (3) การทดลองใชชุดการเรยีนรู (4) ประเมินผลและปรับปรุงแกไขชดุการเรียนรูที่พฒันาขึ้นโดยการประเมินผล ในปเดยีวกัน สัทธา สืบดา (2544 : 15) ไดศึกษาคนควา

Page 22: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

10 เร่ือง การพัฒนาชุดการสอนเรื่องโจทยปญหาคณิตศาสตร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 ไดสังเคราะหกระบวนการการพัฒนาชุดการสอนออกเปน 4 ขั้นตอน คือ (1) การศึกษาขอมลูพื้นฐาน (2) การพัฒนาชุดการสอน (3) การทดลองใชชุดการสอน (4) การประเมนิผลปรับปรุงชุดการสอน จากการศึกษากระบวนการดังกลาวผูวิจัยไดสังเคราะหขั้นตอน เพื่อนาํมาเปนกรอบแนวคดิในการพัฒนาแบบแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคณูการหาร โดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี โดยมีกระบวนการพัฒนาแบบฝกประกอบดวย 4 ขั้นตอน ดังนี้ (1) ศึกษาขอมูลพื้นฐานเกีย่วกับการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน จากผูเกี่ยวของโดย (1.1) วเิคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เร่ืองการคูณการหาร และศึกษาแนวการจัดการศึกษาการจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 (1.2) ศึกษาแนวคิดทฤษฎี เอกสาร ตํารา ผลการวิจัยเกี่ยวกับการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ (1.3) ศกึษาความตองการเกีย่วกับการพัฒนาแบบฝกและรูปแบบของแบบฝก (1.4) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกบัการสรางแบบฝกเสริมทักษะคณติศาสตรจากผูเชี่ยวชาญ ศึกษานิเทศก และผูรูในทองถ่ิน (1.5) ศึกษาขอมูลภูมิปญญาทองถ่ิน (2) พัฒนาแบบฝก โดยมีขั้นตอนดังนี ้ (2.1) นําขอมูลที่ไดจากการศึกษาขอมูลพื้นฐานกับการพัฒนาแบบฝก อันไดแกการวเิคราะหหลักสตูรการศึกษาขัน้พื้นฐาน พทุธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เร่ืองการคูณการหาร ศกึษาแนวการจัดการศกึษาการจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ศึกษาแนวคิดทฤษฎี เอกสาร ตํารา ผลการวิจัยเกี่ยวกับการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ ศกึษาความตองการความคิดเห็นเกีย่วกับการพัฒนาแบบฝกและรูปแบบของแบบฝก ศึกษาขอมูลภูมิปญญาทองถ่ินมากําหนดเปนโครงรางเนื้อหาและสรางตารางกําหนดเนื้อหา (Table of Content Specification) (2.2) สรางแบบฝกจากเอกสารจริงฉบับราง ซ่ึงประกอบดวย (2.2.1) คําอธิบายการใชแบบฝก ช่ือแบบฝก จุดประสงคการเรียนรู กจิกรรมการเรียนการสอน แบบทดสอบ การวัดผลประเมินผล แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกบัการใชแบบฝก (2.2.2) จัดทําแผนการจัดการเรียนรูและคูมือประกอบการใชแบบฝก ซ่ึงในแผนการจัดการเรยีนรูประกอบดวย ช่ือเร่ือง ระดับชั้น จาํนวนเวลาเรียน สาระการเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรูยอย กจิกรรมการเรียนการสอน แหลงการเรียนรู และการวัดผลและประเมนิผล (2.2.3) นําแบบฝกเสริมทักษะที่พัฒนาขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ เพื่อปรับปรุงแกไขกอนนําไปทดลองใชโดยทดลองใชแบบฝกกับเดก็เปนรายบุคคลกอน เพื่อหาขอบกพรองและนํามาปรับปรุงแกไข จากนั้นนําไปใชกบัเด็กเปนกลุมไมเกิน 10 คน

Page 23: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

11 เพื่อหาขอบกพรองและนํามาปรับปรุงแกไข ในขั้นตอนนี้จึงเปนขัน้ตอนการหาประสิทธิภาพ E1 / E2 ของแบบฝกใหไดตามเกณฑ 70 / 70 กอนนําไปใชจริงกับกลุมทดลอง (3) ทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 1 หองเรียน จํานวน 32 คน (4) ประเมินผลและปรับปรุงแบบฝก โดยประเมินดาน ความรูความเขาใจ ทักษะในการคูณการหาร และดานความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับแบบฝกเสริมทักษะ โดยกรอบแนวคิดการวิจยัสรุปไดดังแผนภมูิที่ 1 (หนา 12)

Page 24: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 25: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

13 วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาขอมูลพื้นฐาน ในการการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะเรือ่งการคูณ และการหาร โดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 2. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของแบบฝกเสริมทักษะ เร่ือง การคูณและการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 / 80 3. เพื่อทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคณูและการหาร โดยการบูรณาการ ภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 4. เพื่อประเมนิและปรับปรุงแกไขแบบฝกในดานผลการเรียนรู และทกัษะในการสรางช้ินงานทางการเรียนเรื่องการคูณการหาร ศึกษาความคดิเห็นของนกัเรยีนที่มีตอแบบฝกเสริมทักษะ และปรับปรุงแบบฝกเสริมทักษะเรื่อง การคูณและการหาร โดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 คําถามการวิจัย 1. ขอมูลพื้นฐานและความตองการในการ พฒันาแบบฝกเสริมทักษะเรื่อง การคูณและการหารโดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เปนอยางไร 2. แบบฝกเสรมิทักษะ เร่ืองการคูณและการหาร โดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 ประกอบดวยอะไรบางและมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 หรือไม 3. การใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณและการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญา ทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 นําไปใชอยางไร 4. ผลการประเมินผลการเรียนรูกอนและหลังใชแบบฝกเสริมทักษะของนักเรียน เร่ือง การคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน แตกตางกันหรือไม นักเรียนมีทักษะในการ สรางชิ้นงานเรื่องการคูณการหารและมีความคิดเห็นตอการเรียนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ือง การคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน เปนอยางไร สมมติฐานการวิจัย 1. แบบฝกเสริมทักษะการคิดคํานวณเรื่อง การคูณและการหารที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 / 80

Page 26: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

14 2. ผลการเรียนรูเร่ืองการคูณการหาร กอนและหลังใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณ การหารโดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ินแตกตางกัน ขอบเขตการวจัิย ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี สังกัดเทศบาลเมืองกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 จํานวน 5 หองเรียน จํานวน 161 คน โดยท้ัง 5 หองเรยีนนักเรยีนจะมีลักษณะ และสภาพแวดลอมคลายคลึงกันตลอดจนมผีลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเฉลีย่ที่ใกลเคยีงกนั เนื่องจากทางโรงเรียนมีนโยบายในการจัดช้ันเรียนโดยใหแตละหองเรยีน มีนักเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน คละกันในจํานวนทีเ่ทา ๆ กันทุกหองเรียน (รายละเอียด ภาคผนวก ฏ หนา 219) กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางทีใ่ชในการวิจยัไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี สังกัดเทศบาลเมืองกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร จํานวน 32 คน โดยการสุมอยางงาย ตัวแปรที่ใชในการศึกษา ตัวแปรตน ไดแก แบบฝกเสรมิทักษะเรื่อง การคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ตัวแปรตาม ไดแก ผลการเรยีนรูเร่ืองการคณูการหาร ทกัษะการสรางชิ้นงาน และความคิดเหน็ของนักเรียนที่มตีอแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 เนื้อหา เนื้อหาที่นํามาใชในการทดลองเปนเนื้อหาสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เร่ืองการคูณการหารชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐานพุทธศักราช 2544 โดยบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน ซ่ึงมี 4 เร่ือง ดังนี้ 1. การคูณการหารจํานวนนับ : งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค 2. การคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโต วัดดอนไกดี) 3. การคูณการหารเศษสวน : ชูชอดูงามตากลวยไมไทย 4. การคูณทศนิยม : สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี ระยะเวลา ผูวิจยัไดกําหนดระยะเวลา ในการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 จํานวน 6 สัปดาห สัปดาหละ 5 ช่ัวโมง รวมระยะเวลาทั้งหมด 30 ช่ัวโมง

Page 27: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

15 คํานิยามศพัทเฉพาะ เพื่อความเขาใจตรงกัน ผูวิจยัจึงใหความหมาย คํานยิามศัพทเฉพาะสําหรับการวิจยั ดังนี ้ 1. แบบฝกเสริมทักษะ หมายถึง ส่ือการเรียนการสอนในรูปแบบของเอกสารที่ใชควบคูกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เร่ืองการคูณการหารสําหรับนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ที่จัดทําขึ้นโดยนําภูมิปญญาทองถ่ิน อําเภอกระทุมแบน จังหวดัสมุทรสาครมาสัมพันธเชื่อมโยงสอดแทรกเนื้อหาสาระรวมกบัเรื่องการคูณการหารซึ่งเปนหัวเร่ือง (Theme) ที่ใชเปนแกนในการบูรณาการ ซ่ึงแบบฝกเสริมทักษะประกอบดวย ช่ือเร่ือง คํานํา คําช้ีแจง ผลการเรียนรูที่คาดหวัง แผนการจัดการเรยีนรู (ซ่ึงประกอบไปดวย ช่ือเร่ือง ระดับชั้น จํานวนเวลาเรียน สาระการเรียนรู ผลการเรียนรูทีค่าดหวัง สาระการเรียนรูยอย กิจกรรมการเรียนการสอน แหลงการเรียนรู และการวัดผลและประเมินผล ) คําส่ัง ตัวอยาง ใบกิจกรรม แบบทดสอบยอย เฉลย/อธิบายเพิ่มเติม ตารางบันทึกความกาวหนา ใบความรู (สําหรับครู) 2. การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ หมายถึง กระบวนการสรางแบบฝกเสริมทักษะประกอบดวย 4 ขั้นตอนคอื 1. การศึกษาขอมูลพื้นฐาน 2. การพัฒนารูปแบบของแบบฝกเสริมทักษะ 3. การทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ และ 4. การประเมินผลและปรับปรุงแบบฝกเสริมทักษะทีพ่ัฒนาขึ้น 3. แบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถิ่น หมายถึง ส่ือการเรียนการสอนที่ผูวิจยัสรางขึ้นในรูปของเอกสารเพื่อเสริมสรางทักษะใหแกนักเรยีนในเรื่องการคณูการหาร โดยนําขอมูลภมูิปญญาทองถ่ินมาสัมพันธเช่ือมโยงสอดแทรกเนื้อหาสาระรวมกับเรื่องการคูณการหารซึ่งเปนหัวเร่ือง (Theme) ที่ใชเปนแกนในการบูรณาการมาสรางเปนโจทยปญหาการคูณการหาร ซ่ึงมี 4 เร่ือง ดังนี้ 1. การคูณการหารจํานวนนับ : งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค 2. การคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโต วัดดอนไกดี) 3. การคูณการหารเศษสวน : ชูชองามตากลวยไมไทย 4. การคูณทศนิยม : สระหลวงปูคูวดัดอนไกดี 4. ประสิทธิภาพของแบบฝกเสริมทักษะ หมายถึง คณุภาพของแบบฝกเสริมทักษะที่ไดประเมนิตามเกณฑประสิทธิภาพ 80 / 80 ซึ่งมีความหมายดังนี ้ 80 ตัวแรก หมายถึง คาเฉลี่ยรอยละ 80 ของคะแนนที่นักเรียนทําไดจากการสอบระหวางใชแบบฝก 80 ตัวหลัง หมายถึง คาเฉลี่ยรอยละ 80 ของคะแนนที่นักเรียนทําไดจากการสอบรวมหลังจากใชแบบฝก

Page 28: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

16 5. ผลการเรียนรู หมายถึง คะแนนความสามารถเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน เกีย่วกับการคูณการหารจํานวนนับ การคูณการหารระคน การคูณการหารเศษสวน และการคูณทศนยิม ในการวิจัยคร้ังนี้วัดโดยการใชแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู 6. ความคิดเห็นที่มีตอแบบฝก หมายถึงความรูสึกนึกคิดของนักเรียนที่มีตอแบบฝก เสริมทักษะ ไดแก ความพอใจ ความสนใจ ที่มีตอการจัดกจิกรรมการเรียนการสอน และประโยชนที่ไดรับจากการเรยีนดวยแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินซึ่งวัดโดยใชแบบสอบถามความคิดเหน็ 7. ทักษะ หมายถึง ความสามารถในการสรางชิ้นงานเรื่องการคูณการหาร โดยการ บูรณาการภูมปิญญาทองถ่ินไดถูกตองตามขั้นตอนมีความสรางสรรค และสอดคลองกับวัตถุประสงคในแบบประเมนิชิ้นงานนกัเรยีน

Page 29: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

17

บทที่ 2

วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาเรื่อง การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 ในครั้งนี้ผูวิจัยไดศกึษาเอกสาร และงานวิจยัที่เกี่ยวของเพื่อเปนพืน้ฐานสําหรับการวิจยัดวยหวัขอตามลําดับตอไปนี้ 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 2. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี พุทธศักราช 2544 3. การเรียนการสอนคณิตศาสตร 4. ความรูเกี่ยวกบัการคูณและการหาร 5. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ 6. แบบฝก 7. ภูมิปญญาทองถ่ิน 8. ภูมิหลังอําเภอกระทุมแบน และ 9. งานวจิัยที่เกี่ยวของ

หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

หลักสูตรการศึกษาของประเทศไทยที่ใชกันอยูคือ หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) หลักสตูรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ซ่ึงกระทรวงศกึษาการ โดยกรมวิชาการไดตดิตามผลและดาํเนินการวิจยัเพื่อพัฒนาหลกัสูตรตลอดมา ผลการศึกษาพบวา หลักสูตรที่ใชอยูในปจจุบันนานกวา 10 ป มีขอจํากัดอยูหลายประการ ซ่ึงไมสามารถสงเสริมใหสังคมไทยกาวไปสูสังคมความรูไดทนัการณในเรื่องสําคัญ เชน การกําหนดหลักสูตรสวนกลางไมสามารถสะทอนภาพความตองการที่แทจริงของสถานศึกษาและทองถ่ิน การจัดหลักสูตรและการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไมสามารถผลักดันใหประเทศเปนผูนําดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในภมูภิาค การนําหลักสูตรไปใชไมสามารถสรางพื้นฐานในการคิดสรางวิธีการเรียนรูใหคนไทยมีทักษะในการจัดการ และทักษะในการดําเนินชวีิต ดวยเหตนุี้กระทรวงศึกษาธิการโดยกรมวิชาการจึงไดดําเนินการจดัทําหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อแกไขปญหาดังกลาว โดยจุดมุงหมายของหลกัสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงถือเปนมาตรฐานการเรียนรูใหผูเรียนเกิดคณุลักษณะอนัพึงประสงค กําหนดใหผูเรียนเห็นคุณคา

Page 30: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

18

ของตนเอง ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา มีคณุธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึงประสงค มีความคิดสรางสรรค ใฝรู ใฝเรียน รักการอาน รักการเขียนและรกัการคนควา มีความรูอันเปนสากล รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและทักษะในการดําเนินชวีิต รักการออกกําลังกาย ดแูลตัวเองใหมีสุขภาพและบคุลิกที่ดี มีคานิยมเปนผูผลิตมากกวาผูบริโภค ภูมิใจในความเปนไทยและยึดมัน่การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีจิตสํานึกในการอนรัุกษภาษา ศิลปะ วฒันธรรม ประเพณี กีฬา ภมูิปญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดลอม มีความรักประเทศชาติและทองถ่ิน มุงทําประโยชนและส่ิงที่ดีงามใหสังคม โดยในสวนโครงสรางของหลักสูตรกําหนดเปน 5 สวน คือ 1. ระดับชวงชัน้ หลักสูตรกําหนดเปน 4 ชวงชั้น ตามระดับพัฒนาการของผูเรียน คือ ชวงชั้นที่ 1 ช้ันประถมศึกษาปที่ 1-3 ชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 4-6 ชวงชัน้ที่ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ 1-3 และชวงชัน้ที่ 4 ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 4-6 2. สาระการเรียนรู หลักสูตรกําหนดสาระการเรียนรูที่เปนพื้นฐานทีสํ่าคัญที่ผูเรียนทุกคนตองเรียนรูไว 8 กลุมไดแก ภาษาไทย คณติศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศกึษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาตางประเทศ 3. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 4. มาตรฐานการเรียนรู และ 5. เวลาเรียน คุณภาพของผูเรียน การที่ผูเรียนจะเกดิการเรียนรูคณิตศาสตรอยางมีคุณภาพนั้น จะตองมีความสมดุลระหวางดานความรู ทักษะกระบวนการ ควบคูไปกับคณุธรรมจริยธรรม และคานยิม ดังนี ้ 1. มีความรูความเขาใจคณติศาสตรพื้นฐาน เกี่ยวกับจํานวนและการดําเนินการ การวดั เรขาคณิต พีชคณิต การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน พรอมทั้งสามารถนําความรูไปประยุกตได 2. มีทักษะกระบวนการตาง ๆ ที่จําเปนทางคณิตศาสตร ไดแก ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร ส่ือความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การมีความคิดริเร่ิมสรางสรรค การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืน ๆ 3. มีความสามารถในการทํางานเปนระบบ มีระเบยีบวนิัย มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง พรอมตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดตีอคณิตศาสตร

Page 31: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

19

คุณภาพของผูเรียนคณิตศาสตรเม่ือจบชวงชั้นท่ี 2 (ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4-6) ผูเรียนที่เรียนจบชวงชั้นที่ 2 ผูเรียนควรมีความสามารถดังนี้ 1. มีความคิดรวบยอด และความรูเชิงจํานวนเกี่ยวกับจํานวน และการดําเนินการของ จํานวนสามารถแกปญหาเกีย่วกับการบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนนับ เศษสวน ทศนิยม และรอยละ พรอมทั้งตระหนกัถึงความสมเหตสุมผลของคําตอบที่ไดและสรางโจทยได 2. มีความเขาใจเกี่ยวกับสมบัตติาง ๆ ของจํานวนพรอมทั้งสามารถนําความรูไปใชได 3. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกบัความยาว ระยะทาง น้ําหนัก พื้นที่ ปริมาตร และความจุ สามารถวัดปริมาณดังกลาวไดอยางถูกตองและเหมาะสม และนําความรูเกีย่วกับการวดัไปใชแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ได 4. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกบัสมบัติของรูปเรขาคณิตหนึ่งมิติ สองมิติ และสามมิต ิ 5. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกบัแบบรูปและอธิบายความสัมพันธได 6. สามารถวิเคราะหสถานการณหรือปญหา พรอมทั้งเขียนใหอยูในรูปของสมการเชิง เสนตัวแปรเดยีวและแกสมการนั้นได 7. เก็บรวบรวมขอมูลและนําเสนอขอมูลในรูปแผนภูมิตาง ๆ สามารถอภิปรายประเดน็ตาง ๆ จากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแทง แผนภูมิรูปวงกลม ตาราง และกราฟ รวมทั้งใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนเบื้องตนในการอภปิรายเหตกุารณตาง ๆ ได 8. มีทักษะกระบวนการทางคณติศาสตรที่จําเปน ไดแก ความสามารถในการแกปญหาดวยวิธีการทีห่ลากหลายและใชเทคโนโลยที่เหมาะสม การใหเหตุผล การสื่อสาร ส่ือความหมายและการนําเสนอทางคณิตศาสตร มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค และการเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตร สาระหลัก ในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไดกําหนดสาระหลักไว 6 สาระ คือ สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ (Number and Operations) สาระที่ 2 การวดั (Measurement) สาระที่ 3 เรขาคณิต (Geometry) สาระที่ 4 พีชคณิต (Algebra) สาระที่ 5 การวเิคราะหขอมูลและความนาจะเปน (Data Analysis and Probability)

Page 32: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

20

สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร (Mathematical Skills / Processes) (กระทรวงศึกษาธิการ 2544 : 13) เพื่อใหสถานศึกษามีแนวปฏิบตัิที่ชัดเจนในการจัดทําหลักสตูร กระทรวงศึกษาธิการจึงไดจัดทํากําหนดรายละเอียดสาระการเรียนรูแกนกลาง ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 โดยกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไดจัดทําผังมโนทัศนเพื่อเปนแนวทางในการจัดหลักสตูร ดังแผนภมูิที่ 2 และ 3 ดังนี ้

Page 33: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

21

คณิตศาสตร

ผังมโนทัศนสาระการเรียนรูคณิตศาสตรชวงชั้นที ่2 (ป.4-6)

จํานวนและการดําเนินการ

-การบวกลบจํานวนที่มีหลายหลัก -การคูณจํานวนที่มีหนึ่งหลักกับจํานวนที่มีหลายหลัก -การคูณจํานวนที่มากกวา2หลักกับจํานวนที่มีมากกวา 2 หลัก -การหารที่ตัวหารไมเกิน 3 หลัก -การบวก ลบ คูณ หาร ระคน

การบวกลบคูณหาร

ทศนิยม

-ความหมายการอานและเขียนทศนิยมหนึ่งตําแหนง -หลักและคาประจําหลัก -การเปรียบเทียบทศนิยมและการใชเครื่องหมายแสดงการเปรียบเทียบ

เศษสวน

-ความหมายการอานและการเขียนเศษสวน -การเปรียบเทียบเศษสวนที่มีตัวสวนเทากันและเครื่องหมายแสดงการเปรียบเทียบ

จํานวนนับที่มากกวา 100,000

-การอานการเขียนตัวหนังสือตัวเลขฮินดูอารบิกเลขไทยแทนจํานวน -การเขียนเปรียบเทียบจํานวนและการใชเครื่องหมายแสดงการเปรียบเทียบ -การเขียนในรูปกระจายหลักคาของตัวเลขในแตละหลัก -การเรียงลําดับจํานวน

โจทยปญหาสถานการณ

-โจทยปญหาการบวกการลบจํานวนที่มีหลายหลัก -โจทยปญหาการคูณที่มี 1 หลักกับจํานวนหลายหลัก

การวัด

การวัดความยาว

ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม

การวัดพื้นที่

-การหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก -การคาดคะเนพื้นที่เปนตารางเมตรตารางเซนติเมตรและตารางวา

การวัดปริมาตร

-การหาปริมาตรและ/หรือความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

การวัดขนาดของมุม การวักขนาดของมุมเปนองศา

โจทยปญหาสถานการณ -โจทยปญหาและสถานการณเกี่ยวกับพื้นที่ -โจทยปญหาและสถานการณเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของสี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม

เรขาคณติ

รูปเลขาคณิต และสมบัติบางประการ

-มุม จุดยอดของมุม แขนของมุม -การเรียกชื่อมุม -การเขียนสัญลักษณแทนมุม -การจําแนกชนิดของมุม -การสรางมุมโยใชไมโพรแทรกเตอร -รูปสี่เหลี่ยมตาง ๆ -รูปสามเหลี่ยมตาง ๆ

-รูปวงกลมสวนประกอบของรูปวงกลม -การสรางรูปวงกลม -การประดิษฐรูปวงกลม -การประดิษฐรูปลวดลายโดยใชรูปเลขาคณิต -เสนขนาน และการใชสัญลักษณแสดงการขนาน -การสรางเสนขนาน -ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก -กรวย ปริซึม และประมิด

พีชคณติ

สถานการณหรือปญหา

-การเขียนประโยคสัญลักษณแสดงความสัมพันธของสถานการณหรือปญหา

แบบรูปและความสัมพันธ

แบบรูปของจํานวน

การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน

การคํานวณแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิรูป

วงกลม ตารางและกราฟ

-การอานแผนภูมิแทง -การอานแผนภูมิแทงเปรียบเทียบ

การเก็บรวบรวมขอมูลและการนําเสนอขอมูล -การเก็บรวบรวมขอมูล

-การเขียนแผนภูมิแทง

ความนาจะเปนเบื้องตน ความหมายและการนําไปใชในชีวิด

ประจําวันของเหตุการณที่ -เกิดขึ้นอยางแนนอน -อาจเกิดขึ้นหรือไมเกิดขึ้น -ไมเกิดขึ้นแนนอน

Page 34: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

22

ผังมโนทัศนสาระการเรียนรูคณิตศาสตรชั้นประถมศึกษาปที่ 5

คณิตศาสตร การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน

การคํานวณแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิรูป

วงกลม ตารางและกราฟ

-การอานแผนภูมิแทง -การอานแผนภูมิแทง

การเก็บรวบรวมขอมูลและการนําเสนอขอมูล

-การเก็บรวบรวมขอมูล

ความนาจะเปน เบื้องตน

ความหมายและการนําไปใชในชีวิดประจําวันของเหตุการณที่ -เกิดขึ้นอยางแนนอน -อาจเกิดขึ้นหรือไมเกิดขึ้น

พีชคณติ

แบบรูปและ ความสัมพันธ

แบบรูปของจํานวน

สถานการณหรือปญหา

-การเขียนประโยคสัญลักษณ แสดงความสัมพันธของ สถานการณหรือปญหา

เรขาคณติ

รูปเลขาคณิต และสมบัติบาง

-มุม จุดยอดของมุม แขนของมุม -การเรียกชื่อมุม -การเขียนสัญลักษณแทนมุม -การจําแนกชนิดของมุม -การสรางมุมโยใชไมโพร แทรกเตอร -รูปสี่เหลี่ยมตาง ๆ -รูปสามเหลี่ยมตาง ๆ

-รูปวงกลมสวนประกอบของรูปวงกลม -การสรางรูปวงกลม -การประดิษฐรูปวงกลม -การประดิษฐรูปลวดลายโดยใชรูปเรขาคณิต -เสนขนาน และการใชสัญลักษณแสดงการขนาน -การสรางเสนขนาน -ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก -กรวย ปริซึม และประมิด

การวัด

การวัดความยาว

การวัดพื้นที่

การวัดปริมาตร (การตวง)

การวัดขนาดของมมุ

โจทยปญหาสถานการณ

-โจทยปญหาและสถานการณเกี่ยว กับพื้นที่ -โจทยปญหาและสถานการณเกี่ยว กับความยาวรอบรูปของสี่เหลี่ยม มุมฉากและรูปสามเหลี่ยม

การวัดขนาดของมุมเปนองศา

-การหาปริมาตรและ/หรือความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

1. -การหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

2. -การคาดคะเนพื้นที่เปนตารางเมตรตารางเซนติเมตรและตารางวา

ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม

จํานวนและการดําเนินการ

จํานวนนับ

เศษสวน

ทศนิยม รอยละ

การบวกลบคูณหาร

สมบัติของจํานวนนับและศูนย โจทยปญหา

สถานการณ

-การอานการเขียนตัวหนังสือตัวเลขฮินดู อารบิกเลขไทยแทนจํานวน -การเขียนในรูปกระจายหลักและคาประจําหลักของตัวเลขในแตละหลัก -การเรียงลําดับจํานวน -การประมาณคาใกลเคียงจํานวนเต็มสิบ เต็มรอยเปนพัน

-เศษสวนแทเศษเกินจํานวนคละ -เศษสวนของจํานวนนับ -เศษสวนที่เทากัน -เศษสวนอยางต่ํา -การเปรียบเทียบเศษสวน -การเรียงลําดับเศษสวน

-การอานและเขียนทศนิยมไมเกิน 2 ตําแหนง -หลักและคาประจําหลัก -การเปรียบเทียบและเรียงลําดับ -การเขียนทศนิยมใหอยูในรูปเศษสวน และเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยม

-การเขียนเศษสวนที่ตัวสวนเปนตัวสวนเปนตัวประกอบของ 100ใหอยูในรูปเศษสวน -การเขียนรอยละใหอยูในรูปเศษสวน -การเปรียบเทียบเศษสวนทศนิยม รอยละ -รอยละของจํานวนนับ

-การบวกลบคูณหารจํานวนนับ -การบวกลบคูณหารเศษสวน -การบวกลบคูณหารทศนิยม -การบวกลบคูณหารระคนที่มีผลลัพธเปนทศนิยมไมเกิน 2 ตําแหนง

-สมบัติการสลับที่ของการบวก -สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก -สมบัติการสลับที่ของการคูณ -สมบัติของการเปลี่ยนหมูของการ คูณ -สมบัติการแจกแจง

-โจทยปญหาการบวกการลบ การคูณการหารของเศษสวนและ ทศนิยม -โจทยปญหาการคูณและการหาร(บัญญัติไตรยางศ) ที่มีผลลัพธเปนจํานวนนับ -การสรางโจทยและโจทยปญหา

Page 35: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

23

มาตรฐานการเรียนรูและผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ในมาตรฐานการเรียนรูและผลการเรียนรูทีค่าดหวังทีเ่กีย่วของกับเรื่องการคูณ การหารสามารถวิเคราะหไดดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู และผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร เร่ือง การคูณการหาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุธศกัราช 2544

สาระหลัก

มาตรฐานการเรียนรู

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังรายป

1.จํานวน และการ ดําเนินการ

มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวางการดําเนนิการตาง ๆ และสามารถใชในการแกปญหาได มาตรฐาน ค 1.3 ใชการประมาณคาในการคํานวณและแกปญหาได มาตรฐาน ค 1.4 เขาใจระบบจํานวนและสามารถนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใชได

- สามารถหาคําตอบพรอมทั้งตระหนกัถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได เมื่อกําหนดโจทย การคูณ และการหารให - สามารถหาคําตอบพรอมทั้งตระหนกัถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได เมื่อกําหนดโจทยการคูณ และการหารระคนให - สามารถใชสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุม และสมบัติการแจกแจงเพื่อชวยในการคิดคํานวณได เมื่อกําหนดโจทยให - สามารถวิเคราะหโจทย หาคําตอบและแสดงวิธีทํา พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เมื่อกําหนดโจทยปญหาการคูณ และการหารให - สามารถวิเคราะหโจทย หาคําตอบและแสดงวิธีทํา พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เมื่อกําหนดโจทยปญหาการคูณ และการหารระคนให - สามารถสรางโจทยและโจทยปญหา พรอมทั้งหาคําตอบ และแสดงวิธีทําได เมื่อกําหนดสถานการณให ผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได

Page 36: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

24

ตารางที่ 1 (ตอ)

สาระหลัก

มาตรฐานการเรียนรู

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังรายป

1.จํานวน และการ ดําเนินการ (ตอ) 4. พีชคณติ

มาตรฐาน ค 4.2 ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และแบบจําลองทางคณิตศาสตรอ่ืน ๆ แทนสถานการณตางๆ

- สามารถวิเคราะหโจทย หาคําตอบพรอมตระหนกัถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได เมื่อกําหนดโจทยปญหาการคูณเศษสวนให - สามารถวิเคราะหโจทย หาคําตอบพรอมตระหนกัถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได เมื่อกําหนดโจทยการหารเศษสวนให - สามารถวิเคราะหโจทย หาคําตอบพรอมตระหนกัถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได เมื่อกําหนดโจทยปญหาการหารเศษสวนให - สามารถหาคําตอบพรอมตระหนกัถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได เมื่อกําหนดโจทยการ คูณ เศษสวนระคนให - สามารถหาคําตอบพรอมตระหนกัถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได เมื่อกําหนดโจทยปญหาการคูณ เศษสวนระคนให - สามารถวิเคราะหโจทย หาคําตอบ และแสดงวิธีทํา พรอมตระหนกัถึงความ สมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เมื่อกําหนดโจทยปญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ) ที่มีผลลัพธเปนจํานวนนบัให - สามารถหาคําตอบ พรอมตระหนกัถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได เมื่อกําหนดโจทยการคูณทศนยิมที่ผลคูณเปนทศนิยมไมเกินสองตําแหนงให - สามารถวิเคราะหโจทย หาคําตอบ พรอมตระหนกัถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได

Page 37: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

25

ตารางที่ 1 (ตอ)

สาระหลัก

มาตรฐานการเรียนรู

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังรายป

4. พีชคณติ (ตอ) 6. ทักษะ/ กระบวนการ ทางคณิตศาสตร

ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใชแกปญหาได มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา มาตรฐาน ค 6.2 มีความสามารถในการใหเหตุผล มาตรฐาน ค 6.3 มีความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ มาตรฐาน ค 6.4 มีความสามารถในการเช่ือมโยงความรูตางๆทาคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตร อื่น ๆ มาตรฐาน ค 6.5 มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

เมื่อกําหนดโจทยปญหาการคูณทศนิยมที่ผลคูณเปนทศนิยมไมเกนิสองตําแหนงให - สามารถหาคําตอบ พรอมตระหนกัถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดและแสดงวิธีทําได เมื่อกําหนดโจทยการคูณ ทศนยิมระคนที่ผลลัพธไมเกินสองตําแหนงให - ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหาได - ใชความรูทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีแกปญหาในสถานการณจริงได - ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลไดอยางเหมาะสม - ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร ส่ือความหมายและนําเสนอขอมูลไดอยางถูกตองเหมาะสม - นําความรูทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงในการเรียนรูเนื้อหาตาง ๆ ในวิชาคณติศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกบัวิชาอ่ืนได - นําความรูและทักษะทางคณิตศาสตรไปประยุกตในการเรียนรูส่ิงตาง ๆ ในชีวิตจริงได - มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน

Page 38: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

26

กระบวนการเรียนรู การจัดกระบวนการเรียนรูสําหรับกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรนั้น ผูที่เกี่ยวของควรคํานึงถึงส่ิงตอไปนี ้ 1. กระบวนการเรียนรูควรจัดใหสอดคลองกับความสนใจ และความถนัดของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลรวมทั้งวุฒภิาวะของผูเรียน ทั้งนี้เพื่อใหผูเรียนมีทักษะการคิดคํานวณพื้นฐาน มีความสามารถในการคิดในใจ ตลอดจนพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถทางคณิตศาสตรไดอยางเต็มศักยภาพ 2. การจัดเนื้อหาสาระการเรียนรูคณิตศาสตรตองคํานึงถึงความยากงาย ความตอเนื่อง และลําดับขั้นของเนื้อหา และการจดักจิกรรมการเรียนการสอน ตองคํานึงถึงลําดับขั้นของการเรียนรูโดยจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดมีโอกาสเรียนรูจากประสบการณจริง รวมทั้งปลูกฝงนิสัยใหรักในการศึกษาและแสวงหาความรูทางคณิตศาสตรอยางตอเนื่อง 3. การจัดกจิกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร ควรจัดประสบการณใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูที่สมดุลทั้งสามดานคือ ดานความรู ประกอบดวยสาระการเรียนรู 5 สาระดังนี้ 1) จํานวน และการดําเนนิการ 2) การวัด 3) เรขาคณิต 4) พีชคณติ 5) การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน ดานทักษะ/กระบวนการ ประกอบดวย 5 ทักษะ/กระบวนการที่สําคัญดังนี้ 1) การแกปญหา 2) การใหเหตุผล 3) การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาํเสนอ 4) การเชื่อมโยง 5)ความคิดริเร่ิมสรางสรรค ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมไดแก 1) ตระหนกัในคณุคาและมีเจตคติทีด่ีตอคณิตศาสตร 2) สามารถทํางานอยางเปนระบบ มีระเบยีบวนิัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเองกลาวคือใหผูเรียนเปนผูทีม่ีความเขาใจใน เนื้อหาสาระคณิตศาสตร มีทักษะ/กระบวนการ ทางคณิตศาสตร มีเจตคติที่ดตีอคณิตศาสตร ตระหนกัในคุณคาของคณติศาสตรและสามารถนําความรูทางคณิตศาสตรไปพัฒนาชีวิตใหมีคุณภาพ ตลอดจนใชเปนเครื่องมอืในการเรียนรูส่ิงตางๆและเปนพื้นฐานในการศึกษาตอในระดับสูงขึ้น 4. การสงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดลอม ส่ือการเรียนการสอนรวมทั้งอํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และมีความรูทางคณิตศาสตรพื้นฐานที่สําคญัและจําเปน ทั้งนี้ควรใหการสนับสนุนใหผูสอนสามารถดําเนินการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนคณติศาสตรในชัน้เรียนใหเปนไปอยางมีศักยภาพ 5. การจัดการเรยีนรูคณิตศาสตรใหเกดิขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ ควรมีการประสานความรวมมือกบัหนวยงานและบุคคลทั้งหลายที่เกี่ยวของกับการศึกษาคณิตศาสตร เชนสถานที่ศึกษา โรงเรียน บาน สมาคม ชมรม ชุมนุม หองสมุด พิพิธภณัฑ สวนคณิตศาสตรสรางสรรค หองกิจกรรมคณิตศาสตรหรือหองปฏิบัติการคณิตศาสตร มุมคณิตศาสตร พอ แม ผูปกครอง ครู

Page 39: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

27

อาจารย ศึกษานิเทศก และภูมิปญญาทองถ่ิน การวัดและการประเมินผล การวัดและการประเมินผลทางคณิตศาสตรนัน้ ผูสอนไมควรวัดแตดานความรูเพียงดานเดียว ควรวัดใหครอบคลุมดานทักษะ/กระบวนการ และดานคณุธรรม จริยธรรม และคานยิมดวยทั้งนี้ตองวัดใหไดสัดสวนและสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูที่ไดกําหนดไวในหลักสูตร การวัดผลและการประเมินผลควรใชวิธีการที่หลากหลายทีส่อดคลอง และเหมาะสมกบัวัตถุประสงคของการวัดเชน การวัดผลเพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนและพัฒนาผูเรียน (Formative Test) การวัดผลเพื่อวินิจฉัยหาจุดบกพรองของผูเรียน (Diagnostic Test) การวดัผลเพื่อตัดสินผลการเรียนของผูเรียน (Summative Test/Achievement Test) การวดัผลตามสภาพจริง (Authentic Test) การสังเกต แฟมสะสมผลงาน โครงงานคณิตศาสตร การสัมภาษณ การวัดผลและการประเมินผลทางคณิตศาสตรควรมุงเนนการวัดสมรรถภาพ โดยรวมของผูเรียนของกระบวนการจัดการเรียนรู อยางไรก็ตามสําหรับการเรียนรูคณิตศาสตรนั้น หวัใจของการวัดผลและการประเมินผลไมใชอยูที่การวดัผลเพื่อประเมินตดัสินไดหรือตกของผูเรียนเพียงอยางเดยีว แตอยูที่การที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนไดสามารถเรียนรูคณิตศาสตรอยางมีประสิทธิภาพและเต็มตามศักยภาพ การประเมินผลที่ดีนั้นตองมาจากการวดัผลที่ดี กลาวคือ จะตองเปนการวดัผลที่มีความถูกตอง และมีความเชื่อมั่น และการวัดผลนั้นตองมีการวัดผลดวยวิธีตางๆที่หลากหลายตามสภาพ และผูสอนจะตองวัดใหตอเนื่อง ครอบคลุมและทั่วถึง เมื่อนําผลการวัดทั้งหลายมารวมสรุปก็จะทําใหการประเมนิผลนั้นถูกตองใกลเคียงสภาพตามจริง

หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐานโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี พุทธศักราช 2544

ความนํา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศกัราช 2544 ไดกําหนดใหการศกึษาเปนกระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม การจัดการศกึษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมคีวามสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุดโดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรค ความกาวหนา

Page 40: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

28

ทางวิชาการ การสรางองคความรูที่เกิดจากการจดัสภาพแวดลอมสังคมแหงการเรยีนรู และปจจัยเกื้อหนนุใหบคุคลเกิดการเรยีนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวติ การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนานักเรียนใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สตปิญญา ความรู คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข โดยเปดโอกาสใหสังคมและชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระหลักสูตรและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง การจัดการศึกษามุงเนนความสาํคัญทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อพัฒนาคนใหมีความสมดุลโดยยดึผูเรียนเปนสําคัญ เนื่องจากทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได ในการสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลกรวมถึงความรูเกี่ยวกับประวตัิศาสตรความเปนมาของสังคมไทย ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความรูความเขาใจและประสบการณเร่ืองการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางสมดุลยั่งยืน มีความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใชภูมิปญญา ความรูและทักษะดานคณิตศาสตร ดานภาษา เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง ความรูและทักษะในการประกอบอาชพี และการดํารงชีวิตอยางมีความสุข โรงเรียนจดักระบวนการเรยีนรูที่มุงเนนการฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการนาํความรูมาใชเพื่อปองกันและแกปญหา จดักิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอาน และเกิดการใฝรูใฝเรียนอยางตอเนื่อง การจัดกิจกรรมการเรยีนรูโดยผสมผสานสาระความรูตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน แบบบูรณาการรวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกรายวิชา สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดลอม ส่ือการสอนและอํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรยีนเกิดการเรยีนรู และมีความรอบรูรวมทั้งสามารถใชการวิจยัเปนสวนหนึ่งของกระบวนการจดัการเรียนรูโดยท้ังผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหลงวิทยาการประเภทตาง ๆ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กําหนดใหโรงเรียนตองมี “หลักสูตรของตนเอง” คือหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบดวย หลักสูตรการเรียนรูทัง้มวลและประสบการณอ่ืน ๆ ที่สถานศึกษาแตละแหงวางแผนเพื่อพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพโดยตองจดัทําสาระการเรียนรูทั้งรายวิชาที่เปนพื้นฐาน และรายวิชาที่ตองเรียนเพิ่มเตมิและรายปหรือรายภาค จดักิจกรรมพัฒนา

Page 41: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

29

ผูเรียนทุกภาคเรียน และกําหนดคณุลักษณะอันพึงประสงค “จากมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ซ่ึงเปนสวนประกอบที่สําคัญของการจัดหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2544 เพื่อใชในโครงการนํารองการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานตอไป วิสัยทัศน โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี มุงจัดการศกึษาใหเปนไปตามพระราชบญัญัติการศึกษาแหงชาต ิ พุทธศักราช 2542 เพื่อพฒันาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยเนนทักษะดานวิชาการ จริยธรรม ปลูกฝงคานิยม การอนุรักษส่ิงแวดลอมสืบสานภูมิปญญาทองถ่ิน สงเสริมบุคลากรทุกฝายใหมีคณุภาพตามเกณฑมาตรฐานการศึกษา สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข ภายใตปรัชญาโรงเรียนทีว่า “การศึกษาตองถึงพรอมซึ่งความดี ความรู ความสุขและปลูกจิตสํานึกความเปนไทย” โครงสรางหลักสูตรสถานศกึษาโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี

สัดสวนเวลาเรียน (ช่ัวโมง)

กลุมสาระการเรียนรู ชวงชั้นที่ 1 ชวงชั้นที่ 2 1. สาระการเรียนรูพื้นฐาน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 1.1 ภาษาไทย 280 280 280 200 200 200 1.2 คณิตศาสตร 200 200 200 200 200 200 1.3 วิทยาศาสตร 80 80 80 120 120 120 1.4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40 40 40 120 120 120 1.5 สุขศึกษาและพลศกึษา 40 40 40 40 40 40 1.6 ศิลปะ 40 40 40 40 40 40 1.7 กลุมการงานอาชีพ และเทคโนโลย ี 40 40 40 40 40 40 1.8 ภาษาตางประเทศ 80 80 80 80 80 80

รวม 8 กลุมสาระ 800 800 800 800 800 800 2. สาระการเรียนรูเพิ่มเติม - - - - - - 3. กิจกรรมพฒันาผูเรียน 200 200 200 120 120 120

รวม 1000 1000 1000 1000 1000 1000

Page 42: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

30

สาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธสักราช 2544 ไดกําหนดกรอบสาระและมาตรฐานการเรียนรูเมื่อผูเรียนเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเมื่อผูเรียนเรียนจบแตละชวงชัน้ สถานศึกษามีหนาที่จดัทําสาระการเรียนรู และกําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปหรือรายภาค โดยสาระการเรียนรูที่สถานศึกษากําหนดจากมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่กําหนดไวในหลักสูตร เปนสาระการเรียนรูพื้นฐานสําหรับผูเรียนทุกคน นอกจากนี้สถานศกึษาสามารถกําหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรูเพิ่มเติมขึ้นเอง ใหเหมาะสมกับศักยภาพและความตองการของผูเรียนไดอีก วิสัยทัศน การศึกษาคณิตศาสตรสําหรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 เปนการศึกษาเพื่อปวงชนที่เปดโอกาสใหเยาวชนทุกคนไดเรียนรูคณิตศาสตรอยางตอเนือ่ง และตลอดชีวิตตามศักยภาพทั้งนี้ใหเยาวชนเปนผูที่มีความรูความสามารถทางคณิตศาสตรที่เพียงพอ สามารถนําความรูทักษะและกรบวนการทางคณิตศาสตรที่จาํเปนไปพัฒนาคุณภาพชีวติใหดขีึ้น รวมทั้งสามารถนําเครื่องมือในการเรยีนรูตาง ๆ เปนพื้นฐานสําหรับการศึกษาตอ กําหนดสาระการเรียนรูรายป จํานวนนับ การอานและการเขียนตัวหนังสือ ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยแทนจํานวน การเขียนในรูปกระจายหลักและคาประจําหลักของตัวเลขในแตละหลัก และการใช 0 (ศูนย) เพื่อยึดตําแหนงของหลัก การประมาณคาใกลเคยีงจํานวนเต็มสิบ เต็มรอย เต็มพัน เศษสวน เศษสวนแท เศษเกนิ จํานวนคละ เศษสวนของจํานวนนับ เศษสวนที่เทากนั เศษสวนอยางต่ํา การเปรียบเทียบเศษสวนที่มีตวัสวนเปนพหุคณูของกันและกัน การเรียงลําดับเศษสวน ทศนิยม การอานและการเขียนทศนยิมไมเกินสองตําแหนง หลักและคาประจําหลัก การเขียนในรปูกระจาย การเปรียบเทียบและการเรียงลําดับทศนิยม การเขียนทศนิยมไมเกินสองตําแหนงใหอยูในรูปเศษสวน และการเขยีนเศษสวนทีม่ีตัวสวนเปน 10 หรือ 100 ใหอยูในรปูทศนิยม การเขียนเศษสวนที่ตัวสวนเปนตัวประกอบของ 10 หรือ 100 ใหอยูในรูปทศนิยมรอยละ การเขียนเศษสวนที่มีตวัสวนเปนตัวประกอบของ 100ใหอยูในรูปรอยละ การเขียนรอยละใหอยูในรูปเศษสวนและทศนิยม การเปรียบเทียบเศษสวน ทศนยิม และรอยละ รอยละของจาํนวนนับ การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนนับ การบวก ลบ คูณ หารระคน การบวก ลบ คูณ หาร โดยบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน

Page 43: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

31

การบวก การลบ การคณู และการหารเศษสวน การบวกและการลบเศษสวนที่มีตวัสวนเปนพหุคณูของกันและกัน การบวก ลบ คูณเศษสวนระคน การบวก การลบ และการคูณทศนิยม การบวกและการลบทศนิยมไมเกินสองตําแหนงการคูณทศนยิมที่ผลคูณเปนทศนิยมไมเกนิสองตําแหนง การบวก ลบ คูณทศนิยมระคนที่ผลลัพธเปนทศนยิมไมเกินสองตําแหนง สมบัติของจํานวนนับและศนูย สมบัติการสลบัที่ สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ สมบัติการแจกแจง การวัดความยาว ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหล่ียม การวัดพื้นที ่ การหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหล่ียมมุมฉาก การคาดคะเนพื้นที่ทีเ่ปนตารางเมตร ตารางเซนติเมตร และตารางวา การวัดขนาดของมุมเปนองศา การวัดปริมาตรและ /หรือความจุของทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก มุม จุดยอดมุม แขนของมุม การเรียกชื่อมมุ การเขียนสัญลักษณแทนมุม การจําแนกชนิดของมุม การสรางมุมโดยใชไมโพรแทรกเตอร (คร่ึงวงกลม) รูปสามเหลี่ยม รูปส่ีเหล่ียม รูปวงกลม เสนขนาน และการใชสัญลักษณ / / แสดงการขนาน การสรางเสนขนาน แบบรูปและความสัมพันธ แบบรูปของจํานวน สถานการณหรือปญหา การเขียนประโยคสัญลักษณแสดงความสัมพันธของสถานการณหรือปญหา การอานแผนภูมรูิปภาพ แผนภูมิแทง แผนภูมิรูปวงกลม ตาราง และกราฟ การเกบ็รวบรวมขอมลูและการนําเสนอขอมูล ความนาจะเปนเบื้องตน กิจกรรมเสริมทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรผานสาระการเรียนรู จํานวนและการดําเนนิการ การวัด เรขาคณิต พีชคณติ

การเรียนการสอนคณิตศาสตร

ความหมายของการสอนคณติศาสตร ในการสอนคณติศาสตร ครูควรศึกษาความหมายของการสอนคณิตศาสตรใหเขาใจเพื่อใหการสอนมีประสิทธิภาพ ไดมีนกัการศึกษาหลายทานไดใหความหมายของการสอนไวดังนี ้ ธีระ รุณเจริญ (2529: 145) กลาววา การสอน คือ พฤติกรรมที่ครูและนักเรยีนแสดงออกรวมกัน เพื่อใหเกิดการเรียนรู

Page 44: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

32

ปรีชา นิพนธพิทยา (2525 : 123) ไดกลาววา การสอนหมายถึงกระบวนการจดัประสบการณ หรือการจัดสภาพการณเพื่อสงเสริมใหนักเรียนเกดิการเรยีนรู เกิดพฤตกิรรมทั้งดานความรู ทักษะ และเจตคติทีพ่งึประสงค หรือการสอนคือความพยายามของคนคนหนึง่ หรือหลาย ๆ คนที่จัดกจิกรรมที่จัดกิจกรรมในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหบคุคลคนหนึ่งหรือหลายๆ คนเกิดการเรยีนรู สวน สันต ธรรมบํารุง (2526 : 3-5) ไดใหความหมายของการสอนไวดงันี้ 1. การสอนเปนการที่ทําใหวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายของการศึกษาปรากฎผลขึ้นได ฉะนั้นการสอนเปรียบเสมือนเปนสะพานที่เชื่อมโยงวัตถุประสงค กับผลใหตอเนื่องกัน 2. การสอน หมายถึง กระบวนที่ทั้งครูและนักเรียนรวมกันสรางสิ่งแวดลอมทางการเรียนรวมไปถึงการสรางคานิยมและความเชื่อตาง ๆ ในการที่จะชวยใหนกัเรียนบรรลุเปาประสงคที่ตั้งไว 3. การสอน คอื การสื่อสารระหวางบุคคลทั้งสองฝาย ซ่ึงเปนกระบวนการ 2 ทาง ระหวางครแูละนักเรียน หมายความวา มกีารสงและการรับอยูในตวั 4. การสอนเปนพฤติกรรมที่ครูและนักเรยีนแสดงออกรวมกัน ทําใหเกดิการเรียนรู George Polya (1957 , อางถึงใน สิริพร ทิพยคง 2544 : 70) ไดกลาววา การสอนคณิตศาสตรของครู หมายถึง การชวยเหลือนักเรียนในขณะแกปญหาและตองการความชวยเหลือ ในการแกปญหานักเรยีนตองการเวลาในการคิด พิจารณา วิเคราะหคําถาม หาคําตอบ และตรวจคําตอบ นอกจากนัน้แลว กรมวิชาการ กระทรวงศกึษาธิการ (2544 : 86) ไดใหความหมายของการสอนคณิตศาสตรดวยวิธีแบบสอนตางๆ ไวดังนี้ วิธีสอนเพื่อใหเกดิความคิดรวบยอด ( Concept Attainment) หมายถึง การสอนที่มุงใหผูเรียนรูคุณลักษณะของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เร่ืองใดเรื่องหนึ่ง หรือเหตุการณใดเหตุการณหนึ่ง โดยสามารถระบุลักษณะเดนลักษณะรองของสิ่งตาง ๆ ได สามารถนําความรูมาใชในสถานการณอ่ืน ๆ สวนวิธีสอนเพื่อใหเกดิความคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking ) หมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่มุงใหผูเรยีนไดพัฒนาความสามารถในการใชความคดิ พิจารณา ตดัสินเรื่องราว ปญหา ขอสงสัยตาง ๆ อยางรอบคอบและมีเหตุผล ครูจะเปนผูเสนอปญหาและดแูลใหคําแนะนําในการจดักิจกรรมของผูเรียน จากความหมายของการสอนที่กลาวมาทั้งหมด สรุปไดวาการสอนคณิตศาสตร หมายถึง กระบวนการที่ชวยเหลือใหนักเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในดานความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทางคณิตศาสตร และคิดแกปญหาอยางมีเหตุผล โดยการถายทอดความรู และฝกใหนกัเรียนไดเกิดการเรยีนรู ทั้งเปนกลุมและรายบุคคล

Page 45: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

33

จุดมุงหมายในการสอนคณิตศาสตร การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตรใหผูเรียนไดพัฒนาความสามารถในการคิดคํานวณ สามารถนําคณิตศาสตรไปใชเปนเครื่องมอืในการเรียนรูส่ิงตาง ๆ และในการดําเนินชวีิตใหมีคุณภาพนั้น ครูผูสอนควรมีจุดมุงหมายของการสอนที่ชัดเจนและสําหรับจุดมุงหมายในการสอนคณิตศาสตรนัน้ ไมเคิลลิส (Michaelis 1967: 192) ไดกลาวถึงการสอนคณิตศาสตรช้ันประถมศึกษา ควรมีจุดมุงหมาย ดังนี ้ 1. เพื่อใหเด็กเขาใจสังกัป (Concept) เกีย่วกับจํานวน โครงสรางของระบบจํานวน ความสัมพันธ การกระทํา และเพื่อใหนักเรียนสามารถที่จะสรุปกฎเกณฑทางคณติศาสตร 2. เพื่อใหนักเรยีนมีทักษะการคิดคํานวณ 3. เพื่อใหเด็กมคีวามซาบซึ้งในวิธีการที่มนษุยเกี่ยวของกบัระบบ และเครื่องมือของการวัด เพื่อสนองความตองการของเขา และเพื่อใหเด็กเขาใจความหมายและกระบวนการของการวัด 4. เพื่อใหเด็กซาบซึ้งในวิชาคณิตศาสตรในฐานะที่เปนมรดกทางวฒันธรรม และเพื่อใหเด็กมีความเขาใจคณิตศาสตรในแงที่เปนภาษาที่แสดงและบันทึกเกี่ยวกบับริบทได 5. เพื่อใหเดก็ซาบซึ้งสนุกสนานในวิชาคณติศาสตร และมีความสนใจในทฤษฎแีละนําไปปฏิบัติ สวนคาเปอร (Kaper 1968 : 321-322) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายในการสอนคณิตศาสตรไวดังนี้ 1. เพื่อใหผูเรียนพัฒนาความสามารถทางความคิด 2. เพื่อใหผูเรียนมีความคิดอยางมีเหตุผล 3. เพื่อใหผูเรียนเขาใจความสัมพันธระหวางคณิตศาสตรกับชีวิตจริง ในทํานองเดยีวกัน เฟอรและฟลิปส (Fehr and Phillips 1972 : 3-5) ไดสรุปจุดมุงหมาย ของการสอนคณิตศาสตรไวดังนี ้ 1. เพื่อใหเด็กเขาใจในคณิตศาสตร 2. เพื่อใหเด็กมีทกัษะในการคิดคํานวณ 3. เพื่อใหเด็กสามารถแกปญหาได นอกจากนัน้แลวโสภณ บํารุงสงฆ และ สมหวัง ไตรตนวงษ (2520 : 19) ไดกลาวถึงจุดหมายการสอนคณิตศาสตรไวแตกตางไปจากที่กลาวมาบางประการ ดังนี ้ 1. ใหเดก็ไดนําไปใชในชวีิตประจําวนัได 2. ใหเดก็ไดนําไปใชทางวิทยาศาสตร 3. ใหเดก็ไดมีทกัษะในการคิดคํานวณ

Page 46: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

34

4. ใหเดก็ไดเขาใจพื้นฐานของคณิตศาสตร 5. ใหเดก็ไดใชความคิดริเร่ิม รูเหตุผล และรูโครงสรางทางคณิตศาสตร 6. ใหเดก็ไดแกปญหาตาง ๆ ที่เปนปญหาจริงจากชีวิตประจําวัน 7. ใหเดก็สามารถแปลโจทยปญหาเปนประโยคคณิตศาสตรได 8. ใหเดก็ไดใชวธีิที่ดีที่สุดและสามารถนําไปใชไดถูกตอง กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิาร (2544 : 12) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายของการสอนคณิตศาสตร ไวดังนี ้ 1. เพื่อใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในการเรยีนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน และทักษะใน การคิดคํานวณ 2. ใหผูเรียนคิดอยางมีเหตุผล และแสดงความคิดออกมาอยางเปนระบบ ชัดเจนและรัดกุม 3. ใหผูเรียนรูคณุคาของคณิตศาสตรและมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร 4. ผูเรียนสามารถนําประสบการณทางดานความรูความคิด และทักษะที่ไดจากการเรียน คณิตศาสตรไปใชในการเรียนรูส่ิงตางๆ และใชในชวีิตประจําวนั จากจุดมุงหมายในการสอนคณติศาสตรที่กลาวมา เหน็ไดวาการสอนคณิตศาสตรใน ระดับประถมศึกษาจะตองเปนการสอนทีถู่กตอง เพื่อเปนพื้นฐานทีน่ักเรียนจะนําไปใชในการเรยีนระดับสูงตอไป เปนเครือ่งมือเพื่อชวยใหนกัเรียนนําไปใชดัดแปลงในการดํารงชีวิตประจําวันไดดวย การสอนคณิตศาสตรในปจจุบนัจะดองสงเสริมทักษะเบื้องตน เทคนิค คําศพัท ความจริง หลักการ ความสามารถในการวิเคราะห ความเขาใจในโครงสรางคณิตศาสตร นอกจากนี้ยังตองรูจักพัฒนานักเรียนใหรูจักใชเหตุผลทางคณิตศาสตร และกระตุนใหนักเรยีนอยากรู อยากเหน็ เพื่อใหนักเรยีนเกิดความชื่นชมในการที่จะสรางความคิดใหมๆ และความคิดสรางสรรคทางคณิตศาสตร ซ่ึงครูตองเปดโอกาสใหนักเรียนดวยเหตุผล และขอคนพบดวยตนเองโดยเสรี หลักการสอนคณิตศาสตร นักการศึกษาหลายทาน ไดกลาวถึงหลักการสอนคณิตศาสตรไวดังตอไปนี้ สุลัดดา ลอยฟา (2527 : 67-68) และ สมจติ ชิวปรีชา (2529 : 11-16) ไดกลาวถึงหลักการสอนคณิตศาสตรไวอยางสอดคลองกันดังนี้ 1. จัดใหมกีารเตรียมความพรอมทางคณิตศาสตรแกนักเรยีน เพื่อเปนพื้นฐานของการเร่ิมบทเรียน และเปนพื้นฐานที่จะเรยีนในบทเรียนตอไป 2. การเนนทกัษะเบื้องตน 10 ประการ คือ

Page 47: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

35

2.1 ทักษะการแกปญหา 2.2 ทักษะการนําไปใชในชวีิตประจําวัน 2.3 ทักษะในการพิจารณาผลลัพธที่สมเหตุสมผล 2.4 ทักษะในการคาดคะเนกะประมาณ 2.5 ทักษะในการคิดคํานวณ

2.6 ทักษะเรขาคณติ 2.7 ทักษะทางการวัด 2.8 ทักษะเกีย่วกับการอานและการตีความ 2.9 ทักษะการใชคณิตศาสตรในการทํานาย 2.10 มีความรูในเรื่องคอมพิวเตอร 3. การเนนโครงสรางทางคณิตศาสตรใหตอเนื่องกัน เพื่อใหนกัเรียนเขาใจที่มาของ กฎเกณฑและคุณสมบัติตาง ๆ ตั้งแตระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาหรือมหาวิทยาลัย

4. การสอนเนือ้หาใหม ตองเปนประสบการณ หรือเนื้อหาที่ตอเนื่องกบัประสบการณ ความรูเดิมของนักเรียน 5. กระบวนการแกปญหา เปนกระบวนการที่ยุงยากซับซอน ซ่ึงการแกโจทยปญหา ในแบบเรียนเปนสวนหนึ่งในกระบวนการนี้ การสอนตองมีระบบที่จะตองเรียนไปตามลําดับขั้น

6. ควรมีการใชส่ือการสอน 7. จัดการเรียนการสอนจากรูปธรรมไปสูนามธรรม คือ เร่ิมจากของจริงไปสูสัญลักษณ 8. เนนเรื่องความเขาใจมากกวาความจํา 9. จัดการเรียนการสอนใหเหมาะแกนักเรยีนแตละคน สวนบุญทัน อยูชมบุญ (2529 : 24-25 , อางถึงใน นิตยา พัวรัตน 2541 : 14-16) ได กลาวถึงหลักการสอนคณิตศาสตรไวดังนี ้ 1. สอนโดยคํานงึถึงความพรอมของเด็ก คือความพรอมในรางกาย อารมณ สติปญญาและความพรอมในแงของความรูพื้นฐานทีจ่ะมาตอเนื่องกับความรูใหม โดยครูจะตองมีการทบทวนความรูเดิมกอน เพื่อใหประสบการณเดิมกับประสบการณใหมตอเนื่องกันจะชวยใหนักเรยีนเกิดความเขาใจมองเห็นถึงความสัมพันธของสิ่งที่เรียนไดด ี 2. การจัดกจิกรรมการเรียนการสอนจะตองจดัใหเหมาะสมกับวยั ความตองการ ความสนใจ และความสามารถของเด็ก เพื่อมใิหเกิดปญหาตามมาภายหลัง 3. ควรคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตรเปนวิชาทีค่รูจําเปนใหมากกวาวิชาอ่ืน ๆ ในแงความสามารถทางสติปญญา

Page 48: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

36

4. การเตรียมความพรอมทางคณิตศาสตรใหนักเรียนเปนรายบุคคล หรือเปนรายกลุมกอนเพื่อเปนพืน้ฐานในการเรียนรู จะชวยใหนักเรยีนมคีวามพรอมตามวัย และความสามารถของแตละคน 5. วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาทีม่ีระบบที่ตองเรียนไปตามลําดับขั้นตอนการสอนเพื่อสรางความเขาใจในระยะเริ่มแรกจะตองเปนประสบการณงาย ๆ ไมซับซอน ส่ิงที่ไมเกี่ยวของและทําใหเกิดความสับสนจะตองไมนํามาใชในกระบวนการเรยีนการสอน 6. การสอนแตละครั้งจะตองมจีุดประสงคทีแ่นนอนวาจดักิจกรรม เพื่อสนอง จุดประสงคอะไร 7. เวลาที่ใชในการสอนควรเปนเวลาที่พอควรไมนานเกนิไป 8. ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการยืดหยุนได ใหเดก็ไดมโีอกาสเลือกทํากิจกรรมไดตามความพอใจ ตามความถนัดของตน และใหอิสระในการทํางานใหแกเด็ก ส่ิงสําคัญประการหนึ่ง คือการปลูกฝงเจตคติที่ดแีกเด็กในการเรียนวิชาคณติศาสตร ถาเกิดมขีึ้นจะทําใหเดก็เกิดความพอใจในการเรียนวชิานี้ เห็นประโยชนและคณุคา ยอมจะสนใจมากขึ้น 9. การสอนที่ดคีวรเปดโอกาสใหนักเรียน มีการวางแผนรวมกนักับครู เพราะจะชวยใหครูเกดิความมั่นใจในการสอน และเปนไปตามความพอใจของเดก็ 10. การสอนคณิตศาสตรจะดี ถาเด็กไดมีโอกาสทํางานรวมกันหรือมีสวนรวมในการคนควา สรุปกฎเกณฑตาง ๆ แกปญหาตาง ๆ ดวยตนเองรวมกับเพื่อน 11. การจัดกจิกรรมการเรียนการสอน ควรสนุกสนานบังเทิงไปพรอมกบัการเรียนรูดวยจึงจะสรางบรรยากาศที่นาตดิตามตอไปของเด็ก 12. นักเรียนระดบัประถมศึกษาอยูในระหวางอายุ 6-12 ป จะเรียนไดดีเมื่อเร่ิมเรียนโดยใชอุปกรณจริง อุปกรณ ซ่ึงเปนรูปธรรมนําไปสูนามธรรมตามลําดับ จะชวยใหนกัเรียนเรียนรูดวยความเขาใจ มิใชการจําดังเชนการสอนในอดตีที่ผานมา 13. การประเมินผลการเรียนการสอนเปนกระบวนการตอเนื่อง และเปนสวนหนึ่งของการสอน ครูอาจใชวิธีการสังเกต การตรวจแบบฝกหดั การสอบถาม เปนเครื่องมือในการวัดผลซ่ึงจะชวยใหครูทราบขอบกพรองของนักเรียนและการสอนของตน 14. ไมควรจํากัดวิธีคดิคํานวณคําตอบของเด็ก ควรแนะนําวิธีคิดที่เร็วและแมนยําใหในภายหลัง 15. ฝกใหเด็กรูจกัตรวจเช็คคําตอบดวยตนเอง นอกจากนัน้ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2544 : 12-13) ไดกลาวถึงหลักการสอนคณิตศาสตร ไวดังนี ้

Page 49: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

37

1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนมีความรูคณิตศาสตรพื้นฐานตามที่หลักสูตรกําหนด ควบคูกบัความเขาใจกับหลักการคณิตศาสตร 2. ฝกใหผูเรียนมีทักษะทางคณิตศาสตร จนเกิดความชํานาญ ถูกตอง แมนยํา และรวดเร็ว แบบฝกหัดจึงควรทาทายและนาสนใจ อาจทําในรูปเกม ปญหาชวนคิด บัตรงาน เปนตน ซ่ึงเริ่มจากสิ่งงาย ๆ ไปหายาก 3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการเชื่อมโยงระหวางเนือ้หากับการนําไปใชในชวีิต ประจําวนั เพือ่ใหฝกการนาํคณิตศาสตรไปใช เห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร จงึควรจัดกจิกรรมใหผูเรียนไดปฏิบัติจริง หรือนําเหตุการณที่ประสบในชีวิตประจําวันมาเปนแนวในการจัดกจิกรรม เชน ใหผูเรียนได ช่ัง ตวง วดัความยาว ในการบวก ลบ คูณ และหาร เปนตน จากหลักเกณฑในการสอนคณติศาสตรดังกลาว สรุปไดวา การสอนคณิตศาสตรนั้น จะตองมีการเตรียมความพรอมใหกับนักเรยีน จัดเนื้อหาใหตอเนื่องจากงายไปยาก มีเทคนิคในการใชส่ือการเรียนการสอน เนนใหนักเรียนมีความเขาใจ ตลอดจนสามารถนําไปใชในชีวิตประจาํวันได และในการจัดการเรยีนการสอนผูสอนจะตองสรางบรรยากาศทีม่ีชีวิตชีวา เพื่อใหนกัเรียนมีความสุขและสนุกไปพรอมกับการเรียนรู

ความรูเก่ียวกับการคูณการหาร

การคูณ วรรณี โสมประยรู (2528 : 525-527) ไดใหความหมายของการคูณ ความสําคัญและสมบัติของการคูณไวดังนี ้ การคูณ หมายถงึ การบวกจํานวนทีเ่ทากันหลาย ๆ ตัว จํานวนซึ่งแสดงดวยการคณูเพียง 2 จํานวน คือ จํานวนครั้งที่นํามารวมกันกับจํานวนแตละครั้งที่เทากัน เชน 2+2+2 = 3 ×2 = 6 ความสําคัญของการคูณ การคูณเปนทักษะการคิดที่จําเปนของมนุษยเพื่อใชในการดํารงชีวิตประจําวัน และจําเปนสําหรับการเรียนคณิตศาสตรช้ันสูง นอกจากนั้นแลวการคูณยังมคีวามสําคัญในเรื่องอื่น ๆ อีก ดังนี ้ 1. การคูณเปนเครื่องมือที่สําคัญของวิทยาศาสตร

Page 50: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

38

2. การคูณเปนทักษะที่มีความสัมพันธกับทักษะการบวก การลบ และการหาร ดังนั้นถาเด็กมีทักษะการคูณดี จะทําใหมีทักษะอื่นดีตามไปดวย 3. การคํานวณตาง ๆ เชน การหาพื้นที่ การกอสราง และอื่น ๆ ตองอาศัยทักษะการคูณเปนเครื่องมือทั้งส้ิน 4. การคูณเปนเครื่องมือที่ทําใหการคิดคํานวณในเรื่องตาง ๆ รวดเร็วข้ึนได สมบัติการคูณ การคูณในระดับประถมศึกษามีเฉพาะจํานวนเต็มบวกและศูนย เชนการบวกและการลบ ดังนัน้ในที่นี้จะเสนอเฉพาะคุณสมบตัิการคูณจํานวนเต็มบวกและศูนยที่สําคัญและใชในระดับประถมศึกษาเทานั้น 1. สมบัติการสลับที่ของการคูณ ถา a และ b เปนจํานวนเต็มบวกแลว a × b = b × a เชน 6 × 5 = 5 × 6 นั่นคือตัวตั้งและตัวคณูสามารถสลับที่กันได 2. สมบัติการเปลี่ยนกลุมของการคูณ ถา a , b และ c เปนจํานวนเต็มบวกแลว (a × b) × c = a ×(b × c) เชน (3 × 2) × 5 = 3 × (2 × 5) เพราะคาคงเดิม 3. สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ ถา a×1 = 1×a = a สําหรับจํานวนเต็มบวกของ a ทุกตัวแลว 1 จึงเปนเอกลักษณสําหรับการคูณ เชน 5× 1 = 1 × 5 = 5 4. สมบัติการแจกแจงหรือการกระจาย ถา a , b และ c เปนจํานวนเต็มบวกแลว

a × (b + c ) = (a × b) + (a × c ) เชน 3 × (5 +2) = (3 × 5) + (3 × 2) = 21

(b + c ) ×a = (b × a) + (c + a) เชน (10 + 4) × 5 = (10 × 5) + (4 × 5) = 70 5. คุณสมบัติการเทากันของการคูณ สําหรับจํานวนเต็มบวก a , b และ c ถา a = b แลว a × c = b × c นัน่คือ เอาจํานวนใดที่เทากันคณูจํานวนที่มีคาเทากันผลคูณทั้งสองจํานวนตองมีคาเทากนัดวย เชน (2+3) = (4+1) ดังนั้น (3+2) × 6 = (4+1) × 6 การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทกัษะการคูณ ในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการคูณ ครูจะตองมีหลักการเพือ่ยึดเปนแนวทางสําหรับจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการคณูใหมีประสิทธิภาพดังตอไปนี้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2529)

Page 51: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

39

1. กอนพัฒนาทกัษะการคูณ นักเรียนตองมทีักษะการบวกอยางดแีลว 2. วิธีการพัฒนาทักษะการคูณ ครูควรใหเด็กไดสังเกตสิง่ของชนิดเดยีวกันที่รวมกนั อยูเปนหมูละเทา ๆ กัน และนับเพิ่มส่ิงของเปนหมูละเทา ๆ กัน แลวนาํมาตั้งเปนปญหาใหนักเรยีนหาคําตอบ เชน นก 5 ตัวมีกี่ปก หนู 3 ตัวมีกี่ขา เรือบิน 5 ลํา มีกี่ปก หมา 3 ตัวมีกี่ตา คน 3 คนมีกี่นิว้ เปนตน 3. ใหนักเรยีนเลนเกมแขงขันกันเปนหมู เชน เกมรอยลูกปด ใหกลุมหนึ่ง ๆ รอยลูกปดหลาย ๆ สี และสีหนึ่งหลาย ๆ ลูก เทา ๆ กัน ตามคําส่ังครู และเวลาที่กําหนดให 4. ใหนกัเรียนแสดงการเลนทีสั่มพันธกับทักษะการคูณ เชน การเลนหาสมบัติ 5. ใหนกัเรียนฝกทองสูตรคูณใหแมนยํา โดยการทองสูตรคูณจากตารางสูตรคูณจะทาํใหนกัเรียนเขาใจความหมายของการคูณ 6. จัดกิจกรรมใหนักเรยีนทองสูตรคูณอยางสม่ําเสมอ เชน การฝกหาคําตอบดวยปากเปลาดวยคําส่ังครู สรางบัตรฝกหัดการคณูเปนชุด ๆ ซ่ึงมีการเฉลยคําตอบไวใหดวย เพื่อใหนกัเรียนตรวจคําตอบดวยตนเอง เปนตน 7. เนื้อหาที่นํามาสอนในเรื่อง การคูณ ควรจะเรียงลําดับจากงายไปหายาก 8. กิจกรรมการฝกทักษะการคูณ จะตองใหนกัเรียนฝกปฏิบัติคิดคํานวณอยางถูกตอง และรูจักนําทักษะการคณูไปใชในชวีิตประจําวัน โดยนําสถานการณในชีวิตประจําวนัมาสรางโจทย

9. ควรใหนกัเรียนฝกทักษะการนําสูตรคูณไปใชในการแกปญหาในชวีิตประจําวนั 10. จัดกิจกรรมทักษะการคูณใหสัมพันธกับทักษะอืน่ ๆ

การหาร วรรณี โสมประยูร (2528 : 544) ไดสรุปความหมายของการหารไว 2 ประการดังนี ้ 1. การหาร หมายถึง การแบงจํานวนหนึง่ออกเปนหมู โดยการกําหนดจํานวนหมูไวแลว ใหแบงหมูละเทา ๆ กัน 2. การหาร หมายถึง การลบจํานวนออกจากจํานวนใดจํานวนหนึ่งตามที่กําหนดใหคร้ังละเทา ๆ กัน หลายๆ คร้ัง ความสําคัญของการหาร การหารเปนวิธีการกลับกันกับการคูณ ความสําคัญของการหารจึงเหมือนกับการคณู ซ่ึงพอสรุปไดดังนี ้ 1. การหารใชสําหรับแบงส่ิงของใหเทา ๆ กนั

Page 52: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

40

2. การหารใชสําหรับแจกสิ่งของใหเทากนัดวยความยุติธรรม 3. การหารใชสําหรับการรวมสิง่ของใหเปนกลุม ๆ ที่มีประมาณเทากนั การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทกัษะการหาร รําภา มีวิทยด ี (2537 : 7 ) ไดสรุปแนวการปฏิบัติในการพัฒนาทักษะการหารของนักเรียนประถมศึกษา ดังนี ้ 1. ครูควรหากลวิธีที่จูงใจนกัเรียนใหมีความพรอม และตั้งใจที่จะเรียนโดยตลอดทัง้นี้เพราะการหารเปนเรื่องยากสาํหรับเด็กประถมศึกษา ถานักเรียนไมพรอมและไมตั้งใจก็จะไมเขาใจและทําแบบฝกหัดไมได 2. กิจกรรมการฝกทักษะการหาร ควรสัมพันธกับทักษะการคูณดวย ครูควรสอนการหารโดยโยงใหสัมพันธกับการลบการคูณดวย 3. กิจกรรมการฝกทักษะการหารควรเปนรูปธรรมใหผูเรียนไดประสบการณตรง เชนใหนกัเรียนเลนแบงส่ิงของจริง ๆ 4. กิจกรรมการฝกทักษะการหารตองอาศัยความพรอมของผูเรียนในเรื่องการลบ 5. การใชเวลาฝกทักษะการหาร แตละแบบตองใชเวลาใหมากพอจนนักเรยีนเกดิทักษะในการฝกที่ดี จึงเปลี่ยนการฝกเปนอีกแบบหนึ่ง 6. กิจกรรมการฝกทักษะการหารคอย ๆ เพิ่มความยากขึน้ทีละนอย อยารับฝกวิธีลัดเพราะจะทําใหนักเรียนไมเขาใจเหตุผลและความเปนมา จะทําใหคิดคํานวณผิดพลาดไดงาย จากที่กลาวจะเหน็ไดวา การพัฒนาทักษะการคูณการหาร ตองอาศัยทักษะการบวกการลบเปนพืน้ฐาน นักเรียนตองทองสูตรคูณใหแมนยํา การฝกทักษะการคณูการหารจะตองเรียงลําดับเนื้อหาจากงายไปยาก ฝกใหนกัเรียนเกิดความคิดรวบยอดกอนและฝกทกัษะใหสัมพนัธกัน

การเรียนการสอนแบบบูรณาการ ความหมายของการบูรณาการ คําวาบูรณาการ (Integration) ไดมีผูใหความหมายไวโดยทั่วไปดังนี ้ พัฒนา ชัชพงศ (2539: 7) กลาวไววา การบูรณาการ หมายถึง การจัดรูปแบบกิจกรรมสรางเสริมประสบการณโดยยึดตัวผูเรียนเปนศูนยกลาง และนําส่ิงที่ผูเรียนตองการจะเรียนรูในทุกดานมาลําดับความสําคัญของประสบการณจัดใหเหมาะสมสอดคลองกับพัฒนาการ และชวีิตของ

Page 53: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

41

ผูเรียน พระเทพเวที (2531 : 9) ไดใหความหมายวา การบูรณาการ คือ การทําใหหนวยยอย ๆ ที่สัมพันธอิงอาศัยกันอยูเขามารวมกันทําหนาที่อยางประสานกลมกลนื เปนองครวมหนึ่งเดยีว กาญจนา คณุารกัษ (2540 : 183) กลาววา บูรณาการ หมายถึง กระบวนการหรือการปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียนรู ความสัมพันธขององคประกอบทาง จิตพสัิยและพุทธพสัิย หรือกระบวนการ หรือการปฏิบัติในอันทีจ่ะรวบรวมความคิด มโนภาพ ความรู เจตคติ ทักษะและประสบการณในการแกปญหาเพื่อใหชีวิตมีความสมดุลนั่นเอง สวนยุค ศรีอาริยะ (2542 : 13 ) กลาววา บูรณาการ หมายถึง องครวมซึ่งก็คือระบบการคิดแบบหนึ่งที่เชื่อวาจะวิเคราะหหรือเขาใจโลกและสังคมไดนั้นตองศึกษาภาพรวมกอน โดยมีความเชื่อพื้นฐานวาสวนทั้งหมดไมไดมีคาเทากับผลรวมของสวนยอย ในทํานองเดยีวกันอมรรัตน สูนยกลาง (2544 : 39 ) ไดสรุปความหมายของคําวา บูรณาการ หมายถึง ลักษณะการผสมผสานประสบการณการเรียนรูใหมีความสมัพันธ เชื่อมโยงรวมเขาเปนหนวยเดยีวกันอยางสมดุลนําไปสูการแกปญหาตาง ๆ ได ทําใหสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีความสขุ สวนนกัการศึกษาชาวตางประเทศซึ่งไดแก Good (1973 : 308) ไดใหความหมายของบูรณาการ หมายถึง กระบวนการหรือการปฏิบัติในการที่จะรวบรวมรายวิชาตาง ๆ ที่แตกตางกันเขาดวยกันแลวนํามารายงานผล หรือแสดงผลออกมาในเชิงกิจกรรมหรอืโครงการเดียวกัน และShoemaker (1989 : 82) กลาววา บรูณาการ หมายถึง การศึกษาที่ตัดผานเสนแบงแยกวิชา นําเอาสวนตาง ๆ ของหลักสูตรมารวมกันทําใหเกิดความสัมพันธอยางมีความหมาย เพื่อใหเกิดจุดรวมเปนหวัขอที่ตองศึกษากวาง ๆ การศึกษาแบบบูรณาการสะทอนใหเห็นถึงโลกที่เปนจริงซ่ึงตองพึ่งพาอาศยักันเกี่ยวพนักบัผูเรียนทั้งทางกาย ความคดิ ความรูสึก ผัสสะ และการหยั่งรู ทําใหเกิดประสบการณทางการเรียนที่รวมความรูเปนอันหนึ่งอันเดียวกนั ทําใหเกิดความเขาใจมากขึน้กวาการเรยีนรูจากสวนยอย ๆ ที่แยกออกจากกัน จากความหมายดงักลาวขางตนสรุปไดวา บูรณาการ หมายถึง การรวมประสบการณการเรียนรูตาง ๆ เขาดวยกนั ในลักษณะการผสมผสานประสบการณการเรียนรูใหมีความสัมพนัธเชื่อมโยงเปนอันหนึ่งอันเดยีวกัน เพื่อชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณอยางมีความสัมพันธและตอเนื่อง อันนาํไปสูการแกปญหาตาง ๆได และมีคุณคาตอการดํารงชีวติ ความหมายของการเรียนการสอนแบบบูรณาการ การเรียนการสอนแบบบูรณาการ ไดมีผูใหความหมาย ไวดังนี ้

Page 54: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

42

พระเทพเวที (2531 : 10) กลาววา การศึกษาแบบบูรณาการ คือการจัดการศึกษาหรอืการจัดหลักสตูรและการสอนโดยนําศาสตรสาขาวิชาตาง ๆ ที่มคีวามสัมพันธเกี่ยวของกันมาผสมผสานใหเกิดความสมบรูณและทําใหผูเรียนเกดิประสบการณ และการพัฒนาทีส่มบูรณเปนคนที่สมบูรณ กรมการปกครอง สํานักงานประสานงานโครงการพัฒนาทรัพยากรมนษุย (2540 : 6) ไดใหความหมายของการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การเชื่อมโยงวิชาหนึ่งเขากบัวิชาอ่ืน ๆ เชน การเชื่อมโยงวชิาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตรและภาษาไทย ฯลฯ อรทัย มูลคํา และคณะ (2543 : 10) ไดใหความหมายของ การเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การนาํเอาศาสตรสาขาวิชาตางๆ ที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกันมาประสานเขาดวยกันเพื่อประโยชนในการจัดหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน วัฒนาพร ระงับทุกข (2542 : 46) กลาววา การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การนําเอาศาสตรตาง ๆ ที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกันมาผสมผสานกันเพื่อประโยชนในการดําเนนิการ การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการจึงเปนการนาํเอาความรูสาขาตาง ๆ ที่สัมพันธกันมาผสมผสานกัน การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการจะเนนองครวมของเนื้อหาโดยตัวครู อมรรัตน สูนยกลาง (2544 : 41-42) ไดสรุปไววา การเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง กระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยมีความสัมพันธเชื่อมโยงเนื้อหาวิชาเขาดวยกัน โดยใหผูเรียนไดมีสวนรวมในกจิกรรมการเรียนการสอน ผูเรียนไดเรียนรูโดยปฏบิัติจริงซ่ึงครูเปนผูช้ีแนะแนวทางใหกับผูเรียน และประสบการณตาง ๆ ทําใหผูเรียนเกิดการเรยีนรูไดอยางสมดุลทั้งดานความรูความเขาใจ เจตคติ และทกัษะ และสามารถแกปญหาที่ประสบในชีวิตประจําวันได กรมวิชาการ กระทรวงศกึษาธิการ (2544 : 21) ไดใหความหมายของ การจัดการ เรียนรูแบบบูรณาการ คือ การเรียนรูในลักษณะองครวม การกําหนดเปาหมายการเรียนรวมกนั ยึดผูเรียนเปนสําคัญ โดยนาํกระบวนการเรียนรูจากกลุมสาระเดียวกนั หรือตางกลุมสาระการเรียนรูมาบูรณาการในการจดัการเรียนการสอน และเปนการจัดการเรยีนการสอนทีม่ีความยืดหยุนคลองตัว เอือ้ใหผูเรียนสามารถนําความรูและประสบการณเดิมเขาสูหองเรียนได (กรมวิชาการ,2544:58) กูด (Good 1959 : 121) ไดอธิบายถึงการเรียนการสอนแบบบูรณาการ คือสภาพการจัดองครวมความรูในวิชาตาง ๆ มาเปนหนวยการเรียนเดยีวกันโดยจดัใหสัมพนัธกันดวยการ

Page 55: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

43

สอดแทรกในเนื้อหาวิชา หรือเปนการจัดการเรียนการสอนในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยใหมวีิชาตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยูดวยกันในรูปของโครงการหรือกิจกรรม ตัวอยางเชน สอนเรื่องคลองปานามาก็จะประกอบดวยวิชาภูมิศาสตร ประวัติศาสตร ศิลปะ ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร รวมกันอยูในลักษณะที่เกีย่วกับเรื่องคลองปานามา บลิเชน (Blishen 1969 : 27) กลาววา การเรียนการสอนแบบบูรณาการเปนการเรียนการสอนที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดรวมมือกันคนควา หรือศึกษาในสิ่งที่สนใจ นักเรียนจะตองรวมมือกัน เพื่อใหเกิดการเรียนรู นักเรียนอาจจะเรียนเปนกลุมเล็ก ๆ เพื่อศึกษาเปนรายบุคคลก็ได ซ่ึงลักษณะของหลักสูตรแบบบูรณาการประกอบดวย 1. การจัดเวลาเรียนใหกับนักเรยีนมากพอกับการเรียนรู 2. การศึกษาหาความรูอยางเปนอิสระ (Autonomous) ภายใตการแนะนําของครู 3. การศึกษาเพื่อเสริมสราง (Remedial Education) ครูตองใชเวลาใหเหมาะสมเพือ่ เสริมสรางความรูพื้นฐานใหกับนักเรยีน 4. มีการตอบสนองความสนใจที่ตางกันของนักเรียน (Special Interests) องคประกอบการเรียนการสอนทั้ง 4 ประการนี้ทําใหครูคนพบความสามารถและความสนใจของนักเรียน และเปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะตาง ๆ ของตนอยางกาวหนา จากรายละเอยีดดังกลาวขางตน สรุปไดวา การเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง กระบวนการการจัดการเรียนรูในลักษณะองครวม โดยนาํกระบวนการเรียนรูจากกลุมสาระเดียวกนั หรือตางกลุมสาระการเรียนรูมาบูรณาการในการจดัการเรียนการสอน ซ่ึงเปนการจัดการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุนคลองตัว ยดึผูเรียนเปนสําคญัผูเรียนไดเรียนรูโดยปฏิบัตจิริงโดยครูเปนผูช้ีแนะแนวทางใหกับผูเรียน และประสบการณตาง ๆ ทําใหผูเรียนเกดิการเรียนรูไดอยางสมดุลทั้งดานความรูความเขาใจ เจตคติ และทักษะ และสามารถแกปญหาในชีวิตประจําวันได ลักษณะสําคัญของการบูรณาการ การบูรณาการ เปนองครวมเปนการเชื่อมโยงสัมพันธส่ิงหนึ่งเขากับอีกสิ่งหนึ่งอยางสมดุล ซ่ึงมีลักษณะสําคัญโดยรวม ดังที่ ธํารง บัวศรี (2532 , อางถึงใน อรทัย มลูคํา และคณะ 2543: 12) กลาวถึง คือ 1. เปนการบูรณาการระหวางความรู และกระบวนการเรียนรูเพราะปจจุบันปริมาณของความรูมีมากขึน้ทวีคูณ รวมทั้งมีความสลับซับซอนมากขึ้นตามลําดับ การเรียนการสอนดวยวิธีการเดิม อาทิ การบอกเลา การบรรยาย การทองจาํอาจไมเพยีงพอที่จะกอใหเกดิการเรียนรูทีม่ี ประสิทธิภาพได ผูเรียนควรจะเปนผูสํารวจความ สนใจของตนเองวาในองคความรูนั้นอะไรคือส่ิง

Page 56: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

44

ที่ตนเองสนใจอยางแทจริง และตอบสนองความสนใจนัน้อยางไร และดวยกระบวนการเชนไร 2. เปนการบูรณาการระหวางพัฒนาการทางความรูและพฒันาการทางจติใจนัน่คือ ใหความสําคัญแกจิตพิสัย คือ เจตคติ คานิยม ความสนใจ และสุนทรียภาพแกผูเรียนในการแสวงหาความรูดวย ไมใชเนนแตเพยีงองคความรูหรือพุทธพิสัยเพียงอยางเดยีว 3. เปนการบูรณาการระหวางความรูและการกระทํา มคีวามสําคัญและความสัมพนัธ เชนเดยีวกับขอที่สองเพียงแตเปลี่ยนจิตพสัิยเปนทักษะพิสัยเทานั้น 4. เปนการบูรณาการระหวางสิ่งที่เรียนในโรงเรียน กับสิ่งที่อยูในชวีิตประจําวันของผูเรียน คือ ตระหนกัถึงความสําคัญแหงคุณภาพชวีิตของผูเรียนวาเมื่อไดผานกระบวนการเรียนการสอนตามหลักสูตรแลวส่ิงที่เรียนที่สอนในหองเรียนจะตองมีความหมาย และมีคณุคาตอชีวิตของผูเรียนอยางแทจริง 5. เปนการบูรณาการระหวางวชิาตาง ๆ เพือ่ใหผูเรียนเกิดการเรียนรู เจตคติและการกระทําที่เหมาะสมกับความตองการและความสนใจกับผูเรียนอยางแทจริง ตอบสนองตอคุณคาในการดํารงชีวิตของผูเรียนแตละคน การบูรณาการความรูของวิชาตาง ๆ เขาดวยกันเพื่อตอบสนองความตองการ หรือเพื่อตอบปญหาที่ผูเรียนสนใจจึงเปนขั้นตอนสําคัญที่ควรจะกระทําในขั้นตอนของการบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอนเปนอยางยิ่ง รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการสามารถจัดไดหลายรูปแบบ ดังนี ้ UNESCO-UNEP (1994 , อางถึงใน อรทัย มูลคํา และคณะ 2543: 13) กลาวไววา การบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอนได 2 แบบ คือ 1. แบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ไดแกการสรางเรื่อง (Theme) ขึน้มาแลวนําความรูวิชาตาง ๆ มาโยงสัมพันธกับหัวเร่ืองนั้น ซ่ึงบางครั้งเราก็อาจเรียกวิธีบูรณาการแบบนีว้า สหวิทยาการแบบมีหัวขอ (Themetic Interdisciplinary Studies) หรือการบูรณาการที่เนนการนําไปใชเปนหลัก (Application - First Approach) 2. แบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) ไดแกการนําเรื่องที่ตองการจะจดัใหเกดิบูรณาการไปสอดแทรก (Infusion) ไวในวิชาตาง ๆ ซ่ึงบางครั้งเราก็อาจจะเรียกวธีิบูรณาการแบบนี้ไดวา การบรูณาการที่เนนเนื้อหารายวิชาเปนหลัก สวนกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2544 : 59 - 60) ไดกลาวถึงรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบการบูรณาการไว 5 รูปแบบ คือ

Page 57: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

45

1. การบูรณาการภายในศาสตร เปนการสอนแยกกลุมสาระ เนนธรรมชาติวิชา แตนํา กระบวนการเรียนรูจริยธรรมของกลุมสาระอื่นมาบูรณาการ เชน การเรียนรูวชิาวิทยาศาสตรเกี่ยวกับน้ํา ครูใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรบูรณาการกับกระบวนการการขัดเกลาทางสังคมใหเด็กเรียนรูวิทยาศาสตรโดยการปลูกฝงความรับผิดชอบในการใชทรัพยากรธรรมชาติไปดวย 2. การบูรณาการกลุมสาระคูขนาน เปนการเชื่อมโยงเนื้อหาสาระ กระบวนการและคูณธรรมของ 2 กลุมสาระ เพื่อใหนักเรยีนเชื่อมโยงวิชาหนึ่งไปยังอีกวิชาหนึ่งเพื่อความยดืหยุนในการเรียนรู 3. การบูรณาการแบบสหวิทยาการ เปนการออกแบบการเรียนรูในลักษณะองครวม เปนหนวยการเรียนรูที่อาจใชเวลา 2-3 วัน , 2-3 สัปดาห หรือทั้งภาคเรียน หนวยการเรยีนรูลักษณะนี้ จะยึดแกนของเรื่องเชื่อมโยงกระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติของหลายกลุมสาระการเรียนรู จะสรางพื้นฐานการเปนมนุษยที่สมดุลทัง้สมองซีกซายและสมองซีกขวาสามารถใชแหลงการเรียนรูไดหลากหลาย 4. วันแหงบูรณาการ เปนการบูรณาการที่กาํหนดใหวันใดวันหนึ่งจดัการเรียนรูเพื่อฝกใหผูเรียนฝกประสบการณ หรือคนหาประเด็นความรูเกีย่วกับสิ่งที่ตองการใหผูเรียนไดเรียนรูและมีความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรม จุดเนนอยูที่เปาหมายของการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ อาจเปนโครงการฝกปฏิบัติมาก ๆ 5. การบูรณาการอยางสมบูรณ เปนการบรูณาการแบบที่ใชชีวิตจริงของผูเรียนเปนตัวตั้ง ใชสหวิทยาการและสรางบรรยากาศ โดยเนนระเบยีบวิธีของศาสตรหนึ่งศาสตรใด สวนสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2541 : 35) ไดกลาวถึงการเรียนการสอนแบบบูรณาการมี 2 ลักษณะ คือ การบูรณาการภายในวิชา และการบูรณาการระหวางวิชา ซ่ึงการบูรณาการภายในวิชาเปนการเชื่อมโยงการสอนระหวางเนื้อหาวิชาในกลุมประสบการณหรือรายวิชาเดยีวกันเขาดวยกัน ซ่ึงโดยปติครูผูสอนในวิชาตาง ๆ จะปฏิบัติอยูแลวสําหรับการบูรณาการระหวางวิชาเปนการเชื่อมโยงการสอนระหวางกลุมประสบการณ หรือระหวางวิชาเขาดวยกันโดยมุงที่หัวเร่ือง หรือ ความคิดรวบยอด หรือปญหาเปนแกน รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการมี 4 รูปแบบ คือ 1. การสอนบูรณาการแบบสอดแทรก (Infusion Instruction) การสอนแบบนี้ครูผูสอนในวชิาหนึ่งสอดแทรกเนื้อหาของวิชาอ่ืน ๆ เขาไปในการสอนของตนเปนการวางแผนการสอนและสอนโดยครูเพียงคนเดียว 2 การสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) การสอนตามรูปแบบนี้ ครู

Page 58: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

46

ตั้งแต 2 คนขึ้นไปสอนวชิาตางกัน ตางคนตางสอนแตตองวางแผนการสอนรวมกันโดยมุงสอนหัวเร่ือง / ความคิดรวบยอด / ปญหาเดยีวกนั (Theme / concept / problem) ระบส่ิุงที่รวมกันและตัดสินใจรวมกันวาจะสอนหัวเร่ือง / ความคิดรวบยอด / ปญหานั้น ๆ อยางไรในวิชาของแตละคน งานหรือการบานที่มอบหมายใหนักเรยีนทาํจะแตกตางกนัในแตละวิชา แตทั้งหมดจะมีหวัเร่ือง / ความคิดรวบยอด / ปญหารวมกัน 3. การสอนบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Multidisciplinary Instruction) การสอนตามรูปแบบนีค้ลาย ๆ กับการสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) กลาวคือ ครูตั้งแต 2 คนขึ้นไป สอนตางวิชากันมุงสอนหัวเร่ือง / ความคิดรวบยอด / ปญหาเดยีวกัน ตางคนตางแยกกันสอนเปนสวนใหญ แตมีการมอบหมายงานหรือโครงการ (Project) รวมกันซึ่งจะชวยเชื่อมโยงสาขาวิชาตาง ๆ เขาดวยกันครูทุกคนตองวางแผนรวมกนัเพื่อที่จะระบวุาจะสอนหัวเร่ือง / ความคิดรวบยอด / ปญหานั้น ๆ ในแตละวิชาอยางไร และวางแผนสรางโครงการนั้นออกเปนโครงการยอย ๆ ใหนักเรยีนปฏิบัติในแตละรายวิชาอยางไร อนึ่งพึงเขาใจวา “โครงการ” นี้มีความหมายเดียวกับคําวา “โครงงาน” มาจากภาษาอังกฤษคําเดียวกันคือ “Project” ผูอานหลายทานอาจคุนเคยกับคําวาโครงงานมากกวา เชนโครงงานวิทยาศาสตร ซ่ึงอาจจะเรียกวา โครงการวทิยาศาสตรไดเชนเดยีวกัน 4. การสอนบูรณาการแบบขามวิชาหรือคณะ (Trandisciplinary Instruction) การสอนตามรูปแบบนี้ ครูทีส่อนวิชาตาง ๆ จะรวมกันสอนเปนคณะหรือเปนทมีรวมกันวางแผนปรึกษาหารือ และกําหนดหวัเร่ือง / ความคิดรวบยอด / ปญหารวมกัน และรวมกันดําเนินการสอนนักเรียนกลุมเดียว (กรมการปกครอง, สํานักงานประสานงานโครงการพัฒนาทรัพยากรมนษุย 2540 : 8-10) และวิชัย วงษใหญ (2544 : 52) ไดกลาวไววาการบูรณาการในกจิกรรมการเรียนการสอนนั้นสามารถทําได 4 วธีิ ดังนี้ 1. การสอดแทรก (Infusion) โดยครูผูสอนแตละวิชาสามารถสอดแทรกโจทย ประเด็น หรือเนื้อหาวิชาอ่ืน ๆ ลงไปในวิชาของตน เชน ครูที่สอนคณิตศาสตร อาจสอดแทรกโจทยหรือประเด็นทางดานสังคม วัฒนธรรม คุณธรรมจริยธรรมลงไปในการเรียนการสอนของตน 2. คูขนาน (Parallel) เปนการวางแผนรวมกันระหวางครูสองคนหรือหลาย ๆ คนรวมกัน เชน มีโครงงานจะทําหนังสือพิมพประจําโรงเรยีน ครูภาษาไทย ครูการงานอาชีพ ครูวิทยาศาสตร ครูภาษาอังกฤษ อาจจะมาวางแผนรวมกันแตในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยังคงแยกยายกันสอน โดยมีจุดมุงหมายรวมกันทีจ่ะใหนักเรียนไดทํากิจกรรมการเรยีนรูที่จะนําไปสู

Page 59: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

47

การทําหนังสือพิมพ เชน วิชาภาษาไทยเรียนเร่ืองการเขียนขาว การสรุปยอความ วิชาวิทยาศาสตรเรียนรูเกีย่วกับการคนพบหรอืการคนควาทดลองทางวิทยาศาสตรในชั้นเรียน แลวเขียนเปนรายงานขาวเผยแพร ครูศิลปะใหเด็กทํางานอารตเวิรก จัดทาํหนาหนังสือพิมพใหสวยงามนาอาน ดานคณิตศาสตรอาจจะคดิคํานวณตนทุนการผลิตหนังสือพิมพของโรงเรียนเปนตน 3. พหุวิทยาการ (Multidisciplinary) การสอนโดยบูรณาการลักษณะนี้จะไมเปนการสอนแยกเปนวิชา ๆ แตจะสอนรวมกันโดยอาศัยโครงเรื่องตามความสนใจและความเหมาะสมของผูเรียนและชุมชนทองถ่ิน เชน โรงเรียนพทุธเกษตร อําเภอขุนยวม มีการเรียนการสอนแค 3-4 เร่ืองคือ นาขาว เห็ด ปุย และเรียนรูเร่ืองการคาขาย โรงเรียนนี้เปนโรงเรียนประจํานกัเรียนตองปลูกขาวกินเองและสีขาวกนิเอง เพาะเห็ดขาย จากผลผลิตของโรงเรียนคือ ขาวและเหด็ เปนตน โดยเดก็แตระดับชั้นก็จะเรยีนเนื้อหาทีย่ากงายแตกตางกนัไป แตเรียนในเรื่องเดียวกันและครูผูสอนจะเขามาสอนและทํากจิกรรมรวมกัน 4. ขามวิชา (Trandisciplinary ) เปนการบูรณาการในระดับทีสู่งขึ้นสลัดความเปน “วิชา” ของแตละศาสตรออกไปเปนการเรียนโดยมีเคาโครงหรือโจทยประเดน็ปญหาที่วางไว ผูเรียนเรียนรูหรือแสวงหาแนวทางการแกปญหาโดยผานกิจกรรม และการคนควาศึกษาอยางหลากหลายและรวมกนัระหวางหลักวิชาการตางๆ เพื่อที่จะชวยใหเขาใจปญหาที่ซับซอนขึ้น เชน การเรียนโดย ‘ชุบตัว’ ที่ผูเรียนอาจฝงตัวศึกษาตดิตามเรื่องใดเรื่องหนึ่งเปนเวลายาวนานโดยกระบวนการนี้จะตองใชความรูความสามารถหลายดาน โดยอาศัยพืน้ฐานความรูจากศาสตรตาง ๆ ตามความจําเปนเพื่อประโยชนตอการสรางความรูความเขาใจในเรื่องนัน้ ๆ จากรายละเอยีดของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณการที่กลาวมา ขางตนสามารถสรุปไดวาการบูรณาการมี 2 ลักษณะ คือ การบูรณาการภายในวิชา และการบูรณาการระหวางวิชา และไมวาจะเปนการบูรณาการในแบบกต็าม ในการจัดการเรียนการสอนจะตองคํานึงถึงหลักการสําคัญ 5 ประการซึ่งไดแก 1. การจัดการเรยีนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง โดยใหผูเรยีนมีสวนรวมในการเรียนการสอนอยางกระตอืรือรน 2. การสงเสริมใหนักเรยีนไดรวมทํางานกลุมดวยตนเอง โดยสงเสริมใหมีกิจกรรมกลุมในลักษณะตาง ๆ หลากหลายในการเรียนการสอน และสงเสริมใหผูเรียนมีโอกาสไดลงมือทํากิจกรรมตาง ๆ อยางแทจริงดวยตนเอง 3. การจัดประสบการณตรงใหแกผูเรียน โดยใหผูเรียนไดมีโอกาสเรียนรูจากสิ่งที่เปนรูปธรรมเขาใจงาย ตรงกับความเปนจริง สามารถนําไปใชในชวีิตประจําวนัอยางไดผล และสงเสริมใหมีโอกาสไดปฏิบัติจริงจนเกิดความสามารถและทักษะที่เปนนิสัย

Page 60: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

48

4. จัดบรรยากาศในชั้นเรยีนที่สงเสริมใหผูเรียนเกิดความรูสึกกลาคิดกลาทาํ โดย สงเสริมใหผูเรียนไดมีโอกาสที่จะแสดงออกซึ่งความรูสึกนึกคิดของตนตอสาธารณชน หรือเพื่อน รวมชั้นเรียน ทั้งนี้เพื่อเสริมสรางความมั่นใจใหแกตัวผูเรียน 5. เนนการปลูกฝงจิตสํานึก คานิยม และจริยธรรม ที่ถูกตองดีงาม ใหผูเรียนสามารถจําแนกแยกแยะความถูกตองดีงามและความเหมาะสมได สามารถขจัดความขัดแยงไดดวยเหตุผล มีความกลาหาญทางจริยธรรม และแกไขปญหาดวยปญญาและความสามัคคี จากการวจิัยในครั้งนี้ผูวิจัยไดใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนบูรณาการ แบบสอดแทรก (Infusion) ซ่ึงเปนการวางแผนการจัดการเรยีนการสอนโดยครูเพยีงคนเดียว โดยนําขอมูลภูมิปญญาทองถ่ินมาสอดแทรกเขาไปในการสอนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เร่ืองการคูณ การหารที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้นโดยนํามาเชื่อมโยงสัมพันธกัน ขั้นตอนในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการไดมนีกัการศึกษาหลายทาน เสนอขั้นตอนในการเรียนการสอนไว ดงันี ้ อัญชลี สารรัตนะ (2543 : 31-32) ไดเสนอการสรางบทเรียนและการจดัการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ไวดังนี้ 1. กําหนดหัวเร่ืองที่จะสอน โดยการศึกษาหลักสูตรและวิเคราะหหาความสัมพันธของเนื้อหาที่มีความเกี่ยวของเพื่อนํามากําหนดเปนเรื่อง (Theme) ความคดิรวบยอด หรือปญหาในการสอน (เหมาะกับ Infusion Instruction และ Parallel Instruction) หรืออาจกําหนดเรื่องที่สอนจากการเลือกจดุประสงครายวิชา 2 รายวิชาขึ้นไป แลวนํามาสรางเปนหัวเร่ือง (Theme) ความคิดรวบยอดหรือปญหาในการสอน (เหมาะกับ Multidisciplinary Instruction และ Transdisciplinary Instruction) ในการเลือกหัวเร่ืองครูอาจเลือกใชวิธีการเหลานี ้ 1.1 ศึกษาหลกัสูตร หรือเอกสารประกอบหลักสูตรและอื่น ๆ ที่เกีย่วของ 1.2 ระดมสมองของครูนักเรียน 1.3 ศึกษาความตองการของนักเรียน 1.4 หัวเร่ืองทีสั่มพันธสอดคลองกับชีวิตจรงิ 2 กําหนดจุดประสงคการเรียนรูในการเรียนการสอน สําหรับหัวเร่ืองที่กําหนดในขัน้ที่ หนึ่งโดยกําหนดความรูและความสามารถที่ตองการจะใหเกิดกับผูเรียนควรเขียนใหชัดเจน เพื่อนําไปสูการจัดกิจกรรมและการประเมินผล

Page 61: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

49

3. วางแผนการสอน เปนการกาํหนดรายละเอียดของการสอนตั้งแตตนจนจบ โดยการ เขียนแผนการสอนซึ่งอาจจัดในรูปแผนการสอนรายวิชา และแผนการสอนรายคาบ รวมทั้งระบ ุทรัพยากร แหลงความรู อุปกรณ หรือวัสดุอ่ืนที่ตองใช 4. ปฏิบตัิการสอน เปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการสอนที่กําหนดขึ้นในขั้นที่สามรวมทั้งมีการสังเกตพฤติกรรมการสอนของนักเรียน ความสอดคลองสัมพันธกันของการจัดกจิกรรมการเรียนการสอนตามจดุประสงคโดยมีการบันทึกจดุเดน จุดดอย ของกิจกรรมไวสําหรับการปรับปรุงหรือพัฒนาใหดียิ่งขึ้น 5. การประเมินผล เปนการประเมินความกาวหนาของผูเรียน และการบรรลุผลตามจุดประสงคการเรียนรู โดยใชวิธีการประเมินผลที่หลากหลายและสอดคลองกับสภาพที่เปนจรงิ เชน สังเกตการปฏิบัติงาน ตรวจผลงาน ทดสอบ และสัมภาษณ นอกจากการประเมินผูเรียนแลวผูสอนควรประเมินกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อปรับปรุงโดยการบันทึกจุดเดน จุดดอยของกิจกรรมและนํามาพิจารณารวมกัน ความกาวหนาของผูเรียนและการบรรลุผลตามจุดประสงคการเรียนรู พิษณุ เดชใด (2540 : 21 , อางถึงใน อมรรัตน สูนยกลาง 2544 : 61-62) ไดเสนอขั้นตอนในการสอนเพื่อสงเสริมใหเกิดการบูรณาการซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นปญหา 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน 3. ทดลองทํา 4. วิเคราะหดูผลของการทดลอง 5. ขั้นสรุปผล ในขั้นตอนทั้ง 5 ประการนี้ คือวิธีสอนแบบแกปญหานัน่เองถาใชวิธีสอนแบบนี้บอย ๆ โดยเฉพาะในสวนของหลักสูตรจะทําใหนักเรียนคิดเปนแกปญหาเปน ซ่ึงจะสงเสริมใหเกิดบูรณาการดวย สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2542 : 2-3) กลาวถึงขั้นตอนในการจัดการเรยีนรูแบบบูรณาการไวดังนี ้ 1. กําหนดหัวเร่ือง (Theme) ที่จะใชเปนแกนในการบูรณาการ โดยใหเปนเรื่องที่ผูเรียนสนใจ ทั้งนี้จะเปนเรือ่งที่สัมพันธกับรายวิชา / กลุมประสบการณใดก็ได 2. วิเคราะหผังความคิดโดยใชหัวเร่ืองเปนแกน โดยพยายามใหครอบคลุมทุกรายวิชา / ประสบการณ โดยเฉพาะดานคุณธรรมจริยธรรม ผังความคิดควรไดมาจากประสบการณเดิมของผูเรียนและคร ู

Page 62: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

50

3. ครูออกแบบการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียนรายบคุคล / กลุม 4. ผูเรียนลงมือปฏิบตัิ ศกึษาภาคสนาม เรยีนรูรวมกนัจากแหลงความรูที่หลากหลาย ผูเรียนแตละคน / กลุม อาจใชเวลาในการเรียนรูตางกนั 5. ผูเรียนสรปุความรูดวยตนเอง ทั้งนีอ้าจทบทวนผงัความคิดที่ไดจัดทําไวหรือสรุปตามรูปแบบทีพ่อใจและถนดั 6. ผูเรียนนําเสนอความรูในรปูแบบที่หลากหลาย 7. ประเมินผลการเรียนรู โดยพิจารณาจากกระบวนการเรียนรูและการนําเสนอความรูของผูเรียน และชาตรี สําราญ (2546 ก : 47-48, 46-47) กลาวถึงขั้นตอนการวางแผนการสอนแบบบูรณาการมีขัน้ตอนดังตอไปนี้ 1. ตัง้ชื่อเรื่อง ถาชื่อเร่ืองดี เปดกวาง สามารถที่จะบูรณาการกับสาระการเรียนรูกลุมสาระวิชาอ่ืน ๆ ได และชือ่เร่ืองที่ตั้งจะตองเราใจใหผูเรียนตั้งขอสงสัยใครรู ช่ือเรื่องจะตองทาใหพิสูจน ใหคนหาคําตอบดวยตนเอง 2. ศึกษาสาระมาตรฐานการเรียนรู คือศึกษาหลักสูตรเพื่อหาประเดน็หรือตัวบงชีท้ี่กําหนดไวแตละมาตรฐานทีม่ีจุดรวมกันหรือสาระพัวพนักันไดก็นาํมาบันทึกในรูปแบบ Web หรือดอกไมบาน ตัวบงชี้แตละตวัทีด่ึงออกมาจากแตละสาระของแตละมาตรฐานนั้นเปนเพยีงเปาหมายที่ครูจะนํานักเรยีนเรียนรูไปสูจุดหมายเทานั้น หาใชเรื่องหรือประเด็นที่ครูจะตองนํามาสอนแบบดึงมาสอนตรง ๆ เพราะมันจะแขง็และเทากับเปนการสอนขอสอบนั่นเอง 3. สรางแนวคดิ เรื่องนี้สําคญัมากเพราะถาสอนโดยไมคดิหรือไมคิดแตจะสอนกไ็มมีประโยชนตอการจัดกจิกรรมการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนที่ดีผูสอนตองคิดใหไดวา “สอนทําเด็กเรยีนแลวไดอะไร” การสรางแนวคิดเปนเรื่องที่สําคัญ เร่ืองที่นํามาสอนตองเปนเรื่องที่ใกลตัวเด็ก 4. สรางเรื่องสอน ครูจะตองคิดเรื่องสอนวาจะนําอะไรมาสอนอยางไร สอนแลวเด็กจะไดอะไรแลวก็ผูกเปนเรื่องสอน ดังนี ้

- เร่ืองนี้ตลอดเรื่องเปนอยางไร - เร่ิมเรื่องอยางไร จบแบบใด

5. ผูกเร่ืองสอน ที่เรียกวา “ผูกเรื่องสอน” ก็เพื่อตอกย้ําใหเห็นวาแตละเรือ่งแตละตอน นั้นครูจะหยิบยกมาผูกรอยใหเปนหนึ่ง เพื่อเวลานักเรียนเรียนเรื่องนี้แลวผลงานที่เกดิจากการเรียนรูตอนนี้นําไปเปนสื่อการเรียนรูตอนตอไปและตอไป เมื่อจบเรื่องแลวนกัเรียนจะมีผลงานชิ้นใหม

Page 63: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

51

เพียงชิ้นเดียวแตสามารถตรวจสอบจุดประสงคการเรียนรูไดหลาย ๆ จุดประสงค ตรงกับแตละสาระการเรียนรู นั่นคือผูเรียนจะไมตองเหน็ดเหนื่อยใจหรือเครียดกบัการตองทํางานสงครูผูสอนทุกคนแตละช้ินงาน ผลงานหนึ่งชิน้งานที่นักเรยีนทําได ครูทุกคนนําไปประเมนิผลวาตรงตามความตองการของตนมากนอยเพียงใดและชิ้นงานนี้มีจดุเดนอยูในกลุมสาระวิชาใด การสอนที่บูรณาการเรื่องสอน บูรณาการปญญาความคิดของคณะครูผูสอนจะนําไปสูการบรูณาการผลงานที่เกิดจากการเรยีนรู การจะเกดิภาพดังกลาวตองคิดหรือผูกเรื่องสอนใหรอยรัดเปนหนึง่เดียว 6. สรางคําถามนาํ จุดนี้ คือหวัใจของการบูรณาการการสอนเมื่อครูผูกเรื่องสอนครูก็จะตั้งคําถาม ประเด็นคําถาม จะตองใหผูเรียนคิดวเิคราะห สืบคนหาคําตอบมาสรุปตอบคําถาม เคล็ดลับของการตั้งคําถาม ถาตั้งคําถามเชิงพัฒนาใหผูตอบคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดดวยกระบวนการคดิที่หลากหลายแลวบทเรียนนั้นจะสนุก บทเรียนจะเดนจะดอยอยูตรงที่คําถามนํา ถาครูถามเปนเดก็ผูเรียนจะคิดเปน 7. กิจกรรมนําสอน กิจกรรมกับคําถามจะพัวพันกันและกันตลอดเวลา โดยกิจกรรมนั้นจะเนนใหเด็กเกดิภาพ ดงัตอไปนี ้ - ฝกการตั้งคาํถามคนหาคําตอบดวยตนเอง - เนนการบริหารจัดการในระบบกระบวนการกลุม - เนนทกัษะกระบวนการคดิหลากหลายรูปแบบ - เนนกระบวนการกลุม 8. สื่อ โดยจะเนนสื่อจากสิ่งแวดลอม จากชีวิตแหงความเปนจริง และส่ือนั้นเดก็ ๆ จะมีสวนรวมคิด ในขณะที่เด็ก ๆ คิดงาน เด็กคิดทําอะไร ส่ือก็อยูตรงนั้น ใหดูที่กจิกรรม 9. การประเมินผลการเรียนรู เมื่อมีหลักในการประเมิน คอื - ประเมินเพือ่ใหรูวาเด็ก ๆ เดินทางสูเปาหมายทีว่างไวมากนอยเพียงใด - ประเมินผลดูวากจิกรรมใด เดน – ดอย - ทําไมกิจกรรมนั้นจึง เดน - ดอย - เด็กไปสูเปาหมายไดกี่คน ไมถึงเปาหมายกี่คน ทําไม และจะเติมเต็มไดอยางไร โดยในการประเมินนั้นจะใชวธีิการสังเกตเปนหลัก โดยสังเกตวิธีการเรียนรูของเด็ก ๆ ทุกรูปแบบ สังเกตพฤติกรรมการเรียนรูทกุดาน แลวบนัทึกผลการสังเกตแบบเชิงคุณภาพ บรรยายส่ิงที่เห็นอยางตรงไปตรงมา จากรายละเอยีดของขั้นตอนในการจัดการเรยีนการสอนแบบบูรณาการ ที่กลาวมาขางตนสามารถสรุปไดเปน 5 ขั้นตอน สําหรับการวิจยัครั้งนี้ คือ 1. กําหนดหวัเร่ือง

Page 64: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

52

2. สังเคราะหวิเคราะหเนื้อหาสาระหรือประสบการณ 3. วางแผนการจดัการเรียนรู 4. ปฏิบัติการจัดการเรียนรู 5. ประเมินผล

แบบฝก

การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตรใหบรรลุจุดประสงคของหลักสูตร ขึ้นอยูกับผูสอนที่จะทําใหผูเรยีนไดพัฒนาความสามารถในการคิด มีทกัษะในการคิดคํานวณ และสามารถนําไปใชในการเรยีนรูส่ิงตาง ๆ และใชในชีวิตประจําวันได ผูสอนจะตองมีความเขาใจในเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร ซ่ึงทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตรทฤษฎีหนึ่งก็คือทฤษฎีแหงการฝกฝน (Drill Theory) มีความเชื่อวาเด็กจะเรียนรูโดยการฝกทําส่ิงนั้นซ้ํา ๆ หลาย ๆ คร้ัง จนเกดิทักษะ ผูสอนจึงควรเริ่มตนสอนจากการทาํใหดูเปนตวัอยาง บอกสูตร หรือกฎเกณฑ แลวใหเดก็ทําแบบฝกหดัจนเกดิความชาํนาญ (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 : 17) ทั้งนี้แบบฝกถือวาเปนสื่อการเรียนการสอนที่มีความสาํคัญที่ครูควรคํานึงถึงและควรศึกษาหาความรูเกี่ยวกับแบบฝก และการสรางแบบฝกที่มีประสิทธิภาพ ดังตอไปนี ้ ความหมายของแบบฝก ราชบัณฑิตยสถาน (2531: 489) ไดใหความหมายของแบบฝกไววา แบบฝก หมายถึง แบบตัวอยางปญหา หรือคําส่ังที่ตั้งขึ้นเพื่อใหนักเรยีนฝกตอบ เปนตน สมศักดิ์ สินธุรเวชญ (2524 : 106) ไดใหความหมายของแบบฝกไววา แบบฝก คือการจัดประสบการณการฝกหดัเพื่อใหเกดิความจําจนกระทั่งสามารถปฏิบัติไดโดยอัตโนมัติขั้นตอนในการสอนกม็ักจะเริ่มตนดวยการบอกหรอืทําใหดูเปนตวัอยางแลวใหผูเรียนทําตาม และฝกหดัเร่ือย ๆ จนกระทั่งจําและทําไดโดยอัตโนมัติ Webster (1980:640) ไดกลาวถึงความหมายของแบบฝกไววา “แบบฝกหมายถึง โจทยปญหาหรือตัวอยางที่ยกมาจากหนังสือเพื่อนํามาสอนหรอืใหนกัเรียนไดฝกฝนทักษะตาง ๆ ใหดีขึน้ หลังจากที่เรียนจบบทเรียน เชน การฝกทักษะการคิดคํานวณ การทบทวนไวยากรณ เปนตน” สวน ชัยยงค พรหมวงศ (2528 : 56) ไดใหความหมายของแบบฝกไวสรุปไดวา หมายถึง ส่ิงที่นักเรียนตองใชควบคูกับการเรียน มีลักษณะเปนแบบฝกหัดที่ครอบคลุมกิจกรรมที่

Page 65: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

53

นักเรียนพึงกระทํา อาจกําหนดแยกเปนหนวย หรือเปนเลมก็ได อัจฉรา ชีวพันธ และคณะ (2532 : 102) ไดกลาววา แบบฝก หมายถงึ ส่ิงที่สรางขึ้นเพื่อเสริมความเขาใจ และเสริมเพิ่มเติมเนื้อหาบางสวนที่ชวยใหนักเรียนไดปฏิบัตแิละนําความรูไปใชอยางแมนยาํ ถูกตอง คลองแคลว สราวดี เพ็งศรีโคตร (2539 : 29) ไดสรุปความหมายของแบบฝก หมายถงึ งาน กจิกรรม หรือประสบการณที่ครูจัดใหนักเรยีนไดฝกหัดกระทํา เพื่อทบทวน ฝกฝนเนื้อหาความรูตาง ๆ ที่ไดเรียนไปแลวใหเกิดเปนความจําเปนจนสามารถปฏิบติไดดวยความชํานาญ และผูเรียนสามารถนําไปใชในชีวติประจําวนัได ในทํานองเดยีวกันชาญชัย อาจินสมาจาร (2540 : 98) ไดใหความหมายของแบบฝกวาเปนสวนหนึ่งของบทเรียนหรือหัวขอที่นักเรียนตองเรียน และเปนโครงการที่ตองทําใหสําเร็จ โดยมีคําถามใหนักเรียนไดทบทวนความรูจากบทเรียนที่ผานมา ชวยทําใหครูทราบไดวานักเรียนทําอะไรไดและสําเร็จผลอะไรบางในบทเรียน ซ้ึงการใชนั้นสามารถใชไดทั้งในชั้นเรยีนและที่บาน นอกจากนี ้ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิาร (2545 : 48) ไดใหความหมายของแบบฝกไววา แบบฝกเปนสือ่ใชฝกทักษะการคิด การวิเคราะห การแกปญหา และการปฏิบัติของนักเรียน นยิมใชในกลุมสาระภาษา คณิตศาสตร วิทยาศาสตร การงาน/อาชีพ ลักษณะของแบบฝก อาจจะประกอบไปดวยจดุประสงค ทบทวนกฎเกณฑ เสนอตัวอยาง แบบฝก และเฉลย/อธิบายเพิ่มเติม และจากงานวิจยัของ อารีย วาศนอํานวย (2545 : 48) ไดกลาววา แบบฝกคืออุปกรณการเรียนการสอนอยางหนึ่งอันประกอบดวยกิจกรรมที่หลากหลาย นาสนใจที่จะนําไปใช เพื่อใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติเพิ่มขึ้นเพื่อจะไดเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรูใหคลองแคลว เกิดความชํานาญและความแมนยําซ่ึงเปนไปโดยอัตโนมัต ิ ดวยการทบทวนเนื้อหาความรูตาง ๆ ที่ไดเรียนไปแลวอยางมีทิศทาง จากความหมายของแบบฝกดังกลาวมา สรุปไดวาแบบฝกหมายถึง ส่ือการเรียนการสอนหรือส่ิงที่สรางขึ้นเพื่อใชฝกทกัษะการคิด การวิเคราะห การแกปญหา และการปฏิบตัิของนักเรียน มีลักษณะเปนแบบฝกหัดที่มกีิจกรรมใหนกัเรียนทํา เชน แบบตัวอยาง การตั้งโจทยปญหาใหนักเรียนตอบ หรือการยกขอความเพื่อฝกทกัษะหลังจากที่ไดเรียนเนื้อหาไปแลว ลักษณะของแบบฝก แบบฝกที่ดีประกอบดวยสวนสําคัญตาง ๆ หลายประการดังที่นักศึกษาหลายทานได

Page 66: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

54

เสนอแนะไวดงันี้ สมปต ตัญตรัยรัตน (2525 : 26) กลาวไววา แบบฝกจะตองเปนสวนที่เพิ่มเติมหรือเสริมบทเรียนปกติ เปนเครือ่งมือที่สามารถเสริมทักษะที่ตองอาศัยการสงเสริมและการเอาใจใสจากครูผูสอนชวยในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคลของนักเรียน เปนเครื่องมือในการวัดผลการเรียนหลังจากบทเรยีนในแตละครั้ง แบบฝกควรใหเด็กสามารถเก็บรักษาไวใชเปนแนวทางทบทวนดวย แบบฝกควรมสีวนชวยใหครูมองเห็นจุดเดนหรอืปญหาตาง ๆ ของนักเรียน ควรจัดขึ้นนอกเหนือจากบทเรียนเพื่อใหเด็กไดฝกฝนอยางเต็มที่ และแบบฝกจะตองจัดพิมพไวอยางเรยีบรอยซ่ึงจะชวยประหยัดเวลาและงานใหกับครูรวมทั้งคาใชจายดวย ประชุมพร สุวรรณตรา (2528 : 61) กลาววา “...แบบฝกที่ดจีะตองมีคําส่ังและคําอธิบายอยางชัดเจน ใหตวัอยางมภีาพประกอบ..และวางรูปแบบใหเปนระเบยีบสวยงาม...” สวน นวลใย หนูหมี (2529 : 16) ไดสรุปลักษณะของแบบฝกที่ดวีา แบบฝกที่ดีจะสรางขึ้นตามหลักจิตวิทยา ใชภาษาที่งาย นาสนใจ มีกิจกรรมการฝกหลาย ๆ แบบ เนื้อหาตองเหมาะสมกับวัย และความสามารถของนักเรียน นอกจากนี้ สมมารถ มีศรี (2530:28) ยงัไดเสนอไววา “แบบฝกที่ดนีั้นตองเกีย่วกบับทเรียนที่เรียนมาแลว เหมาะสมกับวยัของนักเรียน มีคําส่ังหรือคําอธิบาย มีคําแนะนําการใชแบบฝก มีรูปแบบนาสนใจ และมีกจิกรรมแบบฝกหลาย ๆ แบบ..” อีกทั้ง มนธิรา ภักดีณรงค (2540 : 99-100) กลาววาการสรางแบบฝกที่จะทําใหนกัเรียนมีความคงทนในการเรียนรูไดดตีองมีองคประกอบหลัก คือตองใหนกัเรียนไดฝกกระทําดวยตนเองบอย ๆ และส่ิงที่ควรคํานึงถึงดวยคือตองใหผูเรียนเกิดความสนกุสนานในขณะการทําแบบฝกหัด และ River (1968 : 97-105) กลาวสนับสนุนถึงลักษณะของแบบฝกที่ดีไววา แบบฝกควรมหีลาย ๆ แบบ เพื่อมิใหนกัเรียนเกิดความเบื่อหนาย มีขอแนะนําในการใชมีใหเลือกทั้งแบบตอบอยางจํากดั และแบบตอบอยางเสรี คําส่ังหรือตัวอยางทีย่กมาไมควรยาวเกนิไป และไมควรยากแกการเขาใจฝกใหนักเรียนสามารถนําส่ิงที่เรียนไปแลวไปใชในชีวิตประจําวนัได จากความหมายของแบบฝกดังกลาว พอสรุปไดวาลักษณะทีด่ีของแบบฝก ควรจะมีคําอธิบายในการใชอยางชัดเจน เขาใจงาย เปนแบบฝกสั้น ๆ ใชเวลาฝกไมนานเกินไปมีหลายรูปแบบ ทัง้มีความเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน นาสนใจ ทาทายใหนักเรยีนแสดงความสามารถ และนักเรียนสามารถฝกหรือเรียนไดดวยตนเอง ประโยชนของแบบฝก ไดมีนักการศึกษากลาวถึงประโยชนของแบบฝกไวดังนี ้

Page 67: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

55

สุชา จันทรเอม (2527: 145) ไดกลาวถึงประโยชนของแบบฝกไว สรุปไดวา การใชแบบฝกทําใหนักเรียนไดลงมือทําเอง เปนกิจกรรมที่ทําใหเกิดการเรียนรูอยางจริงจัง เพราะนกัเรียน ไดประสบการณตรง พริทตี้ (Pretty, อางถึงใน ประทีป นําชัย 2530: 52) ไดกลาวถึงประโยชนของแบบฝกที่มีตอวิชาทักษะไวดังนี ้ 1. แบบฝกเปนสวนเพิ่มหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เปนอุปกรณการสอนที่ลดภาระของครูผูสอนไดมาก เพราะเปนแบบฝกที่จัดทาํขึ้นอยางเปนระบบระเบยีบ 2. แบบฝกชวยในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคล เนื่องจากนกัเรียนมีความสามารถ แตกตางกัน การใหนกัเรียนทําแบบฝกที่เหมาะกับความสามารถของเขา จะชวยใหเขาประสบความสําเร็จในการเรียนมากขึ้น 3. แบบฝกสามารถเปนเครื่องมือวัดผลการเรียนหลังจากจบบทเรียนในแตละครั้ง 4. แบบฝกที่จัดทําขึ้นเปนรูปเลม นักเรียนสามารถเกบ็รักษาไวเปนแนวทางในการ ทบทวนดวยตวัเองตอไป 5. การใหนักเรยีนทําแบบฝก ชวยใหครูเหน็จุดเดนหรือปญหาตาง ๆ ของนักเรียนไดชัดเจน ซ่ึงจะชวยใหครูดําเนนิการปรับปรุง แกไขปญหานั้น ๆ ไดถูกตองและทันทวงที 6. แบบฝกที่จัดทําขึ้นนอกเหนือจากที่อยูในหนังสือแบบเรียน จะชวยใหนักเรยีนไดฝกทักษะอยางเตม็ที่ 7. แบบฝกที่จัดพิมพไวเรียบรอยจะชวยใหครูประหยดัทั้งแรงงาน และเวลาในการ เตรียมแบบฝกใหมอยูเสมอ และนักเรียนกไ็มเสียเวลาลอกแบบฝกจากตําราเรียน ทําใหมีโอกาสไดฝกฝนทักษะตาง ๆ มากขึ้น 8. แบบฝกชวยประหยดัคาใชจาย เพราะการพิมพเปนรูปเลมแนนอนลงทุนต่ํากวาที่จะพิมพลงกระดาษไขบอยครั้ง และเรียนสามารถบันทึกและมองเห็นความกาวหนาของตนเองไดอยางมีระบบระเบยีบ ยุพาภรณ ชาวเชียงขวาง (2537 : 16 ) กลาวถึงประโยชนของแบบฝกวา แบบฝกเปนสวนเพิ่มเติมหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะเปนอุปกรณการสอนที่ชวยลดภาระของครูไดมากเพราะแบบฝกเปนสิง่ที่จัดทําขึ้นอยางมีระบบระเบียบ แบบฝกชวยเสริมทักษะทางการใชภาษา เปนเครื่องมือที่ชวยฝกฝนทักษะไดดีขึ้นชวยในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคลแบบฝกที่เหมาะสมกับความสามารถจะชวยใหเดก็ประสบผลสําเร็จ จากประโยชนทัง้หมดที่กลาวมาของแบบฝก สรุปไดวา แบบฝกที่สรางขึ้นอยางเปนระบบระเบยีบนั้น จะเปนเครื่องมือในการเรียนรู ซ่ึงนักเรียนจะไดประสบการณตรงจากการลงมือ

Page 68: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

56

กระทําแบบฝก ไดฝกฝนทักษะอยางเต็มความสามารถของแตละบุคคล นกัเรียนไดทราบความกาวหนาของตน มีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร และมีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรดวย หลักในการสรางแบบฝก การสรางแบบฝกใหมีประสิทธภิาพนัน้ ผูสรางจะตองคํานึงถึงลักษณะของแบบฝกที่ดีและปจจยัที่เกีย่วของหลายประการ ซ่ึงการสรางแบบฝกที่มีคุณภาพในการเรียนการสอน ครูตองคํานึงถึงตัวนักเรียนเปนสําคญั โดยดูความพรอม สติปญญา ความเหมาะสมในวุฒิภาวะ การใชภาษาตลอดจนเนื้อหา และระยะเวลาในการทําแบบฝกดวย นอกจากนี้ ยังมีขอเสนอแนะเกีย่วกับหลักในการสรางแบบฝกไวตาง กัน ดังตอไปนี ้ บิลโลว (Billows 1962: 174-175) ไดแสดงความคิดเห็นในการสรางแบบฝกไววา แบบฝกมีมากก็จริง แตมกัจะผสมปนเปกันไปในหลาย ๆ เร่ือง ทําใหความคิดกระจายกระจัดกระจายสับสนไมเปนหนึ่งเดียว ครูผูสอนจึงควรสรางแบบฝกสําหรับฝกเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซ่ึงจะชวยใหนกัเรียนกระตือรือรนและสนใจที่จําทํามากกวา ครูควรใชภาษาที่งาย มีความหมายเหมาะสมกับวยั วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิหลังทางภาษาของนักเรียน กอ สวัสดิพานชิย (2514 : 20) เสนอแนวความคิดเกีย่วกับการสรางแบบฝกทักษะไวดังนี้ 1. ครูตองเตรียมแบบฝกใหตอบวาจะใชแบบฝกแบบใด และแบบฝกนัน้ ๆ จะชวยใหเด็กสามารถนาํทักษะที่ฝกนัน้ไปใชในชีวติประจําวนัไดหรือไมอยางไร 2. ใชแบบฝกสั้น ๆ แตหลายแบบ เพื่อฝกทักษะในเรื่องเดียวกันเด็กจะไมเบื่อเกิดความสนุกสนานและมีความแมนยาํในเรื่องที่จะฝก 3. ฝกสถานการณที่แตกตางกนั 4. การประเมินผลตองประเมินเพื่อดูความกาวหนาของเด็ก และเพื่อประเมินคาแบบฝกวาจะชวยใหเดก็กาวหนาเพียงใด ถาเด็กไมมีความกาวหนาครูตองสนใจที่จะคนควาหาสาเหตวุาเปนเพราะอะไร 5. การประเมินผลนั้นไมควรนําไปเปรียบเทียบกับกลุม แตควรใหเดก็ไดเปรยีบเทยีบกับตนเอง ละออ การุณยะวนิช และคณะ (2517: 137-138) ไดกลาวถึงหลักในการสรางแบบฝกไวดังนี ้ 1. ใชหลักการเรียนรู เชน เด็กตองเขาใจเปาหมายที่ฝกเพื่อใหนักเรียนฝกดวยความตั้งใจ และสนใจอยากทํา 2. การฝกตองทําโดยจําเพาะเจาะจงเฉพาะอยาง ถามีแบบไวจะทําได ครูตองเปน

Page 69: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

57

ตัวอยางที่ถูกตองเสมอ 3. ไมควรใชเวลานานเกนิไปจนเด็กเบื่อ ถาใชเกม หรืออุปกรณชวยนกัเรียนจะตั้งใจ ฝกอยูไดนาน 4. วิธีที่เด็กฝกควรเปนวิธีที่เปนระเบียบ รวดเร็ว ยนยอ ครูควรตื่นตัวฉับไวใหนักเรียนพรอมที่จะทําขจัดสิ่งที่ลาชาตาง ๆ 5. ระดับความยากงายของแบบฝกตองเหมาะสมกับนักเรียน 6. เวลาที่ใชในระยะแรก ๆ ควรส้ันแลวขยายเวลาใหมากขึน้ 7. ตองมีการฝกฝนเฉพาะตน หรือเฉพาะกลุมดวย เพราะแตละคนมีจดุออนตางกัน 8. ครูควรใหเดก็ทราบความกาวหนาของการทําแบบฝกหัดซ่ึงจะเปนการจูงใจทีด่ียิ่ง 9. เมื่อนักเรียนฝกหัดแลวตองนําไปใชหรือติดตามผล นิภา เล็กบํารุง (2518 : 14-15) ไดกลาวถึงหลักในการสรางแบบฝกไวดังนี้ 1. แบบฝกตองแจมแจงและแนนอน ครูตองอธิบายวิธีทําอยางชัดเจนใหนกัเรยีนไดเขาใจถูกตอง และกําหนดขอบเขตใหแนนอนไมกวางขวางเกนิไป 2. ใชภาษาที่เขาใจงายเหมาะกบัวัย และพื้นฐานความรูของนักเรียน 3. แบบฝกควรเปนเรื่องที่นักเรียนไดเรียนมาแลว เพราะความรูสึกหรือประสบการณเดิมยอมเปนรากฐานหรือประสบการณที่ชวยใหเด็กไดเขาใจงายขึน้ และสะดวกขึ้น 4. ช้ีแจงใหนักเรียนไดเขาใจถงึความสําคัญของแบบฝก เพื่อใหนกัเรียนมองเห็นคุณคาอันเปนเครื่องเราใจใหนักเรยีนทํางานไดสําเร็จลุลวง 5. ปญหาในแบบฝกไมควรยากเกินความสนใจของนักเรียน แตเราใหอยากรูอยากเหน็และยัว่ใหนักเรียนคิดแกปญหา 6. เนื่องจากนักเรียนแตละคนมีความแตกตางกัน แบบฝกที่กําหนดสําหรับนักเรียนเกง นักเรียนปานกลาง และนักเรียนออนนัน้ควรยากงายตางกัน แตถาใหแบบฝกอยางเดียวกันก็ควรจะพิจารณาดานคณุภาพขของแบบฝกใหแตกตางกนัหรือใหเด็กที่เรยีนออนมีเวลามากกวา วิไลลักษณ บุญประเสริฐ (2531: 13) ไดใหขอเสนอแนะเกีย่วกับการสรางแบบฝกไวในทํานองเดียวกนัพอสรุปไดวา การสรางแบบฝกที่ดีนั้น ตองคํานึงถึงกลักจิตวิทยา และลําดับขั้นของการเรียนรูเกี่ยวกับสิ่งเราและการตอบสนองพัฒนาการของนักเรียน มีจุดมุงหมายในการฝก โดยพิจารณาใหเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนแตละคน นอกจากนัน้แลวการสรางแบบฝกควรสรางหลาย ๆ แบบ โดยคํานึงถึงเนื้อหา ความยากงาย และระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสม ในทํานองเดียวกันนี้ ศศิธร สุทธิแพทย (2518: 72) ไดดัดแปลงการสรางแบบฝกจากแนวความคดิของบารเน็ท (Barrnett) และคณะ แลวนาํไปทดลองใช

Page 70: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

58

ปรากฏวาแบบฝกที่นักเรียนสนใจและกระตือรือรนที่จะทําเปนแบบฝกที่มีลักษณะ พอสรุปไดดังนี้ 1. ตองใชหลักจติวิทยา 2. สํานวนภาษางาย 3. ใหความหมายตอการนําไปใชในชวีิตประจําวัน 4. คิดไดเร็ว 5. สนุกเราความสนใจ 6. เหมาะกับวยัและความสามารถของนักเรียน 7. ศึกษาดวยตนเองได และ รัชนี ศรีไพรวรรณ (2530: 30-31) ไดใหขอเสนอแนะเกีย่วกบัหลักการสรางแบบฝกที่ดีไวดังนี ้ 1. สรางแบบฝกใหสอดคลองกับหลักจิตวิทยา และพัฒนาการของนักเรยีนตามลําดับขัน้ของการเรียน แบบฝกหัดเสริมทักษะนั้น ตองอาศัยรูปภาพมาจูงใจนักเรียน และควรจัดเรียงเนื้อหาจากงายไปหายาก 2. มีจุดมุงหมายที่แนนอนวาจะฝกทักษะในดานใดแลว จดัเนื้อหาใหตรงกับจุดมุงหมายที่กําหนดไว 3. ตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลของนักเรียน ควรแบงนกัเรยีนออกเปนกลุมยอยตามความสามารถแลวจงึทําแบบฝกหดั 4. แบบฝกหัดทีด่ีตองมีคําชี้แจงงาย ๆ ส้ัน ๆ ที่นักเรียนอานเขาใจและทําแบบฝกไดดวยตนเอง 5. แบบฝกตองมีความถูกตอง ครูตองพิจารณาใหรอบคอบ ทดลองทําดวยตนเองกอนแลวแกไขปรบัปรุง 6. ใหนกัเรียนทําแบบฝกแตละครั้งตามความเหมาะสมกับเวลาและความสนใจ 7. ควรมีแบบฝกหลายรูปแบบเพื่อใหเกิดการเรียนรูอยางกวางขวางและสงเสริมความคิดสรางสรรค สวนจุรีรัตน ทองพานิชย ไดสรุปแนวคิดในการสรางแบบฝกไว ดังนี ้ 1. แบบฝกสรางขึ้นจากการวิเคราะหปญหาและมีจุดประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. แบบฝกสรางขึ้นโดยคํานึงถึงความสามารถ และความแตกตางระหวางบุคคลของ นักเรียน 3. แบบฝกสอดคลองกับเนื้อหาวิชาและแบบฝกหนึ่งแกปญหาเฉพาะเรื่อง เวลาในการ

Page 71: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

59

ฝกควรคํานึงถึงความเหมาะสมของวัยและพัฒนาการของเด็ก 4. แบบฝกมีลักษณะที่กระตุนความสนใจสรางบรรยากาศใหสนุกสนานไมนาเบื่อ ม ีกิจกรรมหลายชนิด เพื่อสงเสริมทักษะและการเรียนรูใหคงทน จากหลักการสรางแบบฝกดังกลาว พอสรุปไดวา การสรางแบบฝกใหมีประสิทธิภาพ นั้นจะตองอาศยัหลักการหรือปจจัยหลายประการคือ หลักจิตวิทยาการเรียนรู จุดมุงหมายของการฝก การคัดเลือกเนื้อหา ระยะเวลาในการฝก ทั้งรูปแบบของแบบฝกที่นาสนใจและเกี่ยวของกบับทเรียนที่เรียนมาแลว และสงเสริมความคิด สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวนัได หลักทางจิตวิทยาท่ีเก่ียวกับการสรางแบบฝก แบบฝกที่จะสรางขึ้นอยางมีประสิทธิภาพนัน้ ตองอาศัยหลักทางจิตวิทยาเปนองคประกอบหนึ่งที่สําคัญในการสราง เพื่อจะไดจัดบทเรียนและสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับนักเรียน เพื่อประสิทธิภาพในการเรยีนการสอนตอไป ดังนั้น ในการสรางแบบฝกจึงจําเปนตองใชหลักทางจิตวทิยา เปนแนวทางในการสรางแบบฝกใหด ี ดังที่ สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย (2523: 52-62) กลาวถึงจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับการนํามาสรางเปนแบบฝกไวพอสรปุได ...การฝกหัดหรือการกระทําบอย ๆ ยอมทําใหผูฝกมีความคลองและความสามารถทําไดดี กฎแหงการฝกหัดนี้จะชวยทําใหฝกความคิดสรางสรรคสัมฤทธ์ิผลซ่ึงแบบฝกตองไมยากหรืองายเกินไปควรมีหลาย ๆ รูปแบบ ใชแบบฝกสัน้ ๆ เพื่อไมใหเกิดความเบื่อหนาย.... พรรณี ช.เจนจิต (2528:167-168) ไดกลาวถึงทฤษฎีที่ทําใหเกิดการเรยีนรูไววา ประกอบไปดวยส่ิงตอไปนี้ 1. หลักของความใกลชิดการใชส่ิงเรา และการตอบสนองที่เกิดขึ้นในเวลาใกลเคียงกนั จะสรางความถึงพอใจใหกบันักเรียน 2. หลักของการฝกหัด คือ การใหนกัเรียนไดทํากจิกรรมซ้ํา ๆ เพื่อชวยสรางความรู ความเขาใจทีแ่มนยํา 3. กฎแหงผล คือ การใหนักเรียนไดทราบผลของการเรียนของตนไดแก การเฉลยคําตอบใหนกัเรียนไดทราบผลการทํางานอยางรวดเร็ว ซ่ึงสรางความพอใจใหแกนักเรียน 4. การจูงใจนักเรียน ไดแก การเรียงแบบจากงายไปหายาก และเนื้อเร่ืองที่นํามาสรางเปนแบบฝกกม็ีหลายรูปแบบ ตลอดจนมภีาพประกอบเพื่อเราความสนใจของนกัเรยีนมากขึน้ การจูงใจคือส่ิงสําคัญ เปนสิ่งสําคัญมากโดยเฉพาะ ในการสอนคณิตศาสตร ครูคณิตศาสตรควรพยายามสรางสถานการณตาง ๆ ทีเ่ปนสิ่งเราที่จะจูงใจใหนักเรยีนสนใจในบทเรียนตั้งใจฝกฝนทกัษะ และมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร

Page 72: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

60

นอกจากนี้ สุจริต เพียรชอบ (2530: 137-138) ไดกลาวสรุปความคิด ตามกฎการเรียนรู ของ Thorndike ซ่ึงนํามาประยุกตใชกับแบบฝกไววา ...ส่ิงที่ไดทําบอย ๆ หรือมกีารฝกหัดบอย ๆ จะทําใหเกิดความคลองแคลว ชํานาญ และแมนยํายิ่งขึ้น แตถาไมไดกระทําซํ้าบอย ๆ ยอมจะทําไมได นอกจากนี้ กฎแหงผล คือ การใหนักเรียนมีโอกาสทราบผลของการเรียน หรือการทํางานของตนเองทันท ีจะเปนการสรางความพอใจใหแกนกัเรียน เพื่อนักเรียนจะไดทราบสิ่งที่ถูกที่ผิดและสามารถจะแกไขขอบกพรองได หลักการเสริมกําลังใจ คือ เมื่อนักเรียนไดรับการเสริมกําลังใจในแนวทางบวกจะมีความมั่นใจในการทํางาน แบบฝกที่สรางขึ้นตองใหนกัเรียนมัน่ใจวาตนทําได ก็จะประสบความสําเร็จในการเรียนและการทํางาน... กมลรัตน หลาสุวงศ (2524:48) ไดกลาวถึงปจจัยทางจติวิทยาทีจ่ะทําใหเกิดการเรยีนรูนั้นประกอบไปดวยส่ิงตาง ๆ ไวดังตอไปนี 1. แรงขับ เชน แรงหิวกระหาย 2. ความพรอมทางดานรางกาย อารมณ สติปญญา 3. ประสบการณ 4. ความตองการทั้งทางกาย และทางใจ 5. การปรับตัวเขากับสังคม 6. แรงจูงใจซึ่งมาจากทั้งภายในและภายนอก 7. การเสริมแรง 8. เจตคติความสนใจ 9. ความคิดรวบยอด และการจาํ การลืม 10. ความแตกตางระหวางบุคคล เพียเจต (Jean Piaget) บรูเนอร (Jerome Bruner) และไดเนส ( Zoltan Dianes) (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 : 17-18 ) นักจิตวิทยาที่สําคัญในการใหแนวคดิเกีย่วกบัการพัฒนาทางสติปญญา ซ่ึงสามารถนําไปประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร โดยมีการสรุปไดดังนี ้ 1. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของ เพียเจต 1.1 อายุเปนปจจัยสําคัญของพัฒนาการทางสติปญญา โดยเดก็ในอายุตาง ๆ จะมีพัฒนาการ ดังนี้ อายุ 0-2 วัยชางสัมผัส อายุ 2-6 วัยชางพูด อายุ 7-11 วัยชางจํา อายุ 12-14 วัยชางคิด 1.2 การพัฒนาแตละขั้น ตอเนื่องเปนลําดบั ไมตอเนื่องขามขั้น

Page 73: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

61

1.3 การกระทาํเปนพื้นฐานในการคิด 1.4 กิจกรรมกลุมชวยทําใหผูเรียนไดใชภาษา สัญลักษณตาง ๆในการทํางานรวมกนั 1.5 การสอนควรทําในลักษณะขั้นบนัไดเวียน คือการทบทวนเรื่องเดิม กอนเริ่มเร่ืองใหม เชน เร่ิมเรื่องการหาร ทบทวนการนับลด เร่ิมเรื่องการคูณ ทบทวนการนับเพิ่ม 2. ทฤษฎีการเรียนรูของบรูเนอรกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร 2.1 Enactive เด็กเรียนรูจากการกระทํามากที่สุด เปนกระบวนการตอเนื่องตลอดชีวิต ในลกัษณะของการถายทอดประสบการณดวยการกระทํา การสอนตองเริ่มดวยการใชของ 3 มิติ ไดแก วัสดุ และของจรงิตาง ๆ 2.2 Iconic พัฒนาการทางสติปญญา อาศัยการใชประสาทสัมผัสมาสรางเปนภาพในใจ การสอนสามารถใช 2 มิติ เชน ภาพ กราฟ แผนที่ 2.3 Abstract เปนขั้นสูงสุดของการพัฒนาทางสติปญญาของมนุษย เปนขั้นใชจินตนาการลวน ๆ คือ ใชสัญลักษณ ตัวเลข เครื่องหมายตาง ๆ มาอธิบายหาเหตุผลใหเขาใจสิ่งที่เปนนามธรรม 3. ทฤษฎีการเรียนรูของไดเนสกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร 3.1 Play Stage นักเรียนมีอิสระที่จะทาํอะไรก็ได กอนที่ครูจะแนะนําการใชส่ือการสอนใหม ครูควรใหเวลานักเรียนทําความคุนเคยกับสื่อสักระยะหนึ่ง เพื่อสรางความคุนเคยทีด่ีกอน 3.2 Structured Stage การสอนตามแผนที่เตรียมตามลําดับขั้นตอนนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม 3.3 Practice การฝกหดัหาความชํานาญในกิจกรรมที่เรียน จากหลักทางจิตวทิยาที่นํามาใชในการสรางแบบฝกดังกลาวมาแลว สรุปไดวาการสรางแบบฝกควรคาํนึงถึงหลักทางจิตวิทยาการเรียนรูที่จะเปนประโยชนแกนักเรียน ซ่ึงประกอบไปดวย ส่ิงเรา การเสริมแรงใหกําลังใจ การใหทําซ้ํา ๆ การฝกฝนดวยตวัเอง และการใหรูผลของแบบฝกจะเปนสิ่งชวยในการสรางแบบฝกที่ดี และมีประสิทธิภาพไดและสามารถนําไปใชสอนอยางไดผลตอไป

Page 74: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

62

ภูมิปญญาทองถิ่น ความหมายของภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาเปนวฒันธรรม เปนความรูทีส่ะสมจากการปฏิบัติจริงในหองทดลองของ สังคม เปนความรูดั้งเดิมที่ถูกคนพบ มีการทดลองใช แกไขดัดแปลง จนเปนองคความรูที่สามารถ แกไขปญหาในการดําเนินชวีิตและถายทอดสืบตอกันมา ภูมิปญญาไทยเปนขุมทรพัยทางปญญาที่คนไทยทุกคนควรรู ควรศึกษา ปรับปรุงละพัฒนาใชเพือ่อนาคตแหงการดํารงอยูรวมกันอยางสันติ (คณะกรรมกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2545 : คํานํา) และภูมปิญญาทองถ่ินเปนภมูิปญญาที่ควรคาแกการการศึกษา ซ่ึงมีผูใหความหมายของภูมิปญญาทองถ่ินไวดังนี ้ ประเวศ วะสี (2536 : 21-22) กลาววาภูมิปญญาทองถ่ินสะสมขึ้นมาจากประสบการณ หรือความชัดเจนจากชวีิตและสังคมในทองถ่ินหนึ่ง ๆ เพราะฉะนัน้จึงมีความสอดคลองกับเรื่องของทองถ่ินมากกวาภูมิปญญาทีม่าจากขางนอกซึ่งลักษณะสําคัญของภูมิปญญาทองถ่ินก็คือมีวัฒนธรรมเปนพื้นฐาน มีความเปนบูรณาการสูงทั้งในเรื่องของกาย ใจ สังคม และสิ่งแวดลอม และเชื่อมโยงไปสูนามธรรมที่ลึกซึ้งสูงสงอีกทั้งยังเนนความสําคัญของจริยธรรมมากกวาวัตถุ เพราะภูมปิญญาทองถ่ินใหความสําคัญแกประสบการณ จึงมีความเคารพผูอาวุโส ซ่ึงเปนผูที่มีประสบการณมากกวา นิคม ชมภหูลง (2544 :131 ) กลาววาภูมิปญญาทองถ่ิน หมายถึง ความรูประสบการณของชาวบานในทองถ่ินที่ใชในการแกปญหา หรือดําเนนิชีวิตโดยไดรับการถายทอดและกลั่นกรองเปนระยะเวลายาวนาน ชลทิตย เอี่ยมสําอางค และวศินี ศีลตระกลู (2533 : 201-202) กลาววา ภูมิปญญาทองถ่ิน หมายถึง ความรู ประสบการณของประชาชนในทองถ่ิน ซ่ึงไดรับการศึกษาอบรมสั่งสมและถายทอดจากบรรพบุรุษ หรือเปนความรูประสบการณที่เกิดจากประสบการณตรงของตนเอง ซ่ึงไดเรียนรูจากการทํางาน จากธรรมชาติแวดลอม ส่ิงเหลานี้เปนสิ่งที่มีคุณคาเสริมสรางความสามารถ ทําใหคนเรามีชีวิตรวมกันอยางมีความสุข เปนความรูที่สรางสรรคและมีสวนเสริมสรางการผลิต สามารถ จันทรสูรย (2536 : 88) กลาววาภมูิปญญาทองถ่ิน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่ชาวบานคิดไดเอง ที่นํามาใชในการแกปญหา เปนสตปิญญา เปนความรูทั้งหมดของชาวบานทัง้กวาง ทั้งลึก ที่ชาวบานสามารถคิดเอง ทําเอง โดยอาศัยศักยภาพทีม่ีอยูแกปญหาการดําเนนิชีวติในทองถ่ินอยางสมสมัย คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2545 : 11) กลาวถึงภมูิปญญาทองถ่ิน คือที่มาขององคความรูที่งอกงามขึ้นใหมที่ชวยในการเรียนรู การแกปญหา การจัดการและการปรับตัวในการ

Page 75: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

63

ดําเนินชวีิตของคนไทย ลักษณะองครวมของภูมิปญญามีความเดนชัดในหลายดาน เชน ดานเกษตรกรรม ดานอุตสาหกรรม และหัตถกรรม ดานการแพทยแผนไทย ดานการจดัการทรัพยากรและส่ิงแวดลอม ดานกองทนุและธุรกิจชมุชน ดานศิลปกรรม ดานภาษาและวรรณกรรม ดานปรัชญา ศาสนา และประเพณี และดานโภชนาการ หทัยรัตน อันดี (2544 : 47) ไดสรุปความหมายของภูมิปญญาทองถ่ินไววา หมายถงึ องคความรูหรือส่ิงที่ส่ังสมมาตั้งแตอดีต ซ่ึงเปนประสบการณในการดําเนินชีวิตของผูคนในทองถ่ิน ซ่ึงไดผานการคิดคน และปรับปรุงเปลี่ยนแปลงจนไดแนวทางที่เหมาะสมกับสภาพสังคมเปนที่ยอมรับนับถือจากคนทัว่ไปและถือเปนแบบอยางในการดําเนินชวีิตที่ถายทอดสืบตอกันมา Zane ma Rhea and Bob Teasdale ( 2000 : 2-3) ไดแสดงความคิดเหน็ถึงความหมายของภูมิปญญา โดยมีบริบทวาเปนผลที่เกดิจากคิดหรือส่ิงที่สังคมมีความเขาใจรวมกันวาเปนสิ่งทีม่ีคุณคาสังเกตไดจากสังคมทองถ่ินสามารถสรุปไดวาใครเปนผูฉลาด หรือมีภูมิปญญา ภูมิปญญาเปนความฉลาดของสังคมหนึ่งอาจไมใชความรูที่สมบูรณเสมอไป ภูมิปญญาทองถ่ินเปนสิ่งที่ทําใหทองถ่ินดํารงอยูไดอยางสมดลุ จากความหมายของภูมิปญญาทองถ่ินดังกลาวสามารถสรุปไดวา ภูมปิญญาทองถ่ิน หมายถึง ความรู ความสามารถ หรือระบบของความรูที่เกิดจากการสั่งสมจากประสบการณของชีวิตที่มีคุณคาของประชาชนในแตละทองถิ่นเพื่อใชในการแกปญหา การจัดการ และการปรับตัวใหเหมาะแกการเปลี่ยนแปลงของบริบทของสังคม เปนความรูที่สรางสรรคเปนที่ยอมรับของคนทั่วไป ประเภทของภมิูปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาทองถ่ินเปนองคความรูที่กวางขวาง ครอบคลุมเนื้อหาสาระและแนวการดํารงชีวิตในวงกวางอันประกอบดวยองคความรูในหลายดาน ซ่ึงมีผูที่ไดจําแนกประเภทของภูมิปญญาทองถ่ินไวดังนี ้ สุรเชษฐ เวชชพทิักษ (2533 : 12, อางถึงใน หทยัรัตน อันดี 2544 : 48) ไดแบงประเภทของภมูิปญญาทองถ่ินไวดังนี ้ 1. ภูมิปญญาเกี่ยวกับระบบการผลิต หรือการประกอบอาชีพซ่ึงมีลักษณะการประกอบ อาชีพที่มีลักษณะจัดความสมดุลสอดคลองกับธรรมชาติ มุงการพึ่งพาตนเองเปนกระแสหลักมากกวาการพึง่พาปจจยัการผลิตจากภายนอก ไดแก การทําวนเกษตร การทําเกษตรแบบผสมผสาน และการทําเกษตรแบบธรรมชาติ 2. ภูมิปญญาเกี่ยวกับระบบสังคม หรือการจดัความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนษุย ซ่ึง

Page 76: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

64

ไดแก ความเชื่อ คําสอน คานิยม ประเพณีที่แสดงออกในแบบแผนการดําเนินชวีิต 3. ภูมิปญญาเกี่ยวกับการจัดความสัมพันธระหวางมนษุยกบัธรรมชาติ หรือส่ิงแวดลอม ไดแก การรักษาปาไมชุมชน การรักษาโรคดวยสมุนไพร อังกูล สมคะเนย (2535 : 37-48) ไดจดักลุมภูมิปญญาทองถ่ินออกเปน 4 กลุม ดังนี ้ 1. กลุมคติ ความคิด ความเชื่อ และหลักการที่เปนพื้นฐานขององคความรูที่เกิดจากการ ส่ังสมถายทอดกันมา 2. กลุมศิลปะ วฒันธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณ ี 3. กลุมการประกอบอาชีพในแตละทองถ่ินที่ไดรับการพฒันาใหเหมาะสมกับกาลสมัย 4. กลุมแนวคดิ หลักปฏิบัติ และเทคโนโลยีสมัยใหมที่ชาวบานนํามาใชในชุมชน ซ่ึงอิทธิพลความกาวหนาทางวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ี ยุพา ทรัพยอุไรรัตน (2537 :9) ไดแบงภูมิปญญาทองถ่ินออกเปน 9 ประเภท ดังนี ้ 1. ดานคติ ความเชื่อ 2. ดานวัฒนธรรม ธรรมเนียมประเพณ ี 3. ดานเกษตรพืน้ฐาน 4. ดานสิ่งแวดลอม 5. ดานสวัสดิการชุมชน 6. ดานการักษาพื้นฐาน 7. ดานเทคโนโลยีพื้นบาน 8. ดานศิลปะพืน้บาน 9. ดานหัตถกรรมพื้นบาน สุทธิวงศ พงศไพบูลย (2540 : 21-41) ไดแบงประเภทของภูมิปญญาทองถ่ินออกเปน 5 ประเภท ดงันี้ 1. ภูมิปญญาทองถ่ินเพื่อการยังชีพเปนภูมปิญญาที่เกี่ยวกับการดํารงชวีิตอยูรอดอยูอยางมีความสุขเปนภูมิปญญาเกี่ยวกับการเสาะแสวงปจจยัพืน้ฐานในการยงัชีพของสังคม ไดแก การทํามาหากินเสาะหาและจัดการเกี่ยวกับปจจัย 4 ทีอ่ยูอาศัย อาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค ภูมิปญญาเหลานี้คอย ๆ เพิ่มพูนงอกงามขึ้นดูประหนึง่เปนสิ่งสามัญ 1.1 ภูมิปญญาเกี่ยวกับการทํามาหากิน เชน ภูมิปญญาการหาของปา ลาสัตว การทําและใชเครื่องจบัสัตวบก สัตวน้ํา ภูมิปญญาในการเลือกขาวทํานา การไถ การคราด หวาน ดาํ เปนตน 1.2 ภูมิปญญาเกี่ยวกับที่อยูอาศัย เชน การสรางบานเรือนแบบเครื่องผูก ภูมิปญญา

Page 77: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

65

การเลือกใชวสัดุ วิธีเย็บ ผูกริม ผูกเงื่อน คาดแหละ บานเรือนแบบเครื่องสับ วิธีดามตอไม การเขาล้ิน ใชสลัก วิธีตอเรือนเชื่อมระเบียงกบัเรือนใหญโดยใช “คางคาวหอยหวั” 1.3 ภูมิปญญาเกี่ยวกับวัฒนธรรมโภชนา เชน การรูจกัเลือกสรรอาหาร วิธีถนอมอาหาร และวธีิปรุงอาหาร เปนตน 1.4 ภูมิปญญาที่เกี่ยวกับเครือ่งนุงหม ไดแก การนําภูมิปญญาเกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ มา ปกปดรางการใหอบอุน เชนภูมิปญญาในการนําหนิทาํเครื่องทุบเปลือกไมเปนผา การคิดทําฟนและกีใ่นการทอผา ภูมิปญญาในการถักรอยชุน ภูมิปญญาในการยอมสี การประดษิฐลวดลาย การจําแนกรูปแบบเพื่อการใชสอนเฉพาะกิจ เชน ผาซักอาบ ผาเดียว ผากราบพระ ผาหอหมาก ผาหอพาน เปนตน 1.5 ภูมิปญญาเกี่ยวกับยารักษาโรค ไดแก การนําสมุนไพร สัตว แรบางชนิดมาใชเปนยา วิธีปรุง การใชยา เปนตน 2. ภูมิปญญาเกี่ยวกับการพทิักษชีวิตและทรพัยสิน คนทุกหมูเหลาตางพยายามจะใหตนชวีิตยั่งยืนมั่นคง จงึทุมเทใชสติปญญาและสิ่งอํานวยตาง ๆ เพื่อใหบรรลุตามตองการ ซ่ึงภูมิปญญาประเภทนี้สามารถจําแนกยอยๆ ไดดังนี ้ 2.1 ภูมิปญญาการพึ่งตนเอง เปนภูมิปญญาในการพิทกัษปกปองชวีติทรัพยสินและคุมครองชีวิตคนรอบขางใหปลอดภัย 2.2 ภูมิปญญาหลบเลี่ยงอันตราย เชน ภมูิปญญาของชาวบานที่สามารถสังเกตความปรวนแปรของสภาพดินฟา อากาศ รูวาจะเกิดฝนตกหนัก ลมแลง ทะเลบา ฟาคะนอง น้ําทวมใหญ เกดิภยัแลง ไฟปา หรือภูมิปญญาในการโคนตนไมใหลมพาดไปในทางทีต่องการไดการนําความรูเร่ืองการนอนของสัตวมาชวยในการเดินทางใหปราศจากอันตราย 2.3 ภูมิปญญาการรวมพลังและการพึ่งพิง เชนภูมิปญญาการ “ลวดเวน” คือกลุมตระเวนการรบัผิดชอบ ลาดตระเวนดแูลปองกันชีวิตและทรัพยสินของหมูบาน ภมูิปญญาการรวมแรงแบงประโยชน เชน การทํานารวม การทําสวนรวม คือ การทํานาหรือทําสวนในแปลงเดียวกันทกุคนที่ทํามีสิทธิ์เก็บกิน เปนการสรางจิตสํานึกรวมกันทํารวมกันใช 2.4 ภูมิปญญาในการใชและทําศาสตราวุธ เชน การทําและการใชจะโหนง นอกจากคดิรูปแบบใหใชงาน สับ ฟน เชือด อยางมีดทั่วไป ยังไดเสริมแตงใหมีสวนที่ใชสําหรับทํารายคูตอสูเพื่อใหเกิดผลหนักเบาตางกันตามโทษานุโทษ 2.5 ภูมปิญญาการดูแลรักษาชีวิตทรัพยสิน เชน ภูมิปญญาในการรักษาชีวติเดก็และสตรี เปนตนวาหามหญิงที่มีครรภนั่งขวางประตู นัง่ขวางบันได หามลงจากบานเวลากลางคนื เปนตน

Page 78: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

66

3. ภูมิปญญาเกี่ยวกับการสรางและพิทักษฐานะและอํานาจ ภูมิปญญาเกี่ยวกับการสรางและพิทักษฐานะและอํานาจ มีทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และตําแหนงหนาที่ อาจจําแนกไดดังนี ้ 3.1 ภูมิปญญาการสรางและขยายอํานาจ ภูมิปญญาที่ชัดเจนคือ การขยายจํานวน วงษาคนาญาตใิหไดมาก ๆ เพื่อจะไดพวกพ่ึงพิง และเพิ่มแรงงาน เร่ิมแตการมีภรรยาหลายคน การผูกนําใจผูอ่ืนดวยวัฒนธรรมชายชาตินกัเลง คือทําตนใหเปนผูเชื่อถือได ดวยเมตตาธรรม เอื้ออารี กลาไดกลาเสีย เขมแข็งและกลาหาญ เฉียบขาด และยุติธรรม 3 ภูมิปญญาที่เดนชัด คือ การผูกเกลอ การทอดแหนง การผูกดอก 3.2 ภูมิปญญาการรักษาฐานะและอํานาจ จําแนกเปน 2 ลักษณะ ดังนี้ 3.2.1 การบํารุงเพ็ญบารมีเพื่อผดุงอํานาจวาสนา เชน ภูมิปญญาที่ชวยบม เฉพาะใหกุลบตุรกุลธิดา เปนคนขยันสุขมุอดทน ประณีตซ่ึงสวนหนึ่งจะปรากฏในงานชางฝมือ ตลอดภูมิปญญาที่ขัดเกลาจติใจและอารมณ บํารุงสติปญญาโดยอาศัยศิลปกรรม และขนบธรรมเนียมประเพณเีปนเครื่องบมเพาะ 3.2.2 การเสริมศรัทธาบารมี ภูมิปญญาการรักษาฐานะและอาํนาจลักษณะนี้ สวนมากจะมีโทษลักษณะผสมผสาน เพราะมักเปนในทางแขงขันเพื่อหาทางชนะผูอ่ืน เชน ภูมิปญญาการทําการใช “ ยาส่ัง ” การใชเวทมนต คาถาและเครื่องรางของขลังมาชวยเสริมสรางศรัทธาหรือภูมิปญญา 4. ภูมิปญญาการจัดการเพื่อสาธารณประโยชน ภูมิปญญานี้ คือ ภูมิปญญาที่กอใหเกิดประโยชนรวมกัน เชนการรวมกันกําหนดทางสัญจรระหวางหมูบาน การกําหนดใหมีสาธารณระหวางที่นาเพือ่เปนทางเดินสัตวเล้ียง ลําเลียงพืช เปนตน 5. ภูมิปญญาที่เปนการสรางสรรคพิเศษ กลุมภมูิปญญานี้หมายถึง กลุมที่เปนปญญาชน ชาวบานใชวิสัยทัศนหรือญาณทัศนะเฉพาะตวัสรางสรรคขึ้น เชน ภูมปิญญาในการแตงวรรณกรรม คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2545 : 11) ไดแบงลักษณะของภูมปิญญาไวหลายดาน ดังนี ้ 1. ดานเกษตรกรรม 2. ดานอุตสาหกรรม และหัตถกรรม 3. ดานการแพทยแผนไทย 4. ดานการจดัการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

Page 79: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

67

5. ดานกองทุนและธุรกิจชุมชน 6. ดานศิลปกรรม 7. ดานภาษาและวรรณกรรม 8. ดานปรัชญา ศาสนา และประเพณ ี 9. ดานโภชนาการ จากประเภทของภูมิปญญาทองถ่ินที่กลาวมาสามารถสรุปไดวาภูมิปญญาทองถ่ิน แบงไดออกเปน 4 ประเภท คือ 1. ภูมิปญญาดาน ความคิด ความเชื่อ 2. ภูมิปญญาดาน ศิลปะ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณ ี 3. ภูมิปญญาดาน ประสบการณในการประกอบอาชีพในทองถ่ิน การเลาเรียนถายทอดสะสมความรู 4. ภูมิปญญาดาน แนวคิด หลักปฏิบัติ และเทคโนโลยีพื้นบาน

ภูมิหลังอําเภอกระทุมแบน : ภูมิปญญาทองถิ่นอําเภอกระทุมแบน ขอมูลจากเอกสารขอมูลหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑขององคการบริหารตําบลดอนไกดีไดกลาวถึงขอมูลทั่วไปของอําเภอกระทุมแบนดังนี ้ อําเภอกระทุมแบนเปนอําเภอหนึ่งที่อยูในจังหวัดสมุทรสาคร ในอดีตพื้นที่ของอําเภอกระทุมแบนสวนใหญจะทําการเกษตรกรรม ทาํใหคนในพื้นทีน่ี้มีอาชีพทํานา ทําสวนผัก ผลไม แตปจจุบนัการทําการเกษตรนั้นเหลือคนทําเพียงเล็กนอยเทานั้น (จะมีกแ็ตตําบลสวนหลวงที่ทาํการเกษตรเพียงอยางเดยีว จะไมมีการทําอุตสาหกรรมเลย) ทั้งนี้สาเหตุการเปลี่ยนแปลงดานอาชีพก็เนื่องมาจากการปรับที่ดินเกษตรกรรมเพือ่นําไปใชประโยชนธุรกิจดานอื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งการหันมาทําโรงงานอุตสาหกรรมประเภทตาง ๆ ของนักลงทุนภายนอก (นกัลงทุนที่มาจากตางจังหวัด) กนัมากขึ้น อําเภอกระทุมแบน แบงเปน 10 ตําบล 1. ตําบลตลาดกระทุมแบน 2. ตําบลแคราย 3. ตําบลคลองมะเดื่อ 4. ตําบลดอนไกดี 5. ตําบลทาเสา

Page 80: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

68

6. ตําบลหนองนกไข 7. ตําบลบางยาง 8. ตําบลทาไม 9. ตําบลออมนอย 10. ตําบลสวนหลวง ท่ีตั้งขอบเขตของอําเภอกระทุมแบน ทิศเหนือติดกับอําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ทิศใตติดกับอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ทิศตะวนัออกตดิกับเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ทิศตะวนัตกตดิกับอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร ภูมิประเทศ เปนที่ราบลุมบริเวณริมแมน้ําทาจีน บางพื้นที่เปนที่ดอน พื้นที่สวนใหญใชในการทําอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม สัญชาติ /เชื้อสาย ประชากรสวนใหญเปนคนไทยแท รองลงมาเปนคนไทยเชื้อสายจีน (แตสวนใหญจะตั้งบานเรือนอยูอยางหนาแนนบริเวณตลาดกระทุมแบน และตําบลสวนหลวงและมีอาชีพคาขายเปนสวนใหญ) นอกจากนี้ยงัมีกลุมสัญชาติพมาเพียงเล็กนอย ซ่ึงกลุมเหลานี้จะมาเปนแรงงานในโรงงานตาง ๆ และมีอยูอยางกระจัดกระจายในบริเวณอ่ืน ๆ ของจังหวัดสมุทรสาครโดยเฉพาะในอําเภอเมือง การนับถือศาสนา ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ สวนศาสนาคริสตอิสลามมีจํานวนนอย สังเกตไดจากไมมีโบสถหรือมัสยิดตั้งอยู แตจะมีศาลเจาของคนจีนซึ่งมีอยูหลายแหงในเขตตลาดกระทุมแบน อาชีพ ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพรับจางในโรงงานอุตสาหกรรม และทําเกษตรกรรม เชน การทํานา ทําสวน และมีการทําอุตสาหกรรมในครวัเรือน เชน การทําเครื่องเคลือบเบญจรงค ดังรายละเอยีดตอไปนี ้ 1. ทํานา ในอดตีพื้นที่บริเวณเขตอําเภอกระทุมแบนมีการทํานาปกันมาก แตปจจุบนั เหลือผูที่ทํานานอยลง อีกทัง้ยังทําในปริมาณผลผลิตที่ต่ําลงกวาแตเดิมดวย ทั้งนี้สาเหตุเนื่องมาจากการเขามาซื้อที่ดินของนายทุนเพื่อสรางโรงงานอุตสาหกรรม นาที่ทํากันอยูปจจุบันนั้นจะทํากัน

Page 81: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

69

ประมาณปละประมาณ 2-3 คร้ัง 2 การทําสวนผัก / ผลไม สวนผัก ไดแก ผักบุง ผักกาดขาว ผักกระเจี๊ยบ ผักกวางตุง เปนตน สวนผลไม ไดแก สวนมะพราวออน สวนมะพราวแปรรูป (นําไปแปรรูปเปนน้ําตาลปบ) สวนมะมวง สวนกลวยไม สวนฝรั่ง สวนชมพู เปนตน 3. คาขาย รับจางทั่วไป รับเหมากอสราง 4. ทําธุรกิจอุตสาหกรรม (สวนตวั) สวนใหญจะเปนนายทุนจากขางนอกเขามาลงทุนสวนแรงนัน้จะเปนคนในพืน้ที่ ไดแก โรงงานถุง / ขวดพลาสติก โรงงานกลองกระดาษ โรงงานทําสติ๊กเกอร โรงงานทําอะไหล โรงงานทอเสื่อ เปนตน 5. อุตสาหกรรมในครัวเรือน รอยพวงมาลัย เครื่องปนดินเผา เครื่องเบญจรงค 6. รับราชการ เชน ตํารวจ ทหาร ครู สถานที่นาสนใจ วัดนางสาว ตัง้อยูที่ตําบลทาไม เดินทางตามทางหลวงหมายเลข 35 (ธนบุรี-ปากทอ) แยกเขาทางหลวงหมายเลข 3091 ประมาณ 5 กิโลเมตร แลวเล้ียวเขาซอยวัดนางสาว 2 ประมาณ 1 กิโลเมตร ประวัติความเปนมามีเร่ืองเลากันวา เมืองสาครบุรี คือ เมืองชายทะเลตอนใตของกรุงศรีอยุธยา เมื่อเกดิสงครามในพมาชาวไทยกลุมหนึ่งไดอพยพหนีมาตามรมิแมน้ําทาจนี คนชราและผูหญิงไดพากนัไปหลบซอนกันในโบสถเกา ตอมาคนไทยไดชวยกันตอสูกับทหารพมาจนไดรับชัยชนะ และผูที่อพยพมาไดตั้งบานเรือนอยูบริเวณนัน้ ในกลุมนี้มีสองพี่นองที่เคยอาศัยโบสถหลบหนภีัย ทัง้สองมีความคิดที่จะบูรณะโบสถใหม แตพี่สาวเหน็วาโบสถทรุดโทรมมากจึงไปสรางวัดใหมแทน นองสาวตองการทําตามสัจจาธิษฐานของตนวาถารอดตายจะบูรณะซอมแซมโบสถจึงดําเนินการบูรณะจนเสร็จและตั้งชื่อวา “วัดพรหมจารยี” ตอมาชาวบานเรียกวา “วัดนองสาว” จนปจจุบันเพี้ยนมาเปน “วัดนางสาว” โบราณสถานของวดันี้คือ โบสถที่มีฐานโคงเปนเรือสําเภากออิฐ มีประตูเขาออกเพียงประตูเดยีวชาวบานเรยีกวา “โบสถมหาอุตม” หลังคามุงกระเบื้องดินเผาแบบเกา ขื่อขางบนใชไมซุงทั้งตนมีเสมาคูเปนหินทรายขนาดเล็กอยูรอบ ๆ โบสถ นอกจากนี้บริเวณหนาวัดซึ่งติดกับแมน้ําทาจีน ยังมีอุทยานมัจฉาประกอบดวยปลาสวายจํานวนมากอาศยัอยู นักทองเที่ยวนิยมมาใหอาหารแกฝูงปลาและเที่ยวชมอยูเสมอ ปลองเหลี่ยม ตั้งอยูตําบลทาไมริมแมน้ําทาจนี เดินทางตามทางหลวงหมายเลข 3091 (ถนนเศรษฐกจิ 1แยกออมนอย-สมุทรสาคร) ไปจงัหวัดนครปฐมผานคลองภาษีเจริญระยะทางประมาณ 7 กโิลเมตร ปลองเหล่ียมเปนปลองเตาไฟโรงงานผลิตน้ําตาลทรายของชาวโปรตุเกส ช่ือ กัปตันฮิท สรางขึ้นเมื่อป พ.ศ.2367 ลักษณะของปลองเปนปลองกออิฐถือปูนบนฐานสี่เหล่ียมกวางดานละ 4 เมตร สูง 4 เมตรตอจากฐานขึน้ไปเปนปลองทรงแปดเหลีย่มกวางประมาณ 1 เมตร แลว

Page 82: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

70

คอย ๆ เรียงขึ้นไปจนถึงปลายสูงประมาณ 30 เมตร หมูบานเบญจรงค ตั้งอยูตําบลดอนไกด ี เดินตามทางหลวงหมายเลข 3091 (ถนนเศรษฐกิจ 1แยกออมนอย-สมุทรสาคร) ใชเสนทางถนนสุคนธวิท เปนสถานที่ ที่มีการรวมตัวกันของผูผลิตเครื่องเบญจรงค และเครื่องปนเซรามิก นอกจากนีย้ังเปนสถานที่จําหนายผลิต และเปนแหลงศึกษาขอมูลใหความรูแกผูสนใจ เครื่องเบญจรงคจะมีรูปรางตางกันไป เชนโถใสขาว ใสแกง ถวย กา แจกนั ลวดลายของเครื่องเบญจรงค มีเสนลวดลายที่ตางกันไป เชน ลายเขีย้วยักษ ลายพุมขาวบิณฑแบบดั้งเดิม นับเปนผลิตภัณฑทีย่ังคงคุณคาของความเปนไทย ที่งดงาม ประณีต บรรจงซึ่งสามารถนําไปเปนของขวัญไดอยางด ี สวนกลวยไม ตั้งอยูตําบลดอนไกดเีดินทางตามทางหลวงหมายเลข 3091 (ถนนเศรษฐกิจ 1แยกออมนอย-สมุทรสาคร) และใชถนนเสนทางสุคนธวทิ มีพื้นที่อยูในบริเวณหมูที ่ 1 บานดอนไกด ี และหมู 3 บานตาสด พืน้ที่สวนใหญมีการทําสวนกลวยไม เหมาะแกการเพาะปลูกกลวยไม เหมาะแกการทองเที่ยวเชิงนิเวศนวิทยา และใหนักทองเทีย่วสัมผัสกับบรรยากาศที่เปนธรรมชาติ ดอกกลวยไมทีเ่กษตรกรไดเพาะปลกูเปนที่ตองการของตลาดในตางประเทศเปนอีกจํานวนมากดวย สนามแขงขันนกเขา ตั้งอยูตําบลดอนไกด ีเดินทางตามทางหลวงหมายเลข 3091 (ถนนเศรษฐกิจ 1แยกออมนอย-สมุทรสาคร) และใชถนนเสนทางสุคนธวทิเขาสูถนนเลียบคลองมะเดือ่ ประมาณ 500 เมตร อยูใน หมู 6 บานสันพะนอม เจาของคือ คุณลุงบญุพา นิลโนรี เปนสถานที่รวมนกเขาหลายชนิด และยังมนีกชนิดอื่น ๆ อีกหลายพนัตัว รวมถึงสัตวตาง ๆ เชน อีกัวนา จระเข ปลา เปนตน มีการหมุนเวียนการใชสนามในการแขงขันนกเขาของทุกจังหวดัสถานที่แหงนี้ไดลงนิตยสาร “แชมปนก” ทําใหรูจักกันดีในสมาคมคนเลี้ยงนกอยางกวางขวาง ภูมิปญญาทองถิ่นของอําเภอกระทุมแบน ในการศึกษาวิจยัเร่ืองการพัฒนาแบบฝกเสรมิทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบรูณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ในครั้งนี้ผูวิจัยไดศึกษาเฉพาะภมูิปญญาทองถ่ินของ*อําเภอกระทุมแบน จงัหวัดสมุทรสาคร และขอมูลภูมิปญญาทองถ่ินซึ่งเปนบริบทรอบ ๆ โรงเรียน ซ่ึงผูวิจัยไดศกึษาคนความีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค

ประวัตคิวามเปนมาเกีย่วกับเบญจรงค มีหนังสือและเอกสารเกี่ยวกบัเบญจรงคไวพอสมควร ซ่ึงมักจะแทรกอยูตามเอกสารประเภทเครื่องถวย (Ceramics) หรือเครื่องปนดินเผาตาง ๆ ทั้งนี้เนื่องจากเบญจรงคเปนหัตถกรรม

Page 83: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

71

ที่จัดอยูในประเภทของเครื่องถวยหรือเครือ่งปนดินเผานัน่เอง ดังที่ ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และกฤษฎา พิณศรี (อางถึงใน ชมพูนุช จารุสโรส 2544 : 13) ไดแบงประเภทของเครื่องถวยไว 2 ประเภท คอืเครื่องถวยทีผ่ลิตจากแหลงเตาเผาในประเทศไทย และเครื่องถวยท่ีผลิตจากแหลงเตาเผาในตางประเทศ ซ่ึงงานเบญจรงคนี้ถูกจัดใหอยูในประเภทหลัง เนื่องจากเชื่อวาเบญจรงคผลิตจากเมืองตาง ๆ ในประเทศจนี แตก็ยังมีการถกเถียงกันวาเบญจรงคไดแพรเขามาในประเทศไทยไดอยางไร ในหนังสือเลมเดียวกันนีไ้ดกลาววาสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงเชื่อวา ไทยไมไดส่ังเครื่องถวยประเภทเครื่องเคลือบสีขาวมาใชชางเขียนลายเองรวมทั้งไมไดสงชางไทยไปคมุการผลิตดวย เพียงแตสงแบบหรือตัวอยางไป นั่นหมายถึงการสั่งทําเครื่องถวยเบญจรงคจากจีนนั้นไทยเปนผูกําหนดลวดลาย รูปทรงและสีสัน เพื่อใหมีความแตกตางออกไป เครื่องเบญจรงคจะใชเฉพาะชนชัน้สูงเทานั้น ฉะนั้นจึงไมพบ ตามแหลงชุมชนทั่วไป การขุดพบโบราณวัตถุในพระนครศรีอยุธยาทําใหสันนฐิานกันวา เครื่องถวยเบญจรงค หรือเครื่องเบญจรงคมีการสั่งทํามาจากประเทศจนี แตก็ไมสามารถยืนยันไดวาเครื่องเบญจรงคเกิดขึ้นเมื่อใด เนือ่งจากไมปรากฏหลักฐานทางเอกสารที่แนชัด ในสมัยอยุธยา ไทยมีการตดิตอคาขายกับจีน โดยมีการแลกเปลี่ยนสินคาและเครื่องราชบรรณาการซึ่งกันและกนั ทําใหสมยันั้นมกีารใชเครื่องถวยจีนกนัโดยทัว่ไปทัง้ที่เปนลายครามและลายสีซ่ึงผลิตและซื้อจากประเทศจีน สวนเครื่องถวยเบญจรงคนั้นเชื่อกนัวาไทยไดส่ังเครื่องถวยกระเบื้องจากชาวจีนเขาสูประเทศไทย และนํามาใหชางไทยเขียนลายลงบนเครื่องถวยกระเบื้องนัน้ ลายที่เขียนไดรับการออกแบบใหเปนแบบไทย จากนัน้ก็สงกลับไปเผาในประเทศจนี หากเปนเครื่องที่ใชในราชสาํนักกจ็ะมกีารสงชางไทยไปควบคุมการเผาเปนพิเศษ เบญจรงค หมายถึง หาสี แตสีที่ใชบนเครื่องเบญจรงคอาจพบมีตั้งแต 5 สีขึ้นไปจนถึง 8 สีก็ได ไดแก สีแดง สีเหลือง สีขาว สีเขยีว (น้าํเงิน) ชมพ ู มวง แสด น้าํตาล เปนตน เครื่องถวยเบญจรงคทําโดยการเขียนลวดลายลงบนกระเบื้องถวย โดยจะไมเวนที่วางไวจากนัน้ก็เขียนสี หรือลงสีและนําไปเผา นอกจากเครื่องถวยเบญจรงคแลวยังมเีครื่องถวยซ่ึงมีลักษณะการทาํใกลเคียงกันอกี แตจะเนนที่การเพิ่มทอง ซ่ึงอาจจะเปนการลงพื้นทอง ตัดเสนทอง หรือแตมทองระหวางสีเบญจรงค เปนตน ซ่ึงเรียกเครื่องถวยชนดินี้วา “ ลายน้ําทอง” ในอดีตประเภทเครื่องถวยเบญจรงค และลายน้ําทองทีใ่ชกันในราชสํานักมักจะเปนประเภทภาชนะเครื่องใชตาง ๆ ไดแก จาน ชาม โถ จานเชิง ชอน ชุดกาแฟ กระโถน ชุดถวยกาแฟ เปนตน ซ่ึงมีทั้งที่เปนของจีนและไทย รูปทรงแบบไทย ไดแก โถทรงมะเฟอง โถทรงโกศ โถปริก ฝาโถยอดทรงมัณฑ เปนตน นับไดวาการใชเครื่องถวยเบญจรงคมีมาตั้งแตสมัยอยุธยา และมีการใชและทําขึ้น

Page 84: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

72

อยางตอเนื่อง ซ่ึงประเภทและรูปแบบไดถูกพัฒนาไปตามสภาพแวดลอมของสังคม กลาวโดยสรปุ เครื่องถวยเบญจรงคหรือเครื่องถวยลายน้ําทองเปนเครื่องถวยทีถู่กผลิตขึ้นในประเทศจนีซึ่งเปนการออกแบบและสั่งทําตามแบบไทยเพือ่จําหนาย และใชในราชสํานักไทยโดยเฉพาะดังนัน้ลวดลาย และสีสันบนเครื่องถวยเบญจรงคและลายน้ําทองจึงมีเอกลักษณของความเปนไทย อีกทั้งลวดลายและรูปแบบตาง ๆ ของเครื่องเบญจรงคยังถูกถายทอดสืบตอจน กระทั่งปจจบุนั ประวัติความเปนมาของกลุมหมูบานเบญจรงคในอําเภอกระทุมแบน ยอนกลับไปเมื่อประมาณ 30 ปที่แลว คนไทยในพื้นที่อําเภอกระทุมแบนมักจะเขาทํางานในโรงงานตาง ๆ ภายในจังหวัดหลังจากจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 4 แลว (ซ่ึงในขณะนัน้การศกึษาชั้น ป. 4 เปนการศึกษาภาคบังคับ) โรงงานที่คนสวนใหญในอําเภอกระทุมแบนและจังหวัดใกลเคียง เชน ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี มักจะนิยมเขามาทํางานไดแก โรงงานเสถียรภาพ (โรงชามตาไก) ซ่ึงตั้งอยูที่ ตําบลออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร โรงงานเสถียรภาพถือไดวาเปนโรงงานขนาดใหญและมจีํานวนคนงานมากแหงหนึ่ง ผลิตภัณฑที่ทางโรงงานไดผลิตไดแก ภาชนะเคลือบขาวประเภทตาง ๆ งานประเภทจาน ชามตาไก เปนตน ซ่ึงถือไดวาเปนงานที่มีการผลิตในจํานวนมากเปนอันดบัหนึ่ง รองลงมาคือการทําลายคราม และเครื่องเบญจรงคอีกเพียงบางสวน เปนตน จุดเริ่มตนของกลุมหมูบานเบญจรงคในอําเภอกระทุมแบน ซ่ึงตั้งอยูที่ตําบลดอนไกดีเร่ิมจากคนในชุมชนดอนไกดี ไดแก นางอุไร แตงเอี่ยม, นายจรูญ แตงเอี่ยม, ประภาศรี พงษเมธา, นวลจันทร มารุงเรือง, มะลิ จันทบด,ี ทองคํา เอี่ยมสิงห, ผอง ภูมาลี, และรัชนี ธรรมสังวาลย ไดเคยเปนคนงานรับจางในโรงงานเสถียรภาพ (โรงชามตาไก) เมื่อประมาณ 20 กวาปที่ผานมา สวนใหญจะอยูในแผนกเขียนลายคราม เนื่องจากเขาไปทํางานครั้งแรกจะตองฝกเขียนลายครามกอนเนื่องจากลายครามเปนลายที่เขียนงาย และเปนลายพื้นฐานที่สามารถนําประยุกตเขียนลายอื่น ๆ ได ยกเวน นายทองคํา เอี่ยมสิงห ซ่ึงเปนชางกลึงอยูแผนกปมจานดวยเครื่อง บุคคลตาง ๆ ทํางานอยูในโรงงานดังกลาวอยูหลายปทําใหมีความรูและทักษะในการเขียนลายครามและเบญจรงค จากการสัมภาษณสัมภาษณกลุมผูที่เคยทํางานอยูในโรงงานเสถียรภาพ ก็ไดทราบวาการฝกเขียนลวดลายตาง ๆ นั้นมีทั้งลวดลายที่เปนแบบจีนและแบบไทย คนงานแผนกเขยีนลายครามของโรงงานจะไดรับการถายทอดจากอาจารยของกรมศิลปากร ซ่ึงมีฝมือทางศิลปะ โดยเฉพาะการวาดลวดลายตาง ๆ ซ่ึงทางโรงงานไดจางอาจารยมาสอนเขียนลายใหกบัคนงานไดแก อาจารยปรีชา กุยรักษา อาจารยสงวน รักมิตร และอาจารยซ่ึงเปนคนจีนมาจากประเทศจนีหรือที่

Page 85: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

73

คนงานสวนใหญเรียกวา “ อาแปะ” ในระยะตอมา ประมาณป พ.ศ. 2531-2532 โรงงานเสถียรภาพไดประสบปญหาทางเศรษฐกิจบางอยางทําใหตองปลดคนงานออกคนงานสวนหนึ่งของตําบลดอนไกดี ก็เปนสวนหนึ่งที่ถูกปลดออก ทําใหตกงาน ไมมีงานทําไมรูวาจะไปทําอะไร แตดวยความรู ฝมือและทักษะประสบการณที่ไดรับจากการทํางานในโรงงาน ทําใหคนในชุมชนมคีวามคิดที่จะทําเบญจรงคเปน ของตนเองโดยผูที่บุกเบิกในการผลิตเบญจรงคของชุมชนก็คือ นางอุไร แตงอี่ยม และถือเปนผูสราง อาชีพใหกบัเดก็วยัรุนและชาวบานในชุมชนที่วางงานดวย ซ่ึงไดเร่ิมลงทุนและผลิตกันเองภายในครอบครัว อีกทั้งขยายตอไปยังญาติพี่นองและเพื่อนบานในละแวกเดยีวกัน และคนในพืน้ที่อ่ืน ๆ ดวย และตั้งแตนั้นเปนตนมาชื่อเสียงหัตถกรรมเครื่องเบญจรงคของอําเภอกระทุมแบนก็ไดรับความสนใจจากคนภายนอกมากขึน้ ไมวาจะเปนในเรื่องของฝมือที่ประณตีรูปทรงสีสันของเบญจรงคที่สะดุดตา รวมถึงลวดลายที่หลากหลายมากมาย ความมีช่ือเสียงดังกลาว เปนผลใหมีการขยายตัวธุรกจิผลิตเครื่องเบญจรงคภายในชุมชนเพิ่มขึ้น กลาวคือ มีการเพิ่มขึ้นทัง้จํานวนผูประกอบการซึ่งสวนใหญเปนคนในชุมชนและการเพิ่มของแรงงานในการผลิตเบญจรงคทั้งคนในชุมชนและนอกชุมชนดวย นอกจากนี้แลวทางหนวยงานราชการและเอกชนยังไดเขามามสีวนสงเสริมในดานการผลิตอีกดวย 2. ชูชองามตากลวยไมไทย กลวยไมเปนไมดอกในกลุมพืชใบเลี้ยงเดีย่ว (monocotyledonous plant ) วงศออรคิเดซิอี (Orchidaceae) หรือเรียกกันทั่ว ๆ ไปวาวงศกลวยไม เปนพืชที่มีอายุยืนยาวหลายป จําพวกไมมีเนือ้ไม (Perennial herbs) และมีจํานวนชนิดมากที่สุดในบรรดาไมดอกดวยกนั ตามรายงานระบุไวประมาณ 19,000 ชนิด ทัง้นี้หมายถึงชนิดที่อยูตามธรรมชาติ (ไมนับรวมพวกลูกผสมหรือที่ไดจากการปรับปรุงพันธุอีกมากมายหลายเทา ซ่ึงนับวันจะมีพวกที่ไมใชพันธุแทเหลานี้เพิ่มอยางไมมีส้ินสุด) กลวยไมนั้นพบไดในถิ่นอาศัยแบบตาง ๆ ตั้งแตบริเวณที่มนี้ําแข็งปกคลุมเกอืบตลอดปไปจนถึงเขตรอนในปาทุกประเภท ในเขตหนาวและเขตอบอุนมักจะพบกลวยไมประเภทที่ขึ้นตามพื้นดนิที่มีการเจริญเติบโตใหเห็นเฉพาะฤดูกาล แตในเขตรอนจะพบกลวยไมที่ดํารงชีวิตอยูไดหลายรูปแบบ ทั้งกลวยไมดิน กลวยไมอิงอาศัย และกลวยไมที่เจริญเติบโตอาศัยซากอินทรีวตัถุ นอกจากกลวยไมจะสามารถดํารงชีวิตในสภาพแวดลอมตาง ๆ กันดังกลาวแลว ยังอาจนับไดวา กลวยไมเปนพชืมหัศจรรยในดานความหลากหลายของรูปลักษณของราก ตน ใบ กิง่ ดอก และผล ในเรื่องขนาดมีตั้งแตขนาดใหญเกือบเทาตนออย เชน วานเพชรหึง หรือตนยาวไดเปนสิบกวาเมตร เชน เถาวานิลา (Vanilla spp.) หรือขนาดโตกวาหวัไมขดีไฟเล็กนอย เชนพวกสิงโตบาง

Page 86: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

74

ชนิด ยิ่งในเรือ่งความสวยงามแปลกประหลาดของดอกดวยแลว คงจะมีพรรณไมอ่ืนเทียบไดยาก คนไทยเริ่มตืน่ตัว และสนใจนํากลวยไมมาปลูกเปนไมประดับกนัอยางจริงจังในรัชสมัยของสมเด็จพระปยมหาราช และนบัเปนจุดเริ่มแรกของการศึกษาเกีย่วกับกลวยไม การทําสวนกลวยไมในอําเภอกระทุมแบน ในอดีตพื้นทีส่วนใหญของอําเภอกระทุมแบนจะเปนพืน้ที่ในการทําการเกษตร อันไดแก การทํานา การปลูกผัก ปลูกผลไม เชน พุทรา สมโอ องุน มะพราว มะมวง กลวยหอม หมากเปนตน ตอมาการปลูกผักผลไมไดผลผลิตลดลงและราคาต่ําทําใหชาวสวนประสบปญหาขาดทุนซึ่งชาวสวนตองหันมาปลูกพืชอ่ืนทีร่าคาดีกวาทดแทนและเมื่อประมาณป พ.ศ. 2518 ไดมีชาวสวนซึ่งอยูที่ในตําบลบางยาง บริเวณเขตวัดทากระบือไดนําพนัธุกลวยไมพันธุมาดามเขาปลูกเปนพันธุแรกซึ่งไดผลผลิต และราคาดมีากซึ่งในชวงนั้นการตัดดอกกลวยไมขายจะตัดขายไดราคาชอละ 20 กวาบาท และจากการที่กลวยไมขายไดราคาดีประกอบกับสามารถเพาะปลูกไดดีในพื้นที่ทําใหชาวสวนในอําเภอกระทุมแบนหันมาปลูกกลวยไมกันมากขึน้ กลวยไมถือวาเปนพืชเศรษฐกิจทีเ่ปนที่ตองการของตลาดจากทั้งในประเทศและตางประเทศ และการปลูกกลวยในปจจุบันก็มกีารพัฒนานําพันธุตาง ๆ มาปลูกกันมากขึ้น เชน บอม, ตุกตา , ญี่ปุน , กลวยไมดิน , จอรแดน และ จับกวน เปนตน จากการที่พืน้ที่ในอําเภอกระทุมแบนมกีารปลูกกลวยไมกันมาก ทาํใหมีโครงการสงเสริมการทองเที่ยวสวนกลวยไมเกิดขึ้น โดยที่จะพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศวิทยา และใหนักทองเที่ยวไดสัมผัสบรรยากาศกบัความงดงามของสวนกลวยไม และขั้นตอนในการเพาะปลูกกลวยไมของชาวสวน ลักษณะและสวนตาง ๆ ของกลวยไม ตน ตนของกลวยไมมีความแตกตางกันหลายแบบเชน กลุมหนึ่งมีลักษณะเดนเฉพาะที่เปนทีรู่จักกันดี คือ พวกทีม่ีลําตนปองพองคลายผลกลวย ที่เรียกกนัวาลําลูกกลวย หรือหัวเทยีม (pseudobulb)หรือหัว แตยังมีกลวยไมอ่ืน ๆ อีกมากที่มีลักษณะและตนแตกตางไปจากนี้ ซ่ึงมักจะมีสวนของตนที่เปนตัวหลัก มลัีกษณะกลมยาวเปนเสนคอนขางเล็กแตมกัจะแข็งแรงและเหนยีว ซ่ึงเรียกกันวาเหงา(rhizome) เหงาของกลวยไมจะทอดไปตามเปลือกไมมีรากสั้น ๆ ยดึเกาะ และจากเหงานี้มีลําตนอีกสวนหนึ่งซ่ึงมักมีลักษณะแตกตางไปจากเหงาเดิม เชน เปนลํายาว ดังที่พบเห็นในเอื้องสายตาง ๆ (Dendrobium spp.) ลําของกลวยไมบางชนิดโคนพองกวาสวนปลาย บางชนิดหวัทายเรียว ตรงกลางปองเล็กนอย สวนพวกที่มหีัวเทยีม สวนที่เปนหัวกจ็ะมีลักษณะตาง ๆ กัน เชน ทรงกระบอก รูปกระสวย รูปหยดน้าํ หรือคลายผลชมพู บางชนิดคอนขางกลม กลมแปน เปนตน ถาเปนพวกกลวยไมดิน สวนหัวมักจะอยูบนดินหรือกึ่งใตดินและบางชนิด

Page 87: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

75

อาจจะมีโคนของกาบใบคลุม ลําตนที่เปนลําหรือมีลักษณะคลายหวันี้ทําหนาที่เกบ็น้ําและอาหารสะสม ทั้งนี้เนื่องจากกลวยไมสวนใหญเปนพืชทนแลง มีชีวิตอยูไดโดยขาดน้ําติดตอกนัเปนเวลานานหลายเดือน กลวยไมบางชนิดมองไมเหน็ลําตนเนื่องจากมีขนาดเล็กและมีใบปกคลุมตลอด หรือมีขนาดสั้นและเล็กมาก แตมีสวนรากเจริญไดดี เชนพวกพญาไรใบ และบางชนิดลําตนใตดนิปองพอง (tuber) ทําหนาที่สะสมอาหาร กลวยไมที่มีตนยาวมาก ไดแกพวกวานิลลา ซ่ึงอาจยาวไดเปน 10เมตร และที่ตนสูงมากไดแก พวกหวายแดง แตเมื่อพิจารณาถึงขนาดโดยรวมแลว วานเพชรหึงนาจะเปนกลวยไมที่มีขนาดใหญที่สุด คือสูงหรือยาวไดถึง 3 เมตร และใบยาว25 – 50 ซม. นอกจากนั้นกลวยไมหลายชนิดยังมกีิ่งที่กลายเปนตนเล็ก ๆ ที่พรอมจะหลุดรวงไปเจริญเปนตนใหมได เปนการเพิ่มจํานวนตนใหมากขึน้อีกวิธีหนึ่ง นอกเหนือจากแตกหนอขยายขนาดของกอ ราก รากของกลวยไมอาจเกิดเฉพาะที่โคนตนหรือตามขอ มีขนาดและจํานวนตางกันตามชนดิ บางพวกสวนของรากนอกจากจะทําหนาที่ยึดเกาะแลว ในกลวยไมหลายชนิดยังชวยในการสังเคราะหแสงดวย เชน พวกพญาไรใบ ทีม่ีรากเจริญดีมาก มีสีเขียว เปนสวนที่เหน็ไดชัดที่สุด กลวยไมอ่ืน ๆ พวกหวายและชางตาง ๆ เฉพาะสวนปลายของรากที่เกิดใหมเทานั้นทีม่ีสีเขียวที่ชวยสังเคราะหแสง แตถาเปนกลวยไมดนิหลายชนิดสวนของรากจะพองออกเปนรากสะสมอาหาร (tuberous root) นอกจากนัน้รากของกลวยไมยงัมีเนื้อเยื่อคลาย ๆ ฟองน้ําลอมรอบเนื้อเยือ่ลําเลียงตรงกลาง สวนที่คลายฟองน้ํานี้มีสวนชวยในการเก็บความชืน่ไดอีกดวย ใบ ใบกลวยไมมีความหลากหลายไดเชนกัน หลายชนดิใบลดรูป ไมเจริญ ไดแก พวกพญาไรใบ สวนพวกที่มีใบ ยังแยกเปนพวกที่ไมทิ้งใบและพวกทิ้งใบ พวกทิ้งใบมักจะมแีผนใบบาง พวกที่ไมทิ้งใบ มทีั้งพวกใบกลมคลายตนและใบแผเปนแผนบางพวกหลังนี้แผนใบมกัจะหนาคอนขางอวบน้ําและแข็ง หรือถาแผนใบไมหนากจ็ะเหนียว ผิวใบมักจะมัน สวนขนาดของใบก็เชนกนัพวกที่มีใบขนาดใหญมาก ไดแก พวกวานิลา โดยเฉพาะชนิดที่พบในเมอืงไทย ที่เรียกวาพลูชาง มีใบใหญ รูปรี ยาวไดถึง 30 ซม. และกวางประมาณ 10 ซม. บางพวกใบเล็กมาก ไดแก Podchilus microphyllus Lindl. ซ่ึงใบเปนแถบเล็ก ๆ ยาว 5-6 มม. ดอก ปกตดิอกกลวยไมมหีกกลีบ ประกอบดวยกลีบเลี้ยง (sepal) 3 กลีบ และกลีบดอก (petal)3 กลีบ ตรงกลางดอกเปนเสาเกสร (staminal column) กลีบเล้ียง (sepal) กลีบเลี้ยงเรียงตัวอยูรอบนอกสุด จะเห็นไดชัดเจนเมื่อคว่ําดอกดู บางชนิดกลีบเลี้ยงทั้งสามมีลักษณะคลายกนั และหลายชนิดมีกลีบเล้ียงที่มีลักษณะแตกตางกัน คอืแยกเปนกลีบเลี้ยงบน (dorsal sepal) อยูในตําแหนงหลังเสาเกสร และกลีบเลี้ยงดานขาง (lateral

Page 88: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

76

sepal) 2 กลีบ ซ่ึงมีลักษณะเหมือนกัน แตอาจจะแตกตางจากกลีบเลี้ยงบน และบางสกุลกลีบเลี้ยงดานขางเชื่อมติดกัน หรือบางสกุลกลีบเลี้ยงทั้งสามเชื่อมติดกันเปนหลอดสั้น ๆ ปลายแยกเปนแฉก กลีบดอก (petal) กลีบดอกเรียงตวัเปนชั้นถัดเขาไปจากชั้นกลีบเลี้ยงประกอบดวยกลีบดอกดานขาง (lateral petals) ซ่ึงมีลักษณะเหมอืนกัน สวนกลีบดอกอีกหนึ่งกลีบนั้น มีลักษณะแตกตางจากกลีบดอกดานขางอยางชัดเจน นยิมเรียกกนัวา กลีบปาก (epichile) ซ่ึงทั้งสองชวงมักมีลักษณะตางกัน เสาเกสร (staminal column) สวนทีสํ่าคัญและเปนลักษณะเฉพาะของกลวยไม คือ เสาเกสร ซ่ึงเปนที่รวมของวงศหรือช้ันเกสรเพศผูและสวนของเกสรเพศเมียเขาไวดวยกัน มีลักษณะเปนแทงอยูตรงกลาง ผลหรือฝก และเมล็ด กลวยไมเปนพนัธุไมที่แตละผลหรือฝกมีขนาด ลักษณะรูปรางตาง ๆ กัน เมื่อแกเตม็ที่จะแตกตามแนวยาว 3 แนว ภายในมีเมล็ดที่มีขนาดเล็กมาก บางชนิดอาจมีถึงลานเมล็ด และยังเปนเมล็ดที่ภายในไมมีอาหารสะสมใบเลี้ยงไมเจริญอกีดวย ในธรรมชาติเมล็ดจํานวนมากมากเหลานี้มีโอกาสเจริญเปนตนใหมไดไมมากนัก 3. มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโต วดัดอนไกดี) วัดดอนไกดี ตั้งอยูที่ตําบลตลาดกระทุมแบน อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร เลากันวาเปนวดัที่สรางขึ้นในสมัยอยุธยาตอนกลางประมาณ 400 ป ที่ตั้งของวัดดอนไกดี เดิมเปนหมูบานอยูในที่ดอน เรียกวา บานดอน มปีาละเมาะทัว่ไป อยูมาวันหนึ่งมีเหยีย่วตวัใหญคาบลูกไกตัวผูผานมา ลูกไกหลนลงบริเวณนี้ มีชาวบานดอนคนหนึ่งเก็บไปเลี้ยงจนโตขึ้น จึงนําไกไปชนตามที่ตาง ๆ ปรากฏวาชนะทุกครั้งไป เปนไกที่ประหลาดมาก เมื่อชนกับไกอ่ืนสักพักหนึ่งไกเหลานั้นแตละตัวจะรองแสดงอาการยอมแพโดยส้ินเชิง ไกตัวนี้จะไมตซํ้ีา ลูกหลาน เหลนที่สืบสายไกตัวนี้ มีผูพยายามนาํไปเลีย้งชนที่ไหนมกัจะชนะเสมอเปนที่ลือเล่ืองแพรหลายไปทั่วสารทิศ จนบานดอนไดรับขนานนามวา บานดอนไกดี คร้ังสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เสดจ็ไปประทับเปนองคประกันในประเทศพมา ก็นําไกที่มีเชื้อสายดังกลาวไปดวย และไดนําไกขึ้นชน ชนะตอหนาพระที่นั่งเจากรุงหงสาวดี พระมหากษัตริยพมาตรัสวา ไกเชลยตัวนี้ดีหนักหนา จึงเปนที่กระเทือนพระราชหฤทยัของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเปนยิ่งนกั ทําใหทรงรําลึกถึงเมืองไทยที่ถูกพมาขาศึกครองอยูในระหวางนั้นแลวทรงหาทางเสด็จกลับมากอบกูชาติไทยใหฟนคืนสูความเปนเอกราช มาจนตราบเทาทุกวนันีว้ัดที่สรางที่บานดอนไกดีจึงชื่อวา วัดดอนไกดี ปจจุบันดวงตราประจาํวัดดอนไกดีจึงมีสัญลักษณไกตัวผูนัน้อยู หลวงพอโต ประวัติความเปนมา หลวงพอโตพระพุทธรูปประธาน ประจําอุโบสถวัดดอนไกดี

Page 89: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

77

ตําบลตลาดกระทุมแบน อําเภอกระทุมแบน จังหวัด สมทุรสาคร เปนพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหินทราย หอหุมดวยปูนลงรักปดทอง ปางสมาธิ ขนาดหนาตักกวาง 69 นิ้ว สูง 89 นิ้ว เปนประติมากรรมสมัยอยุธยานาจะสรางพรอมอุโบสถ ซ่ึงสรางในสมัยอยธุยา ประมาณ 400 ปมาแลว หลวงพอโต เปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวอําเภอกระทุมแบนและอําเภอใกลเคยีงใหความเคารพนับถือศรัทธา ทางวัดดอนไกดีไดจัดงานประจําปปดทององคหลวงพอโต เปนประจําทุกป คือในชวงเทศกาลตรุษจีน ประชาชนทุกคนในทองถ่ินตางใหความศรัทธาและทํานุบํารุงใหหลวงพอโต ซ่ึงเปนที่พึ่งทางจิตใจ ใหอยูคูชุมชนวัดดอนไกดีสืบไป ของดีแหงวัดดอนไกดีท่ีนาภาคภูมิใจ - หอเก็บพระไตรปฎก ช้ันลางมีบอน้ําไวกันมด และปลวกทําลายพระไตรปฎก - ศาลาการเปรียญไมสัก สรางดวยไมสักทองทั้งหลัง ที่ทรงคุณคาการอนุรักษ - อุโบสถสรางในสมัยอยุธยา ลักษณะคลายเรือสําเภา - โรงเรียนพระปริยัติธรรม เปนที่ศึกษาเลาเรียนธรรมะของพระสงฆ และสามเณร - หลวงพอโตพระพุทธรูปสมัยอยุธยา ประดิษฐานเปนพระประธานอยูในอุโบสถมาชานาน - ศาลารูปเหมือน เปนที่ประดิษฐานรูปเหมือนอดีตเจาอาวาสวัดดอนไกด ี 4. สระหลวงปูคูวัดดอนไกด ี ประวัติและความเปนมา จากการบอกเลาของประชาชนและผูสูงอายุ ที่อาศัยอยูในบริเวณพืน้ที่ของวัดดอนไกดี ไดกลาววา เมื่อประมาณ 100 ป ขึน้ไป สระแหงนี้ไดขุดขึ้นโดยความรวมมอืของประชาชน ชุมชนวัดดอนไกดี ในป พ.ศ. ใดไมปรากฏ โดยสระนี้มขีนาดกวาง 20 เมตร ยาว 120 เมตร และจากคําบอกเลาของนายหลง คงภูมิ อดีตนกัการภารโรงเรียนเทศบาลวดัดอนไกดี ปจจุบันอายุ 77 ป และนายโกวิทย กนึพันธ กรรมการวัดดอนไกดี ไดเลาวา สระแหงนี้เปนสระทีม่ีความสําคัญมาแตอดีต ในฤดูแลง ซ่ึงยังไมมีเขื่อนหรือคันกั้นน้ําเหมอืนในปจจุบันน้ําในแมน้ําลําคลองจะแหงและสกปรก สวนน้ําในแมน้ําทาจีนก็จะเค็ม เนื่องจากน้ําทะเลหนุน ทําใหน้ําในคู คลอง มีความเค็มไมสามารถนําน้ํามาใชอุปโภคบริโภคได ชาวบานชาวสวนไดรับความเดือดรอน แตบริเวณสระแหงนี้จะมีประตูปด-เปดน้ํา กั้นไมใหน้ําเค็มเขามาในสระทําใหน้ํามีอยูเต็มสระและใสสะอาด จึงเปนที่นาอัศจรรยเหมือนกับวามีตาน้ําอยูใตสระ ชาวบานก็จะไดอาศยัน้ําจากสระแหงนี้ไปใชในการอุปโภคบริโภคตลอดฤดูแลงของทุกป ซ่ึงเปนผลใหสระแหงนีเ้ปนที่รูจักกันดีในหมูชาวบานในชุมชน และบริเวณใกลเคียงจะมีรถเข็น เรือบรรทุกโอง ถัง กะละมัง กระปองมาตักน้ําอยางเนืองแนน

Page 90: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

78

หลวงปูฮะหรือพระสมุทรคุณาจารย เจาอาวาสวัดดอนไกดใีหความสนใจและดูแลไมใหประชาชนมาทําสกปรกหรือทําลายสระแหงนี้ กอปรกับชาวบานก็ใหความสําคัญและเรียกสระแหงนีว้า สระหลวงปู เร่ือยมาจนถึงปจจุบัน หลังจากที่หลวงปูฮะไดมรณภาพ เมื่อ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 สระแหงนีก้็ขาดการดูแลจากชาวบาน หรือแมกระทั่งพระสงฆในวัดก็ไมเห็นความสําคัญ จึงเปนแหลงทิ้งเศษขยะ และเศษอาหารที่เหลือจากการฉันของพระก็จะนํามาโยนใหปลาและสตัวน้ําอ่ืน ๆ ในสระกิน สระจึงตื้นเขินและสกปรก กอปรกับทางวัดก็ขดุบอบาดาลใชเอง และมีน้ําประปาเกิดขึน้ ความสําคัญของสระหลวงปูจึงลดลง และอีกสวนหนึ่งชาวบานก็มกัจะนํา เตา ปลา และตะพาบ มาปลอยลงในสระ ไมวาจะปลอยเพื่อทาํบุญ หรือเบื่อที่จะเลี้ยง จงึมีสัตวน้ําขนาดใหญหลายชนิดอาศัยอยูในสระแหงนี้ ชาวบานนยิมนาํอาหารมาใหก็เปนสาเหตุหนึง่ที่ทําใหสระสกปรก ดังนั้นเพื่อใหสระแหงนี ้ มีคุณคาควรแกการอนุรักษ จึงเห็นวาการที่ใหนกัเรียนไดเรียนรูประวัต ิ และความเปนมาของสระหลวงปูจึงเปนการกระตุนใหนักเรยีนไดตระหนกัและหวงแหนสถานที่สําคัญในชุมชน และรวมกันดูแลรักษาใหเปนแหลงทองเที่ยว และเกิดความภาคภูมิใจในทองถ่ินของตน ปจจุบันสระน้าํแหงนีเ้ปนที่อยูอาศัยของสัตวน้ํานานาชนดิ และเปนแหลงแพรพันธุสัตวน้ํา เพราะสระแหงนีเ้ปนเขตอภัยทาน และพักหยอนใจในยามวาง

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ จากการศึกษางานวิจยัที่เกีย่วของทั้งในประเทศและตางประเทศ พบวามีผูทําวิจยัที่เกี่ยวของมีรายละเอียดดังนี ้งานวิจัยในประเทศ อัจฉราพรรณ เกิดแกว (2535: 89-94) ไดศึกษาผลการใชแบบฝกหัดเสริมที่มตีอความสามารถในการแกโจทยปญหาการคณู หาร ของนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่เรียนคณิตศาสตรโดยใชแบบฝกแกโจทยปญหาการคูณ หาร เปนแบบฝกเสริมในชัน้เรียน มพีัฒนาการในการแกโจทยปญหาคูณ หาร ดีขึ้นอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนที่เรียนคณิตศาสตรทั้งกลุมที่ใชและไมใชแบบฝกมีความสามารถในการแกโจทยปญหาคูณ หาร ไมแตกตางกัน แตเมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบวา นักเรียนที่ใชแบบฝก มีความสามารถในการแกโจทยปญหาคูณ หารดีกวานักเรียนกลุมออน ที่ไมใชแบบฝก อีกทั้งนักเรยีนที่เรียนคณติศาตรโดยใชแบบฝกแมจะไดรับการฝกทักษะการคิดคํานวณ

Page 91: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

79

นอยลงไปบาง แตดานทักษะการคิดคํานวณ ไมแตกตางจากนกัเรียนทีไ่มใชแบบฝก สวนในการแกโจทยปญหาพบวา นกัเรียนที่ใชแบบฝกมคีวามสามารถในการแกโจทยปญหาทั้งบวก ลบ คูณ และหาร ดีกวานกัเรียนที่ไมไดใชแบบฝก ในปเดียวกัน ยุพด ี กะจะวงษ และคณะ (2535: 22-26) ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร เร่ือง การคูณ และการหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 4 จากการสอนโดยใชแบบฝกหัดที่สรางขึ้น พบวา ความสามารถในการแกโจทยปญหาของกลุมทดลอง กลุมควบคุม แตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และความสามารถในการวิเคราะหโจทยปญหาของกลุมทดลองและกลุมควบคุมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เรืองรอง ศรแกว (2539 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจยัเร่ืองการใชแบบฝกที่เนนหลักการทางคณิตศาสตรเพื่อเสริมทักษะการคิดคํานวณสําหรับนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที ่ 6 ในการวิจยัคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสราง และใชแบบฝกที่เนนหลักการทางคณติศาสตรเพื่อเสริมสรางทักษะการคิดคํานวณ ของนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 6 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิดานการคิดคํานวณกอนและหลังการใชแบบฝก เพื่อหาขนาดของผลกระทบของแบบฝกตอความสามารถดานการคิดคํานวณ และเพื่อศึกษากระบวนการใชหลักการทางคณติศาสตรในการคิดคํานวณ กลุมตัวอยางเปนนักเรียนในกลุมโรงเรียนอุดรศึกษา อําเภอเมือง จังหวัดลําพนู จํานวน 237 คน แบงเปนกลุมทดลอง จํานวน 20 คน ไดแก นักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ข โรงเรียนบานอโุมงค เปนกลุมที่ไดรับการฝกโดยใชแบบฝกที่ผูวิจยัสรางขึ้น สวนกลุมควบคุมไดแก นักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6 ก โรงเรียนบานอุโมงค จํานวน 20 คน จากโรงเรยีนในกลุมเดยีวกันอกี 8 โรงเรียน จํานวน 197 คน รวมทั้งส้ิน 217 คน เปนกลุมที่ไดรับการสอนตามคูมือครูคณิตศาสตร โดยครูคณิตศาสตรของแตละโรงเรียน เครื่องมือที่ใชในการวจิัยประกอบไปดวย แบบฝกที่เนนหลักการทางคณิตศาสตร จํานวน 40 ชุด คูมือการใชแบบฝก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการคิดคํานวณ ซ่ึงวดัสมรรถภาพในการคิดคํานวณกับสมรรถภาพในการคดิเลขเร็ว และแบบสังเกตการใชหลักการทางคณิตศาสตรในการคิดคํานวณ โดยมีขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ คือ 1. ศกึษาแนวคดิทฤษฎ ี ตํารา งานวจิัยที่เกี่ยวของ และวเิคราะหการสอน เพื่อนํามาเปนแนวทางในการสรางแบบฝก 2. ศึกษาหลักสูตรคณิตศาสตร 3. สํารวจ วิเคราะหหนังสือเรียนคณิตศาสตรและคูมือครูคณิตศาสตร 4. ทําการวิเคราะหหลักการทางคณิตศาสตร 5. จดัสรางเครื่องมือวิจัย 6. จดัพิมพและเตรียมนําไปทดลองใชกับกลุมตัวอยางตามแผนการที่วางไว ผลการวจิยัพบวา แบบฝกที่เนนการใชหลักทางคณิตศาสตรจํานวน 40 แบบฝกสามารถพัฒนาทักษะการคิดคํานวณของนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โดยผลสัมฤทธิ์ทางดานการคดิคํานวณของนักเรียนที่ไดรับการฝกโดยใชแบบฝกสูงกวานักเรียนที่สอนตามคูมือครู อยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และผลสัมฤทธ์ิ

Page 92: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

80

ดานการคิดคํานวณของนักเรยีนที่ไดรับการฝกหลังการฝกสูงกวากอนไดรับการฝก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 สวนการหาขนาดของผลกระทบของแบบฝก (Effect Size) ตอความสามารถดานการคิดคํานวณของนักเรยีนที่ไดรับการฝกโดยใชแบบฝกมีคา 1.82 ซิกมา หรืออยูในตําแหนงเปอรเซนไตลที่ 94.66 และผลการศึกษากระบวนการใชหลักการทางคณิตศาสตรในการคิดคํานวณ ปรากฏวา นักเรียน 13 คน ใชหลักการทางคณติศาสตรในการคิดคํานวณไดถูกตองระหวาง 18-20 ขอ 5 คน อยูระหวาง 15-17 ขอ 1 คน ใชถูก 13 ขอ และอีก 1 คน ใชถูกตอง 9 ขอ จากจํานวนนักเรยีนทั้งหมด 20 คน และขอสอบ 20 ขอ นอกจากนี้ยังพบวามีนักเรียนจํานวนหนึ่งใชหลักการทางคณิตศาสตรในการคิดคํานวณ แตไมประสบผลสําเร็จในการคิดคํานวณใหไดคําตอบที่ถูกตอง ตรงขามกับอีกจํานวนหนึ่งสามารถหาคําตอบไดถูกตองโดยไมไดใชหลักการทางคณิตศาสตรชวยในการคํานวณ จากผลการวิจัยดังกลาวสรุปไดวาแบบฝกที่เนนหลักการทางคณิตศาสตร เพื่อเสริมสรางทักษะการคิดคํานวณสามารถพัฒนาความสามารถดานการคิดคํานวณใหแกผูเรียนไดดกีวากาสอนตามคูมือครูคณิตศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 อาวุธ ปะเมโท (2540 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเร่ือง ผลการใชแบบฝกเสริมทักษะการคิดคํานวณ เรื่องการการบวกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ในจังหวดันครราชสีมา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร โดยใชแบบฝกเสรมิทักษะการคิดคํานวณ เร่ือง การบวก สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 1 มีขั้นตอนในการพัฒนาคือ 1. ศึกษาขอมูลพื้นฐาน 2. วางแผนวิจัยและพฒันาผลสัมฤทธ์ิ 3. สรางเครื่องมือในการวิจยั 4. ตรวจสอบแกไขเครื่องมอืในการวิจัย 5. หาประสทิธิภาพของเครื่องมือ 6. ปรับปรุงแกไขเครื่องมือ 7. นําเครื่องมือไปใชเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8. ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 9. วิเคราะหขอมูล 10. สรุปและอภิปรายผล 11. เขียนรายงานการวจิัย โดยประชากรและกลุมเปาหมายเปนนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2539 โรงเรียนนิคมสรางตนเองลําคะคลอง 1 สํานักงานการประถมศกึษาอําเภอปากชอง จังหวดันครราชสีมา จํานวน 32 คน จากการเลอืกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แผนการสอนจํานวน 15 แผน แบบฝกเสริมทักษะการคิดคํานวณ เร่ือง การบวก จํานวน 15 ชุด แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการสอน แบบสัมภาษณ แบบวดัผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการวิจัยพบวานักเรียนรอยละ 84.37 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนผานเกณฑมาตรฐาน (รอยละ 80) โดยคาเฉลี่ยของคะแนนนักเรยีนทั้งชัน้คิดเปนรอยละ 83.59 และการใชแบบฝกเสริมทักษะการคิดคํานวณ มีผลตอทักษะการคิดคํานวณ เร่ืองการบวก ชวยใหเกดิการพัฒนาการเรียนการสอนไปในทางทีด่ขีึ้น ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรสูงขึ้น อีกทั้งตัวนักเรียนเองก็เกดิความพึงพอใจในวิชาคณิตศาสตรอีกดวย

Page 93: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

81

วิภาดา ปญญาประชุม (2540 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาถึงแบบฝกที่มีประสิทธิภาพ วิชาคณิตศาสตร เร่ือง โจทยปญหา การคูณ การหาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 มีขั้นตอนในการพัฒนา คือ 1. ขั้นการสรางแบบฝกเสริมทักษะ 2. การหาประสิทธิภาพของแบบฝกเสริมทักษะ 3. กําหนดการใหคะแนนประเมนิผลแบบฝกเสริมทักษะ กลุมตัวอยางทีใ่ชเปนนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ภาคเรยีนที่ 1 ปการศึกษา 2540 โรงเรียนสําราญ-ประภาศรี สํานักงานการประถมศึกษาอําเภอหนองกงุศรี สํานักงานการประถมศกึษาจังหวดักาฬสินธ จํานวน 30 คน ใชเวลาในการทดลอง 24 คาบ คาบละ 20 นาที เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองโจทยปญหาการคูณ การหาร จํานวน 5 ชุด และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยแบบฝกทีส่รางขึ้น ประกอบไปดวย ช่ือเร่ือง จุดประสงคเชิงพฤติกรรม คําส่ัง ตัวอยาง แบบฝก แบบทดสอบยอย และตารางบันทึกความกาวหนา โดยการวิเคราะหขอมูลใชคารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐานโดยใช t-test ผลการวิจัย พบวา แบบฝกเสริมทักษะวิชาคณิตศาสตร เร่ือง โจทยปญหา การคูณการหาร ช้ันประถมศกึษาปที่ 3 มีประสิทธิภาพ 77.71/79.57 สูงกวาเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไว และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง โจทยปญหา การคูณการหาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .01 ซ่ึงผลการวิจัยดังกลาวเปนสิ่งยืนยันไดวา แบบฝกชดุนี้เหมาะสมกบัความสามารถในการรับรูของผูเรียน กิจกรรมที่แปลกใหมไปจากบทเรียนปกต ิ พรอมทั้งรูปแบบที่สวยงามยังเปนตัวกระตุนใหนักเรยีนเกิดความสนใจ และกระตือรือรนในการคนหาคําตอบ นอกจากนี้ในการสรางแบบฝกผูวิจัยไดจดัรูปแบบใหมีความสอดคลองกับความตองการของผูเรียน ซ่ึงชวยใหเกดิการพัฒนาการเรียนการสอนไปในทางทีด่ขีึ้น ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรสูงขึ้น รัชฎาภรณ พรมลา (2541 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลการสรางแบบฝกเสริมทักษะเพือ่สอนซอมเสริมทักษะการคดิคํานวณ เร่ืองการคูณการหาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4/1 โรงเรียนบานลุมพุกคลองแกว สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอภูสิงห สํานักงานการประถมศึกษาจงัหวัดศรีสะเกษ จํานวน 24 คน ไดมาโดยวิธีการเลือกอยางเจาะจง (Purposive Sampling) แบงเปน 2 กลุม คือกลุมเกงจํานวน 13 คน และกลุมออนจํานวน 11คน แบบฝกที่สรางขึ้น เปนแบบฝกทีป่ระกอบดวยคําแนะนํา เนื้อหาที่นกัเรียนศึกษาคนควาดวยตนเอง และแบบฝกในแตละเรื่อง ใชเวลาในการฝก 9 วัน วนัละ 3 คาบ ทดสอบหลังเรียน 3 คาบ รวม 33 คาบ คาบละ 20 นาที ผลการศึกษาพบวา แบบฝกเสริมทักษะเพื่อสอนซอมเสริมทักษะการคิดคํานวณ เร่ืองการคูณการหาร ที่ผูศึกษาคนควาสรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 77.39/76.67 โดยที่นักเรียนมีทกัษะการคิดคํานวณหลังจากไดรับการซอมเสริม

Page 94: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

82

ของนักเรียนกลุมเกงหลังไดรับการฝกจากแบบฝกเสริมทักษะ สูงกวาคะแนนทดสอบกอนไดรับการฝกจากแบบฝกเสริมทักษะอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และทักษะการคิดคํานวณหลังไดรับการซอมเสริมของนักเรียนกลุมออน หลังไดรับการฝกจากแบบฝกเสริมทักษะ สูงกวาคะแนนทดสอบกอนไดรับการฝกจากแบบฝกเสริมทักษะอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วชิรนุช สินธุชัย (2541 : บทคัดยอ) ไดทาํการศึกษาการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะคิดเลขเร็ว เร่ืองการคูณ ช้ันประถมศึกษาปที ่ 6 โดยมีจุดมุงหมายเพื่อสรางแบบฝกเสริมทักษะคิดเลขเร็ว เร่ืองการคูณ ช้ันประถมศึกษาปที ่ 6 ที่มีคุณภาพตามเกณฑ 75/75 และเพื่อเปรียบเทียบทกัษะการคิดเลขเร็วเร่ืองการคูณ ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6 ระหวางคะแนนสอบกอนฝกและหลังฝกดวยแบบฝกเสริมทักษะคดิเลขเร็ว กลุมตวัอยางไดแก นักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ก โรงเรียนกุดปลาคาวราษฎรบํารุง สํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเขาวง สํานักงานการประถมศึกษาจงัหวัดกาฬสินธุ จํานวน 34 คน ไดมาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใหฝกทักษะคิดเลขเร็วตามแบบฝกที่ผูศึกษาคนควาสรางขึ้น ใชเวลาในการฝก 22 วัน วันละ 20 นาที ผลการศึกษาพบวา แบบฝกเสริมทักษะการคิดเลขเร็ว เร่ืองการคูณ ที่ผูศึกษาคนควาสรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 92.85/86.16 ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่ตั้งไวและคะแนนทกัษะการคิดเลขเร็ว หลังฝกดวยแบบฝกสูงกวาคะแนนกอนฝก ดวยแบบฝกเสริมทักษะการคิดเลขเร็วเร่ืองการคูณ อยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ 0.1 นิตยา บุญสุข (2541 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาแบบฝกเสริมทักษะวชิาคณิตศาสตร เร่ืองโจทยปญหาเศษสวน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 พบวา แบบฝกเสริมทักษะวชิาคณิตศาสตร เร่ืองโจทยปญหาเศษสวน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 มีประสิทธิภาพ 87.02/75.77 ซ่ึงสูงกวาเกณฑ 75/75 และความสามรถในการแกโจทยปญหาวิชาคณติศาสตร เร่ืองโจทยปญหาเศษสวน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วิไลวรรณ พุกทอง (2542 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องโจทยปญหาการคณูการหาร จํานวนที่ตวัตั้งมสีองหลัก ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบานหนองปลามนั สังกัดสํานักงานการประถมศกึษาอําเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม จํานวน 25 คนไดมาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา คอืแบบฝกเสริมทักษะวิชาคณติศาสตร เรื่องโจทยปญหาการคูณ การหาร จํานวนที่ตวัตั้งมีสองหลัก ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 จํานวน 6 ชุด โดยแบบฝกที่สรางขึ้นประกอบไปดวย คํานํา คําชี้แจง ช่ือเร่ือง จุดประสงค คําส่ัง แบบฝก ตารางบันทึกคะแนนความกาวหนา แบบทดสอบยอย และเฉลย ผลการศึกษาพบวา แบบฝกเสริมทักษะวิชาคณิตศาสตร เร่ืองโจทยปญหาการคูณการหาร จํานวน

Page 95: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

83

ที่ตัวตั้งมีสองหลัก ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 มีประสิทธิภาพ 82.50/81.07 ซ่ึงสูงกวาเกณฑ 75/75 ที่ตั้งไว และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดวยแบบฝกเสริมทักษะสูงกวากอนเรียนดวยแบบฝกเสริมทักษะอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วารี บุษบงค (2542 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะทีม่ีประสิทธิภาพ วิชาคณิตศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 เร่ือง การคณู โดยมีจดุมุงหมายเพื่อพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะวิชาคณติศาสตร เร่ืองการคูณ ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2542 โรงเรียนบานกุดฝงแดง สํานักงานการประถมศึกษาอําเภอกุฉินารายณ จังหวดักาฬสินธุจํานวน 21 คน ซ่ึงไดมาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบไปดวย แผนการสอน แบบฝกเสริมทักษะ และแบบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผลการวิจยัพบวา แบบฝกเสริมทักษะเรื่อง การคูณ การหาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 มีประสิทธิภาพ 78.80/78.90 และนักเรียนที่เรียนดวยแบบฝกเสริมทักษะมีคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .01 กลาวคือการสอนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะทําใหนกัเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่สูงขึ้น มีความกาวหนาทางการเรียน สัทธา สืบดา (2545 : บทคัดยอ) ไดศกึษาการพัฒนาชุดการสอนเรื่องโจทยปญหาคณิตศาสตร โดยใชขอมูลทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ซ่ึงมีขั้นตอนการพัฒนาชุดการสอน 4 ขั้นตอน คอื 1. ศึกษาขอมูลพื้นฐาน 2. พัฒนาชุดการสอน 3. ทดลองใชชุดการสอน 4. ประเมินและปรับปรุงแกไข โดยกลุมตัวอยางเปนนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวัดเขารักษ สํานักงานการประถมศึกษาอําเภอหวยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี จาํนวน 45 คน ไดมาดวยวิธีการสุมอยางงาย โดยชุดการสอนที่สรางขึ้นทดลองใชในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2545 เปนระยะเวลา 6 สัปดาห สัปดาหละ 9 คาบ เครื่องมือที่ใชประกอบดวย แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม ประเด็นการสนทนากลุม ชุดการสอน แบบประเมินผลงานนักเรียน และแบบทดสอบ ผลการวิจัย พบวา 1. ขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาชุดการสอน เรื่องโจทยปญหาคณิตศาสตร โดยใชขอมูลทองถ่ินสําหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ซ่ึงประกอบไปดวยขอมูลทองถ่ิน 5 เร่ือง คือ ยอนรอยหวยกระเจาหนองนาทะเล , พระปรางคลํ้าคาเขารักษ , เสนไหมมดักรอทอผืนผา , รอยไทไทยทรงดํา และชวนชื่นร่ืนสราญกับประเพณีทองถ่ิน พบวา นักเรียนครูและผูที่เกีย่วของตองการใหมีการพัฒนาชดุการสอนโดยใหนกัเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง เรียนรูเร่ืองที่ใกลตัวสูเร่ืองที่ไกลตัวและจากแหลงเรียนรูในชุมชน 2. ชุดการสอนที่สรางขึ้นประกอบดวย คํานํา วัตถุประสงค คูมือครู คูมือนักเรียน ส่ือการเรียนการสอน โดยมีเนื้อหา 5 เรื่อง โจทยปญหาการบวก : ยอนรอยหวยกระเจาหนองนาทะเล โจทยปญหาการลบ : พระปรางคลํ้าคาเขารักษ โจทยปญหาการคูณ : เสนไหมมัดกรอทอผืนผา โจทยปญหาการหาร : รอยไทไทยทรงดํา และ

Page 96: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

84

โจทยปญหาคณิตศาสตร: ชวนชื่นร่ืนสราญกับประเพณีทองถ่ิน ซ่ึงชุดการสอนมีคาประสิทธิภาพ 80.17/80.81 3. นําชุดการสอนไปทดลองใชกับนกัเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 โดยผูสอนและผูวิจัยรวมกันในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยมีการศึกษาแหลงเรียนรูในชมุชน ขณะทดลองนักเรียนมีความสนใจ และตั้งใจเรียนปฏิบัติกิจกรรมไดดี 4. นักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับโจทยปญหาคณิตศาสตรกอนและหลังใชชุดการสอนแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังใชชุดการสอนมีคะแนนสูงกวากอนใช นักเรยีนเห็นดวยตอชุดการสอนในระดับมาก ศรีสมร ประเสริฐศรี (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการพัฒนาชุดการเรียนรู เร่ืองโจทย ปญหาคณิตศาสตร โดยใชแหลงเรียนรูในทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 2 ซ่ึงมีขั้นตอนในการพัฒนาชุดการเรียนรู 4 ขัน้ตอน คือ 1. ศึกษาขอมูลพืน้ฐาน 2. พัฒนาชุดการเรียนรู 3. ทดลองใชชุดการเรียนรู 4. ประเมนิและปรับปรงุแกไข โดยกลุมตัวอยางเปนนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ อําเภอสามพราน จังหวดันครปฐม สังกัดสํานักบริหารงานคณะกรรมการการสงเสริมการศึกษาเอกชน จํานวน 50 คน ไดมาดวยวิธีการสุมอยางงาย ชุดการเรียนรูที่สรางขึ้นทดลองใชในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 เปนระยะเวลา 3 สัปดาห สัปดาหละ 5 คาบ เครื่องมือที่ใชประกอบดวย แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม ชุดการเรียนรู และแบบทดสอบ ผลการวิจัย พบวา 1. นักเรียนและบุคคลที่เกี่ยวของตองการใหมีการพัฒนาชุดการเรียนรู โดยใหนักเรียนไดเรียนรูจากแหลงเรียนรูในทองถ่ินและเรยีนรูจากสิ่งที่ใกลตัว นักเรียนตองการใหชุดการเรียนรูมีเนื้อหานาสนใจ มีรูปภาพการตนูและสีสันสวยงาม 2. ชุดการเรียนรูที่สรางขึ้นประกอบดวย คํานํา วัตถุประสงค คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู คูมือนักเรียน และแบบทดสอบ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการบวก ลบ คณู และหาร ชุดการเรียนรูมีประสิทธิภาพ 82.36 / 83.76 สูงกวาเกณฑ 80 / 80 ที่กําหนดไว 3. นําชุดการเรียนรูไปทดลองกับนกัเรียนโดยใหเรียนรูรวมกันเปนกลุม ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงาน และศกึษาดวยตนเองโดยมีครูชวยแนะนํา นักเรียนใหความรวมมือในการปฏิบัติกิจกรรมและสนุกสนานกับการเรียนรู 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรยีนดวยชุดการเรียนรูมีคะแนนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนเห็นดวยกับชุดการเรียนรูในระดบัมาก โดยเหน็วาชุดการเรียนรูมีรูปแบบที่นาสนใจชวยกระตุนใหนักเรียนเกดิการเรยีนรู มีความสุขในการเรียนและความคิดสรางสรรค มีความเขาใจเกีย่วกับชุมชนในทองถ่ิน ทําใหรักและภูมใิจในทองถ่ินของตน งานวิจัยตางประเทศ เกย และกัลลาเกอร (Gay and Gallagher 1976:51-59) ไดศึกษาเปรียบเทียบระหวางวิธีสอน โดยใชนักเรียนทําแบบฝกหัด อยางสม่ําเสมอ ในชวงเวลาของการเรียนการสอนเรื่องนั้น ๆ

Page 97: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

85

กับการสอนโดยมีการทดสอบยอยระหวางการเรียนการสอนในเรื่องเดียวกัน ปรากฎวากลุมนกัเรยีนที่เรียนโดยมีการทดสอบยอยขณะเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมนักเรียนที่เรียน โดยฝกทักษะดวยการทําแบบฝกหัดเพียงอยางเดียวอยางมีนัยสําคญั ลอเรย (Lowrey 1978 : 817) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการใชแบบฝกทักษะกับนกัเรียนระดับ 1 ถึงระดับ 3 จาํนวน 87 คน พบวา 1.) นักเรียนที่ไดรับการฝกโดยใชแบบฝกมีคะแนนทดสอบหลังการทําแบบฝกหัดมากกวาคะแนนกอนทําแบบฝกหัด 2.) แบบฝกหัดเปนเครื่องมือที่ชวยนกัเรียนในการเรียนรูและชวยในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคลดวย ทั้งนีเ้พราะนกัเรียนมี มีความสามารถในดานภาษาแตกตางกัน การนําแบบฝกหัดมาใชเปนการชวยใหนกัเรียนประสบผล สําเร็จในการเรียนมากยิ่งขึ้น Davidson ( 1975) ไดศึกษาผลของการฝกที่มีตอความสามารถในการบวก ลบเลขโดยศึกษาวาถาเด็กไดรับการฝกตัวเลขคูบวกตาง ๆ จนครบทุกตัวจะมีผลตอการบวกลบเลข ซ่ึงเปนการคิดแบบเปลี่ยนกลับตามทฤษฎีของ Piaget หรือไม และเด็กในระดับชั้นเรียนใดที่ไดผลจากการฝกมากที่สุด กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศกึษาและมัธยมศึกษาจํานวน 1,007คนตั้งแตระดับเกรด 1-9 แบงเปนกลุมทดลองและกลุมควบคุม กลุมตัวอยางทกุคนไดรับการทดสอบ 3 ครั้ง คือกอนการทดลอง หลังการทดลอง และหลังการทดลอง 2 สัปดาห ผลการวิจยัพบวา นักเรยีนเกรด 1ยังไมไดรับผลจากการฝกทักษะนีส้วนนักเรียนตัง้แตเกรด 2-9 มีความสามารถทางการบวกและลบเพิ่มขึน้อยางมีนยัสําคัญ กิฟฟน (Giffune 1979: 34-38) ไดศึกษาผลการสอนโจทยปญหาที่มุงเนนความเขาใจโจทยปญหา ฝกทักษะการอานโจทยที่มตีอทักษะการเขียนสมการ การหาคําตอบ ความคงทน ในการเขียนสมการ พบวา กลุมทดลองมีความสามารถทั้ง 3 ดาน สูงกวากลุมควบคุม อยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .01 ฮอลล (Hall 1979 :119) ไดศึกษาผลของการสอน วิเคราะหการแกปญหาคณิตศาสตรและความสามารถ ในการวเิคราะห ตวัอยางประชากรเปนนักเรยีนชัน้ป.5 จํานวน 60 คน ซ่ึงแบงเปนกลุมทดลองและกลุมควบคุมกลุมละ 30 คน โดยแตละกลุมประกอบดวยนักเรยีนที่คาดคะเนเกงและไมเกงกลุมละ 15 กลุมทดลอง ไดเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะหเปนเวลา 8.5 ช่ัวโมง แลวทําการทดสอบ การวิเคราะห และการแกปญหาคณติศาสตร ผลปรากฏวา 1. นักเรียนที่มีความสามารถในการวิเคราะหสูง มีความสามารถในการแกโจทยปญหา คณิตศาสตรสูงกวานักเรียนที่มีความสามารถในการวิเคราะหต่ํา 2. นักเรียนไดเรียนการวิเคราะหมีความสามารถในการแกโจทยปญหาสงูกวา นักเรียนไมไดเรียนการวิเคราะห

Page 98: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

86

มูราสกี (Muraski 1979:11) ไดศึกษาผลการสอนอานในการคณิตศาสตรกับความสามารถในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร ตัวอยางประชากรเปนนักเรยีนชั้นป.6 แบงเปนกลุมทดลองและลุมควบคุม กลุมละ 13 คน กลุมทดลอง ไดรับการสอนอาน 3 บทเรียน แตละบทเรียนแบงออกเปน 5 เรือ่ง ใชเวลา 5 สัปดาห ตอจากวดัความสามารถในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรของกลุมควบคุมและกลุมทดลอง ผลการวิจัยปรากฏวา กลุมทดลอง มีความสามารถในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรสูงกวากลุมควบคุมอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 พุท (Put 1979: 234-237) ไดศึกษาถึงปจจยัที่สงผลตอการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรเมื่อมีกระบวนการแกปญหาแตกตางกัน ตัวอยางประชากรเปนนกัเรียนระดับปที่ 5 จํานวน 2 หองเรียน หองแรกไดรับการสอนวิธีแกปญหา อีกหองพยายามใหไดรับประสบการณตรงจากการพยายามในการแกปญหาตาง ๆ เอง ใชเวลาทดลอง 4 สัปดาห แลววดัผลสัมฤทธ์ิในการแกโจทยปญหาของนักเรียนทั้งสอง พบวานกัเรียนทั้งสองกลุมมีความสามารถในการแกโจทยปญหาไมแตกตางกัน

สรุป

ในการศึกษาวรรณกรรมที่เกีย่วของกับงานวจิัยครั้งนี้มีสาระที่สําคัญที่เกี่ยวของ กับการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคณูการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ซ่ึงไดแก หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 การเรียนการสอนคณิตศาสตร การเรียนการสอนแบบบูรณาการ ทั้งนี้ไดกลาวถึงแนวนโยบายที่มุงเนนใหความสําคญัในการปรับปรุงการเรียนการสอนคณิตศาสตร โดยมวีัตถุประสงคหลักในการพฒันาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณติศาสตรของผูเรียนในระดับประถมศึกษา ตลอดจนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคตามจุดมุงหมายของหลักสูตรและธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร โดยยดึแนวการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ อันสอดคลองกับหลักการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 โดยในการดําเนนิกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดจนการใชส่ือการสอนและใชเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่มีความหมาย และหลากหลายเพื่อใหผูเรยีนไดฝกทักษะใหไดในระดบัมาตรฐานการเรียนรูขั้นพื้นฐานของสาระการเรียนรูคณิตศาสตร การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 เปนกิจกรรมที่ตอบสนองตอแนวการจดัการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 โดยมุงใหผูเรียนมีความสามารถดานความรูความจํา ความเขาใจในสิ่งที่เรียนรูเร่ืองการคูณการหารโดยบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน ทั้งมีการ

Page 99: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

87

พัฒนาแบบฝกโดยยดึหลักทฤษฎีและหลักที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร หลักการสรางแบบฝก หลักทางจิตวทิยาที่เกีย่วกับการสรางแบบฝก ซ่ึงขั้นตอนในการพัฒนาประกอบไปดวย 4 ขั้นตอน คือ 1. ศึกษาขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ 2. การพัฒนา และหาประสิทธิภาพของแบบฝกเสริมทักษะ 3. การทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ 4.การประเมินและปรับปรุงแบบฝกเสริมทักษะ ในขณะเดยีวกนัจากการศึกษางานวิจยัที่เกี่ยวของทั้งภายในประเทศ และตางประเทศสรุปไดวาแบบฝกเสริมทักษะเปนนวัตกรรมที่สามารถทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู ตลอดจนมีความสามารถในการปฏิบัตแิละเจตคติทีด่ตีอการเรียนคณิตศาสตร ทัง้นี้เพื่อเปนการตอบสนองและสอดคลองกับหลักการจัดการเรียนรู และจุดมุงหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยไดนําเรื่องราวภูมปิญญาทองถ่ินมาบูรณาการรวมกับการสรางแบบฝกเสริมทักษะและการเรียนการสอนคณิตศาสตรเร่ืองการคูณการหาร จึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถ่ินของอําเภอกระทุมแบนและภูมิปญญาที่เปนบริบทรอบ ๆ โรงเรียน กับการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะเพือ่เปนแนวทางในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะตอไป

Page 100: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

88

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเร่ืองการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เปนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยมขีั้นตอนการดําเนินการวิจยั 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การวิจัย (Research) : การศึกษาขอมูลพื้นฐานเกีย่วกับการพัฒนาแบบฝก ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา (Development) : การพัฒนาและหาประสิทธภิาพแบบฝก ขั้นตอนที่ 3 การวิจัย(Research) : การทดลองใชแบบฝก ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนา (Development) : การประเมินผลและปรับปรุงแกไขแบบฝก ขั้นตอนที่ 1 ศกึษาขอมูลพื้นฐานในการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ วัตถุประสงค เพื่อศึกษาขอมูลพื้นฐาน เกีย่วกับการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร วิธีดําเนินการ 1. ศึกษาเอกสารนโยบายทางการศึกษาเกีย่วกบัการศึกษา การจัดการเรียนการสอน คณิตศาสตร จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิฉบับที่ 8 และ 9 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 โดยวเิคราะหเนื้อหา (Content Analysis) 2. วิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร เร่ือง การคูณการหาร โดยวเิคราะหเนื้อหา (Content Analysis) เพื่อศึกษาเนื้อหาของสาระการเรียนรูที่เกีย่วของกับภูมิปญญาในทองถ่ิน วาอยูในกลุมสาระการเรียนรูใดและมีเนื้อหาของหลกัสูตรในภาพรวมเรื่องอะไรบางที่นักเรียนจะไดเรียนรูใหสอดคลองและเหมาะสม

3. ศึกษาความตองการเกี่ยวกบัการพัฒนาแบบฝก และรูปแบบของแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ินดวยการสัมภาษณการสอบถามการสนทนากลุมโดยมีขั้นตอนดงัตอไปนี ้

Page 101: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

89 3.1 การสัมภาษณใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structure Interview)

ผูตอบแบบสัมภาษณถาม ไดแก ผูอํานวยการกองการศึกษา เทศบาลเมอืงกระทุมแบน จํานวน 1 คน ผูบริหารโรงเรียนจํานวน 2 คน ปลัดเทศบาลเมืองกระทุมแบนจํานวน 1 คน และครูผูสอนวิชาคณิตศาสตร จาํนวน 2 คน รวมจํานวน 6 คน โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 3.1.1 แบบสัมภาษณ เกี่ยวกับความตองการของผูอํานวยการกองการศึกษาเทศบาลเมืองกระทุมแบน ผูบริหารโรงเรียน ปลัดเทศบาล และครูผูวิชาคณิตศาสตรเกี่ยวกับความตองการในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ือง การคูณ การหาร สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structure Interview) มรีายละเอียดดังตอไปนี ้ ตอนที่ 1 แบบสัมภาษณเกีย่วกับสถานภาพและขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสัมภาษณในเรื่อง เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตําแหนง ประสบการณในการอบรมเกี่ยวกับการพัฒนาชุดแบบฝกเสริมทักษะ จํานวน 7 ขอ ตอนที่ 2 แบบสัมภาษณความคิดเห็นและความตองการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ จาํนวน 4 ขอ ในเรื่องความคิดเห็นเกี่ยวกับความสําคัญของการพัฒนาแบบฝกเสรมิทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน แนวทางการสงเสริมสนับสนุนใหนักเรียนไดการเรียนรูเร่ืองราวเกีย่วกับภูมปิญญาทองถ่ิน ความคิดเหน็ในเรื่องภูมิปญญาทองถ่ินในอําเภอกระทุมแบนที่ควรคาแกการศกึษา และความเหมาะสมของการนําภูมิปญญาทองถ่ิน 4 เร่ืองของอําเภอกระทุมแบน คือ 1. งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค 2. มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโตวัดดอนไกดี) 3. ชูชองามตากลวยไมไทย 4. สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี มาบูรณาการการเรียนรูจํานวน 4 ขอ ตอนที่ 3 แบบสัมภาษณปญหาและขอเสนอแนะอื่น ๆ เกี่ยวกับแบบฝกเสริมทักษะ จํานวน 1 ขอ ขั้นตอนการสรางแบบสัมภาษณ ผูวิจัยสรางแบบสัมภาษณ โดยมีขั้นตอนในการสรางดังตอไปนี ้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาเอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วของทางดานการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะและงานวิจัยทีเ่กีย่วกับสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เร่ืองการคูณ การหาร ขั้นตอนที่ 2 สรางแบบสัมภาษณตามขอมูลที่ไดจากขัน้ตอนที่ 1 โดยนํามากําหนดประเด็นในการสัมภาษณ ขั้นตอนที่ 3 นําเครื่องมือไปใหผูควบคุมวิทยานิพนธ และผูเชี่ยวชาญในดานเนื้อหาและดานภาษาตรวจสอบเพื่อหาความเทีย่งตรงเชิงเนื้อหา(Content Validity)แลว

Page 102: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

90

N

นํามาปรับปรุงแกไขเพื่อหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence: IOC) โดยใชเกณฑการกําหนดคะแนนความคิดเหน็ดังตอไปนี ้ (พวงรัตน ทวีรัตน 2540 : 177) +1 แนใจวาสอดคลอง

0 ไมแนใจวาสอดคลอง -1 แนใจวาไมสอดคลอง นําผลการพิจารณาในแตละขอไปหาดัชนคีวามเที่ยงตรงตามเนื้อหาและดัชนีความสอดคลอง (IOC) โดยมีสูตรดังตอไปนี ้ สูตร IOC = ∑ R

นําคาดัชนีความสอดคลองที่ไดมาเปรียบเทยีบกับเกณฑ ซ่ึงมีเกณฑในการพิจารณาความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดงันี้ คือ คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ที่คํานวณไดมากกวาหรือเทียบเทา 0.50 แสดงวาแบบฝกเสริมทักษะมีความเหมาะสมในดานตาง ๆ ถาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ที่คํานวณไดมคีานอยกวา 0.50 แสดงวาแบบฝกเสริมทักษะไมมีความเหมาะสมในดานตาง ๆ ขั้นตอนที่ 4 นําแบบสัมภาษณที่ไดจากการตรวจสอบมาปรับปรุงแกไข แลวนําไปสัมภาษณ ผูอํานวยการกองการศึกษา ผูบริหารโรงเรียน ปลัดเทศบาล และครูผูสอนวิชาคณิตศาสตร ขั้นตอนการสัมภาษณ ขั้นตอนที่ 1 ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรถึงผูอํานวยการกองการศึกษาเทศบาลเมืองกระทุมแบน และผูบริหารโรงเรียนเทศบาลวดัดอนไกดี เพือ่ขอความอนุเคราะหในการเกบ็รวบรวมขอมูล ขั้นตอนที่ 2 ผูวิจัยกําหนด วัน เวลา ที่จะสมัภาษณ และแจงใหผูสัมภาษณทราบลวงหนา ขั้นตอนที่ 3 ผูวิจัยดําเนินการสัมภาษณ โดยการแนะนาํตัวเอง พรอมทั้งบอกถึงวัตถุประสงคถึงการเก็บรวบรวมขอมูล และทําการสัมภาษณจนสิ้นสุด ขั้นตอนที่ 4 จัดเตรียมขอมลู ที่ไดจากการสัมภาษณ เพื่อใชในการวิเคราะหเชิงเนื้อหาตอไป การวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณ

Page 103: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

91 ขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณเกี่ยวกับความตองการ ในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน วิเคราะหสถานภาพและขอมูลทั่วไป โดยใชคารอยละ จากนั้นนําเสนอในรูปแบบตารางประกอบคําบรรยาย และวิเคราะหความคิดเหน็โดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และนําเสนอแบบพรรณนาความ 3.1.2 แบบสอบถาม จํานวน 1 ฉบับ ไดแกแบบสอบถามเกี่ยวกับความตอง การในการพฒันาแบบฝกเสรมิทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน และความตองการเกี่ยวกับเนือ้หา รูปแบบ เวลา และกจิกรรมการเรียนการสอนของแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณ การหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่5โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ีจํานวน 32 ชุด แบบสอบถามแบงออกเปน 3 ตอน มีดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไป ไดแก เพศ อาย ุ และอาชีพของผูปกครอง จํานวน 3 ขอ ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นและความตองการในการเรียนรู เร่ืองการคูณการหารโดยใชแบบฝกเสริมทักษะโดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน ในเรื่องความตองการเกี่ยวกบัวิธีการเรียนรู เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินในอําเภอกระทุมแบนทีน่ักเรียนสนใจและตองการเรยีน และความตองการในดานรูปแบบของแบบฝกเสริมทักษะการคูณการหารโดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ิน จํานวน 3 ขอ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับขอเสนอแนะอื่น ๆ จํานวน 1 ขอ ขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม ในการสรางแบบสอบถามเกี่ยวกับความตองการ ในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณ การหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน ขั้นตอนในการสรางดังตอไปนี ้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของและสํารวจขอมลูที่จําเปน ขั้นตอนที่ 2 นําขอมูลที่ไดจากขั้นตอนที ่1 มาสรางเปนแบบสอบถามโดยกําหนดเปนประเดน็คําถามแบบสํารวจรายการ (Check List) และแบบประเมิน ขั้นตอนที่ 3 นําแบบสอบถามไปใหอาจารยผูควบคุมวทิยานิพนธ พรอมทั้งผูเชี่ยวชาญทางดานเนื้อหา และดานภาษา เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) แลวนํามาปรับปรุงเพื่อแกไขดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence : IOC) โดยใชเกณฑการกําหนดคะแนนความคิดเหน็ดังตอไปนี ้ (พวงรัตน ทวีรัตน 2540 : 177 )

Page 104: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

92 +1 แนใจวาสอดคลอง 0 ไมแนใจวาสอดคลอง - 1 แนใจวาไมสอดคลอง นําผลการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญในแตละขอไปหาดัชนีความเทีย่งตรงตามเนื้อหา และคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ขั้นตอนที่ 4 นําแบบสอบถามที่ไดจากการตรวจสอบมาปรับปรุงแกไขแลวนําไปทดลอง (Try-out) สอบถามนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีลักษณะใกลเคียงกับกลุมตัวอยางจริง ขั้นตอนที่ 5 นําผลที่ไดจากการทดลองสอบถามมาปรับปรุงแกไขแลวนําไปใชสอบถามนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี จํานวน 32 คน การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ขอมูลจากแบบสอบถาม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เกี่ยวกบัความตองการในการเรยีนดวยแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน จํานวน 1ฉบับ วิเคราะหขอมูลโดยการใชคารอยละ จากนั้นนําเสนอในรูปแบบตารางประกอบคําบรรยาย และวเิคราะหความคิดเห็นโดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และนําเสนอแบบพรรณนาความ 3.2 การสนทนากลุม (Focus Group) ผูวิจัยขอหนังสือจากบณัฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัยศิลปากรถึงผูอํานวยการกองการศึกษา และผูบริหารโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี เพื่อขอความอนุเคราะหในการเกบ็รวบรวม ขอมูลโดยการสนทนากลุม (Focus Group) กับผูบริหารโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ีจํานวน 1 คน ศึกษานิเทศก จํานวน 1 คน ครูผูสอน วิชาคณิตศาสตร จํานวน 1 คน ผูรูในทองถ่ินจํานวน 1 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้พื้นฐาน จํานวน 2 คน เทศมนตรีฝายการศึกษาจํานวน 1 คน รวม 7 คน ในการสนทนากลุมนัน้ (Focus Group) ไดนําประเด็นเกี่ยวกับความตองการและเนื้อหาสาระเกีย่วกับการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 โดยนําประเด็นตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสัมภาษณ การสอบถาม การคนควา เอกสารที่เกี่ยวของ และขอมูลที่เกี่ยวกับเอกลักษณในทองถ่ิน มาวิเคราะหรวมกัน โดยกําหนดเวลาในการสนทนากลุมหนึ่งประมาณ 1 ช่ัวโมง และกําหนดประเด็นในการสนทนากลุมเปน 3 ตอน ดังนี้ คือ ตอนที่ 1 สถานภาพและขอมูลทั่วไปของผูรวมสนทนากลุม จํานวน 3 ขอ

Page 105: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

93 ตอนที่ 2 ประเด็นที่ใชในการสนทนาเกี่ยวกับความตองการและขอบขายเนื้อหาที่ใชเปนขอมลูในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร และส่ือที่ใชประกอบในแบบฝกเสริมทักษะ จํานวน 5 ขอ โดยกําหนดประเดน็ดังนี ้ 1. ความคิดเห็นในเรื่องความสําคัญและความจําเปนในการสงเสริมใหโรงเรียน ไดนําขอมูลภมูิปญญาทองถ่ินมาบูรณาการรวมกับการเรยีนการสอน เร่ืองการคูณการหาร 2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของภูมิปญญาทองถ่ินมีเร่ืองใดบางที่นาสนใจและตองการนํามาบูรณาการรวมกับการเรียนการสอนเรื่องการคูณการหาร 3. ความเหมาะสมของภูมิปญญาทองถ่ินในขอ 2 ที่จะนํามาบูรณาการ 4. แหลงเรียนรูใดที่เหมาะสมใหนกัเรียนไดเรียนรู และ 5. ความคิดเหน็ตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ในดานตาง ๆ ควรดําเนินการอยางไร ตอนที่ 3 ประเด็นทีใ่ชสนทนากลุม เกี่ยวกับขอเสนอแนะอื่น ๆ จํานวน 1 ขอ ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุม ขั้นตอนที่ 1 กําหนดประเด็นคําถามโดยผูวิจยัศึกษาเอกสาร ตํารา งานวิจัยที่เกี่ยวของ รวมทั้งการสํารวจขอมูลของภูมิปญญาของทองถ่ินเพื่อนํามาสรางประเด็นคําถาม ขั้นตอนที่ 2 กําหนดกลุมผูรวมสนทนา ในการสนทนากําหนดกลุมผูรวม สนทนานั้นผูวจิัยไดนําผูที่มสีวนเกีย่วของทางการจัดการศึกษา ดังตอไปนี้ คือ ศึกษานิเทศกจํานวน 1 คน ผูบริหารโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี จํานวน 1 คน ครูผูสอนคณิตศาสตร จํานวน 1 คน คณะกรรมการสถานศึกษา จาํนวน 2 คน ผูรูในทองถ่ิน จํานวน 1 คน เทศมนตรีฝายการศึกษาจํานวน 1 คน รวม 7 คน ขั้นตอนที่ 3 จัดเตรียมแนวทางในการสนทนา เมื่อไดประเด็นในการสนทนาแลวผูวิจยัไดนาํไปหาคุณภาพ โดยใหอาจารยผูควบคุมวิทยานพินธตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และนําประเด็นไปทดลองถาม ขั้นตอนที่ 4 จัดเตรยีมอุปกรณและทําความเขาใจกับประเดน็ และหนาที่ของบุคลากรที่ไปชวยผูวจิัยในการทําสนทนากลุม ขั้นตอนที่ 5 ลงพื้นที่เพื่อหาขอมูลเบื้องตนสรางความคุนเคยอยางไมเปนทาง การ ขั้นตอนที่ 6 รวมสนทนา ตอนรับผูรวมสนทนา ขั้นตอนที่ 7 แนะนําคณะผูวจิัย อธิบายจุดมุงหมายของการสนทนาในครั้งนี ้และเริ่มสนทนา ขั้นตอนที่ 8 มอบของที่ระลึกแกผูรวมสนทนา เพื่อขอบคุณในความรวมมือ ขั้นตอนที่ 9 จัดเตรียมขอมูลเพื่อใชในการวิเคราะห

Page 106: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

94 ขั้นตอนที่ 10 วิเคราะหขอมูลและเขียนรายงาน การวิเคราะหขอมูลจากการสนทนากลุม (Focus Group) ขอมูลที่ไดจากการสนทนากลุม ดานความตองการและขอบขายเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 วิเคราะหความคิดเห็นจากการสนทนา โดยการวเิคราะหเนื้อหา (Content Analysis) แลวนาํเสนอแบบพรรณนาความ จากที่กลาวมาผูวิจัยจึงไดสรุปวิธีดําเนนิการวิจัยในขั้นตอนที่ 1 ดังตารางที่ 2 (หนา 95) 4. การศึกษาขอมูลภูมิปญญาทองถ่ิน ในการศึกษาขอมูลภูมิปญญาทองถ่ินนั้นผูวิจยัไดศึกษาเกี่ยวกับสภาพของชุมชน ในเรื่องของภูมิปญญาของทองถ่ิน เพื่อนํามาวิเคราะหสภาพชุมชนวาในชุมชนนัน้มส่ิีงใดบางที่เปนภูมิปญญาของทองถ่ิน ที่ควรจะใหนักเรยีนไดเรียนรู ควบคูไปกับการใชแบบฝกเสรมิทักษะเรื่องการคูณการหาร โดยการสัมภาษณผูนําทองถ่ิน 2 คน ไดแก นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองกระทุมแบน ประธานชุมชนวัดดอนไกด ี ผูรูในทองถ่ิน 2 คน และชาวบาน 2 คน รวม 6 คน โดยการสัมภาษณอยางไมเปนทางการดวยแบบสาํรวจชุมชนเพือ่เก็บประเด็นตาง ๆไดแก ภูมิปญญาทองถ่ินที่เปนเอกลกัษณของอําเภอกระทุมแบน ภูมิปญญาที่ควรคาแกการอนุรักษ ภูมปิญญาที่นักเรียนควรไดรับการเรียนรู เพื่อนํามาเปนขอมลูในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 การวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจและวิเคราะหสภาพชุมชน ขอมูลที่ไดจากการสํารวจชุมชนเกี่ยวกับเรือ่งภูมิปญญาของทองถ่ิน ผูวิจยัไดนาํมาวิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) แลวเสนอแบบพรรณนาความ

Page 107: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

95 ตารางที่ 2 สรุปวิธีดําเนินการวิจัยข้ันตอนที่ 1 การศึกษาขอมูลพื้นฐานเกีย่วกับการพัฒนาแบบฝก เสริมทักษะ

จุดประสงค วิธีการ กลุมเปาหมาย เครื่องมือ/ การวิเคราะหขอมูล

เพื่อศึกษาเอกสารและหลักสูตร นโยบายทางการศึกษาที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เพื่อศึกษาความตองการเกี่ยวกบัการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ

ศึกษาเอกสาร -สัมภาษณ -แบบสอบถาม -การสนทนากลุม

-แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8และ9 -พระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ พ.ศ. 2542 -หลักสูตรการศกึษาขั้น- พื้นฐาน พ.ศ.2544 -หลักสูตรสถานศึกษา- โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี-กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร - ผูอํานวยการกองการศึกษา เทศบาลเมืองกระทุมแบน -ผูบริหารโรงเรยีน -ครูผูสอนวิชา คณิตศาสตร -ปลัดเทศบาล -นักเรียนชั้นป.5จํานวน 32 คน -ศึกษานิเทศก -ผูบริหารโรงเรยีน -ครูผูสอนวิชาคณิตศาสตร -คณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพื้นฐาน -ผูรูในทองถิ่น -เทศมนตรีฝายการศึกษา

เอกสารเกี่ยวกบันโยบายทางการศึกษา วิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) -แบบสัมภาษณ -คารอยละ -การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) -แบบสอบถาม -แบบบันทึกการ สนทนากลุม -เทปบันทึกเสียง -วิเคราะหเนื้อหา

Page 108: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

96 ตารางที่ 2 (ตอ)

จุดประสงค วิธีการ กลุมเปาหมาย เครื่องมือ/ การวิเคราะหขอมูล

เพื่อศึกษาขอมูล ภูมิปญญาทองถิ่น

-สํารวจและ วิเคราะห ภูมิปญญาของ ชุมชน

-ผูนําทองถิ่น -ผูรูในทองถิ่น -ชาวบาน

-แบบสํารวจชุมชนเกี่ยวกับ เอกลักษณในชุมชน -การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพแบบฝกเสริมทักษะ วัตถุประสงค เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบรูณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ใหมปีระสิทธิภาพตามเกณฑ 80 / 80 วิธีดําเนินการ 1. วิเคราะหผลจากการสํารวจความตองการและขอมูลพื้นฐานในขัน้ตอนที่ 1 ในทกุขั้นตอนเพื่อนาํมาเปนแนวทางในการสรางแบบฝกเสริมทักษะฉบับราง 2. ดําเนินการสรางแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญา ทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยมีองคประกอบดังนี้ ช่ือเร่ือง คํานํา คําชี้แจง จุดประสงค แผนการจัดการเรียนรู (ประกอบดวยสาระสําคัญ , เนื้อหา , กิจกรรม ,ส่ือ,การวัดและประเมินผลและบันทึกผลหลังการเรียน) คําสั่ง ตัวอยาง ใบกิจกรรม แบบทดสอบยอย เฉลย/อธิบายเพิ่มเติม ตารางบันทึกความกาวหนา ใบความรู (สําหรบัครู) โดยแผนการจัดการเรยีนรูในเรื่องที่ 1 การคูณการหารจํานวนนบั (งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค) มีจํานวน 6 แผน ใชเวลาในการสอน 11 ช่ัวโมง เร่ืองที่ 2 การคูณการหารระคน (มรดกทางวัฒนธรรม : หลวงพอโตวดัดอนไกดี ) 1 แผน ใชเวลาในการสอน 4 ช่ัวโมง เร่ืองที่ 3 การคูณการหารเศษสวน (ชูชองามตากลวยไมไทย) 3 แผน ใชเวลาในการสอน 11 ช่ัวโมง และเรื่องที่ 4 การคูณทศนยิม (สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี) 1 แผน ใชเวลาในการสอน 4 ช่ัวโมง 3. นําแบบฝกเสริมทักษะฉบับรางที่สรางขึ้นเสนอตออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ เพื่อขอคําแนะนําในสวนที่บกพรอง เพื่อนํามาปรับปรุงแกไข

Page 109: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

97 4. นําแบบฝกเสริมทักษะฉบับรางที่ไดแกไขแลว มาประเมินโครงรางแบบฝกเสริม ทักษะ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ จํานวน 3 ทาน และผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทาน ไดแกผูเชีย่วชาญดานเนื้อหา ดานแบบฝกเสริมทักษะ ดานการวดัและประเมินผล ดานภาษา และขอมูลภูมิปญญาทองถ่ิน เพื่อตรวจสอบคุณภาพและความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยพิจารณาความสอดคลองของแบบฝกเสริมทักษะดานตาง ๆ 5. นําแบบฝกเสริมทักษะทีไ่ดรับการตรวจสอบจากอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ และ ผูเชี่ยวชาญไปปรับปรุงแกไขกอนนําไปหาคาประสิทธิภาพ 6. นําไปหาคาประสิทธิภาพ E1 , E2 มีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้

6.1 ขั้นการหาประสิทธิภาพแบบเดี่ยว (Individual Tryout) (1:1) นําแบบฝกเสริม ทักษะไปใชกบันักเรียนจํานวน 3 คน โดยคัดเลือกนกัเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง 1 คน ปานกลาง 1 คน และต่ํา 1 คน โดยดจูากผลการเรียนวชิาคณิตศาสตรในภาคเรยีนที่ผานมา จากนั้นใหทําแบบฝกเสริมทักษะพรอมทั้งมีการทดสอบระหวางเรียน และทดสอบหลังเรียนและนําคะแนนที่ไดมาหาประสิทธิภาพตามเกณฑ 60 / 60 จากนั้นนําผลการทดลองมาปรับปรุงแกไขขอบกพรองกอนนําไปใชในขั้นตอนตอไป 6.2 ขั้นการหาประสิทธิภาพแบบกลุมเลก็ (Small Group Tryout) นําแบบฝกเสรมิทักษะไปใชกบันักเรียนจํานวน 9 คน โดยคัดเลือกนักเรยีนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวชิาคณิตศาสตรสูง 3 คน ปานกลาง 3 คน และต่ํา 3 คน นําผลที่ไดมาหาคาประสทิธิภาพ E1/ E2

โดยใหไดคาประสิทธิภาพตามเกณฑที่ตั้งไว 70/70 เมื่อเสร็จกระบวนการแลวนําแบบฝกเสรมิทักษะมาแกไขขอบกพรองใหมีความเหมาะสมและนาสนใจ กอนนําไปใชกับกลุมตัวอยางจริงโดยใชเกณฑ 80/80 7. นําผลที่ไดจากการหาประสทิธิภาพมาปรับปรุงแกไข เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและความถูกตองใหสมบูรณที่สุดกอนนําไปทดลองใชจรงิ จากที่กลาวมาแลวในขางตนผูวจิัยจึงไดสรุปวธีิดําเนินการวจิัยในขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ ดังตารางที่ 3 (หนา 98 )

Page 110: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

98 ตารางที่ 3 สรุปวิธีดําเนินการวิจัยข้ันที่ 2 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพแบบฝกเสริมทักษะ

จุดประสงค วิธีการ กลุมเปาหมาย เครื่องมือ/ การวิเคราะหขอมูล

เพื่อพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะฉบับราง

การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะฉบับรางประกอบดวย - ช่ือเรื่อง - คํานํา - คําช้ีแจง -จุดประสงคการเรียนรู - แผนการจัด- การเรียนรู (ประกอบดวยสาระสําคัญ,เนื้อหา,กิจกรรม,สื่อ,การวัดและประเมินผลและบันทึกผลหลังการเรียน) - คําสั่ง - ตัวอยาง - ใบกิจกรรม - แบบทดสอบยอย -เฉลย/อธิบายเพิ่มเติม -ตารางบันทึกความกาวหนา -ใบความรู (สําหรับครู)

Page 111: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

99 ตารางที่ 3 (ตอ)

วัตถุประสงค วิธีการ กลุมเปาหมาย เครื่องมือ/ การวิเคราะหขอมูล

เพื่อประเมินแบบฝกเสริมทักษะฉบับราง

การประเมิน แบบฝกเสริมทักษะฉบับราง

อาจารยผูควบคุม วิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ดานแบบฝกเสริมทักษะ ดานการวัดประเมินผล ดานภาษาและดานภูมิปญญาทองถ่ิน

แบบประเมินแบบฝกเสริมทักษะฉบับราง/วิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และหาดัชนีความสอดคลอง IOC

เพื่อปรับปรุงแกไขแบบฝกเสริมทักษะฉบับรางกอนนําไปหาประสิทธิภาพ

ปรับปรุงแกไขแบบฝกเสริมทักษะ

แบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณ การหาร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ฉบับราง

วิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) แลวนําเสนอแบบพรรณนาความ

เพื่อหาประสิทธิภาพแบบฝกเสริมทักษะฉบับราง

การหาประสิทธิ-ภาพแบบฝกเสริมทักษะฉบับรางแบบรายบุคคล (Individual Tryout) และปรับปรุงแกไข

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่5 ร.ร.เทศบาลวัดดอนไกดี ที่ไมใชกลุมตัวอยาง มีผลสัมฤทธ์ิ สูง ปานกลาง ต่ํา อยางละ 1 คน รวมจํานวน 3 คน

แบบฝกเสริมทักษะฉบับราง/คารอยละของคะแนนเฉลี่ย (X) ของคา E1/E2

การหาประสิทธิ-ภาพของแบบฝกเสริมทักษะฉบับรางแบบกลุมเล็ก (Small Group -Tryout) และปรับปรุงแกไข

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่5 ร.ร.เทศบาลวัดดอนไกดี ที่ไมใชกลุมตัวอยางมีผลสัมฤทธ์ิ สูง ปานกลาง ต่ํา อยางละ 3 คน รวมจํานวน 9 คน

แบบฝกเสริมทักษะฉบับราง/คารอยละของคะแนนเฉลี่ย (X) ของคา E1/E2

Page 112: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

100 ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ วัตถุประสงค เพื่อทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ประชากร นักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี สังกัดเทศบาลเมืองกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 จํานวน 5 หองเรียน จํานวน 161 คน โดยทัง้ 5 หองเรยีนนกัเรียนจะมีลักษณะ และสภาพแวดลอมที่คลายคลึงตลอดจนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยที่ใกลเคียงกัน เนื่องจากทางโรงเรียนมีนโยบายในการจัดช้ันเรียนโดยใหแตละหองเรยีนมีนกัเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน คละกันในจํานวนที่เทา ๆ กันทุกหองเรียน กลุมตัวอยาง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5/3 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี สังกดัเทศบาลเมืองกระทุมแบน จงัหวัดสมุทรสาคร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 ดวยวิธีการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) โดยการจับฉลากมา 1 หองเรียน จากหองเรียนทั้งหมด 5 หองเรียน ไดนักเรยีนกลุมตัวอยางจํานวน 32 คน ระยะเวลา ไดกําหนดระยะเวลาในการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ เรือ่งการคูณการ หารโดยการบรูณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 จํานวน 6 สัปดาห สัปดาหละ 5 ช่ัวโมง รวมระยะเวลาทั้งหมด 30 ช่ัวโมง ทั้งนี้รวมเวลาที่ใชในการทดลองกับเวลาทีใ่ชในการทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองการคูณการหารกอนเรียนและหลังเรียนเขาดวยกนั แบบแผนการวจิัย ใชแบบ Pre Experimental Design แบบ One - Group Pretest Posttest Design (Tuckman 1999:159-160)

การทดสอบกอนทดลอง ทดลอง การทดสอบหลังทดลอง T1 X T2

T1 แทน การทดสอบกอนการเรียนโดยใชแบบฝก X แทน การเรยีนโดยใชแบบฝก T2 การทดสอบหลังการเรียนโดยใชแบบฝก เคร่ืองมือท่ีใช เปนเครื่องมือที่ผูวิจัยสรางและหาคณุภาพดงัตอไปนี ้ 1. แบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 113: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

101 2. แบบทดสอบกอนและหลังแบบฝกเสริมทักษะ จํานวน 2 ฉบับ ในการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 มีวิธีดําเนินการตามลาํดับตอไปนี ้ 1. ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร ถึงผูอํานวยการกองการศึกษา เทศบาลเมืองกระทุมแบน และผูบริหารโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี เพื่อขอความอนุเคราะหในการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ 2. ผูวจิัยไดนําแบบฝกเสริมทักษะ ไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี เทศบาลเมืองกระทุมแบน จังหวดัสมุทรสาคร ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 จํานวน 32 คน 3. การทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณ การหาร โดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ินในครั้งนี้ผูวิจยัไดรวมกับครูผูสอน วิชาคณิตศาสตรและผูรูในทองถ่ิน 4. ทําการทดสอบกอนเรียน (Pretest) กับนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 32 คนโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 5. ดําเนินการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี ้ 5.1 ขั้นนํา ผูวิจัยหรือครูผูสอนวิชาคณติศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 แนะนําการ ใชแบบฝกเสรมิทักษะ มดีังตอไปนี ้ 5.1.1 ช้ีแจงวัตถุประสงค

5.1.2 ช้ีแจงกิจกรรมที่นกัเรียนตองปฏิบัติกิจกรรมอยางไร 5.1.3 แนะนํานักเรยีนในสิ่งที่จะไดรับหลังจากไดปฏิบัติกิจกรรม ตามแบบฝก

เสริมทักษะ 5.2 ขั้นปฏิบัติกิจกรรม นกัเรียนปฏิบัติกจิกรรม ตามใบกิจกรรมของ แบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณ การหาร แตละชุดโดยการใชจัดกจิกรรมแบบกระบวนการกลุม 5.3 ขั้นสรุปนักเรียนนําส่ิงที่ไดจากการปฏิบัติตามใบกิจกรรมมาสรุปอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในชั้นเรียน 6. หลังจากที่ดําเนินการใชแบบฝกเสริมทักษะสิ้นสุดลงแลว จึงทําการทดสอบหลัง เรียน (Posttest) โดยใชขอสอบคูขนานกับแบบทดสอบกอนเรียน (Pretest) 7. หาประสิทธิภาพแบบภาคสนาม (Field Tryout) (1:100) ผูวิจัยไดสรุปขั้นตอนการดําเนินการวิจยัในขัน้ตอนที่ 3 ดังตารางที่ 4 (หนา 102)

Page 114: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

102 ตารางที่ 4 สรุปวิธีดําเนินการวิจัยข้ันตอนที่ 3 การทดลองใชแบบฝก

จุดประสงค วิธีการ กลุมเปาหมาย เครื่องมือ/ การวิเคราะหขอมูล

เพื่อทดลองแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณ การหาร โดยการบูรณาการ ภูมิปญญา ทองถ่ิน สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี

1.ทดสอบความรู ความเขาใจ กอนเรยีน 2.ดําเนินการทดลองใชแบบฝก 2.1ขั้นนําผูวจิัยหรือผูสอนแนะนําการใชแบบฝกโดยบอก วัตถุประสงค บอกสิ่ง ที่นักเรียนตองปฏิบัติ แนะนําส่ิงที่นกัเรียน จะไดรับหลังปฏิบัติ กิจกรรม 2.2ขั้นปฏิบัติกิจกรรมนักเรียนปฏิบัติ กิจกรรมตามใบ กิจกรรม 2.3ขั้นสรุป นักเรียนนําส่ิงที่ไดจากการปฏิบัติตามใบกิจกรรมมานําเสนอโดยการสรุปอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในชั้นเรยีน 3.ทดสอบหลังเรียน 4.หาประสิทธิภาพแบบภาคสนาม (Field Tryout)

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่5 โรงเรียน เทศบาลวัดดอนไกดี เทศบาลเมืองกระทุมแบน จ.สมุทรสาคร จํานวน 32 คน

แบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการ ภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่5 วิเคราะหหาคารอยละของคะแนนเฉลี่ย (X) ของคา E1/E2 และวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

Page 115: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

103 ขั้นตอนที่ 4 การประเมินและปรับปรุงแบบฝกเสริมทักษะ วัตถุประสงค เพื่อประเมินและปรับปรุงแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ในดานความรูความเขาใจกอนและหลังใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร ความสามารถในการใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณ การหาร และความคิดเหน็ทีม่ีตอแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหาร การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการคูณการหาร วัตถุประสงค เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์กอนและหลังใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณ การหารโดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ิน เคร่ืองมือท่ีใช ไดแก แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ซ่ึงเปนขอสอบคูขนาน โดยเปนแบบทดสอบแบบตัวเลือก 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ 30 คะแนน โดยมีขั้นตอนในการสรางดังตอไปนี ้ ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการคูณการหาร ขั้นตอนที่ 1 ศกึษาเอกสาร ตาํรา งานวิจยัทีเ่กี่ยวของกับการสรางแบบทดสอบ ศึกษาผลการเรียนรูที่คาดหวังจากหลักสูตร คูมือครู คูมือในการประเมินผล ขั้นตอนที่ 2 สรางตารางกําหนดเนื้อหาขอสอบ (Table of Test Specification) ใหครอบคลุมผลการเรียนรูที่คาดหวัง เร่ืองการคูณการหาร แลวนําตารางดังกลาวไปใหอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) แลวนําขอเสนอแนะมาปรับปรุงแกไขตารางกําหนดเนื้อหาขอสอบใหมีความเหมาะสมตอไป (รายละเอยีด ดัง ตารางที่ 24 ภาคผนวก ฐ หนา 221) ขั้นตอนที่ 3 สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการคูณการหาร ตามตารางกําหนดเนื้อหาขอสอบ ขั้นตอนที่ 4 นําแบบทดสอบที่สรางขึ้นไปใหอาจารยอาจารยผูควบคุมวทิยานิพนธและผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทาน คือผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ดานแบบฝกเสริมทักษะ ดานวดัผลประเมินผลดานภาษาและดานภูมิปญญาทองถ่ิน ตรวจดูความเทีย่งตรงดานเนื้อหา (Content Validity) ผลการเรียนรูที่คาดหวังและความถูกตองของเนื้อหา

ขั้นตอนที่ 5 นําแบบทดสอบที่ผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญมาปรบัปรุงแกไขแลวนําไปทดลองกับนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดีที่ไมใชกลุมตัวอยางที่เคยเรียนเรื่องการคณูการหารมาแลว จํานวน 64 คน เพื่อนํามาวิเคราะหหาคาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) และหาความเชื่อมั่น (Reliability) ซ่ึงใชการหาคา

Page 116: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

104 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธของ เพียรสัน โดยคาความเชือ่มั่น 0.98 (รายละเอยีดดงัตารางที่ 19 ภาคผนวก ญ หนา 210) ขั้นตอนที่ 6 นาํขอสอบที่หาคาความเชื่อมัน่แลวนําไปทดสอบความรู ความเขาใจ กอนและหลังการใชแบบฝกเสริมทักษะ กับนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี ที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 32 คน การวิเคราะหขอมูลจากแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการคูณการหาร นําคะแนนที่ไดจากการสอบกอนและหลังเรยีนทั้งหมดมาหาคาเฉลี่ย (X) และ (S.D.) และนํามาเปรยีบเทียบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของคะแนนกอน และหลังใชแบบฝกเสริมทักษะ โดยการหาคาทีแบบไมอิสระ (t-test dependent) การศึกษาความคดิเห็นของนักเรียนตอการใชแบบฝกเสริมทักษะ วัตถุประสงค เพื่อศกึษาความคิดเห็นที่มตีอการใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ิน เคร่ืองมือท่ีใช ไดแก แบบสอบถามความคิดเห็นของนกัเรยีน 32 คน โดยแบงเปน 2 ตอนที่ 1 แบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มี 3 ระดับ คือ มาก ปานกลาง นอย โดยสอบถามความคิดเห็นของนกัเรยีนจากการเรียนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน จํานวน 12 ขอ ซ่ึงสอบถามเกี่ยวกับดานการจัดกิจกรรมการเรยีนการสอน ดานประโยชนของการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน และดานปญหา ตอนที่ 2 แบบสอบถามปลายเปด (Open Ended Form) เปนแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกบัขอเสนอแนะเพิ่มเติมโดยใหนักเรยีนเขยีนพรรณาความจํานวน 1 ขอ ขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็น ขั้นตอนที่ 1 ศกึษาเอกสารและงานวจิัยตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการสรางแบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 2 พิจารณาหัวขอและจุดมุงหมายที่ตองการทราบความคิดเห็น โดยรางแบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 3 นาํแบบสอบถามใหอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธตรวจสอบ เพื่อหาคา ความเที่ยวตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และนํามาหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบสอบถามความคิดเหน็ เทากับ 1.00 (รายละเอียดดังตารางที่ 15 ภาคผนวก ญ หนา 205) ขั้นตอนที่ 4 นําแบบสอบถามที่ผานการตรวจสอบหาคาความเทีย่งตรงแลวนั้นมาปรับปรุงแกไข ขั้นตอนที่ 5 นาํแบบสอบถามไปทดลองสอบถาม (Try Out) กับกลุมตัวอยางทีม่ี

Page 117: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

105 ลักษณะเชนเดยีวกับกลุมตัวอยางจริง ขั้นตอนที่ 6 ทําการปรับปรุงแกไขแบบสอบถาม เพื่อความสมบรูณแลวนําไปใชสอบถามกับกลุมตัวอยางจรงิ การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามความคดิเห็น ขอมูลที่ไดจากการตรวจสอบแบบสอบถาม นํามาวิเคราะหขอมูลโดยการหาคารอยละและการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การประเมินทักษะในการคูณการหาร วัตถุประสงค เพื่อประเมินทกัษะในการคูณการหาร เคร่ืองมือ แบบประเมินชิน้งาน ขั้นตอนในการสรางแบบประเมินชิ้นงาน ขั้นตอนที่ 1 ศกึษาเอกสารและงานวจิัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสรางแบบประเมินช้ินงาน ขั้นตอนที่ 2 สรางแบบประเมินชิ้นงานของนักเรียน ใหสอดคลองกับขอบขายเนื้อหา ในพฤติกรรมบงชี้ที่กําหนดโดยแบงเปน 3 ดาน คือ 1. การคํานวณถูกตองตามขั้นตอน 2. ช้ินงานสอดคลองกับจุดประสงค 3. ลักษณะชิ้นงานสรางสรรค ซ่ึงแบงเกณฑการประเมินเปน 4 ระดับ คือ 1 2 3 4 โดยคะแนน 10 – 20 = 4 (ดีมาก) คะแนน 7 – 9 = 3 (ดี) คะแนน 4 – 6 = 2 (พอใช) และคะแนน 0 – 3 = 1 (ตองปรับปรุง) ขั้นตอนที่ 3 นาํแบบประเมนิชิ้นงานที่สรางขึ้น เสนออาจารยผูควบคุมวิทยานพินธ ตรวจสอบเพื่อหาความเทีย่งตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ขั้นตอนที่ 4 นาํแบบประเมนิชิ้นงานที่ปรับปรุงแกไขแลวใหผูเชี่ยวชาญ ดานเนื้อหา ดานแบบฝกเสริมทักษะ ดานการวดัและประเมินผล ตรวจสอบคาดัชนีและความสอดคลอง (IOC) ของแบบประเมินชิ้นงานเทากับ 0.95 (รายละเอียด ดังตารางที่ 16 ภาคผนวก ญ หนา 207) การวิเคราะหขอมูล ขอมูลที่ไดจากแบบประเมินชิน้งานของนักเรียน นํามาวิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ในการวจิัยครั้งนี้การประเมนิทักษะการคูณการหารจะประเมิน โดยพิจารณาชิ้นงานตาง ๆ ที่นักเรียนไดทําขึ้น โดยมีแบบประเมินชิ้นงานเปนเครื่องมือในการประเมนิซึ่งพิจารณาการใหคะแนนจาก 1. การคํานวณถูกตองตามขั้นตอน 2. ช้ินงานสอดคลองกับวตัถุประสงค 3. ลักษณะชิ้นงานสรางสรรค โดยไดเสนอตวัอยางแบบประเมินชิ้นงาน (รายะเอียด ดังภาคผนวกที่ ซ หนา 187 )

Page 118: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

106 จากขั้นตอนที่ 4 ที่กลาวมาขางตน ผูวิจยัไดสรุปวิธีดําเนินการในการประเมินผล และปรับปรุงแกไขแบบฝกเสริมทักษะ ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 สรุปวิธีดําเนินการวิจัยข้ันที่ 4 การประเมินผลและปรับปรุงแกไขแบบฝกเสริมทักษะ

จุดประสงค วิธีการ กลุมเปาหมาย เครื่องมือ/ การวิเคราะหขอมูล

เพื่อประเมิน ผลสัมฤทธ์ิเร่ือง การคูณการหาร

การทดสอบกอนและหลังใชแบบฝกเสริมทักษะ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5โรงเรียนเทศบาล วัดดอนไกดีจํานวน 32 คน

แบบทดสอบดานผลสัมฤทธ์ิ/คารอยละ ,คาเฉลี่ย ,สวน- เบี่ยงเบนมาตรฐาน และt-test (dependent)

เพื่อศึกษาความคิดเห็นตอการใชแบบฝกเสริมทักษะ

สอบถามความ คิดเห็น

-นักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียน เทศบาลวัดดอนไกดีจํานวน 32 คน

แบบสอบถามความคิดเห็น /คารอยละ,และวเิคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

เพื่อประเมินทกัษะในการคณูการหาร

ประเมินชิ้นงาน ในการคณูการหารของนักเรียน

-นักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียน เทศบาลวัดดอนไกดีจํานวน 32 คน

แบบประเมินชิ้นงาน /วิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

เพื่อปรับปรุงแกไข ปรับปรุงแกไขขอบกพรอง

แบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยใชการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินสําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่5 โรงเรียนเทศบาล วัดดอนไกด ี

แบบฝกเสริมทักษะเร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการ ภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่5 โรงเรียนเทศบาล วัดดอนไกด ี

Page 119: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

107 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล นําขอมูลที่ไดจากการทดลองไปวิเคราะหดวยวิธีการทางสถิติ ดังนี้ 1. สถิติพื้นฐาน (อังคณา สายยศ 2538 : 59-73) คะแนนเฉลี่ย (Mean) X = ∑X N เมื่อ X แทน คะแนนเฉลี่ย ∑X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จํานวนนักเรียน 2. สถิติที่ใชในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือดานความเที่ยงตรงของเนื้อหา ( Content Validity) โดยคํานวณจากสตูร IOC = ∑NR

เมื่อ IOC แทน ดัชนคีวามสอดคลองของแบบฝกเสริมทักษะในดาน ตาง ๆ

∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ N แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญ

3. สถิติที่ใชในการหาเกณฑประสิทธิภาพของแบบฝก โดยการวิเคราะหคะแนนโดย คํานวณจากสตูรสูตร (ชัยยงค พรหมวงศ และคณะ 2540: 101-102) 80 ตัวแรก หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอนจากแบบฝก เสริมทักษะคิดเปนรอยละของคะแนนจากการทําแบบฝกหัดระหวางเรยีนของแตละชุด สูตรที่ 1 ∑X E1 = N × 100 A

Page 120: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

108 เมื่อ E1 หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการทีจ่ัดไวในแบบฝกเสริมทักษะ ∑X หมายถงึ คะแนนรวมของแบบฝกหัดทุกแบบฝกหัด N หมายถึง จํานวนผูเรียน 80 ตัวหลัง หมายถึง คาประสิทธิภาพของพฤติกรรมที่เปลี่ยนในตัวนักเรียนคดิ เปนรอยละที่นกัเรียนทําไดจากการสอบหลังเรียน สูตรที่ 2 ∑F E2 = N × 100 B เมื่อ E2 หมายถึง ประสิทธิภาพของแบบฝกเสริมทักษะการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของผูเรียน

∑F หมายถึง คะแนนรวมของการสอบหลังเรียนที่ทําได B หมายถึง คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียน N หมายถึง จํานวนผูเรียน

4. คาความเชื่อมัน่ของแบบทดสอบ (Reliability) ซ่ึงใชการหาคาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธของ เพียรสัน โดยมีสูตร ดังนี ้(พวงรัตน ทวีรัตน 2540:112) rtt = N∑XY - ∑X∑Y

√[ N∑X2-(∑X)2 ] [N∑Y2 - (∑Y)2] เมื่อ rtt หมายถึง คาความเชื่อมั่น

X และ Y หมายถึง คะแนน 2 ชุด N หมายถึง จํานวนนกัเรียน

5. คาความยากงาย (p) (พวงรัตน ทวีรัตน) 2540 : 130) คาความยากงาย (p) = R N P แทน คาความยากงายของขอสอบแตละขอ

Page 121: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

109 R แทน จํานวนผูตอบถูกในแตละขอ N แทน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 6. คาอํานาจจําแนก (r) (พวงรัตน ทวีรัตน) 2540 : 130) คาอํานาจจําแนก (r) = Ru - Re N / 2 r แทน คาอํานาจจําแนกเปนรายขอ Ru แทน จํานวนนักเรียนที่ตอบถูกในกลุมสูง Re แทน จํานวนนกัเรียนที่ตอบถูกในกลุมต่ํา N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยางทั้งหมด 7. คา t แบบไมอิสระ (t - test dependent) t = ∑D

n∑D2-(∑D)2 √ n - 1 t = เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนกอนเรียนและหลังเรียน ∑D = ผลรวมของผลตางของคะแนน ∑D2 = ผลรวมของผลตางของคะแนนยกกําลังสอง n = จํานวนนกัเรียนทั้งหมด

Page 122: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

110

บทที่ 4

การวิเคราะหขอมูล

การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิจัยวิเคราะหขอมูลเปน 4 ตอน ดังนี้คือ ตอนที่ 1 การศึกษาขอมูลพืน้ฐานในการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ ตอนที่ 2 การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ ตอนที่ 3 การทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ ตอนที่ 4 การประเมินผลและปรับปรุงแกไขแบบฝกเสริมทักษะ

การศึกษาขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาแบบฝกเสรมิทักษะ

จากการวิเคราะหขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะแบงออกเปน 6 สวน คือ 1. ศึกษาเอกสารนโยบายทางการศึกษาเกี่ยวกับการศึกษา การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตรจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 และ 9 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 2 การวิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพทุธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูคณติศาสตรเร่ืองการคูณการหาร 3. ศึกษาความตองการเกีย่วกับการพัฒนาแบบฝกเสรมิทักษะและรูปแบบของแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน 4. ศึกษาความตองการเกี่ยวกับแบบฝกจากนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 5. ศกึษาความตองการเกี่ยวกับแบบฝกในดานรูปแบบ เนื้อหา เวลา ภมูิปญญาของทองถ่ิน จากผูเชี่ยวชาญ และผูรูในทองถ่ิน 6. ศึกษาขอมูลภูมปิญญาทองถ่ิน การศึกษาเอกสารเกี่ยวกับนโยบายทางการศึกษา จากการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับนโยบายทางการศึกษาพบวา แผนพัฒนาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาตฉิบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – พ.ศ.2549) ไดกําหนดยุทธศาสตรโดยมีวตัถุประสงคเพื่อพัฒนาคนใหมคีุณภาพ สุขภาพแข็งแรง คิดเปน ทําเปน มีการเรียนรูตลอดชีวิต มีวิธีคิดอยางมีเหตุผลมี คณุธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินยั ซ่ือสัตยสุจริต และรับผิดชอบตอสวนรวม รวมทัง้

Page 123: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

111

สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศ และภูมิปญญาทองถ่ินมาผสมผสานใหเกิดความสมดุลในการยกระดับคุณภาพชีวิต (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ 2545:38) และแผนการศกึษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545 – 2549) ไดกําหนดวัตถุประสงคของแผน คือ สรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู พัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมเพื่อเปนฐานในการพัฒนาคนและสรางสังคมคุณธรรมภูมิปญญาและการเรียนรู (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2545 : 8 ) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ไดระบถึุง มาตรา 22 หลักการจดัการศึกษา ผลการศึกษาพบวา การจดัการศึกษาตองยดึหลักวาผูเรียนทกุคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศกึษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตนตามธรรมชาติ และเต็มตามศกัยภาพสอดคลองกับมาตรา 24 ขอ 2 ขอ 3 และ ขอ 5 ไดระบวุาการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและแกปญหา จดักิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติ ใหทาํได คิดเปน ทาํเปน รักการอาน และเกดิการใฝรูอยางตอเนื่อง รวมทั้งสงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรียนรู และอํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรูไปพรอมกันกับสือ่การเรียนการสอน และแหลงวิทยาการประเภทตางๆ (กระทรวงศึกษาธิการ 2546 :11 -12) อีกทั้งในมาตราที ่ 67 วาดวยเทคโนโลยีทางการศึกษา รัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนาการผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศกึษารวมทั้งตดิตามตรวจสอบ และการประเมนิผลการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรูของคนไทย ( กระทรวงศึกษาธิการ 2545 ข : 31) ดังนั้นผลการศึกษาเอกสารเกีย่วกับนโยบายทางการศึกษา สรุปไดวาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาตฉิบับที่ 9 (พ.ศ.2545 – 2549) แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ.2545- 2549) และพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 มนีโยบายทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาคนใหมคีุณภาพโดยการพัฒนาการศกึษาใหสอดคลองกับความตองการของชุมชน และทองถ่ินจากสิ่งที่ใกลตัวไปสูส่ิงที่ไกลตัวออกไปอีกทั้งยังมีการสงเสริมการนําเทคโนโลยีสารสนเทศ และภูมิปญญาทองถ่ินมาผสมผสานใหเกดิความสมดุล เพื่อพฒันาผูเรียนใหเกิดการเรยีนรูที่หลากหลาย การวิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 จากการวิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 ไดระบุจุดมุงหมาย

Page 124: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

112

เพื่อพัฒนาคนไทยเปนมนุษยที่สมบูรณ เปนคนดี มีปญญา มีความสุข และมีความเปนคนไทยมีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพที่มจีุดมุงหมายเพือ่ใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะอนัพึงประสงค ดังตอไปนี้ คือใหเห็นคุณคาของตนเอง มวีินยัในตนเอง รักการอาน รักการเรียน และรักการคนควา มีความรูอันเปนสากลรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง และความเจริญกาวหนาทางวชิาการมีทักษะ และศกัยภาพในการจดัการการสื่อสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทํางานไดเหมาะสมกบัสถานการณมีทักษะและกระบวนการโดยเฉพาะทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ทักษะการคิด การสรางปญญาและทักษะในการดําเนินชีวิต หลักสูตรจึงไดกําหนดใหคณิตศาสตรเปนสาระการเรียนรูหนึ่งที่สถานศึกษาตองใชเปนหลักเพือ่สรางพื้นฐานการคิด การเรียนรูและการแกปญหาใหกบัผูเรียนโดยผูสอนจะตองพยายามศกึษาคนควาใหเปนผูมีความรูในเนือ้หาสาระ และพัฒนาดานวิธีสอน ดานเทคนิคการคิดคํานวณ ในสวนของกระบวนการเรียนรูการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเปนหลักการสําคัญหนึ่งของกระบวนการเรียนรูของหลักสูตร ซ่ึงเปนหลักการสําคัญของการจัดการเรียนการสอนยึดผูเรียนเปนสําคัญในการเรียนการสอน ตลอดจนเอื้อใหผูเรียนสามารถนําความรูและประสบการณมาใชแกปญหาในชวีติประจําวนัได อีกทั้งเนนความสําคัญของผูเรียนควบคูไปกับธรรมชาติของวิชา นอกจากนี้จะตองออกแบบกจิกรรมการเรียนรูใหใกลเคียงกบัสภาพจริงในวถีิชีวิตของผูเรียนในชุมชนและสังคม มุงสงเสริมบรรยากาศที่สอดคลองกับการดําเนินชวีิต โดยใชส่ือที่หลากหลายในลักษณะองครวมที่เหมาะสมกบัความสามารถในการเรียนรู และความสนใจของผูเรียนใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ และจากการวิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี พุทธศักราช 2544 ไดระบุถึงหลักการจัดกระบวนการเรียนรูของโรงเรียนที่มุงเนนการฝกทักษะ กระบวนการคดิ การจัดการนําความรูมาใชเพื่อปองกนัและแกปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบตัิใหทําได คดิเปน ทําเปน รักการอาน และเกดิการใฝรูใฝเรียนอยางตอเนื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน แบบบูรณาการ รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมทีด่ีงาม ผลการศึกษาขอมูลดังกลาวขางตนจะเห็นไดวา การจัดการเรียนรูแบบบรูณาการมีความสอดคลองกับจุดมุงหมายและหลักการจัดการเรียนรูของหลักสูตร โดยเปนกระบวนการเรยีนรูที่สามารถพัฒนาบุคคลใหมีความเจริญงอกงามมีความสมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา และสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข การศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัย จากการศึกษางานวิจยัเกีย่วกับการจัดการเรยีนการสอนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะ และ

Page 125: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

113

งานวิจยัที่เกี่ยวของกับภูมิปญญาทองถ่ิน คือผลงานวิจัยของ วชิรนุช สินธุชัย (2541 : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่องการคูณ สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6 นิตยา บุญสุข (2541 : บทคัดยอ) ศกึษาเรื่องแบบฝกเสริมทักษะวิชาคณิตศาสตร เร่ืองโจทยปญหาเศษสวน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 วิไลวรรณ พกุทอง (2542 : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะวิชาคณิตศาสตร เร่ืองโจทยปญหาการคูณการหารจํานวนทีม่ีตัวตั้ง 2 หลัก ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 วารี บุษบงค (2542 : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องแบบฝกเสริมทักษะที่มีประสิทธิภาพ วิชาคณิตศาสตรช้ันประถมศึกษาปที่ 2 เร่ืองการคูณ ธัญวิชญ ไตรรัตน (2544 : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องการพฒันาหลักสูตรโดยใชภูมิปญญาทองถ่ิน กลุมการงานพื้นฐานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 และสัทธา สืบดา (2545 : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดการสอนเรื่องโจทยปญหาคณิตศาสตรโดยใชขอมูลทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ผลการศึกษาโดยภาพรวม พบวา การจัดการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น นอกจากนี้การจัดการเรียนการสอน โดยนําภูมิปญญาทองถ่ินมาเปนเนื้อหาสวนหนึง่ในการจดัการเรียนการสอน ซ่ึงเปนการสงเสริมการใชภูมิปญญาทองถ่ินใหเกดิประโยชน และตรงกับความตองการของผูเรียนและทองถ่ิน ผลการศึกษาเอกสารดังกลาวขางตน สรุปไดวามีความจําเปนอยางยิง่ที่ครูควรจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับความตองการของผูเรียนที่สามารถพัฒนาผูเรียนใหเกิดทักษะ ในการเรียนรู ควบคูไปกับการเรียนรูภูมิปญญาทองถ่ินเพื่อใหผูเรียนเกดิความรักความหวงแหนในทองถ่ินของตน และเห็นคุณคาของภูมิปญญาทองถ่ิน การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูง ทั้งนี้เนือ่งจากนักเรียนไดมีบทบาทสําคัญในการฝกฝนทักษะการคิด การเรยีนรู ไดลงมือปฏิบัติจริงและสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวนัได การศึกษาความตองการเกี่ยวกับการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ จากการศึกษาความตองการเกี่ยวกับการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน ไดดําเนินการรวบรวมขอมูลโดยใชวิธีการ 3 วธีิ คือ 1. การสัมภาษณ 2. แบบสอบถาม 3. การสนทนากลุม โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. การสัมภาษณ จากการสํารวจความตองการเกี่ยวกับการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ของผูอํานวยการกองการศึกษาเทศบาลเมอืงกระทุมแบน ผูบริหารโรงเรียน ปลัดเทศบาล และผูสอนคณิตศาสตร โดยวิเคราะหขอมูลจาก 1. สถานภาพและขอมูลทั่วไป 2. ความตองการเกี่ยว กับการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินสําหรับ

Page 126: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

114

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 และ 3. ขอเสนอแนะอื่น ๆ เพิ่มเติม 1.1 สถานภาพและขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณไดแก ผูอํานวยการกองการศึกษาเทศบาลเมืองกระทุมแบน จาํนวน 1 คน ผูบริหารโรงเรียน จํานวน 2 คน ปลัดเทศบาล จํานวน 1 คน และผูสอนคณิตศาสตร จํานวน 2 คน รวม 6 คน โดยจําแนกตามเพศ อายุ ระดบัการศึกษาสูงสุด ตําแหนงการทํางาน และประสบการณในการพฒันาการศึกษาดานภูมิปญญาทองถ่ิน วิเคราะหขอมูลโดยใชคาสถิติรอยละ ( %) ดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละเกี่ยวกับสถานภาพและขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณ

สถานภาพและขอมูลทั่วไป จํานวน รอยละ 1. เพศ ชาย หญิง

4 2

66.67 33.33

รวม 6 100.00 2. อายุ 36 - 45 46 - 55

3 3

50.00 50.00

รวม 6 100.00 3. ระดับการศกึษาสูงสุด ปริญญาตรี ปริญญาโท

5 1

83.33 16.67

รวม 6 100.00 4. ตําแหนงการทํางาน ผูอํานวยการกองการศึกษา ผูบริหารโรงเรียน ปลัดเทศบาล ผูสอนคณิตศาสตร

1 2 1 2

16.67 33.33 16.67 33.33

รวม 6 100.00 5. ประสบการณการทํางาน 1 - 10 ป 11 - 20 ป

- 5

-

83.33

Page 127: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

115

ตารางที่ 6 (ตอ) สถานภาพและขอมูลทั่วไป จํานวน รอยละ

21 - 30 ป 1 16.67 รวม 6 100.00

6. ประสบการณในการพัฒนาการศึกษาดวยภูมิปญญาทองถ่ิน เคย ไมเคย

4 2

66.67 33.33

รวม 6 100.00 จากตารางที่ 6 พบวา ผูใหสัมภาษณเปนเพศชายจํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 66.67 เพศหญิงจํานวน 2 คน คดิเปนรอยละ 33.33 ในดานอายุ พบวา มีอายุระหวาง 36 – 45 ป และอาย ุ46 - 55 ป จํานวนเทากันจํานวน 3 คน คดิเปนรอยละ 50.00 เกีย่วกับการศึกษาสูงสุดสวนใหญผูใหสัมภาษณจบการศึกษาระดับปริญญาตรีจํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 83.33 และจบการศึกษาระดับปริญญาโทจํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 16.67 ดานตําแหนงการทํางานดํารงตําแหนงผูอํานวยการกองการศึกษาและปลดัเทศบาลจํานวนเทากันอยางละ 1 คน คิดเปนรอยละ 16.67 ผูบริหารสถานศึกษาและผูสอนคณิตศาสตรจํานวนเทากันอยางละ 2 คน คิดเปนรอยละ 33.33 ดานประสบการณในการทํางานในการพัฒนาการศึกษาดวยภมูิปญญาทองถ่ิน พบวาผูใหสัมภาษณสวนใหญเคยมีประสบการณจํานวน 4 คน คดิเปนรอยละ 66.67 และไมเคยมีประสบการณจํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 33.33 และจากการสัมภาษณถึงความตองการของผูที่มีสวนเกีย่วของกับการจัดการศึกษาของโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี คือ นายอนุสรณ จิระรัตนะวรรณะ ผูอํานวยการกองการศึกษาเทศบาลเมอืงกระทุมแบนและนางสาวยุพิน โชติวนกุล ผูชวยผูอํานวยการฝายวิชาการโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี และยังถือวาเปนบุคคลในทองถ่ินตางมีความเหน็ที่สอดคลองกัน ในสวนของภูมปิญญาทองถ่ินที่จะนํามาใชผสมผสานเชื่อมโยงบูรณาการในการเรยีนการสอนประกอบไปดวย 4 เรื่อง คือ 1. งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค 2. มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโต วดัดอนไกดี) 3. ชูชองามตากลวยไมไทย 4. สระหลวงปูคูวดัดอนไกดี สาเหตทุี่นําภูมิปญญาทั้ง 4 เรื่องมาบูรณาการในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรในครั้งนี้เนื่องมาจาก เร่ือง เครื่องเบญจรงค เปนภมูิปญญาที่สรางความภาคภูมใิจของชาวอําเภอกระทุมแบนถาไดศึกษาเรือ่งราวโดยละเอียดจะทําใหรูวา เครื่องเบญจรงคที่มีความงดงามเกิดขึน้แหงแรก จากกลุมภูมิปญญาของชาวอําเภอกระทุมแบนอนัควรคาแกการศึกษา ในสวนอีกสามเรื่องคือเร่ือง สวนกลวยไม มรดกทางวฒันธรรม (หลวงพอโต วัดดอนไกดี) และ สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี เปน

Page 128: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

116

ภูมิปญญาทองถ่ินซึ่งเปนหลักสูตรทองถ่ินของโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี ซ่ึงเมือ่ไดมีการเปลีย่นมาใชหลักสูตรใหม คือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 แทนหลักสูตรเดิม คือหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533)ในปการศึกษา 2545 เนื่องจากโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี เปนโรงเรียนเครือขายในการทดลองใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 การใชหลักสูตรทองถ่ินของโรงเรียนที่สรางขึ้นไมชัดเจน ซ่ึงหากไดมีการนาํภูมิปญญาทองถ่ินทั้ง 4 เร่ืองดังกลาวมาบูรณาการรวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรนั้นสามารถชวยแกปญหาดานความซ้ําซอนของเนื้อหาสาระและเวลาเรียนที่ไมเพยีงพอตลอดจนปญหาการขาดแคลนบุคลากรครูผูสอน และเหมาะสําหรับการเรียนรูและการถายทอดองคความรู อีกทั้งยงัเห็นวาเปนนวตักรรมที่สงเสริมใหผูเรียนมองเห็นความสัมพันธระหวางสาระที่เรียน กับเนื้อหาที่เกี่ยวของทําใหผูเรียนมีทัศนะกวางไกล อีกทั้งสามารถนําความรูไปใชในชวีิตประจําวนัไดอยางถูกตองตรงตามความสนใจ และความเปนจริงตลอดจนทําใหผูเรียนสามารถถายทอดเรื่องราวที่ตนไดพบเห็นใหผูอ่ืนทราบได เกิดความภาคภูมิใจ หวงแหน และรวมอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของทองถ่ิน 1.2 ความตองการเกี่ยวกับการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการ บูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จากการสัมภาษณผูอํานวยการกองการศึกษาเทศบาลเมืองกระทุมแบน ผูบริหารโรงเรียน ปลัดเทศบาลและผูสอนคณิตศาสตร วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) แลวนําเสนอแบบพรรณนาความ ผลการวิเคราะหความตองการเกี่ยวกบัการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ของผูอํานวยการกองการศึกษาเทศบาลเมืองกระทุมแบน ผูบริหารโรงเรียน ปลัดเทศบาลและผูสอนคณิตศาสตร มีดังตอไปนี้ ดานความตองการในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะโดยภาพรวม พบวา ทุกฝายมีความตองการในการพัฒนาแบบฝกเสรมิทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินเขามาบูรณาการกับองคความรูอ่ืนใหนกัเรียนไดเรียนรู ดงัทีผู่อํานวยการกองการศึกษาเทศบาลเมืองกระทุมแบน กลาววาการทําใหนักเรียนมีความรัก และภาคภูมิใจในทองถ่ินเปนสิ่งที่สอดคลองกับแนวการจัดการศกึษาในปจจุบันที่มุงเนนใหนําภูมิปญญาทองถ่ินที่มีอยูมาถายทอดความรูใหกับผูเรียน ผูเรียนจะไดตระหนกัถึงคุณคาในสิง่ที่ดี และมีอยูในทองถ่ิน (อนสุรณ จิระรัตนวรรณะ 2546) ดานความคิดเห็นในสวนของภูมิปญญาทองถ่ินที่นาสนใจ และควรคาแกการศึกษา โดยภาพรวม พบวาผูใหสัมภาษณสวนใหญมีความคิดเหน็ที่ ตรงกันถึงภูมปิญญาทองถ่ินที่นาสนใจ ไดแก เครื่องเบญจรงค มรดกทางวัฒนธรรมของวัดที่ใกลเคียงสถานศึกษา การ

Page 129: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

117

ทําขนมไทยและการปลูกกลวยไม ดังที่ผูบริหารโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี กลาววาภูมิปญญาทองถ่ินของอําเภอกระทุมแบนมีหลายอยางที่ควรคาแกการศึกษา และส่ิงหนึ่งที่สรางความภาคภูมใิจใหกบัชุมชนของเรามากก็คือเครือ่งเบญจรงคซ่ึงเปนสิ่งที่ทําใหคนทั่วไปรูจกัอําเภอกระทุมแบนของเรา แต ก็ไมควรมองขามภูมิปญญาที่ใกลตัว อันไดแกมรดกทางวัฒนธรรมของวัดดอนไกดี (อดุลย บญุประคอง 2546) ดานความเหมาะสมของการนําภูมิปญญาทองถ่ินทั้ง 4 เรื่อง คือ 1.งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค 2. มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโตวัดดอนไกด)ี 3. ชูชองามตากลวยไมไทย และ 4. สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี มาใชในการบูรณาการโดยภาพรวมพบวา มีความเหมาะสมดังทีผู่สอนคณิตศาสตรโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี กลาววามีความเหมาะสมทั้ง 4 เร่ืองเพราะเปนเรื่องในทองถ่ินเมื่อนํามาใชประกอบการสอนซึ่งจะทําใหนักเรยีนไดรูจักเรื่องราวตาง ๆ ไดอยางถูกตองโดยสามารถนํามาบูรณาการในสาระตาง ๆ ไดอยางมากมาย (จิตติมา ซ่ือดี 2546) ดานรูปแบบและลักษณะของแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินโดยภาพรวมพบวา รูปแบบของแบบฝกเสริมทักษะที่สรางขึ้นควรมีความแตกตางจากรูปแบบที่มีอยูทั่วไปควรจะเปนรูปแบบที่นาสนใจชวนใหผูเรียนไดทํา ดังที่ปลัดเทศบาลเมืองกระทุมแบนกลาววา ในตวัแบบฝกควรใหมเีนือ้หาใหครบและชัดเจน มีภาพประกอบในแตละเรื่องเพื่อใหผูเรียนไดมองเห็นภาพเปนรูปธรรม และในสวนของเนื้อหาที่เปนภูมิปญญาทองถ่ินอาจจะใชวธีิการเลาเรื่อง และนําเรื่องมาสรางเปนโจทยเพื่อผูเรียนจะไดเรียนรูจากเร่ืองใกลตัวอันจะทําใหงายตอการเรียนรูของผูเรียนมากขึ้น (นิรินธน โพธ์ิงาม 2546) ดานวิธีการในการดําเนนิการการจดักจิกรรมการเรียนการสอน โดยภาพรวม พบวาการจดักจิกรรมการเรียนการสอนควรนําขอมูลที่เปนเรื่องราวเกีย่วกับสถานที่สําคัญ ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมประเพณ ี อีกทั้งอาชีพในทองถ่ินที่สําคัญมาเชื่อมโยงเขากับเนื้อหาการคูณการหาร โดยนํามาแตงเปนโจทยดังทีค่รูผูสอนคณิตศาสตรของโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี กลาววาการจดักิจกรรมการเรยีนการสอนนัน้อาจจัดในรูปของการเลาเรื่องการตูนตลอดจนพานักเรยีนไปดูของจริง เพื่อใหนักเรยีนไดเกิดความเพลิดเพลินสนกุสนานทั้งนีย้งัพัฒนาความคิดสรางสรรค และฝกใหนักเรียนไดปฏิบัติจริง(รุจนนัท ปทุมานนท 2546) ดานการประเมินผล โดยภาพรวมพบวา การวดัผลประเมินผลเพือ่ที่จะทราบวานักเรียนเกดิการเรียนรูและมผีลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทีด่ขีึ้น ควรจะมวีิธีการวัดผลประเมินผลที่หลากหลายไมเพียงแตดูจากแบบทดสอบเทานั้น ดังที่ผูอํานวยการกองการศึกษาเทศบาลเมอืงกระทุมแบน กลาววาการวัดผลประเมินผลเปนสิ่งสําคัญซึ่งเปนตัวบงบอกถึงความกาวหนาในการเรียนของนักเรียน และความสําเร็จในการสอนของครู การวัดผลจากแบบทดสอบกอนเรียน – หลัง

Page 130: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

118

เรียนเพยีงอยางเดียวไมเพยีงพอควรจะไดใชวิธีการอื่น ๆ ควบคูไปดวย เชน การสังเกตพฤติกรรม ดูความกาวหนาของการทําแบบฝก (อนุสรณ จิระรัตนวรรณะ 2546) 1.3 ดานขอเสนอแนะอื่น ๆ เพิ่มเติม วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) แลวนําเสนอแบบพรรณนาความโดยภาพรวม พบวาผูใหสัมภาษณทุกคนไดใหขอเสนอแนะไปในทางเดียวกัน คือการสอนการคูณการหารโดยนําภูมิปญญาทองถ่ินเขามาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนเปนเรื่องที่ดีแตเปนเรื่องที่คอนขางยาก โดยครูผูสอนจะตองแยกสิ่งที่เปนภมูิปญญาทองถ่ินในแตละดานที่นํามาสอนในคณิตศาสตรใหไดกอน ซ่ึงจะทําใหงายตอการสอนการบวกการลบ การคูณและการหารงายขึ้น และในการจดักิจกรรมการเรียนการสอนควรเนนผูเรียนเปนสําคัญใหนักเรยีนไดศกึษาจากแหลงเรียนรูในชุมชน ใชส่ือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย ในการถายทอดสาระในแตละจุดประสงคการเรียนรู 2. การสอบถาม ผูวิจัยไดทาํการสอบถามความตองการในการเรยีนเกีย่วกับแบบฝก เสริมทักษะเรือ่ง การคณูการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 32 คนโดยการวิเคราะหขอมูลจาก 1. สถานภาพขอมูลทั่วไป 2. ความตองการในการเรยีนเรือ่งการคูณการหารโดยการใชแบบฝกเสริมทักษะ โดยการบูรณาการทองถ่ิน 3. ขอเสนอแนะอืน่ ๆ เพิ่มเติม 2.1 สถานภาพขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแกนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาลวดัดอนไกดีจําแนกตามเพศ อายุ และประสบการณเกีย่วกับการเรียนรูเร่ืองราวของภมูิปญญาทองถ่ิน วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติคารอยละ (%) รายละเอียดดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 จํานวนและรอยละเกี่ยวกับสถานภาพและขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

สถานภาพและขอมูลทั่วไป จํานวน รอยละ 1. เพศ ชาย หญิง

19 13

59.38 40.62

รวม 32 100.00 2. อายุ 10 ป 11 ป 12 ป

9

17 6

28.13 53.12 18.75

Page 131: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

119

ตารางที่ 7 (ตอ)

สถานภาพและขอมูลทั่วไป จํานวน รอยละ รวม 32 100.00

3. ประสบการณในการเรียนรูเร่ืองราวภูมปิญญาทองถ่ิน เคย ไมเคย

29 3

90.63 9.37

รวม 32 100.00 จากตารางที่ 7 พบวาผูตอบแบบสอบถามเปนเพศชายมากกวาเพศหญิงโดยเปนเพศชายจํานวน 19 คน คิดเปนรอยละ 59.38 และเพศหญิงจํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 40.62 ในดานอายุสวนใหญผูตอบแบบสอบถามมีอายุ 11 ป จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 53.12 รองลงมาอายุ 10 ป จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 28.13 และอายุ 12 ป จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 18.75 และดานประสบการณในการเรียนรูเร่ืองราวภูมิปญญาทองถ่ิน พบวาสวนใหญเคยเรียนรูเร่ืองราวภูมิปญญาทองถ่ินจํานวน 29 คน คิดเปนรอยละ 90.63 และไมเคยเรียนรูเร่ืองราวภูมิปญญาทองถ่ินจํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 9.37 2.2 ความตองการในการเรยีนรูเร่ืองราวเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถ่ิน จากแบบฝกเสริม ทักษะการคูณการหารโดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ิน วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) รายละเอยีดดังตอไปนี ้ 2.2.1 นักเรียนตองการเรียนเรื่องการคณูการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญา ทองถ่ินโดยวิธีการดังตอไปนี ้ 2.2.1.1 ใหครูเปนผูสอนในหองเรียนและมีกจิกรรมนอกหองเรียนบาง 2.2.1.2 ใหครูเปนผูสอนนอกหองเรียน 2.2.1.3 ใหมีผูรูในทองถ่ินมาถายทอดความรูใหฟง 2.2.1.4 ใหครูเปนผูสอนในหองเรยีน 2.2.1.5 ใหนกัเรยีนไดศึกษาจากเอกสาร 2.2.2 เนื้อหาที่นักเรยีนสนใจและตองการเรียนรูเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถ่ินของ อําเภอกระทุมแบนไดแก 2.2.2.1 ประเพณีและวัฒนธรรม 2.2.2.2 ส่ิงแวดลอม

Page 132: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

120

2.2.2.3 อาชีพที่สําคัญ 2.2.2.4 ทรัพยากรธรรมชาติ 2.2.3 ลักษณะของแบบฝกที่นักเรียนตองการไดแก 2.2.3.1 เปนเนื้อหาที่สนุกสนานเพลิดเพลิน 2.2.3.2 มีสีสันสวยงาม 2.2.3.3 มีการตูนประกอบ 2.2.3.4 พิมพตัวโต ชัดเจนและอานงาย 2.2.3.5 ใชภาษาที่งายแกการเขาใจ 2.2.3.6 รูปเลมมีขนาดสะดวกในการใช 2.3 ขอเสนอแนะอืน่ ๆ เพิม่เติม วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) แลวนาํเสนอแบบพรรณนาความนกัเรียนบางสวนตองการใหทาํแบบทดสอบที่มีสีสันสวยงามและในชุดแบบฝกแตละชุดมีแบบทดสอบเก็บคะแนนรวมอยูในชุดเดียวกัน 3. การสนทนากลุม ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมลู โดยการสนทนากลุม ระหวางศกึษานิเทศกจํานวน 1 คน ผูบริหารโรงเรียนจาํนวน 1 คน ผูสอนคณิตศาสตรจํานวน 1 คน เทศมนตรีฝายการศึกษาจํานวน 1 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจํานวน 2 คน และผูรูในทองถ่ินจํานวน 1 คน รวมทั้งหมด 7 คน ในวันที่ 24 กันยายน 2546 โดยใชหองสมุดโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดเีปนสถานที่ในการจัดสนทนากลุมซ่ึงในการสนทนากลุม ผูวิจัยไดแจงประเด็นการสนทนากลุมและกําหนดการสนทนากลุมใหบุคลากรทุกทานทราบลวงหนา และขอความอนุเคราะหในการจดัเตรียมสถานที่จากคณะครูโรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี นอกจากนี้ผูวจิัยยังไดจัดเตรยีมอุปกรณประกอบการสนทนากลุมคือ สมุดบันทึก กลองถายรูป อาหารวาง และของที่ระลึก การสนทนากลุมเริ่มเวลา 14.00 น. โดยผูวจิัยแนะนําคณะผูวิจยัและสมาชิกผูรวมสนทนากลุม ดังแผนภูมิที่ 4 (หนา 121)

Page 133: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

121

แผนผังการสนทนากลุม

แผนภูมิที่ 4 การจัดสถานทีใ่นการสนทนากลุม (Focus Group) ทั้งนี้ผูวิจยั ไดทําการสนทนากลุมเกีย่วกบัสภาพความตองการและขอบขายเนื้อหาในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 โดยวิเคราะหขอมูลจาก 1. สถานภาพและขอมูลทั่วไปของผูเขารวมสนทนากลุม 2. ความตองการและขอบขายเนือ้หาในการพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 และ 3. ขอคิดเห็นอืน่ ๆ เพิ่มเติม 3.1 สถานภาพและขอมูลทั่วไปของผูเขารวมสนทนากลุม ซ่ึงจําแนกตามเพศ อายุ อาชีพ และระดับการศึกษาสงูสุด วิเคราะหขอมูลโดยใชคาสถิติรอยละ (% ) ดังตารางที่ 8 (หนา 122)

อ.ประโรม ผูดําเนินการ

อ.อัญชรีกร ผูจดบันทึก

อ.วาธินี ผูชวยเหลือ

เทศมนตรี สุชาติ เบี้ยบังเกิด

คุณอุไร แตงเอี่ยม อ.สุมน โปษยกฤต

เทศมนตรี วิรัตน แตงเอี่ยม

นายพุทธิพงศ รัตนานุพงศ

ผช. ชํานาญ ซื่อดี

เทศมนตรี สมชาติ มารุงเรือง

Page 134: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

122

ตารางที่ 8 จํานวนและรอยละของผูเขารวมสนทนากลุม

สถานภาพและขอมูลทั่วไป จํานวน รอยละ 1. เพศ ชาย หญิง

5 2

71.43 28.57

รวม 7 100.00 2. อายุ 31 - 40 41 - 50 50 ปขึ้นไป

1 3 3

14.28 42.86 42.86

รวม 7 100.00 3. อาชีพ รับราชการ คาขาย ธุรกิจสวนตัว

3 3 1

42.86 42.86 14.28

รวม 7 100.00 4. ระดับการศกึษาสูงสุด ต่ํากวาปรญิญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท

1 4 2

14.28 57.15 28.57

รวม 7 100.00

จากตารางที่ 8 ปรากฏวาผูเขารวมสนทนากลุมสวนใหญเปนเพศชายจํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 71.43 และเพศหญิงจํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 28.57 ในดานอายุของผูเขารวมสนทนากลุมสวนใหญอยูระหวางอายุ 41 – 50 ป และ 50 ปขึ้นไปจํานวนเทากันคือ 3 คน รองลงมาคืออายุ 31 – 40 ป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 14.48 ดานอาชีพของผูเขารวมสนทนากลุมสวนใหญมีอาชีพรับราชการและคาขายจํานวนเทากนัคือ 3 คน รองลงมาไดแกอาชีพธุรกิจสวนตัวจํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 14.28 และดานระดับการศึกษาสูงสุดของผูเขารวมสนทนากลุมสวนใหญจบการศึกษาระดับปริญญาตรีจํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 57.15 รองลงมาจบการ

Page 135: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

123

การศึกษาระดบัปริญญาโทจํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 28.57 และจบการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 14.28 3.2 สภาพความตองการและขอบขายเนื้อหา วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะห เนื้อหา (Content Analysis) แลวนําเสนอแบบพรรณนา ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมลูโดยการสนทนากลุมซ่ึงในดานความตองการโดยภาพรวมพบวา ผูเขารวมสนทนากลุมทุกคนมีความคิดเหน็สอดคลองกันดานความตองการในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินเนื่องจากการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินนั้นมีความสําคัญ และจําเปนดังทีผู่บริหารโรงเรียน กลาววา หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 เนนการจัดการเรยีนการสอนโดยการบูรณาการความรูตาง ๆ หรือจากการเรียนรูตาง ๆ เขาดวยกัน มกีารปลูกฝงคานิยมในการรักซึ่งภูมิปญญาทองถ่ินอีกทั้งยังสามารถนําไปประยกุตใชไดจริงในชีวิตประจําวนั (ชํานาญ ซ่ือดี 2546) ดานเนื้อหาสาระในการจัดการเรียนการสอนดวยแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน พบวาผูเขารวมสนทนากลุมมีความคิดเหน็สอดคลองกันวาควรใหมีการจัดเนื้อหาในสวนของภูมิปญญาทองถ่ินที่สรางความภาคภูมิใจ นาสนใจ ควรคาแกการเรียนรูของอําเภอกระทุมแบนและภูมิปญญาทองถ่ินที่เปนบริบทใกลตัวนักเรียน ดังที่ผูรูในทองถ่ินกลาววา การทําเครื่องเบญจรงคของอําเภอกระทุมแบนนั้นมีช่ือเสียงไปทั่วประเทศ ซ่ึงเปนสิ่งที่สรางความภาคภูมิใจเปนอยางมากของผูริเร่ิมและชาวอําเภอกระทุมแบนดังนั้นจึงเปนการดีเปนอยางยิง่ที่จะใหลูกหลานไดเรียนรูเกี่ยวกับเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ิน (อุไร แตงเอี่ยม 2546) นอกจากนี้คณะกรรมการสถานศึกษาไดใหความเห็นวา การใหนักเรียนไดเรียนรูถึงประวัติความเปนมา ความสําคัญของเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ินจะทําใหนักเรยีนเห็นถึงความสําคัญของภูมิปญญา ซ่ึงเปนการชวยอนุรักษภูมปิญญาดังกลาวใหคงอยู (วรัิช แตงเอี่ยม 2546) ในสวนดานแหลงเรยีนรูที่จะใหนักเรียนไดเรียนรูนัน้ ผูเขารวมสนทนากลุมมีความคิดเหน็สอดคลองกันวาควรใหนักเรียนไดศึกษาจากแหลงเรียนรูจริง เชนเขาไปศึกษาการทําเครื่องเบญจรงคในหมูบานเบญจรงคซ่ึงอยูไมไกลจากโรงเรียน เชิญวิทยากรในทองถ่ินมาถายทอดเร่ืองราวและความรูเกีย่วกับภูมิปญญาทองถ่ิน นอกจากนั้นผูเขารวมสนทนากลุมยงัเห็นวาการใหนักเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับประวัติความเปนมาตลอดจนสิ่งสําคัญตาง ๆ ที่มีอยูในวัดดอนไกดีควรจะพานักเรยีนไปดูของจริง เพราะวดักับโรงเรียนนัน้อยูใกลกันอันจะทาํใหนกัเรียนนัน้ไดสัมผัสกับบรรยากาศที่เปนจริง และธรรมชาติตลอดจนสถานทีสํ่าคัญที่อยูในทองถ่ิน ซ่ึงสอดคลองกับความตองการของนักเรียนจากการตอบแบบสอบถาม

Page 136: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

124

ดานเทคนิควิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนพบวา ผูเขารวมสนทนากลุม ใหความคดิเหน็วาควรใชเทคนิควิธีสอน และกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยครูผูสอนคณิตศาสตรกลาววา ในการสอนคณิตศาสตรที่บูรณาการเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ินเปนเรื่องที่นาสนใจเพราะฉะนัน้กิจกรรมการเรียนการสอนก็ตองหลากหลายไปดวย เชนเมื่อนําเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ินมาใหนกัเรยีนไดศึกษา นอกจากใหนกัเรียนไดทําแบบฝกโดยการคิดคํานวณเพยีงอยางเดยีวก็อาจใหนักเรยีนสรุปยอจากเรื่องที่ไดเรียนรูซ่ึงนักเรียนก็จะไดรับการเรียนรู โดยการบูรณาการอยางแทจริง (สุมน โปษยกฤต 2546) นอกจากนัน้ในชุดกิจกรรมการเรียนการสอนควรสอนจากเรื่องงายไปสูเร่ืองยากจากเรื่องใกลตัวเพื่อนกัเรียนจะไดเรียนรูจากสิ่งที่เปนรูปธรรม ซ่ึงงายแกการเรียนรู ดานการวัดผลประเมินผลควรประเมินผลตามสภาพจริง และครอบคลุมทั้ง 3 ดาน ไดแก พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และเจตคติ ใหนกัเรียนมีสวนรวมในการประเมินผลงานของตนหรือใหเพือ่นชวยกันประเมิน และดานรูปแบบของแบบฝกเสริมทักษะผูเขารวมสนทนากลุม มีความคิดเห็นสอดคลองกันวา แบบฝกจะตองมีรูปแบบที่ดึงดูดความสนใจใหกับนักเรียนรูสึกวาอยากทําแบบฝก โดยควรมภีาพการตูนและภาพภูมิปญญาทองถ่ินประกอบ และควรมีการสอบถามความตองการของนักเรียนวามีความตองการอยางไร 3.3 ดานขอเสนอแนะอืน่ ๆ วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content

Analysis) แลวนําเสนอแบบพรรณนา ซ่ึงมีผูใหขอเสนอแนะเพิ่มเติมที่เปนประโยชนในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะเรือ่งการคูณการหารโดยการบรูณาการภูมิปญญาทองถ่ินโดยการดดัแปลงโจทยปญหาจากโจทยที่พบทั่วไปในแบบเรียนก็นําเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ินมาสรางโจทยโดย ในการดดัแปลงโจทยหรือสรางโจทยควรใหผูเรียนไดรับความรูดานคณิตศาสตรและประวัติศาสตรไปพรอมกัน และในการจดักิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะดงักลาวเปนสิ่งที่นาสนใจซึ่งสามารถพัฒนาหรือเช่ือมโยงเปนสูการเรียนรูโดยวิธีการอื่น เชน ใหนกัเรียนไดจดัทาํโครงงาน นอกจากนั้นในสวนของวิทยากรที่เชิญมาใหความรูกับนักเรียนควรเปนวิทยากรระดับรากหญาหรือเปนผูที่ไดสัมผัสเกี่ยวของกับภูมิปญญาทองถ่ินนั้นจริง ๆ ดังนั้นจากผลการศึกษาความตองการ และขอมูลพื้นฐาน การสัมภาษณ การสอบถาม และการสนทนากลุม ผูวิจัยไดวเิคราะหขอมูลและนําแนวทางมาสังเคราะหพัฒนาแบบฝกเสรมิทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ขึ้นใหมีความเหมาะสม และสอดคลองกับความตองการของนักเรียนและบรบิทของทองถ่ินตามแนวทางการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศกัราช 2544

Page 137: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

125

การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ

จากการศึกษาขอมูลพื้นฐาน ผูวิจัยไดนําขอมูลมาเปนแนวทางในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ โดยมี 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การสรางแบบฝกฉบับราง 2. การประเมินและการตรวจสอบแบบฝกโดยอาจารยที่ปรึกษาวทิยานิพนธและผูเชี่ยวชาญ 3. การปรับปรุงแกไข 4. การหาประสิทธิภาพแบบเดีย่ว (Individual Tryout) 5. การปรับปรุงแกไข 6. การหาประสิทธิภาพแบบกลุมเล็ก (Small Group Tryout) และ 7. การปรับปรุงแกไข โดยมีรายละเอียดดังนี้ การสรางแบบฝกฉบับราง จากการวิเคราะหขอมูลในตอนที่ 1 การศึกษาขอมูลพื้นฐานรวมทั้งการขอคําแนะนําและคําปรึกษาจากอาจารยทีค่วบคุมวิทยานิพนธนํามาพฒันาแบบฝกฉบับราง โดยมีองคประกอบดังนี้ 1. คูมือครู ประกอบดวย คํานาํ วัตถุประสงค ขั้นตอนการใชชุดแบบฝกเสริมทักษะ แผนการจัดการเรียนรู ใบความรูสําหรับครู แบบสังเกตการเรียนรูและแบบบนัทกึการประเมินช้ินงาน 2. แบบฝกเสริมทักษะสําหรับนักเรียน ประกอบดวย คาํนํา คําอธิบายการใชแบบฝก ใบความรูสําหรับนักเรียน ชุดแบบฝกเสริมทักษะ และแบบทดสอบ รายละเอียดแตละองคประกอบมีดังนี้ 1. คูมือครู 1.1 คํานํา แบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญา ทองถ่ินนี้เปนสื่อการเรียนการสอนที่ผูวิจัยสรางขึ้น เพื่อใชควบคูกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 โดยนําภูมิปญญาทองถ่ินของอําเภอกระทุมแบน จังหวดัสมุทรสาครมาเชื่อมโยงสอดแทรกเนื้อหาสาระรวมกับเรือ่งการคูณการหาร การจัดกจิกรรมการเรียนการสอนที่เชือ่มโยงกับเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ิน เปนการจดักิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคลองกับหลักการจัดการเรยีนรูตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ที่ใหการจดัการเรียนรูแบบบูรณาการเปนหลักการสําคัญในการจดัการเรียนการสอนซึ่งในการนําแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินมาใชในการจัดการเรยีนการสอน นอกจากจะชวยพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรแลวยังชวยใหผูเรียนเกดิจิตสํานึกในการอนุรักษ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิญญาไทย อันสอดคลองกับจุดมุงหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐานพุทธศักราช 2544

Page 138: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

126

แบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินนี้ไดแบงออกเปน 4 เร่ือง ดังนี้ 1. การคูณการหารจํานวนนับ : งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค 2. การคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโต วดัดอนไกดี) 3. การคูณการหารเศษสวน : ชูชองามตากลวยไมไทย 4. การคูณทศนยิม : สระหลวงปูคูวัดดอนไกด ี 1.2 วัตถุประสงค 1.2.1 เพื่อใหผูเรียนมีความรูความเขาใจ เรื่องการคณูการหารควบคูกับเรื่องราว ของภูมิปญญาทองถ่ินของอําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมทุรสาคร 1.2.2 เพื่อใหผูเรียนมีความคิดเห็นที่ดตีอวิชาคณิตศาสตร และตอการจัดการ เรียนการสอนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน 1.2.3 เพื่อใหผูเรียนมีทกัษะกระบวนการตาง ๆในการเรียนเรื่องการคูณการหาร 1.3 ขั้นตอนการใชชุดแบบฝกเสริมทักษะ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษารายละเอยีดของชุดแบบฝกเสริมทักษะในแตละเรื่อง 2. จัดเตรยีมส่ือ วัสดุอุปกรณที่ระบุไวในแตละแผนการจัดการเรียนรู 3. ทดสอบกอนเรียน (Pretest) 4. ดําเนินการใชชุดแบบฝกเสริมทักษะ 5. ทดสอบหลังเรียน (Posttest) 6. ปรับปรุงผลงานใหสมบูรณ 7. ชุดแบบฝกเสริมทักษะที่สมบูรณและเผยแพร 1.4 แผนการจัดการเรียนรู ประกอบดวยแผนการจัดการเรียนรู 4 เร่ือง 1.4.1 การคูณการหารจาํนวนนับ : งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค ประกอบดวยแผนการจัดการเรียนรู 6 แผน 1.4.2 การคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโต วัดดอนไกดี) ประกอบดวยแผนการจัดการเรียนรู 1 แผน 1.4.3 การคูณการหารเศษสวน : ชูชองามตากลวยไมไทย ประกอบดวยแผนการจัดการเรียนรู 3 แผน 1.4.4 การคูณทศนยิม : สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี ประกอบดวยแผนการจัดการเรียนรู 1 แผน 1.5 ใบความรูสําหรับครู มีจํานวน 4 เรื่อง คือ 1. งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค 2. มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโตวัดดอนไกด)ี 3. ชูชองามตากลวยไมไทย และ 4. สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี โดยใบความรูแตละเรื่องจะกลาวถึงเนื้อหาของภูมิปญญาทองถ่ินแตละเร่ืองที่ครูควรจะรูเพื่อสามารถถายทอดความรู และใหคาํแนะนําแกนกัเรียน

Page 139: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

127

1.6 แบบบันทึกการประเมนิชิ้นงาน ซ่ึงเปนแบบบันทกึการประเมนิชิ้นของนักเรียน ที่ผูสอนเปนผูประเมินโดยจะอยูในสวนทายของแผนการจัดการเรียนรูแตละเรื่อง 2. แบบฝกเสริมทักษะสําหรับนักเรียน 2.1 คํานํา แบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญา ทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ที่จดัทําขึ้นมีจุดมุงหมายเพื่อพฒันาผูเรียนใหมีความรู ความเขาใจเรื่องการคูณการหารควบคูกับเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ินของ อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร อีกทั้งเปนการเพิ่มพูนทักษะกระบวนการตาง ๆ ในการเรียนรูเร่ืองการคณูการหารตลอดจนผูเรียนมเีจตคติที่ดีตอการเรียนคณิตศาสตร เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน ในสวนเนื้อหาของแบบฝกเสริมทักษะประกอบดวยเนื้อหาจาํนวน 4 เร่ือง คือ 1. เร่ืองการคูณการหารจํานวนนับ (งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค) ประกอบดวยแบบฝกหัดที่ 1-10 2. เร่ืองการคูณการหารระคน (มรดกทางวัฒนธรรม หลวงพอโตวัดดอนไกดี) ประกอบดวยแบบฝกหัดที่ 11-13 3. เร่ืองการคูณการหารเศษสวน (ชูชองามตากลวยไมไทย) ประกอบดวยแบบฝกหัดที ่ 14-19 4. เร่ืองการคูณทศนยิม (สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี) ประกอบดวยแบบฝกหัดที่ 20-23 โดยแบบฝกเสริมทักษะที่จดัทําขึ้นไดสอดแทรกเนื้อหา และภาพประกอบโดยเปนภาพของภูมิปญญาทองถ่ิน ภาพการตูน เพื่อสงเสริมใหผูเรียนเกดิความสนใจ มีความสนกุเพลิดเพลินเกดิเจตคติที่ดีตอการเรียนคณิตศาสตร ดวยหวังที่จะมีสวนรวมพัฒนาผูเรียนใหเปนเยาวชนของชาติใหมีคุณภาพสบืไป 2.2 คําอธิบายการใชแบบฝก ระบุถึงการขั้นตอนการใชแบบฝกในรูปของ FlowChart 2.3 ใบความรูสําหรับนักเรียน มีจาํนวน 4 เร่ือง เชนเดยีวกบัใบความรูของครูแต เนื้อหาในบางเรื่องจะมีนอยกวาใบความรูของครูทั้งนี้เพื่อความเหมาะสมกับผูเรียน โดยผูเรียนจะไมเกิดความเบื่อหนายในเนื้อหาที่มีมากเกินไปอีกทั้งมีภาพภูมิปญญาทองถ่ิน และภาพการตูนประกอบเพื่อใหผูเรยีนเกิดความสนใจที่จะเรียนรู 2.4 แบบฝกเสริมทักษะ มจีํานวน 4 เร่ือง รวมทั้งส้ิน 23 แบบฝก ซ่ึงไดช้ีแจงไวในสวนของคํานํา 2.5 แบบทดสอบ โดยแบงเปนแบบทดสอบยอยทายแบบฝกหัดมีจํานวน 23 ชุด และแบบทดสอบทายเรื่องที่เรียนมีจํานวน 4 เร่ือง โดยแบบทดสอบจะมทีั้งแบบอัตนัย และปรนยั 4 ตัวเลือกการประเมินแบบฝกฉบับราง การประเมินแบบฝกฉบับราง เปนการประเมนิกอนนําแบบฝกไปทดลองใช โดยผูเชีย่วชาญจํานวน 5 ทาน เปนผูประเมินคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) พิจารณาความสอดคลองขององคประกอบของแบบฝกฉบับราง ไดแก ความเหมาะสมสอดคลอง

Page 140: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

128

ของคูมือครู ประกอบดวย คํานํา วัตถุประสงค แผนการจัดการเรียนรู ใบความรูสําหรับครู แบบการบันทึกการประเมินชิ้นงานนักเรยีน ความเหมาะสมสอดคลองของชุดแบบฝกเสริมทักษะสําหรับนักเรียน ความเหมาะสมสอดคลองของแบบทดสอบกอนเรียน-แบบทดสอบหลังเรียน ขอเสนอแนะที่ไดรับปรับปรุงแกไขโดยการวิเคราะหขอมูลใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ดังตารางที่ 9 หนา (129) จากผลการประเมินแบบฝกฉบบัราง โดยผูเชีย่วชาญ 5 ทานประเมินความสอดคลองของแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 โดยการหาคาดัชนคีวามสอดคลองของแบบฝก (IOC) นั้นปรากฏวาความสอดคลองของแบบฝกในทุกรายขอมีคาดัชนีมากกวา 0.5 นั่นคือมีคาเฉลี่ยความสอดคลองเทากับ 1.00 ไดแก 1. ความเหมาะสมสอดคลองของคูมือครู ประกอบดวย ดานคํานํามคีวามสอดคลอง (IOC = 1.00) ดานวตัถุประสงคมีความสอดคลอง (IOC = 1.00) ดานแผนการจดัการเรียนรูมคีวามสอดคลอง (IOC = 1.00) ดานใบความรูสําหรับครูมีความสอดคลอง (IOC = 1.00) ดานแบบบันทกึการประเมินชิน้งานนักเรียนมีความสอดคลอง (IOC = 1.00) 2. ความเหมาะสมสอดคลองของชุดแบบฝกเสริมทักษะสําหรับนักเรียน ประกอบดวย ดานชุดแบบฝกเสริมทักษะมีความสอดคลอง (IOC = 1.00) ดานใบความรูสําหรับนักเรียนมีความสอดคลอง (IOC = 1.00) และ 3. ความเหมาะสมสอดคลองของแบบทดสอบกอนเรียน-แบบทดสอบหลังเรียนมีความสอดคลอง (IOC = 1.00) นอกจากนัน้ผูเชีย่วชาญยังไดใหขอเสนอแนะเพิ่มเติมดังนี้ 1. เร่ืองหลวงพอโต เร่ืองเลาเกี่ยวกับชือ่วดัดอนไกดผูีวิจัยไมไดบอกที่มาหรือบุคคลที่เลาจึงเปนจดุบกพรองที่ตองปรับปรุง เพราะเปนเรื่องประวัติศาสตรหากไมสามารถคนหาจากหนังสือไดก็ควรอางอิงผูรูในทองถ่ินที่นาเชื่อถือได 2. เรื่องสระหลวงปู ควรจะระบุชวงปที่หลวงปูฮะดํารงตําแหนงเจาอาวาสเนื่องจากทําใหนกัเรียนรูถึงความเกาแกของสระนี้ ถึงแมจะไมสามารถระบุชวงปที่สรางไดอีกทั้งปจจุบันสระนี้ขาดการดูแลอยางจริงจัง ดงัผูวิจัยควรจะขยายผลการวิจัยดวยการเสนอโครงการดูแลรักษาสระหลวงปูฮะ หากโรงเรียนชุมชนในทองถ่ินปลอยปละละเลยเชนนี้คาดวาจะเนาเหมือนคลองภาษีเจรญิในที่สุด 3. เรื่องกลวยไมควรระบุที่มาของขอมูลใหชัดเจน ซ่ึงจะเปนประโยชนตอผูที่อานที่อาจจะตองการคนควาขอมูลเพิ่มเติม 4. ควรเพิ่มภาพประกอบในแบบฝกบางขอที่เปนภมูิปญญาทองถ่ิน และการใชตัวพิมพควรใหมีความชัดเจนเกี่ยวกบัจํานวน ตัวเลข 5. แบบบันทึกการประเมินชิ้นงานนกัเรียนนาจะมรีายละเอียดของเกณฑการใหคะแนนวาเมื่อไรควรให 0,1,2,3,4 6. ควรนําเสนอผูบริหารโรงเรียนในการจดัสรรงบประมาณสาํหรับพิมพแบบฝกเสริมทักษะสําหรับใชในโรงเรียน เพื่อองคความรูจากการวิจัยคร้ังนี้จะไดเกิดประโยชนตอนักเรียน

Page 141: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

129

ตารางที่ 9 ผลการพิจารณาความสอดคลองของประเดน็คําถามกับรายละเอียดของแบบฝกเสริม ทักษะ

คะแนนความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญ ประเด็นคําถาม คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5

ดัชนีความสอดคลอง

ความหมาย

+1

+1

+1

+1

+1

1.00

มีความ สอดคลอง

+1

+1

+1

+1

+1

1.00

มีความ สอดคลอง

+1

+1

+1

+1

+1

1.00

มีความ สอดคลอง

+1

+1

+1

+1

+1

1.00

มีความ สอดคลอง

1. ความเหมาะสมสอดคลอง ของคูมือครู 1.1 ความเหมาะสมสอดคลอง ของคํานํา 1.2 ความเหมาะสมสอดคลอง ของวัตถุประสงค 1.3 ความเหมาะสมสอดคลอง ของแผนการจัดการเรียนรู 1.4 ความเหมาะสมสอดคลอง ของใบความรูสําหรับคร ู 1.5 ความเหมาะสมสอดคลอง ของแบบบันทึกการ- ประเมินช้ินงานนักเรียน

+1

+1

+1

+1

+1

1.00

มีความ

สอดคลอง

+1

+1

+1

+1

+1

1.00

มีความ

สอดคลอง

2.ความเหมาะสมสอดคลอง ของชุดแบบฝกเสริมทักษะ สําหรับนักเรียน 2.1 ความเหมาะสมสอดคลอง ของชุดแบบฝกเสริมทักษะ 2.2 ความเหมาะสมสอดคลอง ของใบความรูสําหรับ นักเรียน

+1

+1

+1

+1

+1

1.00

มีความ สอดคลอง

3. ความเหมาะสมสอดคลอง ของแบบทดสอบกอนเรียน- แบบทดสอบหลังเรียน

+1

+1

+1

+1

+1

1.00

มีความ

สอดคลอง

คาเฉลี่ย

1.00

มีความ สอดคลอง

Page 142: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

130

การปรับปรงุแกไข ผูวิจัยไดดาํเนินการปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ ดังตอไปนี้ คือ 1. เร่ืองหลวงพอโต เร่ืองเลาเกีย่วกับชื่อวัดดอนไกดีผูวิจัยไดอางอิงผูรูในทองถ่ินที่นาเชือ่ถือไดเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของวัดดอนไกดี 2. เรื่องสระหลวงปู ไดระบุชวงปที่หลวงปูฮะดํารงตําแหนงเจาอาวาสเนื่องจากทําใหนักเรียนรูถึงความเกาแกของสระนี้ 3. เร่ืองกลวยไมไดระบทุี่มาของขอมูลที่ชัดเจนซึ่งจะเปนประโยชนตอผูที่อานที่อาจจะตองการคนควาขอมูลเพิ่มเติม 4. เพิ่มภาพประกอบในแบบฝกบางขอที่เปนภูมปิญญาทองถ่ิน และแกไขใชตัวพิมพทีม่ีความชัดเจนเกี่ยวกับจํานวน ตัวเลข 5. แบบบันทกึการประเมินชิน้งานนักเรียนไดเพิ่มเกณฑการใหคะแนนวาเมื่อไรควรให 0,1,2,3,4 การหาประสิทธิภาพแบบเดีย่ว (Individual Tryout) ผูวิจัยไดนําแบบฝกฉบับรางที่ผานการปรับปรุงแกไขแลวไปหาคาประสทิธิภาพ E1 / E2 แบบเดีย่ว (Individual Tryout) กับนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5/4 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี สังกัดเทศบาลเมืองกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง ออน อยางละ 1 คน รวมจํานวน 3 คน เพื่อดูความเหมาะสมของภาษาและความยากงายของกิจกรรมนํามาหาคาประสิทธิภาพ E1 / E2 แบบเดีย่ว (Individual Tryout) โดยไดคาประสิทธิภาพ 66.66 / 71.11 ซ่ึงสูงกวาเกณฑมาตรฐาน 60 / 60 ที่ตั้งไว (รายละเอียดดังตารางที่ 20 ภาคผนวก ญ หนา 212 ) อยางไรก็ตามในขณะที่ทดสอบหาคาประสิทธิภาพแบบเดี่ยวนั้น พบขอบกพรองควรปรับปรุงแกไขเกี่ยวกับความไมชัดเจนของตัวอักษร ตวัเลข คําซํ้า และภาษาทีใ่ชในการอธิบายกิจกรรม ซ่ึงนักเรยีนอานแลวไมเขาใจจึงไมสามารถปฏิบัติตามกิจกรรมที่ระบุไวในแบบฝกไดถูกตอง ในสวนของภาพการตูนที่ใชประกอบนักเรียนสนใจ และสนกุเพลิดเพลินทีไ่ดอานเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ิน การปรับปรงุแกไข จากการทดสอบหาคาประสิทธิภาพ E1 / E2 แบบเดี่ยว (Individual Tryout) แลวนัน้ผูวิจัยไดนําผลที่ไดมาปรับปรุงแกไขเพื่อใหแบบฝกมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการปรับปรุงเกี่ยวกับความชัดเจนของตวัอักษร ตัวเลข ภาษาที่ใชในการอธิบายการทํากิจกรรมใหมีความชัดเจนงายตอการเขาใจแกนักเรียนเพื่อใหนกัเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมที่มอียูในแบบฝกไดอยางถูกตอง การหาประสิทธิภาพแบบกลุม (Small Group Tryout)

Page 143: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

131

ผูวิจัยไดนําแบบฝกที่ปรับปรุงแกไขแลวมาทดลองใชเพื่อหาคาประสิทธิภาพ E1 / E2 แบบกลุม (Small Group Tryout) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/4 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกดี สังกัดเทศบาลเมืองกระทุมแบน จงัหวัดสมุทรสาคร ที่มีผลการเรียนเกง ปานกลาง ออน อยางละ 3 คน รวมจํานวน 9 คน โดยไดคาประสิทธิภาพ 71.11 / 75.93 ซ่ึงสูงกวาเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไว 70 / 70 (รายละเอียดดังตารางที่ 21 ภาคผนวก ญ หนา 212 ) การปรับปรงุแกไขแบบฝกฉบับราง ผูวิจัยไดนําผลการตรวจสอบของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และผูเชีย่วชาญและจากการทดสอบหาคาประสิทธิภาพ E1 / E2 ทั้ง 2 คร้ังมาปรับปรุงแกไขอีกครั้งเพื่อใหแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 มีความสมบูรณและมคีวามเหมาะสมกอนนําไปทดลองใชจริงรายละเอียดของสวนที่ปรับปรุงแกไขมีดังตอไปนี้ 1. ปรับปรุงภาษาที่ใชในการอธิบายกิจกรรมในแบบฝก เพื่องายแกการเขาใจของ นักเรียน 2. ปรับปรุงตัวอักษร ตัวเลข ใหมีความชดัเจนและเหมาะสมกับนักเรียน 3. ปรับปรุงแกไขคําผิด โจทยในบางขอที่ไมถูกตอง หรือมีความไมเหมาะสมกับ นักเรียน 4. ปรับปรุงใบความรูในเรื่องของภูมิปญญาทองถ่ิน โดยเพิ่มขอมูลที่มีความชัดเจนใน แตละเรื่อง และปรับปรุงภาษาใหมีความสละสลวยถูกตอง 5. ปรับปรุงในสวนภาพประกอบภูมิปญญาทองถ่ินอีกทั้งรูปเลมของแบบฝก โดยใน สวนของหนาปกไดจดัทําใหมีความสวยงามดึงดูดความสนใจแกผูเรียน

การทดลองใชแบบฝกเสรมิทักษะ

ผูวิจัยไดนําแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวดัดอนไกดี อําเภอกระทุมแบน จังหวดัสมุทรสาคร จํานวน 32 คน เนื่องจากมีความพรอมดานวัสดุอุปกรณ และผูบริหารโรงเรียนใหการสนับสนุนในการนําแบบฝกไปทดลองใชโดยผูวจิยัไดทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 ซ่ึงเริ่มทดลองตั้งแตวนัที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2547 รวมระยะเวลาในการใชแบบฝกทั้งหมด 6 สัปดาห สัปดาหละ 5 ช่ัวโมง รวมทั้งสิ้น 30 ช่ัวโมง ในการทดลองนั้นผูวิจยัเปนผูดําเนินการ

Page 144: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

132

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละแผนการจัดการเรยีนรู โดยมีขั้นตอนในการดําเนินการใชแบบฝกดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. การทดสอบกอนเรียน โดยใชแบบฝกซึ่งผูวิจัยเปนผูดาํเนินการทดสอบจากขอสอบ วัดความรูความสามารถเรื่องการคูณการหารจํานวน 30 ขอ โดยแบงเปน 2 ตอน คือตอนที่ 1 แบบ อัตนัย จาํนวน 15 ขอ และตอนที่ 2 แบบปรนัย จาํนวน 15 ขอ 2. ดําเนินการใชแบบฝกเสริมทักษะทั้ง 4 ชุด โดยดําเนินการดังนี ้ 2.1 แบบฝกเสริมทักษะ เรือ่งการคูณการหารจํานวนนบั : งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค เวลา 11 ช่ัวโมง มีสาระสําคัญ คือ ใหนักเรยีนไดเรียนรูในเรื่องการคูณการหารจํานวนนับใหนักเรยีนไดปฏิบัติตามกิจกรรมที่กําหนดในแบบฝกหัด และเรียนรูเร่ืองราวเกี่ยวกับการทําเครื่องเบญจรงคของอําเภอกระทุมแบนจากการเรียนและศึกษาจากใบความรูโดยใหนักเรียนไดเรียนรู และฝกทักษะการคณูการหารจํานวนนับโดยการปฏิบัติกิจกรรมจากแบบฝกหัดที่ 1 - 10 ซ่ึงจากการเรียนการสอน และการปฏิบัติกจิกรรมของนักเรียนนกัเรียนสามารถเรียนรูในเรื่องการคูณการหารจํานวนนับไดดี และมีความสนใจในการทําแบบฝกหัดที่สรางขึ้นนอกเหนือจากแบบฝกหดัที่อยูในหนังสือเรียน และในแบบฝกหดัที่ 5 เปนการเรียนเรื่องโจทยปญหาการคูณโดยบูรณาการความรูในเรื่องของเครื่องเบญจรงคมาใชสรางโจทยซ่ึงนกัเรียนมีความสนใจในการเรียน และสามารถนําขอมูลของเครื่องเบญจรงคมาบูรณาการโดยการสรางเปนโจทยปญหาไดด ี มีความคดิสรางสรรคในการเรียน 2.2 แบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม (หลวง- พอโตวัดดอนไกดี) เวลา 4 ช่ัวโมง มีสาระสําคัญ คือ ใหนกัเรียนไดเรียนรูในเรื่องการคูณการหารระคน และเรยีนรูประวัติความเปนมาของวัดดอนไกดีซ่ึงเปนวดัที่มีความสําคัญตอโรงเรียน และชุมชน เรียนรูส่ิงที่ควรคาแกการอนุรักษซ่ึงมีอยูในวัดดอนไกดเีพื่อใหนักเรียนเกดิความรัก และหวงแหนในมรดกทางวัฒนธรรมควบคูไปกับการเรียนรูเร่ืองการคูณการหารระคน โดยแบงกลุมศกึษาประวัติความเปนมาของวัดดอนไกดีจากใบความรู ทํากิจกรรมแบบฝกหัดที่ 11 เรียนรูการแสดงวิธีทําและหาคําตอบจากโจทยปญหาระคน ทําแบบฝกหัดที ่ 13 ซ่ึงจากแบบฝกหัดที่ 13 นักเรียนจะไดเรียนรูการสรางโจทยปญหาระคน พรอมกับไดรับการบูรณาการความรูเร่ืองราวของวัดดอนไกดีโดยการนํามาสรางเปนโจทย พานักเรียนเที่ยวชมสถานที่สําคัญของวัดดอนไกดีแลวใหแตละกลุมสรางโจทยปญหาระคน โดยนําสิ่งที่พบเห็นทีว่ัดมาสรางโจทยพรอมทั้งหาคําตอบแลวนาํเสนอผลงาน โดยจากการจัดกจิกรรมการเรียนรูนักเรียนมีความกระตือรือรน สนุกสนาน สามารถปฏิบัติกิจกรรมไดด ี

Page 145: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

133

2.3 แบบฝกเสริมทักษะเรื่อง การคูณการหารเศษสวน : ชูชองามตากลวยไมไทย เวลา 11 ช่ัวโมง มีสาระสําคัญคือ ใหนักเรยีนไดศกึษาเรื่องราวประวัติความเปนมาของการทําสวนกลวยไมของอําเภอกระทุมแบนจากใบความรูและเรียนรูฝกทักษะเรื่องการคูณการหารเศษสวนจากแบบฝกหดัที่ 14 - 19 โดยแบงกลุมในการเรียนรูเร่ือง การคูณจํานวนนับกับเศษสวน การคูณเศษสวนของเศษสวน และการคูณเศษสวนกับเศษสวนใหทํากจิกรรมรวมกันและนําเสนอผลงาน ทําแบบฝกหัดที่ 14 และ 15 เรียนรูเร่ือง การหารจํานวนเต็มดวยเศษสวน การหารเศษสวนดวยจํานวนเต็ม และการหารเศษสวนดวยเศษสวน ทําแบบฝกหัดที่ 16 และ 17 บูรณาการความรูจากการเรียนรูเร่ืองโจทยปญหาการคูณการหารเศษสวน และการปลูกกลวยไมของอําเภอกระทุมแบนจากใบความรูทําแบบฝกหัดที่ 18 และ 19 2.4 แบบฝกหัด เร่ืองการคูณทศนิยม : สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี เวลา 4 ช่ัวโมง มีสาระสําคัญคือ นักเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกบัประวัติความเปนมาและความสําคัญของสระหลวงปูและเร่ืองการคูณทศนิยม โดยกิจกรรมนี้นักเรยีนตองออกไปศึกษาจากแหลงเรียนรูในชุมชนประกอบกบัการศึกษาจากใบความรูและปฏิบัติกิจกรรมจากแบบฝกหัดที่ 20 – 23 โดยในแบบฝกหัดที่ 23 นักเรียนทุกคนตองแตงเรื่องสั้นพรอมทั้งวาดภาพประกอบเรื่องและแตงโจทยปญหาการคูณทศนยิม จากการจดักิจกรรมการเรียนรูนักเรียนมีความสนใจในการเรียน และสามารถปฏิบัติกิจกรรมและทาํแบบฝกหัดไดดี 3. การทดสอบหลังเรียนโดยใชแบบฝก ซ่ึงผูวิจัยเปนผูดําเนินการทดสอบจากขอสอบ วัดความรูความสามารถเรื่องการคูณการหารจํานวน 30 ขอ โดยแบงเปน 2 ตอน คือตอนที่ 1 แบบอัตนัย จาํนวน 15 ขอ และตอนที่ 2 แบบปรนัย จํานวน 15 ขอ โดยคาประสิทธิภาพของแบบฝกในขัน้สนาม คือ 80.63 / 80.94 (รายละเอียดดังตารางที่ 22 ภาคผนวก ญ หนา 213 ) 4. สอบถามความคิดเห็นของนักเรียน จากแบบประเมินความคิดเหน็นกัเรียน ขั้นตอน การดําเนนิทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะรายละเอียดดังตารางที่ 10 (หนา 134)

Page 146: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

134

ตารางที่ 10 สรุปขั้นตอนการดําเนินการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ

วันที่ เรื่อง เวลา (ช.ม.)

วิธีการเรียนรู ผูดําเนินกิจกรรม

12 มกราคม 2547 - แนะนําแบบฝกเสริมทักษะ - ทดสอบกอนเรียน

1 แนะนําแบบฝกเสริมทักษะ ทดสอบกอนใชแบบฝก

ผูวิจัย

13 มกราคม 2547 การคูณการหารจํานวนนับ : งดงามงานปนแตงเครื่อง เบญจรงค

11 นักเรียนรูจากผูวิจัยตามแผนการจัดการเรียนรูและศึกษา ดวยตนเองจากใบความรูและแบบฝก

ผูวิจัย

29 มกราคม 2547 การคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโตวัดดอนไกดี)

4 นักเรียนรูจากผูวิจัยตามแผนการจัดการเรียนรูและศึกษา ดวยตนเองจากใบความรูและแบบฝก

ผูวิจัย

4 กุมภาพันธ 2547 การคูณการหารเศษสวน : ชูชองามตากลวยไมไทย

11 นักเรียนรูจากผูวิจัยตามแผนการจัดการเรียนรูและศึกษา ดวยตนเองจากใบความรูและแบบฝก

ผูวิจัย

10กุมภาพันธ2547 การคูณการหารทศนิยม : สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี

4 นักเรียนรูจากผูวิจัยตามแผนการจัดการเรียนรูและศึกษา ดวยตนเองจากใบความรูและแบบฝก

ผูวิจัย

14กุมภาพันธ2547 ทดสอบหลังเรียน 1 ประเมินตนเองหลังใชแบบฝกเสริมทักษะ

ผูวิจัย

18กุมภาพันธ2547 ประเมินผลความคิดเห็นของนักเรียน

1 ประเมินผลตามความคิดเห็นของนักเรียน

ผูวิจัย

การประเมินและปรับปรงุแกไขแบบฝกเสริมทักษะ ผูวิจัยไดประเมินผลและปรับปรุงแกไขแบบฝกเสริมทักษะ โดยวเิคราะหขอมูลเปน 2 ตอน คือ 1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลงัเรียนดวยแบบฝกเสริมทักษะ

Page 147: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

135

และสอบถามความคิดเหน็ของนักเรียนการประเมินผลทางดานทักษะของนักเรียน 2. การปรับปรุงแบบฝกเสริมทักษะฉบับสมบูรณ โดยมีรายละเอียดดังนี ้การประเมินหลังการใชแบบฝกเสริมทักษะ การประเมินผลหลังการใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคณูการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ประกอบดวย การทดสอบวัดความรูความสามารถ และการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการใชแบบฝก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใชแบบฝกมีดังนี ้ 1. การทดสอบความรูความสามารถกอนและหลังใชแบบฝก โดยการทดสอบจากแบบทดสอบวดัความรูความสามารถเกี่ยวกบัเรื่องการคูณการหารจํานวน 30 ขอ ซ่ึงเปนขอสอบแบบคูขนาน โดยกอนใชแบบฝกมีคะแนนเฉลี่ย 17.53 คิดเปนรอยละ 58.44 และหลังใชแบบฝกมีคะแนนเฉลี่ย 24.28 คิดเปนรอยละ 80.94 2. ผลการทดสอบดานความรูความสามารถ เร่ืองการคูณการหารจํานวนนับ : งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค โดยการทดสอบจากแบบทดสอบทายแบบฝกเสริมทักษะเรื่องที่ 1 จํานวน 10 ขอ พบวา นกัเรยีนมีความรูความสามารถเฉลี่ย 7.97 คิดเปนรอยละ 79.69 3. ผลการทดสอบดานความรูความสามารถ เร่ืองการคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโตวัดดอนไกด)ี โดยการทดสอบจากแบบทดสอบทายแบบฝกเสริมทักษะเรื่องที่ 2 จํานวน 10 ขอ พบวา นกัเรียนมีความรูความสามารถเฉลี่ย 8.09 คิดเปนรอยละ 80.94 4. ผลการทดสอบดานความรูความสามารถ เร่ืองการคูณการหารเศษสวน : ชูชองามตากลวยไมไทย โดยการทดสอบจากแบบทดสอบทายแบบฝกเสริมทักษะเรื่องที่ 3 จํานวน 10 ขอ พบวา นกัเรียนมีความรูความสามารถเฉลี่ย 8.03 คิดเปนรอยละ 80.31 5. ผลการทดสอบดานความรูความสามารถ เร่ืองการคูณทศนิยม : สระหลงปูคูวัดดอน ไกดี โดยการทดสอบจากแบบทดสอบทายแบบฝกเสริมทักษะเรื่องที่ 4 จํานวน 10 ขอ พบวา นักเรียนมีความรูความสามารถเฉลี่ย 8.16 คิดเปนรอยละ 81.56 รายละเอียดดังตารางที่ 11 (หนา 136) การทดสอบหลังการใชแบบฝกเสริมทักษะทั้ง 4 เร่ือง โดยใชแบบทดสอบวัดความรูความสามารถหลังเรียน จํานวน 30 ขอ พบวานกัเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 24.28 คิดเปนรอยละ 80.94 และผูวิจยัไดนํามาทดสอบคาสถิติ t – test แบบ dependent เพื่อเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนหลังเรียน สรุปผลการทดลองดังตารางที่ 12 (หนา 136)

Page 148: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

136

ตารางที่ 11 แสดงผลสัมฤทธิ์ของคะแนนเรื่องการคูณการหารรายแบบฝกกอนเรียนหลังเรียนของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5

กอนเรียน หลังเรียน ชุดที่/ แบบฝกเสริมทักษะ

คะแนน เต็ม X S.D. ลําดับที่ X S.D. ลําดับ

ที่ 1. การคูณการหารจํานวนนบั 10 6.97 1.09 1 7.97 1.45 4 2. การคูณการหารระคน 10 6.22 1.36 2 8.09 1.30 2 3. การคูณการหารเศษสวน 10 6.00 1.48 4 8.03 1.40 3 4. การคูณทศนิยม 10 6.19 1.38 3 8.16 0.98 1

จากตารางที่ 11 พบวาคะแนนผลสัมฤทธ์ิเร่ืองการคูณการหารรายแบบฝกกอนและหลังเรียนมีความแตกตางกันโดยคาเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกวากอนเรียน ซ่ึงผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสามารถเรียงจากมากไปนอย ดังนี้ ชุดที่ 4 เร่ืองการคูณทศนิยม : สระหลวงปูคูวดัดอนไกดี (X = 8.16 , S.D. = 0.98 ) ชุดที่ 2 เร่ืองการคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม หลวงพอโตวดัดอนไกดี (X = 8.09, S.D. = 1.30 ) ชุดที่ 3 การคูณการหารเศษสวน : ชูชองามตากลวยไมไทย (X = 8.03 , S.D. = 1.40) ชุดที่ 1 เร่ืองการคูณการหารจํานวนนบั : งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค (X = 7.97 , S.D. = 1.45 ) ตารางที่ 12 แสดงผลการเปรียบเทียบเฉลีย่ของคะแนนความรูความสามารถเรื่องการคูณการหาร กอนเรียนหลังเรียนของนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5

ผลสัมฤทธ์ิ N คะแนนเต็ม X S.D. t กอนเรียน 32 30 17.53 3.16 หลังเรียน 32 30 24.28 3.14

28.91*

* P < 0.05 ( df = 31 ) คา t (.05) = 2.042 จากตารางที่ 12 พบวา คะแนนผลสัมฤทธิ์เร่ืองการคูณการหารกอนและหลังใชแบบฝกแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานการวจิัยขอที่ 2 ที่กําหนดไว โดยคาเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนดวยแบบฝกเสริมทักษะ (X = 24.28 , S.D. =

Page 149: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

137

3.14 ) สูงกวากอนเรียนดวยแบบฝกเสริมทักษะ (X = 17.53 , S.D. = 3.16 ) (รายละเอียดดังตารางที่ 22 ภาคผนวก ญ หนา 213 ) การสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ผูวิจัยไดดาํเนินการสอบถามความคิดเห็นเกีย่วกับการเรียนจากแบบฝกเสริมทักษะ เร่ือง การคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 32 คน โดยการวิเคราะหขอมูลจาก 1. ความคิดเหน็เกี่ยวกับการเรยีนเร่ืองการคูณการหาร จากแบบฝกเสริมทักษะ 2. ความคิดเห็นและขอเสนอแนะอื่น ๆ เพิ่มเติม โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. ความคิดเหน็เกี่ยวกับการเรยีนเร่ืองการคูณการหารจากแบบฝกเสริมทักษะ วิเคราะห ขอมูล โดยใชคาทางสถิติรอยละ (%) คา X , S.D. ซ่ึงรายละเอียดดังตารางที่ 13 ตารางที่ 13 ความคิดเห็นของนักเรียนเกีย่วกับการเรียนเร่ืองการคูณการหารจากแบบฝกเสริมทักษะ

ความคิดเห็น มาก ปานกลาง

นอย X S.D. ความคิดเห็น

ลําดับที่

1.การอธิบายของครูทําใหนักเรียนเขาใจเรื่องที่เรียนอยางชัดเจน

75.00

25.00

0.00

2.75

0.44

มาก

3

2. กิจกรรมการเรียนการสอน สนุกสนานนาสนใจ

65.63

34.37

0.00

2.66

0.48

มาก

6

3. ครูสอนโดยสอนจากเรื่องที่งายไปสูเรื่องที่ยาก

46.88

53.12

0.00

2.47

0.51

ปานกลาง

5

4. แบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณ การหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถิ่นชวยใหนักเรียนเขาใจเนื้อหาในบทเรียนมากยิ่งขึ้น

81.25

18.75

0.00

2.81

0.40

มาก

2

5. เห็นดวยตอการนําภูมิปญญา ทองถิ่นมาบูรณาการการเรียนรูในการเรียนการสอนคณิตศาสตร

68.75

31.25

0.00

2.69

0.47

มาก

5

6. นักเรียนไดเขากลุมทําแบบฝกหัดกับเพื่อน

28.12

59.38

12.50

1.88

0.63

ปานกลาง

9

7. การที่ครูมีสื่อการสอนทําใหงายตอการทําความเขาใจในบทเรียน

81.25

18.75

0.00

2.81

0.40

มาก

2

Page 150: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

138

ตารางที่ 13 (ตอ)

ความคิดเห็น มาก ปานกลาง

นอย X S.D. ความคิดเห็น

ลําดับที่

8. แบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณ การหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถิ่น มีความนาสนใจชวนใหอยากทํา

62.50

34.37

3.13

2.59

0.56

มาก

7

9.การเรียนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถิ่นเปนการเรียนที่นาสนใจ

96.87

3.13

0.00

2.97

0.18

มาก

1

10. นักเรียนมีความภาคภูมิใจใน ช้ินงานที่ทํา

62.50

37.50

0.00

2.63

0.49

มาก

7

11. สนุกกับเรื่องราวตาง ๆ ของ ภูมิปญญาทองถิ่นที่นํามาบูรณาการรวมกับการเรียน เรื่องการคูณ การหาร

46.87

53.13

0.00

2.47

0.51

ปานกลาง

8

12. การนําภูมปิญญาทองถ่ินมา บูรณาการการเรียนรูรวมกับการเรียนการสอนในสาระการเรียนรูอ่ืนๆ เชนภาษาไทย ,ภาษาอังกฤษ , วิทยาศาสตร

71.87

28.13

0.00

2.27

0.46

มาก

4

รวมทุกขอ 65.62 33.07 1.30 2.62 0.46 มาก

จากตารางที่ 13 ความคิดเหน็ของนักเรียนเกี่ยวกับการเรียน เร่ืองการคูณการหารจากแบบฝกเสริมทักษะ โดยภาพรวมพบวา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เหน็ดวยในระดับมาก ( X = 2.62 ,S.D. = 0.46 ) จาํนวน 9 ดาน เมื่อพิจารณาเปนรายดาน โดยเรียงจากมากไปนอย ดังนี้ การเรียนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบรูณาการภูมิปญญาทองถ่ินเปนการเรียนที่นาสนใจ ( X = 2.97 ,S.D. = 0.18 ) แบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหาร โดย

Page 151: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

139

การบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินชวยใหนกัเรียนเขาใจเนื้อหาในบทเรียนมากยิ่งขึ้น และ การที่ครูมีส่ือการสอนทําใหงายตอการทําความเขาใจในบทเรียน ( X = 2.81 ,S.D. = 0.40 ) การอธิบายของครูทําใหนักเรียนเขาใจเรื่องที่เรียนอยางชดัเจน ( X = 2.75 ,S.D. = 0.44 ) การนําภูมิปญญาทองถ่ินมาบูรณาการการเรียนรูรวมกบัการเรียนการสอนในสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ เชน ภาษาไทย , ภาษาอังกฤษ , วิทยาศาสตร ( X = 2.72 ,S.D. = 0.46 ) เห็นดวยตอการนําภูมิปญญาทองถ่ินมาบูรณาการการเรียนรูในการเรียนการสอนคณิตศาสตร ( X = 2.69 ,S.D. = 0.47 ) กิจกรรมการเรียนการสอนสนุกสนานนาสนใจ ( X = 2.66 ,S.D. = 0.48 ) นักเรียนมีความภาคภูมิใจในชิน้งานที่ทํา ( X = 2.63 ,S.D. = 0.49 ) และแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินมีความนาสนใจชวนใหอยากทํา ( X = 2.59,S.D. =0.56 ) และนักเรียนเหน็ดวยในระดบัปานกลางจํานวน 3 ดาน เมื่อพิจารณาเปนรายดานโดยเรยีงจากมากไปนอย ดังนี้ ครูสอนโดยสอนจากเรื่องที่งายไปสูเร่ืองที่ยาก และสนุกกับเร่ืองราวตาง ๆ ของภูมิปญญาทองถ่ินที่นํามาบูรณาการรวมกับการเรยีนเรื่องการคณูการหาร ( X = 2.47,S.D. =0.51 ) นักเรียนไดเขากลุมทําแบบฝกหัดกับเพื่อน ( X = 1.88, S.D. = 0.63 ) 2. ความคิดเหน็และขอเสนอแนะอื่น ๆ เพิ่มเติม วิเคราะหขอมูลโดยการวเิคราะหเนื้อหา ( Content Analysis) แลวนาํเสนอแบบพรรณนาความ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี ้ นักเรียนสวนใหญมีความคดิเห็นสอดคลองกันวา ควรมีการจัดแบบฝกเสริมทักษะใชในการเรียนการสอน มคีวามชอบในรูปแบบของแบบฝกและอยากทําแบบฝกหัดที่สรางขึ้นมากกวาการทาํแบบฝกหัดทีม่ีอยูในแบบเรยีน อีกทั้งมีความคิดเห็นตรงกนัวาควรมีการจัดทาํแบบฝกหัดเพิม่ขึ้นในเนื้อหาอื่น ๆ นอกจากเรื่องการคูณการหาร ตลอดจนในสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ ทั้งนี้เพราะแบบฝกหัดที่สรางขึ้นมีสีสันสวยงามนาสนใจทั้งยังชวยสงเสริมความคิดสรางสรรค และยังมีขอเสนอแนะอีกประการหนึ่ง คือควรมีการพาไปศึกษานอกสถานที่บอย ๆ เพราะทําใหไมรูสึกเบื่อหนายตอการเรียน และนําเรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรมมาสอนนักเรียนใหมากขึ้น การประเมินทักษะและความสามารถ (ชิน้งาน) ของนักเรียน ผูวิจัยไดประเมนิชิ้นงานของนักเรียนจากการทําแบบฝกหัดเรื่องการคณูทศนยิม จากการทําชิ้นงานที่ระบุในแบบฝกหดัที่ 23 โดยใหนักเรยีนแตงเรื่องสั้นพรอมทั้งวาดภาพประกอบเรื่อง และสรางโจทยปญหาการคณูทศนยิม โดยทําเปนหนงัสือเลมเล็ก พบวา นกัเรียนสวนใหญสามารถจัดทําชิ้นงานโดยสามารถคํานวณไดถูกตองตามขัน้ตอน มีความสอดคลองกับจุดประสงคที่ตั้งไวและมีความสรางสรรคสวยงามโดยนักเรียนสวนใหญไดคะแนนในระดบัดี คิดเปนรอยละ 65.63 รองลงมาคือระดับดมีาก คิดเปนรอยละ 28.12 และระดับพอใช คิดเปนรอยละ 6.25 ตาม

Page 152: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

140

ลําดับ รายละเอียดดังตารางที่ 14 ตารางที่ 14 แสดงคะแนนการทําชิ้นงานของนักเรียน

ระดับคะแนนที่ได จํานวนนักเรียน คิดเปนรอยละ ลําดับที่ 10 - 12 = 4 ( ดีมาก) 9 28.12 2 7 - 9 = 3 ( ดี ) 21 65.63 1 4 - 6 = 2 ( พอใช ) 2 6.25 3 0 - 3 = 1 ( ตองปรับปรุง ) 0 0.00 4

รวม 32 100.00 การปรับปรงุแบบฝกเสริมทักษะ หลังจากผูวิจยัไดทําการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะแลวไดพบขอปรับปรุงในแบบฝกเสริมทักษะใหมีความเหมาะสมในการนําไปใชในการจัดกิจกรรมการเรยีนการสอนในครั้งตอ ๆ ไป ซ่ึงขอควรปรับปรุงมีดังตอไปนี้ 1. ปรับกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เร่ืองการคูณการหารเศษสวน ในขั้นนาํ ใหมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความยากและใชเวลาเกินไป 2. ปรับเวลาในแผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่องการคูณการหารเศษสวน ซ่ึงมีเวลาไม เพียงพอเนื่องจากเนื้อหาในใบความรู เร่ืองชูชองามตากลวยไมไทย นักเรยีนตองใชเวลาในการศึกษามากกวาเวลาที่กําหนดไว ดังนัน้ควรปรับเวลาจาก 4 ช่ัวโมง เปน 5 ช่ัวโมง 3. ปรับกิจกรรมในแบบฝกหัดที่ 23 จากที่ใหนกัเรียนแตงโจทยปญหาการคูณอยาง นอย 3 ขอ เปน 2 ขอ เนื่องจากกิจกรรมในแบบฝกหัดที่ 23 มีหลายกิจกรรมในแบบฝกหดัเดียวกันคือ แตงเรื่องสั้น วาดภาพประกอบเรื่องและแตงโจทยปญหา ดังนัน้นกัเรียนจึงปฏิบัติกิจกรรมตามทีร่ะบุไวในแบบฝกหัดไมทนักับเวลาที่กําหนดไว

Page 153: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

141

บทที่ 5

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 เปนการวจิัยและพัฒนา ( Research and Development) การวิจยัคร้ังนี้มีวัตถุประสงค 1. ศึกษาขอมูลพื้นฐาน 2. เพือ่พัฒนาและหาประสิทธิภาพแบบฝก 3. เพื่อทดลองใชแบบฝก 4. เพื่อประเมินผลและปรับปรุงแกไขแบบฝก ซ่ึงประกอบไปดวย 4 ขั้นตอน คือ 1. การวิจัย (Research) เปนการศกึษาขอมูลพื้นฐาน 2 การพัฒนา (Development) เปนการพัฒนาและหาประสิทธภิาพแบบฝก 3. การวิจยั ( Research) เปนการทดลองใชแบบฝก 4. การพัฒนา (Development) เปนการประเมนิและปรับปรงุแกไขแบบฝก การวิจยัคร้ังนีผู้วิจัยไดสรางแบบฝกเสริมทักษะขึน้ใหมโดยการสํารวจความตองการ และขอมูลพื้นฐานตาง ๆ แลวนํามาสังเคราะหเปนแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคณูการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 โดยมีเนื้อหาใหนกัเรียนไดเรียนรู 4 เร่ือง คือ เร่ืองการคูณการหารจํานวนนับ : งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค เร่ืองการคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโตวัดดอนไกดี) เร่ืองการคณูการหารเศษสวน : ชูชองามตากลวยไมไทย เร่ืองการคณูทศนยิม : สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี ซ่ึงองคประกอบของแบบฝกเสริมทักษะประกอบดวย 1. คูมือครู โดยมีสวนประกอบ คือ คํานํา วัตถุประสงค ขั้นตอนในการใชแบบฝกเสริมทักษะ แผนการจัดการเรียนรู ใบความรูสําหรับครู แบบสังเกตการเรียนรู และแบบบันทึกการประเมินชิ้นงาน 2. แบบฝกเสริมทักษะสําหรับนักเรียน โดยมีสวนประกอบ คอื คํานํา คําอธิบายการใชแบบฝก ใบความรูสําหรับนักเรียน ชุดแบบฝกเสริมทักษะ และแบบทดสอบ วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติคารอยละ (%) คาเฉลี่ย (X) คา t – test แบบ dependent และการวเิคราะหเนื้อหา ( Content Analysis) แลวนําเสนอแบบพรรณนาความ

Page 154: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

142

สรุปผลการวิจัย จากการดําเนินการตามขั้นตอนของการวิจยัที่ไดนําเสนอแลวนั้น ปรากฏผลการวิจยัดังนี ้ 1. ผลการศึกษาขอมูลพื้นฐาน ในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 พบวา การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 สอดคลองกับนโยบายและแนวทางการจดัการศึกษาในปจจบุันอีกทั้งทุกฝายที่เกี่ยวของตองการใหมกีารพฒันาแบบฝกเสริมทักษะ โดยนําเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ินในอําเภอกระทุมแบนที่ไดผานการสํารวจความตองการจากผูที่เกี่ยวของมาบูรณาการรวมกับ การเรียนเรื่องการคูณการหาร นอกจากนีผู้ที่เกี่ยวของทกุฝายตองการใหแบบฝกมีรูปแบบที่แตกตางไปจากแบบฝกที่มีอยูในหนงัสือเรียนโดยรูปแบบตองมีความนาสนใจชวนใหนกัเรียนอยากทํา ฝกทักษะการคิดคํานวณ การแกปญหา ความคิดสรางสรรค ซ่ึงควรนําภาพภูมิปญญาทองถ่ินประกอบในแบบฝกเพือ่ใหนกัเรียนมองเห็นภาพเปนรูปธรรม อีกทั้งในการจัดการเรียนการสอนควรใหนักเรียนไดไปเรียนรูจากแหลงเรียนรูในทองถ่ิน โดยเรือ่งที่นํามาบูรณาการใหนกัเรียนไดเรียนรูนั้นเนื้อหามุงเนนที่ความตองการความสนใจของนักเรียน และความสําคัญของเรื่องราวภูมิปญญาทองถ่ินที่มีความสําคัญควรคาแกการเรยีนรูเปนสาํคัญ จาํนวน 4 เร่ือง ไดแก เร่ืองการคูณการหารจํานวนนับ : งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค เร่ืองการคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโตวดัดอนไกดี) เร่ืองการคูณการหารเศษสวน : ชูชองามตากลวยไมไทย เรื่องการคูณทศนิยม : สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี 2. ผลการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญา ทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 พบวาแบบฝกประกอบดวย 1. คูมือครู โดยมีสวนประกอบ คือ คํานํา วัตถุประสงค ขั้นตอนในการใชแบบฝกเสริมทักษะ แผนการจัดการเรียนรู ใบความรูสําหรับครู แบบสังเกตการเรียนรู และแบบบันทกึการประเมินชิ้นงาน 2. แบบฝกเสริมทักษะสําหรับนักเรียน โดยมีสวนประกอบ คือ คํานํา คําอธิบายการใชแบบฝก ใบความรูสําหรับนักเรียน ชุดแบบฝกเสริมทักษะ และแบบทดสอบ โดยแบบฝกที่สรางขึ้นประกอบดวยเนื้อหา 4 เรื่อง ไดแก เรื่องการคูณการหารจํานวนนับ : งดงามงานปนแตงเครื่องเบญจรงค เรื่องการคูณการหารระคน : มรดกทางวัฒนธรรม (หลวงพอโตวดัดอนไกด)ี เรื่องการคูณการหารเศษสวน : ชูชองามตากลวยไมไทย เรื่องการคูณทศนิยม : สระหลวงปูคูวดัดอนไกดี มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ( Content Validity) โดยมีคาดชันีความสอดคลอง 1.00 คาประสิทธิภาพ

Page 155: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

143

แบบเดีย่ว (Individual Tryout) มีคาประสิทธิภาพเทากับ 66.66 / 71.11 คาประสิทธิภาพแบบกลุม (Small Group Tryout) มีคาประสิทธิภาพเทากบั 71.11 / 75.93 และคาประสิทธิภาพแบบสนาม (Filed Tryout) มีคาประสิทธิภาพเทากับ 80.63 / 80.94 3. ผลการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการ ภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผูวิจัยไดนําแบบฝกไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี สังกัดเทศบาลเมอืงกระทุมแบน จังหวดัสมุทรสาคร จํานวน 32 คน ระยะเวลาในการทดลองใชแบบฝก 6 สัปดาห สัปดาหละ 5 ช่ัวโมง รวมทั้งส้ิน 30 ช่ัวโมง โดยผูวจิัยเปนผูดําเนนิการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละแผนการจัดการเรียนรู โดยเมื่อนักเรียนไดเรียนรูและปฏิบัติกิจกรรมตามการสอนของครูในแตละเร่ืองนักเรียนจะไดทําแบบฝกเสริมทักษะที่เตรียมไวและไดศกึษาเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ินจากใบความรูทั้ง 4 เรื่อง ซ่ึงในแบบฝกแตละเรื่องจะมกีิจกรรมใหนกัเรยีนไดฝกทักษะการคิดคํานวณ การแกปญหา ตลอดจนความคิดสรางสรรค และเรียนรูเรื่องราวของภมูิปญญาทองถ่ิน โดยการนําขอมูลทองถ่ินมาสรางเปนโจทยปญหาการคูณการหารในแตละเรื่อง โดยพบวานักเรียนสามารถคิดคํานวณโจทยที่กําหนดในแบบฝกหัดไดด ี ช้ินงานมีความสอดคลองกับจุดประสงคที่ตั้งไว และช้ินงานสวนใหญมีความสรางสรรคโดยมีการระบายสีประกอบไดอยางสวยงาม 4. ผลการประเมินและแกไขแบบฝกเสริมทักษะ ซ่ึงผลการทดสอบดานผลการเรียนรู พบวา นักเรียนมีผลการเรียนรูกอนและหลังใชแบบฝกแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยหลังใชแบบฝกมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวากอนใชแบบฝกโดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรยีนดวยแบบฝกเสริมทักษะในชดุที่ 4 การคูณทศนิยม (สระหลวงปูคูวัดดอนไกดี) มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด และชุดที่ 1 การคูณการหารจํานวนนับ (งดงามงานปนแตงเคร่ืองปนเบญจรงค) มีคะแนนเฉล่ียต่ําสุด ความคิดเหน็ของนักเรียนเกี่ยวกับการเรยีนเร่ืองการคูณการหาร จากแบบฝกเสริมทักษะ ดานกิจกรรมการเรยีนการสอน ดานประโยชนที่ไดรับโดยภาพรวมเห็นดวยในระดับมาก กลาวคือนักเรยีนมีความคดิเห็นวาการเรียนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินเปนการเรียนที่นาสนใจ แบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ินชวยใหนักเรยีนเขาใจเนื้อหาในบทเรียนมากยิ่งขึน้ และการที่ครูมีส่ือการสอนทําใหงายตอการทําความเขาใจในบทเรียน โดยเมื่อจัดลําดับความคิดเหน็สามารถสรุปได ดังนี้ ความคิดเห็นที่อยูในลําดับที่ 1 คือ การเรียนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหารโดยการบรูณาการภูมิปญญาทองถ่ินเปนการเรียนทีน่าสนใจ ลําดบัที่ 2 มี 2 ขอ ไดแก แบบฝกเสริมทักษะเรื่องการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ินชวยใหนกัเรียนเขาใจเนื้อหา

Page 156: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

144

ในบทเรียนยิ่งขึ้นและการทีค่รูมีส่ือการสอนทําใหงายตอการทําความเขาใจในบทเรียน ลําดับที่ 3 ไดแก การอธิบายของครูทําใหนกัเรียนเขาใจเรื่องที่เรียนอยางชัดเจน

อภิปรายผล จากผลการวิจัยสามารถนําไปสูการอภิปรายผลได ดังนี ้ 1. ผลการศึกษาขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ โดยการศึกษาเอกสาร เกี่ยวกับนโยบายทางการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 และ 9 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 การวิเคราะหหลักสูตร การสํารวจและศกึษาความตองการจากผูที่เกีย่วของทุกฝาย พบวา นกัเรยีนและทุกฝายที่เกี่ยวของตองการใหแบบฝกเสริมทักษะทีส่รางขึ้นมีความแตกตางไปจากแบบฝกที่มอียูในหนังสือเรียน โดยควรมีรูปแบบที่นาสนใจซึ่งการนําภูมิปญญาทองถ่ินมาบูรณาการในการเรียน เปนการสอดคลองกับแนวการจดัการศึกษาจากเอกสารที่ไดศึกษา และสอดคลองกับความตองการกับผูที่เกี่ยวของอีกทั้งยังสอดคลองกับความตองการความสนใจของนักเรียน ทั้งนี้เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูจากแหลงเรียนรูในทองถ่ินซ่ึงเปนการเรียนรูจากเรื่องใกลตัวไปสูเร่ืองที่ไกลตัวซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา (อางถึงใน กระทรวงศึกษาธิการ , กรมวิชาการ 2539 : 5) กลาววา การจดัการศึกษาไมสามารถแปลกแยกไปจากทองถ่ินเพราะการศึกษาตองนําเอาประเด็นทองถ่ินนั้น ๆ มาเปนสวนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหเดก็เกดิความภาคภูมใิจในรากเหงาของตนเอง และยงัสอดคลองกับรายงานการประชุมทางวิชาการ เร่ืองการศึกษาเชิงสรางสรรค ที่วาโรงเรียนมิไดเปนสถาบันทางการศึกษาเพยีงแหงเดยีวเทานัน้ที่ทําใหผูเรยีนเกิดการเรียนรู ยังมีทรัพยากรที่สําคัญนอกหองเรียนใหผูเรียนสามารถศึกษาหาความรูไดทั่วไป (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2545 : 12) นอกจากนีย้ังสอดคลองกับหลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คือ กิจกรรมการเรียนการสอนและหนวยการเรยีนเชื่อมโยงและสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู หลักสูตรทองถ่ิน หลักสูตรสถานศึกษาในขณะเดยีวกันกต็องสนองความสนใจและความตองการของนักเรียน และชุมชน เพื่อตอบสนองความตองการดังกลาวกิจกรรมการเรียนการสอน และหนวยการเรียนจึงควรสรางขึ้นจากแหลงขอมูลของทองถ่ิน หรือเหตุการณประเด็นตาง ๆ ในทองถ่ิน (กระทรวงศึกษาธิการ 2545 ก : 17-18) อีกทั้งยังสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ในมาตราที่ 24 ที่วา กระบวนการเรยีนตองจัดเนื้อหาสาระกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจความถนัด และความแตกตางของผูเรียน มุงเนนการจดัการเรียนการสอน

Page 157: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

145

ที่ใกลตัวนักเรยีน ฝกทักษะการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และประยุกตใชเพือ่ปองกันและแกปญหาให ผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน เกิดการใฝรูอยางตอเนื่องมีการผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางสมดลุผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรียน อํานวยความสะดวกใหผูเรียนเกดิการเรยีนรูทั้งนี้ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อ และแหลงเรียนรูที่หลากหลาย พอแมผูปกครองในชุมชนมีสวนรวมในการเรียนรูใหเกิดขึ้นในทุกเวลาทุกสถานที่ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2544 : 10) และสอดคลองกับ อมรรัตน สูนยกลาง (2544 : 127) ศึกษาเรื่องการพฒันาคูมือการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ สําหรับครูประถมศึกษา พบวา การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการนั้นชวยใหผูเรียนไดพัฒนาทกัษะ กระบวนการคิด สรางองคความรูดวยตนเอง (Constructs) ไดเรียนรูจากการปฏิบัติจริงสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได โดยการเชื่อมโยงความสัมพันธของเร่ืองราวตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง จะเห็นไดวาในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบรูณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 จะประสบความสําเร็จนัน้จะตองมกีารศึกษาขอมูลพืน้ฐานเ พือ่ใหไดแบบฝกที่ตอบสนองตอความตองการของนักเรียนอกีทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายสนองตอความตองการของนักเรียน ชุมชนและทองถ่ินที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 2. ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของแบบฝกเสริมทักษะ พบวา แบบฝกเสริม ทักษะประกอบดวย 1. คูมือครู มีองคประกอบคือ คํานํา วัตถุประสงค ขั้นตอนในการใชแบบฝกเสริมทักษะ แผนการจัดการเรียนรู ใบความรูสําหรับครู แบบสังเกตการเรียนรู และแบบบันทกึการประเมินชิน้งาน 2. แบบฝกเสริมทักษะสําหรับนกัเรียน มีองคประกอบ คือ คํานํา คําอธิบายการใชแบบฝก ใบความรูสําหรับนักเรยีน ชุดแบบฝกเสรมิทักษะ และแบบทดสอบ ซ่ึงสอดคลองกับ วิไลวรรณ พุกทอง (2542 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะวชิาคณิตศาสตร เร่ืองโจทยปญหาการคูณการหาร จํานวนที่ตัวตั้งมีสองหลัก ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 ซ่ึงมีองคประกอบของแบบฝกดงันี้ คํานํา คําชี้แจง ช่ือเร่ือง จุดประสงค คําส่ัง แบบฝก ตารางบันทึกคะแนนความกาวหนา แบบทดสอบยอย และเฉลย นอกจากนี้ยังสอดคลองกับ สุรียมาศ บุญฤทธิ์รุงโรจน (2544 : บทคัดยอ) ทีศ่ึกษาการพัฒนาแบบฝกการอานจับใจความสําคัญ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีองคประกอบของแบบฝกดังนี้ คําชี้แจง วัตถุประสงค แผนการเรียนรู ใบความรู ใบงาน แบบประเมินตนเอง และแบบฝกการอาน ทั้งนี้ยังสอดคลองกับ อารีย วาศนอํานวย (2545 : บทคัดยอ) ที่ศึกษาการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะการอานเพื่อความเขาใจตามแนวทางการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสําหรับ นักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 พบวาแบบ

Page 158: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

146

ฝกที่พัฒนาขึ้นประกอบดวย คําอธิบายการใชแบบฝก ช่ือแบบฝก จุดประสงค กิจกรรมการเรียนการสอนและแบบทดสอบรายจุดประสงค ผูวิจัยไดนําแบบฝกเสริมทักษะทีพ่ัฒนาขึน้ไปทดลองใชเพื่อหาคาประสิทธิภาพ พบวา มีประสิทธิภาพแบบเดี่ยว (Individual Tryout) กับนักเรียน 3 คน มีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว 60 / 60 โดยมีประสทิธิภาพเทากับ 66.66 / 71.11 เนื่องจากในขัน้นี้มีการนําแบบฝกไปทดลองกับนักเรยีนเปนคร้ังแรก การใชภาษา ตัวอักษร และตัวเลขในบางกิจกรรมอาจไมถูกตองเหมาะสมจําเปนตองมีการปรับเพือ่นําผลไปพัฒนา และปรับปรุงขั้นตอไปอีกทั้งใหสนองตอความตองการของนักเรียน และเหมาะสมกับความยากงายของเนื้อหา สวนการหาประสิทธิภาพแบบกลุม (Small Group Tryout) กับนกัเรียน 9 คน พบวามีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว 70 / 70 คือมีประสิทธิภาพเทากับ 71.11 / 75.93 ทั้งนี้เนื่องจากผูวิจัยไดนําผลการทดลองใชในขัน้เดี่ยวมาปรับปรุงโดยการปรับปรุงภาษา เพื่อใหงายแกการเขาใจ มีความสละสลวย ตัวอักษร ตัวเลข ใหมคีวามชัดเจนถูกตอง และมีรูปภาพประกอบแบบฝกโดยนาํภาพภูมปิญญาทองถ่ินและภาพการตนูประกอบในแบบฝก ผูวิจัยไดนําผลการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะมาหาคาประสิทธิภาพแบบสนาม (Field Tryout) กับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 32 คน พบวา มีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนด 80/80 คือมีประสิทธิภาพเทากับ 80.63 / 80.94 แสดงใหเห็นวาแบบฝกเสริมทักษะที่พัฒนาขึ้นนีม้ีประสิทธิภาพ ทั้งนี้อาจเปนเพราะแบบฝกเสริมทักษะไดผานการตรวจสอบจากอาจารยที่ปรึกษาวทิยานิพนธ และผูเชี่ยวชาญแลวนํามาปรับปรงุแกไขกอนนําไปทดลองหาประสิทธิภาพกับกลุมตัวอยางจริง โดยแบบฝกเสริมทักษะไดมีการปรับปรุงทั้งในดานรูปแบบ เนื้อหา ภาพประกอบที่มคีวามสอดคลองกับความตองการของผูเรียน อีกทั้งเนื้อหาในแบบฝกยังเปนการบูรณาการเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ิน ที่ชวยใหผูเรียนมคีวามสนใจในการเรียนมากกวาแบบฝกที่มอียูในหนังสือเรียนหรือแบบฝกทั่ว ๆ ไป ซ่ึงสอดคลองกับ รัชนี ศรีไพรวรรณ (2530: 30-31) ไดใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสรางแบบฝกเสริมทักษะนัน้ตองอาศัยรูปภาพจูงใจใหเกิดความสนใจ อีกทั้งยังตองมคีําชี้แจงงาย ๆ ส้ัน ๆ ที่นักเรียนอานแลวเขาใจสามารถทําแบบฝกหัดไดดวยตนเอง นอกจากนีย้ังสอดคลองกับ ยุพาภรณ ชาวเชียงขวาง (2537 : 60) ที่ศึกษาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนเรยีงความ โดยใชแบบฝกเสริมทักษะการเขียนเรียงความกับการสอนปกติ นกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที 6 พบวาแบบฝกเสริมทักษะชวยแสริมทักษะทางการใชภาษาเปนเครื่องมือที่ชวยฝกฝนทักษะไดดีชวยในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคล แบบฝกที่เหมาะสมกับความสามารถจะชวยใหเดก็ประสบความสําเร็จ ชวยใหเกิดทัศนคติที่ดีตอเร่ืองที่เรียน และแบบฝกทีพ่ัฒนาขึ้นนัน้ไดนําภมูิปญญาทองถ่ินเขามาบูรณาการรวมกับการเรียนเร่ืองการคูณการหาร โดยภมูิปญญาทองถ่ินที่นํามาบูรณาการประกอบดวย 4 เร่ือง คอื 1. งดงามงานปนแตงเครื่องปนเบญจรงค 2. หลวงพอโตวัดดอนไก

Page 159: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

147

ดี 3. ชูชองามตากลวยไมไทย 4. สระหลวงปูคูวดัดอนไกดี สาเหตุที่นําภูมิปญญาทองถ่ินทั้ง 4 เร่ืองมาบูรณาการเนื่องจากการศึกษาขอมูลพื้นฐานโดยการสอบถามถึงความตองการในการเรียนรูภูมิปญญาทองถ่ินที่ชุมชน และนักเรยีนมีความสนใจและตองการที่จะเรยีนรู ซ่ึงสอดคลองกับ ศรีสมร ประเสริฐศรี (2546 : บทคัดยอ) ที่ศึกษาการพัฒนาชุดการเรียนรู เร่ืองโจทยปญหาคณิตศาสตรโดยใชแหลงการเรียนรูในทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 พบวาการที่นักเรียนไดเรียนรูจากแหลงเรียนรูในทองถ่ินที่สนใจ และเรียนรูจากสิ่งใกลตัวจะทาํใหนกัเรียนมีความสนใจในการเรียนใหความรวมมือในการปฏิบัติกิจกรรม มีความสุขตอการเรียน มีความเขาใจเกี่ยวกับชุมชนในทองถ่ิน ทาํใหรักและภูมใิจในทองถ่ินของตนเอง 3. ผลการทดลองการใชแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการ ภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 ซ่ึงผูวิจัยเปนผูทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะประกอบการสอนดวยตนเองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไกด ี อําเภอกระทุมแบน จงัหวัดสมุทรสาคร จํานวน 32 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 เร่ิมทดดลองตั้งแตวนัที่ 12 มกราคม 2546 รวมเวลา 6 สัปดาห สัปดาหละ 5 ช่ัวโมง รวมทั้งส้ิน 30 ช่ัวโมง พบวานักเรียนมคีวามกระตือรือรน สนใจและตั้งใจเรยีนสามารถปฏิบัติกิจกรรมและทําแบบฝกหัดได นอกจากนีน้ักเรียนยังสนใจในการแสวงหาความรูจากแหลงเรยีนรูในทองถ่ินทําใหนักเรียนเรียนรูเร่ืองราวในภูมปิญญาทองถ่ิน อําเภอกระทุมแบนเพิ่มมากขึ้น ซ่ึงหลังใชแบบฝกเสริมทักษะผูวิจยัไดทําการประเมนิผลหลังการใชแบบฝกเสริมทักษะ พบวา นักเรียนมีความรูความสามารถเกี่ยวกับเรื่องการคูณการหารเพิ่มขึ้น สามารถนําความรูเร่ืองราวของภูมปิญญาทองถ่ินมาบูรณาการรวมกับการเรยีนเร่ืองการคูณการหารโดยการแตงโจทยปญหา ทัง้นี้ยังสามารถนําความรูที่ไดเรียนนํามาใชในการทําแบบฝกซึ่งชิ้นงานมีความสรางสรรค นักเรียนสามารถเชื่อมโยงส่ิงที่เรียนโดยนําไปใชใหเกดิประโยชนตอการดําเนินชวีิตจริงได ทัง้นี้อาจเปนเพราะแบบฝกเสริมทักษะทีพ่ฒันาขึ้นเปนสื่อการสอนที่ใหนกัเรียนไดเรียนรูจากเรื่องใกลตัวไปสูเร่ืองไกลตัว เรียนจากงายไปหายาก ไดออกไปเรียนรูจากแหลงเรียนรูในทองถ่ิน ไดสัมผัสกับสื่อของจริงมองเห็นเปนรูปธรรมทําใหงายตอการเรียนรู และเปนสื่อที่ชวยใหผูเรียนไดฝกฝนทักษะในการเรียนรูที่มากขึน้นักเรียนมีความสนใจที่จะฝกฝนทักษะการคูณการหารจากการทําแบบฝกหัดดวยความเต็มใจ เพราะรูปแบบของแบบฝกที่สรางขึ้นมีความนาสนใจ สวยงาม ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของสํานักงานประสานงานโครงการพัฒนาทรพัยากรมนษุย (2540 : 6) ที่วาการสอนที่สัมพันธเชื่อมโยงความคิดรวบยอดจากหลาย ๆ สาขาวิชาเขาดวยกันมีประโยชนหลายอยางที่สําคัญที่สุด คือ ชวยใหเกิดการถายโอนการเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ จะชวยใหนักเรียนเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนเขากับชีวิตจริงได และในทางกลับกันก็จะสามารถเชื่อมโยงเรื่องของ

Page 160: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

148

ชีวิตจริงภายนอกหองเรียนเขากับสิ่งที่เรียนได ทําใหนกัเรียนเขาใจวาส่ิงที่ตนเรียนมีประโยชนหรือนําไปใชจริงได อีกทั้งยังสอดคลองกับแนวคิดของ วาสนา แสงคํา (2542 : 18) ที่วากิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการเปนการผสมผสานของเนื้อหากิจกรรมและกระบวนการที่นํามาจากจุดประสงค และความตองการของชีวิตมาเปนแนวกําหนดเพื่อใหเกิดการเรียนรูที่เหมาะสม และมีสถานการณทีส่อดคลองกับสภาพจริงของชีวิตสามารถนําไปใชใหเกดิประโยชนแกชีวิตได นอกจากนั้นยงัสอดคลองกับผลการวิจัยของอุบลรัตน กิจไมตรี (2544 : 126) ไดศึกษาการพัฒนาหลักสูตรเพื่อถายทอดเพลงอีแซวภูมปิญญาทองถ่ินสุพรรณบุรี สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษา ซ่ึงหลักสูตรเพลงอีแซวที่สรางขึ้นไดมีการเรียนแบบบูรณาการเนื้อหารวมกับวิชาตาง ๆ ทําใหนักเรียนมีความสนุกสนานและสามารถเชื่อมโยงความคิดได 4. ผลการประเมินผลการปรับปรุงแกไขแบบฝกเสริมทักษะ ผลการประเมินดานความรูความสามารถ พบวา นักเรียนมีผลการเรียนรู เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภมูิปญญาทองถ่ิน กอนและหลงัใชแบบฝกแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการใชแบบฝกมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวากอนใชแบบฝก ทั้งนี้อาจเปนเพราะแบบฝกเสริมทักษะทําใหนักเรียนไดศกึษาหาความรูดวยตนเอง รูปแบบของแบบฝกมีความนาสนใจชวยใหนกัเรียนเกดิความกระตือรือรนในการเรยีน เรียนจากเรือ่งที่งายไปสูเรื่องที่ยาก สอดคลองกับผลการศึกษาของ รัชฎาภรณ พรมลา (2541 : บทคัดยอ) ที่ศึกษาเรื่องการสรางแบบฝกเสริมทักษะเพื่อสอนซอมเสริมทักษะการคิดคํานวณ เรื่อง การคูณการหาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 พบวาทักษะการคดิคํานวณหลังไดรับการซอมเสริมของนักเรียนกลุมออนหลังไดรับการฝกจากแบบฝกเสริมทักษะ สูงกวาคะแนนทดสอบกอนไดรับการฝกจากแบบฝกเสริมทักษะอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ยังสอดคลองกับวิภาดา ปญญาประชุม (2540 : บทคัดยอ) ศกึษาเรื่องแบบฝกเสริมทักษะที่มีประสิทธิภาพวิชาคณิตศาสตร เร่ืองโจทยปญหาการคูณการหาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อีกทั้งยงัสอดคลองกับวารี บษุบงค (2542 : บทคัดยอ) ศึกษาการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะที่มีประสิทธิภาพวิชาคณิตศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 เรื่อง การคูณ พบวา นกัเรียนทีเ่รียนดวยแบบฝกเสริมทักษะมีคะแนนหลังเรียนสูงกวาคะแนนกอนเรียนอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จะเห็นไดวาแบบฝกเสริมทักษะนั้นมีประโยชนและมีคณุคาในการจดัการเรียนการสอนเปนสวนเพิ่ม หรือเสริมหนังสือเรียนเปนสือ่ที่ชวยลดภาระครูเพราะแบบฝกเปนสิ่งที่จัดทําขึ้นอยางเปนระบบระเบยีบ เปนเครื่องมือวัดผลการเรียนรูหลังจากจบบทเรียนในแตละครั้ง และแบบฝกที่สรางขึ้นยังเปนสื่อที่ตอบสนองความตองการของนักเรียน นักเรียนไดฝกฝนทักษะในการเรียนรูอยางเต็มที่ และผูวิจยัไดนําผลการทดลองใชแบบฝกเสริมทักษะมาหาคาประสทิธิภาพแบบสนาม (Filed Tryout) กับนักเรียนทั้ง 32 คน พบวา

Page 161: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

149

ประสิทธิภาพ 80.63 / 80.94 ซ่ึงตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 แสดงวาชุดการสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับผลการวิจัยของวิภาดา ปญญาประชุม (2540 : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องแบบฝกเสริมทักษะที่มีประสิทธิภาพวิชาคณิตศาสตร เรื่องโจทยปญหาการคณูการหาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 พบวาแบบฝกเสรมิทักษะมีประสิทธิภาพ 77.71 / 79.57 สูงกวาเกณฑมาตรฐาน 75 / 75 ที่ตั้งไว ในทํานองเดยีวกันวารี บุษบงค (2542 : บทคัดยอ) ศึกษาการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะที่มีประสิทธิภาพวิชาคณิตศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 เรื่อง การคูณ พบวาแบบฝกเสริมทักษะมีประสิทธิภาพ 78.80 / 78.90 สูงกวาเกณฑมาตรฐาน 75 / 75 ที่ตั้งไว และวิไลวรรณ พกุทอง (2542 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะวชิาคณิตศาสตร เร่ืองโจทยปญหาการคูณการหาร จํานวนที่ตัวตั้งมีสองหลัก ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 พบวาแบบฝกเสริมทักษะมปีระสิทธิภาพ 82.50 / 81.07 สูงกวาเกณฑมาตรฐาน 75 / 75 ที่ตั้งไว ผลการประเมินดานความคดิเห็น ซ่ึงความคิดเห็นของนักเรียนนั้น พบวา นักเรยีนมีความคิดเหน็ในระดับมากจากการเรียนโดยใชแบบฝกเสรมิทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมปิญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ไดเนนกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใหนกัเรียนไดฝกฝนทักษะจากการทําแบบฝกหัด และสามารถประยุกตบูรณาการเรื่องราวภมูิปญญาทองถ่ินกับเรื่องการคณูการหารโดยแตงเปนโจทยปญหา ซ่ึงนักเรียนมีความพอใจในการปฏิบัติกิจกรรม พอใจในแบบฝกที่ไดทําซึ่งมีความแตกตางจากแบบฝกในหนังสือเรียน ไดศกึษาเร่ืองราวภูมิปญญาทองถ่ินจากแหลงเรยีนรูในทองถ่ินเหน็คุณคาของภมูิปญญาทองถ่ิน สอดคลองกับงานวจิัยของสัทธา สืบดา (2545 : บทคัดยอ) ที่ศึกษาการพัฒนาชุดการสอน เร่ือง โจทยปญหาคณิตศาสตรโดยใชขอมูลทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผลการวิจัย พบวา ความคิดเห็นของนกัเรียนหลังใชชุดการสอนอยูในระดับมาก นอกจากนี้ยังสอดคลองกับกรมวิชาการ กระทรวงศกึษาธิการ (2539 : 5) ทีว่าการจัดการศึกษาเพื่อถายทอดภูมิปญญาทองถ่ินเปนการจดัการศึกษามุงใหผูเรียนรูจกัตนรูจักชุมชนทีต่นอาศัยอยูมีความรูสึกผูกพนัธกับชุมชนของตน ตลอดจนมีความเขาใจเทาทนักับสภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกที่สงผลกระทบตอชุมชน ที่ตนอาศัยอยู ทั้งนีน้ักเรียนยังสามารถพัฒนาตนเองใหกาวหนาตอไปอีกทัง้ยังสอดคลองกับหทัยรัตน อันดี (2544 : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องการพัฒนาชุดการเรียนรูเพื่อถายทอดภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษา พบวา นักเรียนมีความคดิเห็นที่ดีตอชุดการเรียนรูเพื่อถายทอดภูมิปญญาทองถ่ิน และนักเรยีนมีความพอใจในการแสวงหาความรูดวยตนเองเหน็คุณคาและความสาํคญัของภูมิปญญาทองถ่ินและสอดคลองกับ พิทยา คําตาเทพ (2542 : 48) ไดศกึษาการพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษโดยใชเนื้อหาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานใหมสามัคคี จังหวัดลําปาง พบวา การปฏิบัติจริงโดยใชเนื้อหาทองถ่ินเปนบทเรียนที่

Page 162: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

150

มีความหมายตอนักเรียนจะทาํใหนกัเรียนสามารถเรียนรูภาษาอังกฤษไดดีขึ้น เนื้อหาทองถ่ินเปนความรูเดิม และประสบการณตรงซึ่งเปนสถานการณ หรือเหตกุารณที่เกดิขึ้นในทองถ่ินรวมถึงส่ิงตาง ๆ ที่นักเรยีนเคยพบเหน็เปนประจํา หรือคุนเคยกับสิง่เหลานั้นนกัเรียนไดเรียนรูเรื่องราวจากสิ่งใกลตัวแลวจึงเรียนรูจากสิ่งไกลตัวออกไป ผลการประเมินทักษะหรือความสามารถ (ช้ินงาน) ของนักเรียน จากการประเมินผลตามสภาพจริงจากการทําแบบฝกเสริมทักษะสําหรับนกัเรียน พบวานักเรียนสามารถคิดคํานวณโจทยที่กําหนดในแบบฝกไดถูกตองตามขัน้ตอนแสดงใหเห็นวานกัเรยีนสามารถนําความรู ทักษะการคิดคํานวณ การแกปญหามาใชในการหาคําตอบได ช้ินงานมีความสอดคลองกับจุดประสงคที่ตั้งไวตลอดจนมีความคิดสรางสรรคในการทํางานดวยตนเอง และสามารถนําความรูเร่ืองภมูิปญญาทองถ่ินมาบูรณาการรวมกับการเรยีนเร่ืองการคูณการหารได โดยการแตงโจทยปญหาทั้งยังเชื่อมโยงวิชาภาษาไทย และศิลปะรวมบูรณาการเปนชิ้นงานในวชิาคณิตศาสตรใหเกดิชิ้นงานที่มีคุณภาพจากความรูและความคิดสรางสรรคของนักเรียน สอดคลองกบั วจิิตรา คํายัง (2543 : 22) ที่วาการประเมินสภาพจริง คือการเรียนการสอนและการประเมินผลไมไดแยกกนัโดยสิ้นเชิง กลาวคือเมื่อใหผูเรียนทํางานก็ตองมีการสังเกตกระบวนการทํางาน ตรวจผลงาน ตลอดจนสังเกตพฤติกรรมที่แสดงคุณลักษณะบางประการที่เปนผลจากการเรียนรู ตราบใดที่การเรยีนรูของนักเรียนไดมาจากชีวิตจริงหรือสภาพจริงแนนอนที่สุดการประเมินความคิด การปฏิบัติ และคุณลักษณะที่เกิดจากกิจกรรมที่มาจากชีวติจริงจึงเปนการประเมินสภาพจริง และสอดคลองกับ สุวิทย มูลคํา และอรทัย มลูคํา (2544 : 209) วาการประเมินตามสภาพจริงเปนกระบวนการสังเกต การบันทึก การรวบรวมขอมูลจากงาน และกิจกรรมที่นักเรียนทําเพือ่เปนพื้นฐานในการตัดสินใจในการศึกษาถงึผลกระทบตอเด็กเหลานั้น การประเมินผลตามสภาพจริงจะไมเนนการประเมนิที่ซับซอนในการทํางานของนักเรียนความสามารถในการแกปญหา และการแสดงออกที่เกิดจากการปฏิบัติในสภาพจริงในการเรียนการสอนที่เนนนักเรียนเปนศูนยกลาง ผลการปรับปรุงแกไขแบบฝกเสริมทักษะ มีการปรับปรุงกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เร่ืองการคูณการหารเศษสวนในขั้นนําใหมีความเหมาะสมและปรับเวลาในแผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่องการคูณการหารเศษสวนใหมีความเหมาะสม ปรับกิจกรรมในแบบฝกหดัที่ 23 ที่มากเกินไปใหลดลงเพือ่ความเหมาะสมกับเวลาที่กาํหนดไวสอดคลองกับงานวจิัยของ ชีวรัตน สาล่ีประเสริฐ (2545 : 169) ศึกษาเรื่องการพัฒนาหลักสตูรทองถ่ิน เร่ืองการอนุรักษโบราณสถานวัตถุอําเภออูทอง สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 พบวาในการจดักิจกรรมการเรียนการสอนควรมีการยืดหยุนเวลาใหเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอน ในการไปทัศนศึกษานอกสถานที่

Page 163: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

151

และสอดคลองกับ สัทธา สืบดา (2545 : 147) ที่ศึกษาการพัฒนาชดุการสอน เร่ือง โจทยปญหาคณิตศาสตรโดยใชขอมูลทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวาในการจดักิจกรรม การเรียนการสอนควรมีการปรับระยะเวลาในแตละแผนการเรียนรูที่ตองไปศึกษาแหลงเรียนรูในชุมชน นอกจากนี้ยังปรับคูมือในใบความรูสําหรับครู โดยเพิ่มเนื้อหาสรางสรรคนิทานคณิตเพื่อเราความสนใจใหนักเรียนเกดิการเรียนรูที่หลากหลาย ทั้งนีใ้นการปรับแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 โดยนําภาพภูมิปญญาทองถ่ินและภาพการตูนเขามาประกอบ อีกทั้งปรับปรับภาษา ตัวอักษร ตัวเลข ใหมีความถูกตอง ขนาดใหญชัดเจนสสัีนสวยงามคมชัดและสอดคลองกับเนื้อหาเพื่อใหแบบฝกที่พัฒนามีความสมบูรณ และมีประสิทธิภาพทําใหนกัเรียนไดรับการพัฒนาการเรียนรูมากที่สุดจากการเรียนรูโดยใชแบบฝกเสรมิทักษะดังกลาว

ขอเสนอแนะ จากการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ผูวิจัยไดทําการสรุปแนวคดิ และขอเสนอแนะเกี่ยวกับประเดน็ตอไปนี้ คือขอเสนอแนะเพื่อการนําไปใช ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย และขอเสนอแนะเพื่อการวิจยั โดยมีรายละเอียดดังนี ้ ขอเสนอแนะเพื่อการนําแบบฝกเสริมทักษะไปใช จากการคนพบขอวิจัย ผูวจิัยมีขอเสนอแนะเกีย่วกับการนําแบบฝกเสรมิทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ไปใชดังตอไปนี ้ 1. จากการวิจัย พบวา ในการนําภูมิปญญาทองถ่ินมาบูรณาการรวมกับการเรียนเรื่อง การคูณการหาร ซ่ึงบูรณาการโดยใหนกัเรียนไดเรียนรูเร่ืองราวของภมูิปญญาทองถ่ินไปพรอมกับการเรียนเรื่องการคูณการหารและนําภูมปิญญาทองถ่ินนั้นมาสรางเปนโจทยปญหา ซ่ึงในการจัดกิจกรรมครูผูสอนจะตองศกึษาเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ินมาเปนอยางดี เพราะเมื่อนักเรียนเกดิความสงสัยในการเรียนจะไดสามารถอธิบายแนะนํานักเรยีนไดถูกตอง ทั้งนี้ในการสอนเกี่ยวกบัภูมิปญญาทองถ่ินอาจใชวิธีการใหนักเรียนไปศึกษาหาขอมูลภูมิปญญาทองถ่ินดวยตนเองกอน โดยอาจไปสอบถามจากผูรูในชุมชน

Page 164: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

152

2. จากการวจิัย พบวา แบบฝกแตละชุดทีผู่วิจัยพัฒนาขึน้มีเนื้อหาสาระในการเรียนไมเทากัน ดังนั้นครูผูสอนตองยืดหยุนกิจกรรมการเรียนการสอนใหเหมาะกับเวลาและสถานที่ อีกทัง้ในการนําแบบฝกเสริมทักษะไปใชในการจดัการเรียนการสอนนั้น บางแผนการจดัการเรียนรูมีกิจกรรมที่มากและยากเกนิไปมีเวลาที่ไมเหมาะสม ดงันั้นจึงควรมีการปรับกิจกรรมและเวลาใหมีความเหมาะสมกับการเรียน 3. จากการวิจยั พบวา แบบฝกแตละชุดทีผู่วิจัยพัฒนาขึน้มีผลการเรียนรูในการเรยีนที่ไมเทากัน ดังนั้นในแบบฝกที่ใหผลการเรียนรูสูงครูผูสอนควรมีการนํามาใชในการเรียนการสอนอยางตอเนื่องและเปนแนวทางในการจดัทําในการนํามาสรางเปนส่ือในการเรยีนในเรื่องอื่น ๆ และผูบริหารสถานศึกษาควรสนับสนุนใหมกีารพัฒนาหลกัสูตรทองถ่ิน เพื่อสงเสริมใหครูจัดกิจกรรมการเรยีนการสอน และนํานักเรียนเรียนรูเร่ืองราวของภูมิปญญาทองถ่ินของตนเพิ่มขึ้น ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. จากการเรยีนคณิตศาสตร โดยใชแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 พบวา นักเรียนมีผลการเรียนรูเร่ืองการคูณการหารเพิ่มขึ้น อีกทัง้มีความรูในเรือ่งราวของภูมปิญญาทองถ่ินเพิ่มขึ้น และนักเรียนไดรับประโยชนจากการฝกฝนทักษะจากการเรยีนโดยใชแบบฝก ประโยชนจากการแสวงหาความรูดวยตนเอง ดังนัน้โรงเรียนจึงควรสงเสริมใหนักเรยีนไดมีโอกาสฝกฝนทักษะและปฏิบัติกิจกรรมโดยสรางองคความรูและแสวงหาความรูในทองถ่ิน ซ่ึงเปนกระบวนการเรยีนรูที่สอดคลองกับหลักการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 2. เนื่องจากแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญา ทองถ่ิน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 เปนแบบฝกที่สามารถใชแทนหนังสือเรียนในเนื้อหาเรื่องการคูณการหารหรือใชเสริมจากหนังสือเรียนได โดยเปนแบบฝกที่มาจากความตองการของนักเรียน และผูที่เกีย่วของ แบบฝกนอกจากจะใหนักเรียนไดเรียนรูเร่ืองการคูณการหารแตยงับูรณาการเรื่องราวของภูมิปญญาทองถ่ิน ซ่ึงทําใหนักเรียนมีความรูในเรื่องภูมิปญญาทองถ่ินเพิ่มขึ้น นักเรียนรูสึกรักและหวงแหนเห็นถึงคณุคาของภูมิปญญาทองถ่ิน ดังนั้นโรงเรียนจงึควรสงเสริมใหมีการจัดพิมพแบบฝกขึ้นใชกับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ในปการศึกษาตอไป 3. จากผลการวิจัยพบวานกัเรียนมีความสนใจในการเรียนรูเร่ืองการคูณการหารโดยการบูรณาการเรื่องราวของภมูิปญญาทองถ่ิน ดังนั้นการที่จะทําใหการจัดการเรียนการสอนมีผลการเรียนรูที่ดแีละสอดคลองกับความตองการของผูเรียนและชุมชนจึงควรใหชุมชน คณะกรรมการ

Page 165: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน

153

สถานศึกษา และผูที่เกีย่วของมีสวนรวมในการจัดการเรยีนการสอน โดยอาจจะเชิญผูรูมาใหความรูกับนักเรยีนในบางเนื้อหาที่มคีวามเหมาะสม ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยคร้ังตอไป การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหาร โดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 เปนแนวทางในการสนับสนุนการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับหลักการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ดังนั้นในการพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะควรมีการศึกษาเพิ่มเตมิและทําการวจิัยในประเด็นตอไปนี ้ 1. ควรมีการวิจยัและพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะ เร่ืองการคณูการหารโดยการบูรณาการภูมิปญญาทองถ่ิน ในระดบัชั้นอื่น ๆ และมีเนื้อหาของภูมิปญญาทองถ่ินที่หลากหลายตามบริบทและวัฒนธรรมของชุมชน 2. ควรมีการวิจยัเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ดานการคูณการหารโดยใชส่ือ และนวัตกรรม อ่ืน ๆ เชน บทเรียนสําเร็จรปู บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI ) เปนตน 3. ควรมีการเปรยีบเทียบผลสัมฤทธิ์ กอนเรยีน-หลังเรียนในแบบฝกแตละเรื่องที่แบงไวในบทเรียน เพื่อคนหาวาแบบฝกเสริมทักษะชดุใดมปีระสิทธิภาพเปนอยางไรเพือ่นํามาปรับปรุงแกไข 4. ควรมีการเปรยีบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนที่เรียนดวยแบบฝกเสริม ทักษะโดยจําแนกกลุมนกัเรียนเปนกลุมเกง กลุมปานกลาง และกลุมออน เพื่อคนหาวาแบบฝกเสริมทักษะเหมาะสมกับนกัเรียนกลุมใดแตละกลุม และแตละกลุมไดผลสัมฤทธิ์เปนอยางไรแลวนํามาปรับปรุงแกไขและพัฒนาแบบฝกเสรมิทักษะใหเหมาะสมกับกลุมนักเรียนตอไป

Page 166: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 167: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 168: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 169: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 170: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 171: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 172: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 173: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 174: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 175: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 176: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 177: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 178: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 179: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 180: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 181: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 182: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 183: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 184: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 185: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 186: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 187: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 188: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 189: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 190: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 191: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 192: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 193: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 194: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 195: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 196: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 197: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 198: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 199: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 200: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 201: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 202: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 203: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 204: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 205: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 206: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 207: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 208: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 209: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 210: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 211: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 212: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 213: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 214: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 215: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 216: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 217: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 218: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 219: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 220: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 221: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 222: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 223: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 224: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 225: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 226: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 227: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 228: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 229: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 230: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 231: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 232: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 233: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 234: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 235: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 236: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 237: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 238: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 239: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 240: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 241: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 242: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 243: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 244: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 245: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 246: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 247: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 248: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 249: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 250: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 251: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 252: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 253: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 254: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 255: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 256: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 257: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 258: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 259: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 260: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 261: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 262: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 263: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 264: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 265: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 266: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 267: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 268: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 269: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 270: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 271: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 272: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 273: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 274: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 275: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 276: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 277: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 278: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 279: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 280: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 281: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 282: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 283: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 284: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 285: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 286: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 287: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 288: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 289: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 290: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 291: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 292: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 293: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 294: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 295: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 296: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 297: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 298: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 299: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 300: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 301: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 302: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 303: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 304: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 305: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 306: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 307: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 308: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 309: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 310: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 311: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 312: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 313: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 314: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 315: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 316: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 317: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 318: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 319: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 320: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 321: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 322: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 323: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 324: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 325: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 326: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 327: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 328: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 329: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 330: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 331: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 332: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 333: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 334: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 335: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 336: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 337: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 338: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 339: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 340: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 341: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 342: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 343: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 344: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 345: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 346: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 347: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 348: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 349: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 350: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 351: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 352: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 353: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 354: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 355: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 356: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 357: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 358: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 359: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 360: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 361: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 362: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 363: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 364: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 365: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 366: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 367: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 368: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 369: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 370: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 371: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 372: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 373: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 374: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 375: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 376: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 377: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 378: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 379: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 380: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 381: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 382: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 383: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 384: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 385: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 386: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 387: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 388: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 389: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 390: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 391: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 392: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 393: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 394: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 395: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 396: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 397: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 398: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 399: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน
Page 400: ลปากร - Silpakorn University · 2010-03-12 · บัณฑิิตวทยาล มหาวัยิทยาลยศิัลปากร อนุมัติ วิิพนธใหทยาน