เจดีย ทรงระฆังแบบล านนาใน ... · 2011-02-09 ·...

6
เจดียทรงระฆังแบบลานนาในอยุธยา หลักฐานเกี่ยวกับชุมชนชาวลานนาในอยุธยา บรรยายโดยประภัสสร ชูวิเชียร เจดีย คือ สิ่งกอสรางที่สรางถวายใหแกองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาและเปน ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เจดียถูกแพรขยายมาจากอินเดียเขามาสูพื้นที่ที่นับถือพุทธศาสนา ใน ประเทศไทยเจดียมีปรากฏมาตั้งแตสมัยทวารวดี เจดียทางภาคเหนือโดยเฉพาะศิลปะลานนามีความใกลชิดกับประเทศพมา จึงได รับวัฒนธรรมมาจากพมา กอนรัฐลานนาจะเกิดขึ้นในพุทธศตวรรษที๑๙ ทางทิศตะวันตกของ ประเทศไทยมีอาณาจักรใหญอยูอาณาจักรหนึ่ง คือ อาณาจักรพุกาม ในประเทศพมา นับถือพุทธ ศาสนาแบบเถรวาทแบบเดียวกับไทย ในการสรางเจดียของพุกามมีหลากหลายรูปแบบ แตมีเจดีย รูปแบบหนึ่งที่มีประวัติวา มีพระภิกษุสงฆชาวมอญที่อาศัยในพุกามเดินทางไปศึกษาเลาเรียนทีศรีลังกา เมื่อกลับมาจึงนํารูปแบบเจดียแบบลังกามาสรางที่พุกาม เรียก เจดียชะปตร ตามชื่อ พระภิกษุสงฆรูปนั้น ซึ่งเปนเจดียในชวงพุทธศตวรรษที๑๗ เมื่ออาณาจักรลานนาเกิดขึ้นจึง ไดรับอิทธิพลทางศาสนาและศิลปะจากพุกาม อายุเจดียทรงระฆังแบบลานนา มีอายุไมต่ํากวา พุทธศตวรรษที๑๙ รูปแบบทั่วไปของเจดียทรงระฆังในศิลปะลานนา เจดียในศิลปะลานนามีอยูดวยกันหลายแบบ หนึ่งในนั้นคือเจดียทรงระฆัง ซึ่งใน ศิลปะลานนามีรูปแบบเฉพาะของตน นักวิชาการพบวาเจดียแบบนี้เกิดขึ้นมา ตั้งแตราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๙ เปนตนมา เชน เจดียวัดอุโมงคเถรจันทร , เจดียวัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหตอมาจึงพัฒนารูปแบบขึ้นอยางสมบูรณลงตัว อันมีตัวอยางสําคัญ ไดแก “ พระธาตุหริภุญชัย ” จังหวัดลําพูน พระธาตุเจดียองคนี้มีการ ซอมแซมครั้งใหญ ในรัชกาลของพระ เจาติโลกราชแหงเชียงใหม ชวงปลาย พุทธศตวรรษที๒๐ ดวยเหตุที่เมือง ลําพูน เปนศูนยกลางทางพุทธศาสนา ที่สําคัญของลานนามาแตโบราณ พระ ธาตุหริภุญชัย จึงกลายเปนตนแบบให กับเจดียทรงระฆังของลานนา หลาย องคที่ไดรับการสรางในระยะหลัง ตอ มาองคประกอบหลักๆของเจดีย ทรง (ภาพลายเสนพระธาตุหริภุญชัย)

Upload: others

Post on 20-Feb-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เจดีย ทรงระฆังแบบล านนาใน ... · 2011-02-09 · เจดีย ในศิลปะล านนามีอยู ด วยกันหลายแบบ

เจดียทรงระฆังแบบลานนาในอยุธยา หลักฐานเก่ียวกับชุมชนชาวลานนาในอยุธยา

บรรยายโดยประภัสสร ชูวิเชียร

เจดีย คือ ส่ิงกอสรางท่ีสรางถวายใหแกองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาและเปนท่ีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เจดียถูกแพรขยายมาจากอินเดียเขามาสูพ้ืนท่ีท่ีนับถือพุทธศาสนา ในประเทศไทยเจดียมีปรากฏมาตั้งแตสมัยทวารวด ี เจดียทางภาคเหนือโดยเฉพาะศิลปะลานนามีความใกลชิดกับประเทศพมา จึงได รับวัฒนธรรมมาจากพมา กอนรัฐลานนาจะเกิดขึ้นในพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ทางทิศตะวันตกของประเทศไทยมีอาณาจักรใหญอยูอาณาจักรหนึ่ง คือ อาณาจักรพุกาม ในประเทศพมา นับถือพุทธศาสนาแบบเถรวาทแบบเดียวกับไทย ในการสรางเจดียของพุกามมีหลากหลายรูปแบบ แตมีเจดียรูปแบบหนึ่งท่ีมีประวัติวา มีพระภิกษุสงฆชาวมอญท่ีอาศัยในพุกามเดินทางไปศึกษาเลาเรียนท่ีศรีลังกา เม่ือกลับมาจึงนํารูปแบบเจดียแบบลังกามาสรางท่ีพุกาม เรียก เจดียชะปตร ตามช่ือพระภิกษุสงฆรูปนั้น ซ่ึงเปนเจดียในชวงพุทธศตวรรษท่ี ๑๗ เม่ืออาณาจักรลานนาเกิดขึ้นจึงไดรับอิทธิพลทางศาสนาและศิลปะจากพุกาม อายุเจดียทรงระฆังแบบลานนา มีอายุไมต่ํากวาพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ รูปแบบท่ัวไปของเจดียทรงระฆังในศิลปะลานนา เจดียในศิลปะลานนามีอยูดวยกันหลายแบบ หนึ่งในนั้นคือเจดียทรงระฆัง ซ่ึงในศิลปะลานนามีรูปแบบเฉพาะของตน นักวิชาการพบวาเจดียแบบนี้เกิดขึ้นมา ตั้งแตราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ เปนตนมา เชน เจดียวัดอุโมงคเถรจันทร , เจดียวัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม ตอมาจึงพัฒนารูปแบบขึ้นอยางสมบูรณลงตัว อันมีตัวอยางสําคัญ ไดแก “ พระธาตุหริภุญชัย ” จังหวัดลําพูน พระธาตุเจดียองคนี้มีการ ซอมแซมครัง้ใหญ ในรัชกาลของพระ เจาติโลกราชแหงเชียงใหม ชวงปลาย พุทธศตวรรษท่ี ๒๐ ดวยเหตุท่ีเมือง ลําพูน เปนศูนยกลางทางพุทธศาสนา ท่ีสําคัญของลานนามาแตโบราณ พระ ธาตุหริภุญชัย จึงกลายเปนตนแบบให กับเจดียทรงระฆังของลานนา หลาย องคท่ีไดรับการสรางในระยะหลัง ตอ มาองคประกอบหลักๆของเจดีย ทรง (ภาพลายเสนพระธาตุหริภุญชัย)

Page 2: เจดีย ทรงระฆังแบบล านนาใน ... · 2011-02-09 · เจดีย ในศิลปะล านนามีอยู ด วยกันหลายแบบ

ระฆังแบบลานนา คือ ฐานเขียงในผังส่ีเหล่ียมจัตุรัสซอนกันราว ๒-๓ ฐาน เปนสวนรองรับองคเจดีย ดานลางสุด จากนั้นจะถึงช้ันฐานในผังยกเก็จ คือ แตกมุมออกมาโดยมีมุมประธานขนาดใหญท่ีขนาบดวยมุมยอยขนาดเล็ก ประกอบดวยฐานบัวลูกแกวอกไกจํานวน ๒ ฐานท่ีซอนกัน โดยมีทองไมคั่นระหวางฐานท้ังสองฐานชุดนี้บางครั้งเปนฐานบัวคว่ํา - บัวหงายธรรมดาท่ีไมมีลวดบัวคาดประดับท่ีทองไม จากนั้นเปนฐานในผังกลม คือ ฐานเขียงซอนกันราว ๒-๓ ฐาน ตอดวยชุดฐานรองรับองคระฆังท่ีเปนฐานบัวลูกแกวอกไก ท่ีคาดอกไกประดับทองไมจํานวนสองเสน ซอนลดหล่ันกันจํานวนสามฐานเพ่ือรองรับองคระฆัง ความสูงของชุดฐานทําใหสัดสวนขององคระฆังมีขนาดเล็กเม่ือเทียบกับองคประกอบอ่ืนๆ จากนั้นตอดวยบัลลังกในผังส่ีเหล่ียม หรือยอมุม ปลองไฉนและปลีเปนสวนยอดสุด บางครั้งยังพบการประดับฉัตรโลหะท่ียอดตามความนิยมของชาวลานนาดวย ภาพลายเสนและคําอธิยาย

(สวนฐาน เปนฐานเขียงซอนกันราว ๒-๓ ฐาน รองรับชุดฐานบัวลูกแกวอกไกสองฐาน คั่นกลางดวยทองไม ท้ังหมดอยูในผังยกเก็จ คือมีมุมประธานขนาดใหญ ขนาบดวย มุมเล็กๆท่ีแตกออกมาสองดาน)

(สวนกลาง คือ ชุดฐานในผังกลม เปนฐานบัวลูกแกวอกไกท่ีคาดลวดบัวอกไกสองเสน บนทองไม ซอนลดหล่ันกันสามฐานรองรับองคระฆังขนาดเล็กและบัลลังกในผังส่ีเหล่ียม)

Page 3: เจดีย ทรงระฆังแบบล านนาใน ... · 2011-02-09 · เจดีย ในศิลปะล านนามีอยู ด วยกันหลายแบบ

(สวนยอด คือ ปลองไฉนและปลีในทรงกรวยแหลมบางครั้งมีการประดับฉัตรโลหะท่ียอดสุดดวย)

เจดียทรงระฆังแบบลานนาในอยุธยา

ปจจุบันไดพบเจดียทรงระฆังศิลปะลานนาในอาณาบริเวณเมืองอยุธยา มีจํานวนอยางนอยสามองค คือ เจดียองคหนึ่งในวัดทาแค (ราง) , เจดียประธานวัดบางกะจะ และเปนเจดียรายองคหนึ่งดานหนาอุโบสถวัดนางกุย หลักฐานดังกลาวเปนท่ีนาสนใจถึงการแพรหลายของศิลปะลานนาลงมาสูกรุงศรีอยุธยา โดยเฉพาะรูปแบบท่ีเปนศิลปะลานนาอยางแทจริงของเจดียท้ังสามองคนี้ไดรับการสรางขึ้นในดินแดนท่ีมิใชวัฒนธรรมลานนา แตกลับเปนกรุงศรีอยุธยาซ่ึงก็มีรูปแบบงานชางเปนของตนเอง อีกอยางหนึ่งเจดียทรงระฆังแบบลานนาท่ีพบในอยุธยา มีรูป แบบท่ีคลายคลึงกัน แตตางกันในรายละเอียดเล็กนอย เชน ขนาด การซอมแซมในอดีต เปนตน เจดียวัดทาแค (ราง) วัดนี้ตั้งอยูทางทิศเหนือ นอกเกาะเมืองอยุธยาริมคลองบางขวด เจดียประกอบดวย ชุดฐานยกเก็จ ท่ีมีระเบียบเชนเดียวกับของลานนา คือ เปนฐานบัวลูกแกวอกไก ซอนกันสองฐานคั่นดวยทองไม แตไดมีการบูรณะ ในอดีตโดยการกอฐานขยายออกมาใน รูปแบบเดียวกนักับฐานเดิมท่ีอยูภายใน ( สังเกตไดจาก รองรอยท่ีถูกลักลอบขุด ) สวนชุดฐานรองรับองคระฆังยืด สูงเพรียวกวาเจดียแบบเดียวกันในศิลปะลานนา มีสวนให องคระฆังยิ่งเล็กลงมาก และสวนปากระฆังตองคอดเขาทํา ใหองคระฆังแลดูคลายทรงน้ําเตา ท่ีองคระฆังยังมีรองรอย

Page 4: เจดีย ทรงระฆังแบบล านนาใน ... · 2011-02-09 · เจดีย ในศิลปะล านนามีอยู ด วยกันหลายแบบ

ของปูนปนรูปดอกไมส่ีกลีบหรือประจํายามรัดอกซ่ึงเปนรูปแบบเดียวกับท่ีนิยมประดับในลานนา สวนยอดของเจดียหักพังตั้งแตบัลลังกขึ้นไป วัดบางกะจะ ตั้งอยูทางทิศใตนอกเกาะเมือง อยุธยา (ฝงตรงขามปอมเพชรและวัดพนัญเชิง) มีเจดีย ทรงระฆังแบบลานนาเปนประธานของวัด มีขนาดใหญ กวาเจดียวัดทาแคเล็กนอย และยังอยูครบสมบูรณท้ังองค สวนฐานยังไมถูกกอพอกเพ่ิมเหมือนเจดียวัดทาแค จึง สามารถสังเกตสัดสวนและระเบียบของชุดฐานดั้งเดิม ท่ี เปนฐานบัวลูกแกวอกไกสองฐานในผังยกเก็จได สวนชุด ฐานรองรับองคระฆังและยอดของเจดียประธานวัดบางกะจะ สูงเพรียว ตอจากปลองไฉนและปลียังมีฉัตรโลหะประดับ สวนยอดดวย

ถัดไปไมไกลจากวัดบางกะจะคอื วัดนางกุย หนึ่ง ในหมูเจดียรายหนาอุโบสถ เปนเจดียทรงระฆังแบบลานนา ซ่ึงมีรูปแบบเดียวกันกับเจดียวัดบางกะจะทุกประการ แตมี ขนาดเล็กกวามาก สภาพปจจุบันถูกลักลอบขุดทําลาย บางสวน รายละเอียดท่ีนาสนใจของเจดียรายวัดนางกุย คือยังปรากฏลายดอกไมส่ีกลีบประดับองคระฆังเชนเดียวกับ เจดียวัดทาแค แมวาเจดียท้ังสามองค จะถูกสรางอยูในเขตเมือง อยุธยา แตจะเห็นไดวาเปนเจดียท่ีมีรูปแบบแตกตางไปจาก เจดียทรงระฆังในศิลปะอยุธยาอยางชัดเจน และสามารถ (เจดียวัดนางกุย) เปรียบเทียบ กับเจดีย ตนแบบในศิลปะลานนาไดดีท่ีสุด คือ พระธาตุหริภุญชัย เนื่องจากรายละเอียดขององคประกอบทางสถาปตยกรรม เปน ระเบียบเดียวกันท้ังส้ิน แมวาสัดสวนขององคเจดียจะมีความ สูงเพรียวกวาก็ตาม ดังนั้น อายุการสรางเจดียทรงระฆังแบบ ลานนาในอยุธยาทั้งสามองคก็ควรอยูหลังจากปลายพุทธศตวรรษ ที่ ๒๐ อันเปนชวงที่มีการซอมองคพระธาตุหริภุญชัยคร้ังใหญ ลงมา (เจดียรายวัดพระศรีสรรเพชญเปนเจดียศิลปะแบบอยุธยา)

Page 5: เจดีย ทรงระฆังแบบล านนาใน ... · 2011-02-09 · เจดีย ในศิลปะล านนามีอยู ด วยกันหลายแบบ

อยางไรก็ตาม การกําหนดอายุท่ีคอนขางแนนอนของเจดียกลุมนี้จําเปนท่ีจะตองอาศัยหลักฐานทางเอกสารเขาชวย ซ่ึงนําไปสูขอมูลท่ีนาสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางอยุธยาและลานนาในหวงพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ - ๒๑ รวมไปถึงรองรอยของความเปน “ชุมชน” จากหัวเมืองฝายเหนือท่ีตั้งถ่ินฐานอยูในชานพระนครอยุธยาท่ีไมมีเอกสารใดๆกลาวถึงมากอน

(เปรียบเทียบรูปแบบ ระหวางเจดียทรงระฆังในศิลปะอยุธยาและศิลปะลานนา)

หลักฐานประวัติศาสตรที่เกี่ยวของกับการเกิดเจดียทรงระฆังแบบลานนาในอยุธยา เอกสารพงศาวดารหลายเลมกลาวถึง ความขัดแยงระหวางอยุธยาและลานนาในชวงพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ ซ่ึงตรงกับรชักาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถของอยุธยาและพระเจาติโลกราชแหงเชียงใหม เหตุการณดังกลาวเกิดจากเช้ือพระวงศฝายสุโขทัยอันเปนพระญาติของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ คือ พระยายุทธิษฐิระไดหันไปเขาขางทางลานนา และเปดโอกาสใหพระเจาติโลกราชยึดเอาหัวเมืองในแควนสุโขทัย ซ่ึงอยุธยากําลังดําเนินการผนวกเขาเปนสวนหนึ่งของอาณาจักรอยู สงผลใหเกิดสงครามและความขัดแยงระหวางสองอาณาจักรยืดเยื้ออยูราว ๒๐ ป ในท่ีสุดอยุธยาก็สามารถชิงเอาแควนสุโขทัยคืนไดอยางเด็ดขาด ในสมรภูมิท่ีเมืองศรีสัชนาลัยราว พ.ศ. ๒๐๑๘ และเม่ือกษัตริยท้ังสองพระองคสวรรคตในเวลาไลเล่ียกันชวงป พ.ศ. ๒๐๓๐ – ๒๐๓๑ ความขัดแยงดังกลาวจึงหมดไป ผลจากสงครามในครั้งนีน้าจะทําใหอยุธยาไดรับเอาศิลปวัฒนธรรมหลายอยางจากลานนาเขามา และท่ีสําคญัอาจเปนการเปดเสนทางการติดตอสัมพันธระหวางอยุธยา-ลานนาในเวลาตอมา

ปลองไฉน

องคระฆัง

ชุดฐานรองรับองค

สวนฐานลาง

Page 6: เจดีย ทรงระฆังแบบล านนาใน ... · 2011-02-09 · เจดีย ในศิลปะล านนามีอยู ด วยกันหลายแบบ

ในชวงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ ทางเชียงใหมประสบปญหาทางการเมือง อีกท้ังยังมีการกวาดตอนคนในหัวเมืองสุโขทัย ซ่ึงตกอยูภายใตอํานาจของอยุธยาไปหลายครั้ง ในรัชกาลของพระนางจิรประภาเทวี เปนชวงท่ีลานนาขาดเสถียรภาพในการปกครอง สมเด็จพระไชยราชาแหงอยุธยาจึงยกทัพเขาตีลานนาถึงสองครั้งในป พ.ศ. ๒๐๘๘ ครั้งแรกทางเชียงใหมยอมถวายเครื่องบรรณาการ สวนครั้งหลังเชียงใหมมีทาทีกระดางกระเดื่อง ทางอยุธยาจึงตเีอาเมืองลําพูนได และยกทัพมาตั้งอยูท่ีเวียงกุมกามทางทิศใตเมืองเชียงใหม เหตุการณท่ีอยุธยาไดชัยชนะเหนือเมืองลําพูน ถูกบันทึกไวตรงกันท้ังเอกสารของอยุธยา , ลานนา และเอกสารของชาวตางชาต ิ เช่ือวาชาวลานนาซ่ึงนาจะประกอบดวยเจานายช้ันสูง ขุนนาง ไพรพลเมืองและพระภิกษุสงฆอาจถูกกองทัพอยุธยากวาดตอนลงมายังอยุธยาในคราวนั้น ดวยตามธรรมเนียมการสงครามสมัยโบราณท่ีเนนการรวบรวมกําลังคนมากกวาการยึดครองพ้ืนท่ี เหตุนั้นจึงนาเช่ือวามีกลุมคนชาวลานนาไดตั้งชุมชนอยูในบริเวณตัวเมืองอยุธยาดวย เนื่องจากไดพบเจดียทรงระฆังแบบลานนาอยูในวัดถึงสามแหง ซ่ึงวัดเหลานั้นเช่ือวาก็คงเปนศูนยกลางของชุมชนชาวลานนาเชนกัน ยิ่งไปกวานั้นอาจสันนิษฐานไดวาชุมชนชาวลานนา ในอยุธยานี้สวนใหญคงเปนชาวลําพูน เนื่องจากเจดียนี้เปนการถายแบบโดยตรงมาจากพระธาตุหริภุญชัยอันเปนเจดียสําคัญของเมืองลําพูน ดังจะเห็นไดวาวัดตาง ๆ ใน จังหวัดลําพูนและใกลเคียง นิยมท่ีจะถายแบบพระธาตุหริภุญชัยไปสรางเปนเจดียภายในวัดจนถึงทุกวันนี้ หลักฐานทางรูปแบบศิลปกรรมของเจดียทรงระฆังแบบลานนาในอยุธยาเอง ก็สามารถเปรียบเทียบไดโดยตรงกับพระธาตุหริภุญชัย ยืนยันถึงขอความในเอกสาร ท่ีกลาววาสมเด็จพระไชยราชาทรงตีไดเมืองลําพูนในคราวสงครามเชียงใหมครั้งท่ีสอง ดังนั้นเม่ือประมวลจากหลักฐานทางดานรูปแบบศิลปกรรม และหลักฐานเอกสารแลว อาจกําหนดอายุอยางคราวๆ ของเจดียทรงระฆังแบบลานนาท่ีวัดทาแค และวัดบางกะจะ ไวราวชวงปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ จนถึงชวงตนของพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ ตามความสอดคลองกันระหวางหลักฐานดานศิลปกรรมและเอกสาร สวนเจดียรายวัดนางกุยอาจมีอายุการสรางลาลงมาอีก เนื่องจากเปนเจดียรายขนาดเล็กท่ีเช่ือวานาจะถายแบบมาจากเจดียประธานวัดบางกะจะท่ีอยูใกลเคียง พิจารณาประกอบกับเจดียรายองคอ่ืน ๆ ซ่ึงเปนเจดียทรงเครื่องและปรางคสมัยอยุธยาตอนปลาย เจดียองคดังกลาวจึงอาจสรางขึ้นในระหวางชวงปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ ถึงพุทธศตวรรษท่ี ๒๓ ก็เปนได

********************************************