บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ ·...

22
บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ การศึกษามนุษยสัมพันธนั้น ถูกจัดใหเปนทั้งศาสตร (Science) และศิลป (Art) เนื่องจากมี หลักการทฤษฎีที่เปนขอความรู และการนําหลักการหรือทฤษฎี ไปปฏิบัติให้ประสบความสําเร็จไดนั้น ตองอาศัยเทคนิควิธีการซึ่งถือเปนศิลปะเฉพาะตัวของแตละบุคคล จะสังเกตเห็นไดอยางหนึ่งวา คนแตละคนมีความสามารถในการติดตอกับผูอื่นไมเทากัน บางคนเปนที่พอใจของคนหมูมาก มีเพื่อน มากหนาหลายตา และมีคนที่อยากพูดคุยติดตอ หรือทํางาน รวมกับเขามากมาย ในขณะที่บางคนไม คอยมีใครอยากจะเขาใกลหรือทํางานรวมดวย นั่นเปนเพราะเขาขาดศิลปะในการติดตอกับบุคคลอื่น ซึ่งอาจเปนเพราะไมรูหลักการวาควรทําอยางไร หรือเปนเพราะนําหลักการไปใชไมถูกวิธี ดังนั้น การที่คนเราจะมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับบุคคลอื่น จึงจําเปนตองเรียนรูทั้งภาคทฤษฎี และหมั่นฝกฝนเพื่อใหเกิดความเชี่ยวชาญ จนสามารถนําหลักการที่เปนขอความรูทางทฤษฎีไปใชได อยางเปนธรรมชาติ 6.1 ความหมายของมนุษยสัมพันธ คําวามนุษยสัมพันธ มีนักการศึกษาหลายทานไดใหคําจํากัดความไวหลายทัศนะ แตก็มี ความหมายคลายคลึงกัน ดังเชน พรรณราย ทรัพยะประภา (2548, 44) ใหความหมายของมนุษยสัมพันธ์ วาเปนเรื่องทีเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างกันและกันของบุคคลที่อยู่ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นในชีวิตส่วนตัว ในชีวิต การศึกษาเล่าเรียน ในชีวิตการงาน และในชีวิตสังคมทั่วไป เป็นเรื่องสําคัญอันเป็นพื้นฐานในการทํา ความเข้าใจซึ่งกันและกันในความต้องการด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างกาย จิตใจ อารามณ์ และสังคม พร้อมทั้งตอบสนองความต้องการต่าง ๆ ดังกล่าวให้แก่กันและกันอย่างเหมาะสมและ อย่างน่าพึงพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย ซึ่งส่งผลให้การใช้ชีวิตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นระยะเวลาอันสั้นหรือ ระยะเวลาอันยาวนาน และในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ ของแต่ละคนดําเนินไปอย่างมีความสุข มีความรัก ความเอื้ออาทร และช่วยเหลือเกื้อกูลกันตามควรแก่อัตภาพ ชลอ ธรรมศิริ (2543, 480) ที่กลาววา มนุษยสัมพันธเปนความสัมพันธระหวางบุคคลที่สร้าง ขึ้นเพื่อยึดเหนี่ยวระหวางกัน ใหเกิดความรักใครชอบพอ ความรวมมือรวมใจในการทํากิจกรรมให บรรลุเปาหมาย และดําเนินชีวิตใหมีความราบรื่น สมพร สุทัศนีย (2544, 5) กล่าววา มนุษยสัมพันธ หมายถึงการติดตอเกี่ยวของกัน ระหวาง บุคคลเพื่อใหเกิดความรักใครชอบพอ ความรวมมือรวมใจในการทํากิจกรรมใหบรรลุเปาหมาย และ การดําเนินชีวิตใหมีความราบรื่น

Upload: others

Post on 15-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

บทท่ี 5

มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ

การศึกษามนุษยสัมพันธนั้น ถูกจัดใหเปนทั้งศาสตร (Science) และศิลป (Art) เนื่องจากมี

หลักการทฤษฎีที่เปนขอความรู และการนําหลักการหรือทฤษฎี ไปปฏิบัติให้ประสบความสําเร็จไดนั้น ตองอาศัยเทคนิควิธีการซึ่งถือเปนศิลปะเฉพาะตัวของแตละบุคคล จะสังเกตเห็นไดอยางหนึ่งวา คนแตละคนมีความสามารถในการติดตอกับผูอ่ืนไมเทากัน บางคนเปนที่พอใจของคนหมูมาก มีเพ่ือนมากหนาหลายตา และมีคนที่อยากพูดคุยติดตอ หรือทํางาน รวมกับเขามากมาย ในขณะที่บางคนไม คอยมีใครอยากจะเขาใกลหรือทํางานรวมดวย นั่นเปนเพราะเขาขาดศิลปะในการติดตอกับบุคคลอ่ืน ซึ่งอาจเปนเพราะไมรหูลักการวาควรทําอยางไร หรือเปนเพราะนําหลักการไปใชไมถูกวิธี

ดังนั้น การที่คนเราจะมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับบุคคลอ่ืน จึงจําเปนตองเรียนรูทั้งภาคทฤษฎี และหมั่นฝกฝนเพ่ือใหเกิดความเชี่ยวชาญ จนสามารถนําหลักการที่เปนขอความรูทางทฤษฎีไปใชไดอยางเปนธรรมชาติ 6.1 ความหมายของมนุษยสัมพันธ

คําวามนุษยสัมพันธ มีนักการศึกษาหลายทานไดใหคําจํากัดความไวหลายทัศนะ แตก็มีความหมายคลายคลึงกัน ดังเชน

พรรณราย ทรัพยะประภา (2548, 44) ใหความหมายของมนุษยสัมพันธ์ วาเปนเรื่องที่

เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างกันและกันของบุคคลที่อยู่ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นในชีวิตส่วนตัว ในชี วิตการศึกษาเล่าเรียน ในชีวิตการงาน และในชีวิตสังคมทั่วไป เป็นเรื่องสําคัญอันเป็นพ้ืนฐานในการทําความเข้าใจซึ่งกันและกันในความต้องการด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างกาย จิตใจ อารามณ์ และสังคม พร้อมทั้งตอบสนองความต้องการต่าง ๆ ดังกล่าวให้แก่กันและกันอย่างเหมาะสมและ อย่างน่าพึงพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย ซึ่งส่งผลให้การใช้ชีวิตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นระยะเวลาอันสั้นหรือระยะเวลาอันยาวนาน และในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ ของแต่ละคนดําเนินไปอย่างมีความสุข มีความรัก ความเอ้ืออาทร และช่วยเหลือเกื้อกูลกันตามควรแก่อัตภาพ

ชลอ ธรรมศิริ (2543, 480) ที่กลาววา มนุษยสัมพันธเปนความสัมพันธระหวางบุคคลที่สร้างขึ้นเพ่ือยึดเหนี่ยวระหวางกัน ใหเกิดความรักใครชอบพอ ความรวมมือรวมใจในการทํากิจกรรมใหบรรลุเปาหมาย และดําเนินชีวิตใหมีความราบรื่น

สมพร สุทัศนีย (2544, 5) กล่าววา มนุษยสัมพันธ หมายถึงการติดตอเกี่ยวของกัน ระหวางบุคคลเพ่ือใหเกิดความรักใครชอบพอ ความรวมมือรวมใจในการทํากิจกรรมใหบรรลุเปาหมาย และการดําเนินชีวิตใหมีความราบรื่น

Page 2: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

142

ดูบริน (Dubrin, 1981, 4) ยังไดกลาววา มนุษยสัมพันธ หมายถึง ศิลปะและการปฏิบัติในการนําความรูเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์มาใช้ในการติดต่อสัมพันธ์กัน เพ่ือบรรลุวัตถุประสงคของตนเองและของส่วนรวม

จากความหมายของมนุษยสัมพันธ ที่กลาวมาแลวขางตนพอสรุปไดวา มนุษยสัมพันธ

หมายถึง ศาสตรและศิลปะ หรือกระบวนทัศน ในการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล เพ่ือใหเกิดความรวมมือรวมใจในการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงค และมีความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน รวมทั้งการอยูรวมกันดวยดีมีความสุข

6.2 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับมนุษยสัมพนัธ

แนวคิดเก่ียวกับมนุษยสัมพันธนั้น มีนักวิชาการหลายท่าน ได้เสนอแนวคิดเอาไว้ดังนี้ สมพร สุทัศนีย (2544, 26 - 28) ไดแบงแนวคิด เกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ ออกเปน 3 แนวคิด

ดังนี้ 1. แนวคิดในเรื่องธรรมชาติของมนุษย ซึ่งจะตองคาํนึงถึง 5 ประการ ดังนี้

1.1 บุคคลมีความแตกตาง (Individual difference) ในแตละคนจะมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัวที่ทําใหแตกตางจากบุคคลอ่ืนเปนผลมาจากพันธุกรรม รูปรางหนาตา สติปญญา สิ่งแวดลอม อารมณ วัฒนธรรม ทัศนคติ ความคิด ความเชื่อ นิสัย ความถนัด สุขภาพ ซึ่งเปนสิ่งที่ยากแกการ เขาถึงจิตใจคนทุกคนได เพราะนานาจิตตัง ตรงกับคํากลาวที่วา “จิตมนุษยนี้ไซร ยากแทหยั่งถึง”

1.2 การคํานึงถึงบุคคลในลักษณะผลรวม (A whole person) ในการสรางมนุษยสัมพันธจะตองคํานึงถึงวาบุคคลจะมีลักษณะหลายๆ ประการประกอบขึ้นเปนตัวเขาในเรื่องทางกายภาพ เรื่องทางจิตใจ เรื่องของการงาน เรื่องชีวิตสวนตัว เรื่องความรูเรื่องประสบการณ เรื่องทักษะงาน ในแตละเรื่องไมไดแยกจากกัน แตรวมถึงการรวมผสมผสาน เปนตัวเขาเองทั้งหมด

1.3 พฤติกรรมของบุคคลนั้นตองมีสาเหตุ (A behavior is caused) คือ บุคคลสามารถไดรับการจูงใจ (Motivation) ดังนั้นจึงจําเปนตองเรียนรูถึงสาเหตุของพฤติกรรม อันไดแก เรื่องของความตองการของบุคคลในดานร่างกายและดานจิตใจของตัวบุคคล

1.4 ศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย (Human dignity) มนุษยทุกคนมีคุณคา มีศักดิ์ศรี เทาเทียมกัน ฉะนั้นในการปฏิบัติตอผูรวมงานในองคการจะตองใหเกียรติดวยความสุภาพออนนอม ไมวางอํานาจ หรือขบูังคับ

1.5 มนุษยมีความซับซอน (Human complex) มนุษยเปนสัตวชั้นสูงที่มีความซับซอน โดยพฤติกรรมจะผันแปรอยูตลอดเวลาตามความตองการ แรงจูงใจภายใน แรงจูงใจภายนอก เวลา และสถานการณตางๆ ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้จะปฏิสัมพันธกันกอใหเกิดพฤตกิรรมที่ซับซอนยิ่งขึ้น

Page 3: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

143

2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย 3 ประการ ดังนี้ 2.1 เปนสังคมที่เนนตัวบุคคลมากกวาปญหา คือ คนไทยจะใหความสําคัญแกตัวบุคคล

มากกวาหลักการ ปญหาหรือแนวคิด 2.2 เปนสังคมที่ใหการยกยองผูมีอํานาจ คือสังคมมักจะยกยองใหเกียรติ ผูมีตําแหนงสูง

ไมกลาแสดงความคิดเห็น หรือโตแยง เพราะถือวาเปนการไมสุภาพ หรือไมควรอยางยิ่ง การตัดสินใจมักมาจากเบื้องบน และมักยอมรับอํานาจจากผูที่มอํีานาจเหนือกวา

2.3 เปนสังคมที่ชอบความอิสระ คนไทยรักอิสรภาพและชอบทําสิ่งตางๆ ตามสบายไมชอบมีกฎหมายบังคับ ไมชอบใครมาควบคุม มีความเปนตัวของตัวเองสูง

3. แนวคิดในเรื่องธรรมชาติขององคการ มีลักษณะ 2 ประการ ดังนี้

3.1 องคการเปนระบบสังคม กิจกรรมทางสังคมภายในองคการจึงอยูภายใตกฎของสังคม การแสดงบทบาทและสถานภาพของบุคคลจึงตองเปนไปตามสังคม พฤติกรรมบางอย่างไดรับอิทธิพลจากกลุม กลุมบุคคลจึงมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของบุคคลเปนอยางยิ่ง

3.2 องคการเปนศูนยรวมความสนใจ องคการเกิดขึ้นเพราะคนมีความสนใจร่วมกัน ในขณะที่บุคคลก็มีอิสระในการเลือกวาจะเขารวมในองคการหรือไม ดังนั้นผูบริหารต้องตระหนักในการจูงใจใหบุคคลมีความสนใจนั้นคงอยูตลอดไป

เรียม ศรีทอง (2540, 11) กลาวไววา แนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธมีหลักความเชื่อ

3 ประการคือ 1. มนุษยทุกคนมีคุณคาแหงความเปนคนเทาเทียมกันไมเลือกเพศ วัยวรรณะการศึกษาหรือ

ฐานะเศรษฐกิจมนุษยตองการติดตอเกี่ยวของกันฉันท์มิตรมีความปรารถนาดี ตองเปนคนมีคุณคาและมีความสําคัญ

2. มนุษย์เกี่ยวของกับความต้องการที่ไมมีที่สิ้นสุด เมื่อมนุษยไดรับการตอบสนองระดับหนึ่งก็ยอมตองการใหเกดิสัมพันธอันดีต่อกันในระดับหนึ่งได้เชนกัน ระหวาง ความตองการทางดานวัตถุกับจิตใจแมบางครั้ง มีความสมบูรณดานวัตถุ แตมิได้หมายความวาตองการทางดานจิตใจจะสมบูรณไป ดวย

3. มนุษย์เปนเพ่ือนรวมทุกข ฉะนั้นการแสดงออกซึ่งเมตตาตอกันจะนํามาซึ่งการอยูรวมกันอยางไมเบียดเบียนกอใหเกิดสันติสุขรวมกัน ความสงบสุขของสังคมขึ้นอยูกับความสามารถของมนุษย์ในการแสดงความเมตตาตอกัน

กลาวโดยสรุป แนวคิดพ้ืนฐานมนุษยสัมพันธ์นั้น ผูบริหารจะตองเขาใจธรรมชาติของมนุษยใน

องคการกอนวา ทุกคนมีความตองการแตกตางกัน พฤติกรรมของบุคคลนั้นตองมีสาเหตุ คนทุกคนมีคุณคาและศักดิ์ศรี มีความเท่าเทียมกัน การเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์จะทําใหสามารถสราง มนุษยสัมพันธกับผูใตบังคับบัญชาไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 4: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

144

6.3 ความสําคัญและประโยชนของการมีมนุษยสัมพันธ

มนุษยสัมพันธเปนเรื่องเกี่ยวกับการติดตอระหวางบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ฉะนั้นในชีวิต ประจําวันของทุกๆ คน จําต้องใชมนุษยสัมพันธเพราะมนุษยสัมพันธเปนสื่อเชื่อมความรัก ความเขา ใจ อันดีตอกัน เพ่ือใหมนุษยสัมพันธอยูร่วมกันอยางเป็นสุข ไดรับความสําเร็จในการทํางานรวมกับบุคคลอื่น ขจัดปญหาขดัแยงดวยสันติวิธี

มนุษยสัมพันธเปนสิ่งที่มีความสําคัญมาก ทั้งในการดําเนินชีวิตประจําวัน และการปฏิบัติงาน เพราะคนเราไมสามารถจะอยูโดยลําพังคนเดียวได ตองติดตอกับคนอ่ืนทุกระยะเวลาตลอดชีวิต ดังนั้นการที่จะสามารถดําเนินชีวิตอยูในสังคมไดอยางเปนสุขนั้น จําเปนจะตองมีมนุษยสัมพันธที่ดีดวย ส่วน ในการปฏิบัติงานนั้น มนุษยสัมพันธก็มีความสําคัญ และจําเปนสําหรับทุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งบุคคลที่เปนหัวหนาหนวยงาน หรือผูบริหาร เพราะหัวหนาหนวยงานหรือผูบริหารจําเปนจะตองอาศัยความรวมมือรวมใจจากเพ่ือนรวมงาน หรือบุคคลอ่ืน จึงจะสามารถบริหารงานใหบรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพได ซึ่งมนุษยสัมพันธก็จะชวยไดเปนอยางดียิ่งในปจจุบันนี้การบริหารงานโดยการใชอํานาจ โดยไมคํานึงถึงจิตใจของผูทํางานนั้น แมจะเปน ผลดีในบางครั้งก็ถือวาเปนสิ่งลาสมัย ไมนิยมปฏิบัติกัน (วิทยา เทพยา, 2542, 3)

ดังนั้น นักบริหารที่ปรารถนาความสําเร็จในการบริหารงาน จึงจําเปนตองมีมนุษยสัมพันธกับเพ่ือนรวมงาน นักบริหารหรือหัวหนางาน จะตองตระหนักวา มนุษยสัมพันธเปนปจจัยที่สําคัญยิ่งตอ ความสําเร็จของงานที่ตนรับผิดชอบอยู รวมทั้งมนุษยสัมพันธจะเปนเครื่องมือที่ชวยสรางน้ําใจในการทํางานใหบุคคลทํางานใหดวยความเต็มใจ ใหเกิดความสามัคคีรวมแรงรวมใจ กอใหเกิดพลังอยาง มหาศาล อาจกลาวไดวามนุษยสัมพันธเปรียบเสมือน “น้ํา” อันเปนเครื่องเสริมสรางให อิฐ กรวด ทราย เหล็ก หิน เกาะตัวกันเปนกําแพงไดฉันใด “ น้ําใจ” ก็ยอมเปนเครื่องเชื่อมโยงมนุษยทั้งหลายใหเขากันได เห็นอกเห็นใจกัน รวมมือกันดวยดี ฉะนั้นมนุษยสัมพันธ จะชวยกระตุนใหบุคคลทํางาน ชวยปลดปลอยและชักนําแรงขับดันภายในซึ่งทุกคนมีอยูแลวอยางมหาศาล

นอกจากทักษะดานมนุษยสัมพันธเปนสิ่งจําเปนสําหรับผูบริหารแลว ยังกอใหเกิดประโยชน

หลายประการ ดังที่นักการศึกษาหลายทานไดกล่าวไว้ ดังนี้ สมพร สุทัศนีย (2544, 24) สรุปว่า ผูบริหารที่มีมนุษยสัมพันธจะกอใหเกิดประโยชนไดอยาง

มากในองคการ ดังนี้ 1. ทําใหเขาใจธรรมชาติดานตางๆ ของมนุษย 2. ทําใหเขาใจความตองการพ้ืนฐานของมนุษยและสามารถสนองความตองการพ้ืนฐานที่

เหมือนกันและแตกตางกันได 3. ทําใหเกิดความราบรื่นในการคบหาสมาคมกับคนอ่ืน 4. ทําใหเกิดความรักใคร เชื่อถือ ศรัทธา จากบุคคลในองคการ และสังคมได 5. ทําใหเกิดความรวมมือรวมใจในการทํางานใหบรรลุเปาหมายได 6. ชวยลดปญหาความขัดแยงในการทํางาน

Page 5: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

145

7. ทําใหบุคคลมีแรงจูงใจในการทํางาน มีความสามัคคีกลมเกลียว รักองคกร และทําใหองคการมีความม่ันคงเปนปึกแผน

8. เปนปจจัยสําคัญในการประสานประโยชนของสังคมปองกันและแกปญหาของสังคม 9. ทําใหทุกคนมีความรูสึกเปนพวกเดียวกัน พรอมที่จะตอสูเพ่ือประโยชนรวมกัน 10. ทําใหตนเองมีสุข ผูอ่ืนมีสุข และสังคมมีประสิทธิภาพ ผุสดี พฤกษะวัน (2548, 4) ได้กล่าวถึง ประโยชนของการมีมนุษยสัมพันธอยูที่การนําไปใช

ปฏิบัติ มนุษยสัมพันธที่มีใชหลายระดับประโยชนจะเกิดการใชในทุกระดับ ดังนี้คือ 1. ระหวางบุคคลตอบุคคล ถาทําตัวใหมีความสัมพันธอันดีกับคนอ่ืน การรวมมือ การ

ประสานงาน ความเต็มใจทํางานก็ยอมจะเกิดตามขึ้นมาเอง งานก็สําเร็จลุลวงไปโดยเราไมตองออกแรงมาก เรื่องนี้รวมตลอดไปจนถึงการใชชีวิตประจําวันของเราตอผูอ่ืนดวย

2. ระหวางคนในกลุม ในปจจุบันคนทํางานคนเดียวไมได ถาทํางานคนเดียวคนอ่ืนจะหาวา ผิดปกติทํางานไมเปน ดังนั้นคนฉลาดจึงตองทํางานเปนกลุม ถาใครสามารถรวมคนใหทํางานเปนกลุม ไดหรือทํางานแทนตนไดนั้น นับวาเปนยอดคน เปนคนทันสมัย มีวิสัยทัศน มีความ เปนผูนํา

3. ระหวางองคการกับพนักงาน ลูกจาง หรือปญหาแรงงานสัมพันธ เปนปญหาใหญปญหาหนึ่ง ที่สรางปญหาใหแกเศรษฐกิจและการบริหารงาน แรงงานสัมพันธ (Employee’s Relation) จะชวยลดความขัดแยงระหวางลูกจางตอลูกจาง ระหวางนายจางกับลูกจางลงไปได เมื่อไมมีความ เขาใจระหวางกันไมวาในระดับไหน ความขัดแยงยอมเกิดขึ้นไดในทุกระดับ จากจุดเล็กไปหาจุดใหญการมีมนุษยสัมพันธที่ดีจึงมีความสําคัญตอเศรษฐกิจและการบริหารงานดวย

วิภาพร มาพบสุข (2543, 16 - 17) กลาววามนุษยสัมพันธเปนวิชาที่เกี่ยวของกับคนทุกคน

และทุกคนตองนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวันตลอดเวลา ทั้งนี้เปนเพราะวามนุษย์จะตองติดตอสัมพันธกันตลอดเวลาในทุกหนทุกแหง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมปจจุบันที่มนุษยจะตองติดต่อสัมพันธ ชวยเหลือ และพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน ดังนั้นมนุษยสัมพันธจึงเปนเครื่องมือที่สําคัญและมีประโยชนตอ มนุษยซึ่งสามารถสรุปประโยชนของมนุษยสัมพันธไดดังนี้

1. ทําใหบุคคลรูจักและเขาใจวิธีธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ในดานตางๆ ทั้งในดาน รางกาย จิตใจ อารมณ และการปรับตนใหเขาใจผูอ่ืนในสังคม

2. ทําใหทราบความตองการของบุคคลอ่ืนและสามารถตอบสนองความตองการตางๆ ของบุคคลอื่นไดอยางถูกตองเหมาะสมกับความแตกตางระหวางบุคคล

3. ทําใหบุคคลมีจิตใจและมีความเมตตากรุณาตอบุคคลอ่ืน 4. ชวยทําให้บุคคลลดความขัดแยงและปัญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัว การทํางานและในสังคม

โดยทั่วไป 5. ทําใหบุคคลในสังคมมีความรัก มีความกลมเกลียวและมีความสามัคคีในหมูคณะ มาลินี จุโฑปะมา (2542, 19-20) กลาวไววา การมีมนุษยสัมพันธที่ดีตอกัน เปนศิลปะอยาง

หนึ่งที่จะชวยสรางความรูสึกเปนมิตร รักใคร นับถือ เขาใจ จงรักภักดี เกิดความร่วมมือซึ่งกันและกัน

Page 6: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

146

บนพ้ืนฐานแหงความเขาใจ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อ่ืนทําใหเกิดความซาบซึ้งในคุณคาของการดํารงชีวิตรวมกันในทางสังคมอยางมีความสุขซึ่งจะกอใหเกิด ประโยชนดังนี้

1. กอใหเกิดความเขาใจธรรมชาติมนุษยในดานตางๆ ทั้ง ที่เหมือนและแตกตางกันได 2. กอใหเกิดความเขาใจความต้องการพ้ืนฐานของมนุษยและสนองความตองการมนุษยทั้งที่

เหมือนและแตกตางกันได 3. กอใหเกิดความรักใคร เชื่อถือ ศรัทธาจากบุคคล 4. ลดปญหาความขัดแยงในการทํางาน 5. กอใหเกิดสัมพันธภาพอันดีกับบุคคลรอบขาง 6. กอใหเกิดความสุขตอตนเอง ผูอ่ืน และสงผลตอความสงบสุขของสังคม กลาวโดยสรุปแลว มนุษยสัมพันธจะชวยใหการทํางานของบุคคลมีความเจริญกาวหนาและ

มั่นคงเกิดประสิทธิภาพ อันจะเปนประโยชนทั้งตอตนเองและองคการ สําหรับนักบริหารแลวมนุษยสัมพันธจะชวยใหการบริหารงานดําเนินไปไดดวยดี มีแตความราบรื่นและเกิดประสิทธิภาพ ทําใหตนเองและองคการไดรับประโยชน และบรรลุวัตถุประสงคตามท่ีกําหนดไวอยางดียิ่ง

6.4 องคประกอบของมนุษยสัมพันธ

มีนักวิชาการได้กล่าวถึงองค์ประกอบของมุนษยสัมพันธ์ไว้ คือ เพ็ญนภา สั งข์สุวรรณ (2547, 105) ไดวิ เคราะหองคประกอบของมนุษยสัมพันธ

ประกอบด้วย 1) ดานความใจกวาง 2) ดานการติดตอสื่อสาร 3) ดานความรับผิดชอบ 4) ดานการควบคุมตนเอง โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

1. ดานความใจกวาง 1.1 การมีความพรอมที่จะรับความคิดใหม ไดแก รับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน เปนผูฟงที่ดี

ฟงความคิดเห็นกอนตัดสินใจ ไม่ยึดติดกับความคิดเดิมของตน 1.2 มีความอดทนตอความคิดเห็นที่แตกตาง ไดแก ไมตอตานเมื่อความคิดเห็นไมตรงกับ

ตนเอง เป็นกลางเมื่อความคิดเห็นแตกตางกัน 1.3 การใหอภัยในความผิดพลาดของผูอ่ืน ไดแก ไม่พูดจาตําหนิติเตียนต่อหนาผูอ่ืน ให

อภัยเมือ่ผูอ่ืนทําผิดพลาด ไมซํ้าเติมเม่ือเม่ือเกิดความผิดพลาด ให้โอกาสเมื่อผูอ่ืนผิดพลาด 1.4 การใหความเชื่อถือและไววางใจ และการกระทําของผูอ่ืน ไดแก มอบหมายงาน

สําคัญใหทํา ยอมรับในความสามารถของผูอ่ืน ใหมีส่วนรวมรับผิดชอบในงาน 1.5 มีความเอ้ือเฟอเผื่อแผ ไดแก รจูกัที่จะเปนผูให ผูรับ มีจิตเมตตา

2. ดานการติดตอสื่อสาร 2.1 มีความสามารถในการสรางความสัมพันธกับผูอ่ืน ไดแก ยิ้มแยมแจมใสกับผูอ่ืน รูจัก

ทักทายผูอ่ืน ใหความช่วยเหลือและเปนมิตร การแสดงน้ําใจ 2.2 มีความระมัดระวังตอความรูสึกของผูอ่ืน ไดแก เอาใจเขามาใสใจเรา การกลาวยกย่อง

ชมเชย เก็บน้ําเสียงและสีหนา

Page 7: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

147

2.3 มีความสามารถในการพูด การกระทํา หรือการสื่อความหมายใหเกิดความเขาใจที่ตรงกัน ได้แก รูจักใชภาษาใหถูกตอง เขาใจงาย รูจักใชถอยคําไพเราะออนหวาน ใหโอกาสในการซักถามในขณะพูด มองตาผูฟง

2.4 มีทักษะในการฟง ได้แก มีมารยาทในการฟง 3. ดานความรับผิดชอบ

3.1 มีความละเอียดรอบคอบในการทํางาน ไดแก รู้จักวางแผนในการทํางาน ตรวจสอบความถูกตองของงาน

3.2 เอาใจใสและขยันขันแข็งตอภาระหนาที่ ไดแก ทํางานตามที่ไดรับมอบหมาย ให้ความรวมมือกบัเพ่ือนรวมงาน ปฏิบัติหนาที่ดวยความมุงมั่น มีความกระตือรือรน

3.3 การอดทนตอความเหน็ดเหนื่อย ความยากลําบากในการทํางาน ไดแก ไมหลีกเลี่ยงงาน ไมทอถอยในการปฏิบัติงาน ตั้งใจทํางานจนบรรลุผล

3.4 ตรงตอเวลา ไดแก ทํางานเสร็จทันตามกําหนด ไม่ผลัดวันประกันพรุง 3.5 รักษาคําพูด และคํามั่นสัญญา

4. ดานการควบคุมตนเอง 4.1 มีเหตุผล ไดแก รู้จักแก้ปญหา และตัดสินใจอยางมีเหตุผล ถาทําผิดยอมรับผิด ไม่

ถือเอาตัวเองเปนใหญ 4.2 มีความมั่นใจในตนเอง ไดแก กลาพูด กลาแสดงออกในทางที่ถูก เปนตัวของตัวเอง

แสดงออกถึงลักษณะเปนผูนํา 4.3 มีอารมณมั่นคง ไมเปลี่ยนแปลงงาย ได้แก สุขุม ใจคอหนักแนน ไมหวั่นไหวเมื่อ

เผชิญปญหา ไมโกรธงายเป็นคนเสมอตนเสมอปลาย พรรณราย ทรัพยะประภา (2548) กล่าวว่า มนุษยสัมพันธ์จะเกิดขึ้นได้จากองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ความเข้าใจตนเอง ความเข้าใจผู้อ่ืน และความเข้าใจสิ่งแวดล้อม

ดังนั้นสามารถกล่าวได้ว่า องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์ จะต้องเป็นผู้ที่เข้าใจตนเองรับรู้ความต้องการของตนเอง รับรู้และเข้าใจผู้อ่ืน และนอกจากรับรู้และวิเคราะห์ความต้องการของผู้อ่ืนยังไม่พอ ยังต้องสามารถวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมท่ีจะเกิดผลต่อพฤติกรรมของคนได้ด้วย 6.5 ลักษณะของผูที่มีมนุษยสัมพันธ นักวิชาการได้กล่าวถึงลักษณะของผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ไว้ ดังนี้

วิจิตร อาวะกุล (2542, 75 - 76) การสรางมนุษยสัมพันธใหไดรับความสําเร็จนั้น มีคุณลักษณะจําเปนหลายอย่างที่จะตองคํานึงถึง ในการปรับปรุงแกไข และสรางใหเกิดขึ้นในแตละ บุคคล ที่เรียกวา มีคุณลักษณะมนุษยสัมพันธที่ด ีมีดังตอไปนี้

1. การมีลักษณะทาทางที่ดี มีลักษณะการเขาคน กิริยามารยาทเรียบรอย การพูดคุยสนุกขบขัน เบิกบาน ผูคบดวยความสบายใจ มีลักษณะโอภาปราศรัย

Page 8: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

148

2. บุคลิกภาพ (Personality) รูปรางหนาตา การแตงตัว การเคลื่อนไหว กิริยาทาทาง การพูดจาดี

3. มีความเปนเพ่ือน (Friendliness) สนิทสนม เปนเพ่ือนไดงาย เปนกันเอง เพ่ือนมาก

มนุษยสัมพันธดีมาก ทําการงานอะไรก็ไดรับความสําเร็จ 4. มีความออนนอม (Modesty) รวมทั้งกิริยามารยาทสุภาพ พูดจาออนนอมถ่อมตน ใคร

เห็นก็นิยมชมชอบ ยกยอง นับถือ ช่วยเหลือ ใหความร่วมมือ 5. การมีน้ําใจชวยเหลือ (Helpful) เต็มใจชวยเหลือผูอ่ืน ชวยด้วยกําลังกาย กําลังความคิด

กําลังเงิน ในลักษณะเอ้ือเฟอเผื่อแผ รจูักเอาใจผูอ่ืน 6. การใหความร่วมมือดี (Cooperation) การใหความร่วมมือในการทํางาน รวมกับผูอ่ืนเปน

ตัวอยางที่ดีแกผูอ่ืน ไมเห็นแกตัว เห็นประโยชนส่วนตัวเป็นสําคัญ ใหการช่วยเหลือเอ้ือเฟอเผื่อแผแสดงใหเห็นความมีเมตตากรุณา

7. การมีความกรุณา (Kindness) เอ้ือเฟอ โอบออมอารีแกผูไดรับความทุกขยาก กรุณาปราณี แกคนเดือดรอนทั่วไป

8. เปนคนมีประโยชน ชวยเหลือกิจการงานแกคนทั่วไป โดยมิไดหวัง ประโยชน อํานวยประโยชนแกสังคม ไมวาจะเปนด้วยความคิด กําลังกาย หรือกําลังทรัพย ยอมไดรับความยกยองชื่นชม

9. มีความรับผิดชอบ (Responsibility) ตอการงาน คําพูด คํามั่นสัญญา รักษาเวลา ทําให เปนผูมีเกียรติ และมีความซื่อตรง ความซื่อสัตยสุจริต ยอมเปนคนมีเสนห ยอมมีคนอยากคบหา

10. การมีอารมณดี (Good Emotion) การควบคุม และการใชอารมณ์ไดดีเหมาะสมอยู่เสมอเปนเสนห คนใกล้ชิด

11. มีความกระตือรือรน (Enthusiasm) คือ ความมีชีวิตจิตใจ ไม่เซื่องซึม หรือหงอยเหงามึนชา ไมเบิกบานแจมใจ

12. มีความอดทน (Patient) อดทนตอความเหน็ดเหนื่อย ความยากลําบาก อดทนตอกิริยา ทาทางการกระทํา คําพูดที่ไมสบอารมณ หรือทําใหเราโกรธ

13. มีความพยายาม (Attempt) มีความพยายามพากเพียรที่จะฝกฝน ฝกหัดตนใหมีคุณสมบัติทางดานมนุษยสัมพันธอยางไมทอถอย พยายามปรับปรุงตนเองอยู เสมอพยายามเอาชนะใจคนและอุปสรรคตางๆ อันจะเป็นหนทางนําไปสูความสัมพันธที่ด ี

วิจิตร อาวะกุล (2542, 34) ได้กล่าวถึง การสรางมนุษยสัมพันธใหเกิดขึ้นในกลุมคน ไมวา

จะเปนกลุมใด จะตองคํานึงถึงองคประกอบของมนุษยสัมพันธ ซึ่งเปนปจจัยสนับสนุน หรือเปน อุปสรรคของความสัมพันธของกลุม แลวดําเนินการสรางเสริมพัฒนาและปรับปรุงปจจัยตางๆ เหลา นั้น ใหเปนปจจัยที่เอ้ือตอมนุษยสัมพันธที่ดีใหได สําหรับองคประกอบของมนุษยสัมพันธนี้ มีดวยกัน 2 ประการ คือ

1.กความเขาใจตนเอง หมายถึง ความเขาใจในความตองการของตนเอง การรูจุดเดนจุดดอย ของตน การรูถึงจุดที่จะตองปรับปรุงพัฒนาตน ความเขาใจบุคคลอ่ืน หมายถึง การที่เรารู้ถึงความตอง

Page 9: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

149

การ หรือปญหาของบุคคลอื่น บุคลิกลักษณะเฉพาะตัวของบุคคลนั้น ๆ และธรรมชาติของคน 2.กความแตกตางของบุคคล หมายถึง ลักษณะที่ทําใหคนแตละคนไมเหมือนกัน ซึ่งแตละ

คน ยอมมีความคิด จิตใจ สติปญญา ความสามารถ เจตคติ ประสบการณตางกัน สิ่งที่ทําใหมนุษยเราแตกตางกัน ไมเหมือนกันนั้น มาจากหลายสาเหตุดวยกัน อาจประมวลได ดังนี้ คือ รูปราง หนาตา (appearance) พฤติกรรม (behavior) ทัศนคติ (attitude) นิสัย (habit) อารมณ์ (emotion) ความถนัด (aptitude) ความสามารถ (ability ) สุขภาพ (health) รสนิยม (taste) และสังคม (social) ความแตกตางจากสาเหตุดังกลาว เปนสาเหตุใหมนุษยขัดแยงกัน ไมสามารถเขากัน หรือสัมพันธกันไดหากขาดความรูความเขาใจ เกิดการดูหมิ่นเหยียดหยาม ไมเคารพสิทธิ ไมใหเกียรติเคารพนับถือใน ความแตกตางกัน ถือวาเปนสิ่งธรรมดาสามัญทั่วไป ถาเราไดเขาใจในเรื่องเหลานี้แลว ความขัดแยง ก็จะลดนอยลง หรือสามารถขจัดออกไปได ความสัมพันธกับผูอ่ืนก็จะดีขึ้น

ความแตกตางของบุคคล วิจิตร อาวะกุล (2542, 33 - 34) สิ่งที่ทําใหมนุษยแตกต่างกัน ไมเหมือนกันนั้นมาจากหลาย

สาเหตุ ดังนี้ คือ 1. รูปราง หนาตา ทาทาง (Appearance) มนุษย์ยอมเลือกเกิดไมได บางคนสูง บางคนต่ํา

บางคนปานกลาง บางคนขาว บางคนหนาตาดี บางคนขี้ริ้วขี้เหร บางคนสวย บางคนทาทางสงางามบางคนพิการ แต่เขาก็เปน มนุษย์ ที่มีสิทธิเสรีภาพและความเป็นคนเสมอกันหมด ฉะนั้นตองไม่มีอคติในเรื่องรูปราง หนาตา ทาทางและการแตงกายของคนในการสัมพันธกัน

2. อารมณ์ (Emotion) มนุษยมีอารมณตางกัน บางคนอารมณเย็น อารมณรอน โมโห ฉุนเฉียว โกรธงาย ไม่พอใจ การแสดงออกตางกัน ทําใหบุคลิกต่างกัน ควรเขาใจและปฏิบัติใหเกิดผล ดานความสัมพันธ

3. นิสัย (Habit) นิสัยของมนุษย์ก็แตกตางกัน บางคนนิสัยดี ขยันขันแข็ง ซื่อสัตยสุจริต แตบางคนนิสัยใจคอโหดราย ไว้ใจไม่ได คดโกง ฯลฯ

4. ทัศนคติ (Attitude) หรือทาที ความรู้สึกที่แสดงออกแตกตางกันเปนรายบุคคลหรือ เปนหมูเปนเหลา

5. พฤติกรรม (Bebavior) พฤติกรรมของมนุษยก็แตกตางกันสุดที่จะพรรณนา 6. ความถนัด (Aptitude) มนุษยเกิดมามีความถนัดตามธรรมชาติที่ติดตัวมาตางกัน ถาเขาได

ทํางานที่เขาถนัด จะทําได้ดีมาก ทําได้ดี ผลงานดี ขวัญการทํางานดี แตถ้าใหคนทํางานในสิ่งที่ตนไม่ถนัด นอกจากจะทําไม่ดี หรือทําได แตไม่ด ีผลงานเสีย หนักใจ กลมุใจและขวัญเสีย

7. ความสามารถ (Ability) มนุษยเรามีความสามารถตางกัน เชน ดานรางกายที่มีแข็งแรงไม่เทา กัน คนที่แข็งแรงยอมทํางานหนัก ตรากตรําไดมากกวาคนออนแอ ชายแข็งแรงกวาหญิง หญิงอาจทํางานละเอียด เรียบรอยกวาชาย ฯลฯ

8. สุขภาพ (Health) มนุษยยอมมีสุขภาพแข็งแรง ออนแอไมเทากัน บางคนผอมแหงแรง นอย บางคนมีโรคประจําตัวที่ตองเลือกงาน บางคนก็มีรางกายสมบูรณแข็งแรงทํางานไดทุกชนิดเป็นต้น

9. รสนิยม (Taste) มนุษยมีรสนิยมที่แตกตางกัน ฉะนั้นอยาดูหมิ่นเหยียดหยาม เยาะเยย ถากถาง ตําหนิติเตียน เพราะคนเรานั้น มีพ้ืนฐานตางกัน อยาดูถูกกัน เราตองเคารพสิทธิ ความเปน

Page 10: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

150

คนของเขา ที่ เขามีสิทธิชอบธรรมที่จะชอบ จะไมชอบอะไรก็ได และสิ่ งนี้ เองทําใหคนเรามีมนุษยสัมพันธตางกัน

10. สังคม (Social) สังคมของคนเรา ยอมมีสังคมของเขา โลกของเขา ที่ชอบสังคมอยางนั้น ประเภทนั้น เชน สังคมไฮโซ สังคมเกษตรกร สังคมกรรมาชีพ ฯลฯ

กล่าวโดยสรุป การที่เราไมรูจักมองตนเอง จะทําใหเราเหมือนคนมืดบอด ปลอยตัวเองไปตามธรรมชาติ โดยปราศจากการบังคับตนเอง ไปในทางที่ถูกที่ควร มักจะทําอะไรตามอารมณความตองการ ความพึงพอใจตนเอง โดยไม่คํานึงถึงผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นได เหมือนกับชีวิตที่ปราศจากเปา หมาย ไมเคยมีการตรวจสอบตนเอง รูจักวิเคราะหตนเอง จะทําให้สามารถปรับตนใหเขากับสังคมและสิ่งแวดลอมที่เราอยูไดดี สิ่งที่ควรจะวิเคราะหเกี่ยวกับตัวเรา ไดแก พิจารณาตนอยูเสมอวา ภาวะที่ตน เปนอยูในปจจุบันจะนําตนไปสูจุดมุงหมายในชีวิตได และถาอยูในสถานการณ ที่กําลังเผชิญอยูนี้จะ ตองทําตัวอยางไรจึงจะเหมาะสมปรับปรุงเพื่อใหเกิดมนุษยสัมพันธดีขึ้น 6.6 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการสรางมนุษยสัมพันธ

นักวิชาการ นักการศึกษาได้นําเสนอทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างมนุษยสัมพันธ์มี ดังนี้ 1. ทฤษฎีเกี่ยวกับความตองการของมนุษย ไดมีนักการศึกษาหลายทานไดใหแนวคิดเพ่ือ

ประกอบการศึกษา ดังเชน 1.1 ทฤษฎีความตองการตามแนวคิดของ Frederick Herzberg ความตองการของ

มนุษยนั้น จากการศึกษาของ วิชัย แหวนเพชร (2543, 34) ไดกลาวสรุปวา เปนการคนพบ ทฤษฎีการจูงใจในการทํางาน โดยเขาทําการการสัมภาษณวิศวกร และ นักบัญชี จํานวน 200 คน จากเขตอุตสาหกรรมในบริเวณเมือง Pittsburg ของ มลรัฐ Pennsylvania เพ่ือหาคําตอบวา อะไรเปนสิ่งที่ทําใหพวกเขารูสึกวาชอบ หรือไมชอบทํางาน จนในที่สุดเขาไดคนพบเครื่องกระตุนที่จะทําใหคนรักงาน หรือชอบงานอันไดแก ความสําเร็จของงาน การไดรับการยกยอง ความกาวหนา ลักษณะของงานเอง ความเปนไปไดที่จะกาวหนา และความรับผิดชอบ ปจจัยทั้ง 6 ประการนี้ เรียกวา ปจจัยในการกระตุน (Motivation factor)

นอกจากนั้นยังมีสิ่งอ่ืนๆ อีก ซึ่งเรียกวา ปจจัยค้ําจุน (Hygiene factor) เชน นโยบายและการบริหารหนวยงานนั้นๆ การบังคับบัญชา ความสัมพันธ์สวนตัวกับผูบังคับบัญชา ความสัมพันธกับเพ่ือนรวมงาน และความสัมพันธสวนตัวกับผูใตบังคับบัญชา เงินเดือน ความมั่นคงของงาน ความมั่นคงของชีวิตสวนตัว สภาพการทํางาน และประการสุดทาย คือ สถานภาพทางสังคม ซึ่งทั้งสอง ปจจัย เปนสิ่งที่มนุษยตองการอย่างยิ่ง

1.2 ทฤษฎี ลํ าดั บความตองการของ Maslow (Maslow’s Hierarchy of Needs Theory) ไดแบง่สาระเกี่ยวกับความตองการของมนุษยโดยทั่วไปไวดังนี้

1.2.1 มนษุยทุกคนมีความตองการอยตูลอดเวลาตั้งแตเกิดจนตาย 1.2.2 ความตองการที่ไดรับการตอบสนองแลวจะไมเปนสิ่งจูงใจของพฤติกรรมอีก

ตอไป

Page 11: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

151

1.2.3 ความตองการของมนุษยจะเรียงลําดับตามความสําคัญ เมื่อความตองการ อยางหนึ่งไดรับการตอบสนองแลวความตองการอยางอ่ืนจะเกิดข้ึนทันที

นอกจากนี้ความตองการของมนุษยนั้น ชลอ ธรรมศิริ (2543, 484 - 486) ไดสรุป

แนวคิดของ Maslow ไว้ว่า มนุษยตองการอยูรอดเชนเดียวกับสิ่งมีชีวิตทั้งหลายในโลก ดวยเหตุนี้ความตองการจึงเปนแรงพลังผลักดันใหมนุษยกระทําเพ่ือใหไดมาซึ่งสิ่งที่ตองการ เพ่ือสนองตอบความตองการนั้นๆ เมื่อไดรับการสนองตอบก็มีความพอใจ มีความสุข มีความสมหวัง ความตองการมีทั้งทางรางกาย และจิตใจ ซึ่งนักพฤติกรรมศาสตรไดศึกษาคนควา จัดลําดับความตองการของมนุษยออกเปน 5 ขั้น แสดงไดดังภาพประกอบที่ 6.1

ภาพประกอบที่ 6.1 ลําดับขั้นความตองการของมนุษย ที่มา : (Abraham Maslow Maslow, 1954) จากภาพประกอบที่ 6.1 สามารถอธิบายเพิ่มเติมไดดังนี้ 1. ความตองการขั้นพื้นฐาน (Survival needs) คือ ปจจัย 4 ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการ

ดํารงชีวิต ไดแก อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค สิ่งเหลานี้จําเปนแกก่ารดํารงชีวิตในเบื้องตน หากขาดอยางใดอยางหนึ่ง จะไมสามารถดํารงชีวิตอยูได้ แตไมใชความตองการมากมายกวา ทีจ่ําเปน ซ่ึงเปนการฟุงเฟอ ฟุมเฟอย หมายถึง การมีเพ่ือดํารงชีวิตเทานั้น

2. ความตองการความม่ันคงและปลอดภัย (Safety needs) คือ ความตองการที่จะมีชีวิตอยูดวยความสงบสุข มีความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย ทรัพยสิน ตลอดจนหลักประกันในความมั่นคงของการดํารงชีวิต การไดรับความคุมครองตามกฎหมายโดยเสมอภาคกันอยูในหมูใด สังคมใด ก็ต้องไดรับความเปนธรรมตามกฎและระเบียบนั้นๆ ไมมีการยกเวนการปฏิบัติ ทําใหขาดความม่ันคง

3. ความตองการเปนสวนหนึ่งของสังคม (Belonging needs) ไดแก ความเปนที่ยอมรับ นั่นคือ มีเกียรติยศ ตําแหนงหนาที่ ความมีหนามีตา เปนที่รักใครแกบุคคลในสังคม ไดรับการยกยองในคุณงามความดี ซึ่งเปนความรูสึกทางจิตใจ เปนกําลังใจในการทํางานเพ่ือสวนรวมและสังคมตอไป

ความต้องการพิเศษเฉพาะตัว

ความต้องการดีเด่น

ความต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม

ความต้องการความมั่นคง

ความต้องการขั้นพ้ืนฐาน

Page 12: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

152

ความตองการขั้นนี้ ทําใหเกิดวิธีการทางสังคมมากมาย ที่จะชวยสงเสริมใหคนมีกําลังใจไดรับการตอบสนอง เชน มกีารใหรางวัล ประกาศนียบัตร เหรียญตรา จัดเปนบุคคลดีเดนประเภทตาง ๆ ทั้งในระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับโลก เพ่ือยกยองเกียรติคุณ ยอมรับผลงาน ใหเกียรติแกบุคคล เหลานั้น เพ่ือเขาจะไดรักษาความดี และทํางานใหกาวหนา เปนประโยชนตอสังคมสืบไป

4. ความตองการดีเดน (Esteem needs) คือ มีความตองการที่จะทําอะไรใหดี ใหสูงสุด เทาที่จะทําได และมีโอกาสที่จะทําเชนนั้น เปนความตองการที่สูงขึ้นไปจากการเปนสวนหนึ่งของสังคม คือ ตองการใหเดนในสังคมดวย ลักษณะเชนนี้เปนความทะเยอทะยาน ตั้งจุดมุ่งหมายเอาไวและพยายามทําใหสําเร็จ เชน ได้ปริญญาตรีแลวคนทั่วไปก็เห็นวามีความรูสูงวาเปนบัณฑิตแลว แตบางคนก็เห็นวายังไมพอจะตองศึกษาปริญญาโท เมื่อไดปริญญาโท ก็อยากไดปริญญาเอก เพราะยังมีทางที่จะเรียนได ถ้าไดปริญญาเอกแลวก็นับวาสูงสุด เปนความตองการที่อยากทําใหสูงสุด จะได มีชื่อเสียง เกียรติยศสูงกวาคนอ่ืนๆ เปนความใฝดี อาศัยความมานะพยายาม ความสามารถของตน เปนพิเศษกวาคนอ่ืนๆ

5. ความตองการพิเศษเฉพาะตัว (Self fulfillment needs) คือ มีความตองการเฉพาะ ตัวจริงๆ มิไดมุงหวังผลประโยชนเปนเงินเปนทอง ความเดน ความดัง เปนพ้ืนฐาน แตเปนความตองการที่ไดตั้งปณิธานไว วาจะตองทําใหได แมในชีวิตนี้จะไมอาจทําไดก็ไมทอถอย คงพยายามศึกษาคน ควาหาหนทาง หาโอกาสตอไปอยางไมหยุดยั้ง ซึ่งเปนความตองการที่แนวแนเฉพาะของตนเอง บุคคลเหลานี้อาจมีความพรอมในทรัพยสินเงินทอง เกียรติยศชื่อเสียงอยูแลว แตมีความหวังอันสูงสง เชน มหาตมคานธี ตองการเอกราชและอิสรภาพใหแก่ ประเทศอินเดีย พระศาสดาในศาสนาตาง ๆ ที่มุง หาหนทางใหมนุษยมีหลักธรรม เพ่ือประพฤติปฏิบัติใหเกิดความสงบสุข ตามแนวความคิดของตน เปนตน

นอกจากนั้น Maslow ยังไดแบงลักษณะความตองการของมนุษย เพ่ือทําความเขาใจ สิ่งที่ เปนธรรมชาติของมนุษย และเพ่ือนําไปพิจารณาใชใหเกิดประโยชนในการสรางความสัมพันธอันดีตอ กัน ซึ่งเปนแนวความคิดในการแบงความตองการออกเปนลักษณะตางๆ มีหลายแบบด้วยกัน เชน แบง่เปนความตองการทางรางกายและจิตใจ

ในสวนของทางศาสนานั้น ชลอ ธรรมศิริ (2543, 487) ไดกลาวถึง ความตองการไวด้วย เพ่ือประโยชนในการสงบ ระงับความต้องการความตองการเปนเหตุแหงทุกข ผลักดันใหมีการกระทํา ปญหาและทุกขก็เกิดขึ้น การศึกษาในเรื่องความตองการตามหลักพฤติกรรมศาสตร เป็นการศึกษาเพ่ือรธูรรมชาติของกายและจิตของมนุษยวา มีความปรารถนาดิ้นรนอยางไร และใชประโยชนจากความรูเหลานี้ในการสรางความสัมพันธในการทํางาน แตหลักพุทธศาสนา แสดงใหเห็นวา ความตองการ คือ ตัณหา ซึ่งแบงออกได ดังนี้

กามตัณหา ความตองการตามธรรมชาติ ความพอใจใน รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ซึ่งเปนสิ่งธรรมดา แตถาผูใดหลงใหลหมกมุนอยใูนสิ่งเหลานี้ก็จะทําใหชีวิตเศราหมอง ขาดความ เจริญกาวหนา

ภวตัณหา ความอยากมีอยากเปน เปนตัณหาที่กระตุนจิตใจใหตองการอยูเสมอ ถาอยากมีอยากเปนตามกําลังความรูความสามารถของตน อันพึงมีพึงได ก็เปนการเหมาะสม แตถาอยากเกินไปก็เปนทุกข ถามีอคติเขาครอบงําก็จะนําเอาวิธีการที่ไมถูกตองตํ่าทรามมาใช ก็ยังเปนโทษเปนทุกขแกตนเองมากขึ้น อาจเกิดศัตรู เสียเพ่ือน เสียเงินทองของรักก็ได

Page 13: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

153

วภิวตัณหา ความไมอยากมี ไมอยากเปน เปนธรรมชาติของคนที่สมปรารถนาในสิ่งใดแลว ไมคงทน เมื่อถึงจุดหนึ่งก็เบื่อหนาย อยากพนจากสภาพนั้น แมจะอยูในตําแหนงหนาที่การงาน มียศถาบรรดาศักดิ์อยางไรก็ตาม เพราะทุกสภาพที่เปนอยูยอมมีภาระหนาที่ตองปฏิบัติ สังคมอาจสมมุติวาเปนเกียรติยศก็ตาม แตใจจริงอาจถึงจุดที่เบื่อหนาย อยากพนสภาวะนั้น เกิดความไมอยากมีไมอยากเปนขึ้นมา

ฉะนั้น ความรูสึกของคนเราตกอยูในลักษณะที่มีความอยาก ความปรารถนา เพ่ือสนองตอบตนเองในเบื้องตน และก็อยากกาวหนาไปในตําแหนงหนาที่การงาน ความรับผิดชอบที่สูงขึ้น และเมื่ออยูในจุดนั้นระยะหนึ่งแลวก็เบื่อหนาย อยากขึ้นบันไดสูงขึ้นไปอีก และเมื่อขึ้นถึงจุดที่ตองการแลว ก็เบื่ออยากเปลี่ยนแปลง ตองการหาสิ่งใหมตอไป วนเวียน อย ูเชนนี้ ซึ่งเปนธรรมชาติของความตองการที่ไมมีที่สิ้นสุด

1.3 ทฤษฎีของ Alderfer (Alderfer’s ERG Theory) ซึ่ง สมยศ นาวีการ (2543, 307) ไดสรุปทฤษฎี ความตองการของมนุษยไว 3 ประการ ดังนี้

1.3.1 ความตองการมีชีวิตอยู (Existence needs) คือ ความตองการทางดานรางกาย ความปลอดภัย รายไดและสวัสดิการ และสภาพแวดลอมของการทํางาน

1.3.2 ความตองการมีความสัมพันธกับคนอ่ืน (Relatedness needs) คือ ความตองการทุกอยางที่เก่ียวพันธกับความสัมพันธระหวางบุคคลในสถานที่ทํางาน

1.3.3 ความตองการความเจริญงอกงาม (Growth needs) คือ ความตองการภายในเพ่ือพัฒนาตน ด้วยการแสวงหาโอกาสและการเอาชนะความทาทาย

1.4 ทฤษฎีความตองการจากการเรียนรูของ McClelland (McClelland’s Learned Needs Theory) ซึ่ง เรียม ศรีทอง (2539, 147) ไดสรุปว่า มนุษยในองคการมีความตองการแตกตางกัน 3 ประการ ไดแก

1.4.1 ความตองการให เกิดความสําเร็จ (Need for achievement) คือ ความปรารถนาที่จะทําบางสิ่งบางอยางใหมีประสิทธิภาพมากข้ึนกวาที่เคยทํามากอน

1.4.2 ความตองการมีความสัมพันธ (Need for affiliation) คือ ความตองการมีสัมพันธภาพที่ดีกับผูอ่ืน

1.4.3 ความตองการอํานาจ (Need for power) คือ ความตองการมีอิทธิพลหรือควบคุมบุคคลอ่ืน

1.5 ทฤษฎี Theory Z ของ Ouchi ซึ่ง วิชัย แหวนเพชร (2543, 45, 46) กลาวสรุปวา เปน ทฤษฎีที่เนนความสําคัญของมนุษย หรือผูปฏิบัติงานในองคการทุกคน และถือวาทุกชีวิตมีความสําคัญ เนนความรวมมือในการทํางาน และหลักมนุษยสัมพันธ ซึ่งมีลักษณะสําคัญขององคการ 7 ประการ ไดแก

1.5.1 จางงานระยะยาว (Lifetime employment) 1.5.2 มีการตัดสินใจรวมกัน (Consensual desionmaking) 1.5.3 รับผิดชอบรวมกัน (Collective Responsibility) 1.5.4 การประเมินผลงานและการเลื่อนตําแหนงผูใตบังคับบัญชา แบบคอยเปนคอยไป

(Slow evaluation and Promotion)

Page 14: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

154

1.5.5 มี ร ะบ บ ก ารค วบ คุ ม ใน ก ารทํ า งาน ที่ ไม มี รู ป แบ บ ( Implicit control mechanisms)

1.5.6 ไมเนนความสามารถเฉพาะดาน (Nonspecialized career paths) 1.5.7 ดูแลเอาใจใสคนงานทุกดาน (Wholistic concern)

2 ทฤษฎีเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย

ทฤษฎีที่เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย ไดแกทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของ McGregor’s (1958) ซึ่ง ธีรวุฒิ บุญยโสภณ (2534, 158 - 159) ไดสรุปไวเปน 2 ทฤษฎี ไดแก

2.1. ทฤษฎี X มีสมมติฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษยดังนี้ 2.1.1 มนุษยโดยทั่วไปจะไมชอบงานและจะหลีกเลี่ยงการทํางานเมื่อมีโอกาส 2.1.2 เนื่องจากธรรมชาติของมนุษยมีความไมชอบทํางานนี้เอง จึงตองใชวิธีบังคับ

ควบคุมหรือการลงโทษ เพ่ือเปนตัวกระตุนใหทํางานสําเร็จไปสูเปาหมายทีอ่งคการตองการ 2.1.3 มนุษย์โดยทั่วไปมักชอบการบังคับควบคุม ชอบหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ มี

ความทะเยอทะยานเพียงเล็กนอย และความตองการความมั่นคงปลอดภัย 2.2 ทฤษฎี Y มีสมมติฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษยวา

2.2.1 การใชความพยายามทางกายและทางสมองในการทํางานนั้นเปนเสมือนการเลนหรือการพักผอน

2.2.2 การควบคุมโดยปจจัยภายนอกและการขูวาจะลงโทษไมชวยใหงานบรรลุเปา หมายขององคการ แตมนุษยจะตองนําตนเองและควบคุมตนเองเพ่ือใหงานไปสูเปาหมายตามที่ตนคิด

2.2.3 การกําหนดจุดมุงหมายที่แนนอน เปนเสมือนเครื่องลอใจ ที่กอใหเกิดความสําเร็จ

2.2.4 มนุษยโดยทั่วไป จะเรียนรูเกี่ยวกับการทํางานในสภาวะการณท์ี่เหมาะสม ซึ่งเพียงแตจะชวยใหเขามีความรับผิดชอบตองานเทานั้น แตจะชวยใหเขาแสวงหาความรับผิดชอบตอ งานดวย

2.2.5 ความสามารถทจี่ะคิดสรางสรรคหรือหาวิธีแกปญหาในองคการเปนสิ่งสําคัญที่จะกระจายไปสูเพ่ือนรวมงานอยางกวางขวาง

กลาวโดยสรุป ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการสรางมนุษยสัมพันธนั้นมีหลายทฤษกีที่วิเคราะห์ถึง

คุณลักษณะของคนแต่ละประเภท หรือความต้องการของคนแต่ละระดับ ผ ูบริหารควรได้เรียนรู้ เพ่ือได้สามารถวิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละบุคคลวา ในแตละคนมีความตองการและธรรมชาติที่ไมเหมือนกัน การงศึกษาทฤษฎี เพ่ือให้สามารถเข้าใจมนุษย์ เพ่ือใหเกิดประโยชน์ตอการดํารงชีวิตและการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพนั่นเอง

Page 15: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

155

6.7 หลักพื้นฐานในการสรางมนุษยสัมพันธ

หลักพ้ืนฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ มีผู้กล่าวถึง ดังนี้ วิจิตร อาวะกุล (ม.ป.ป., 175 – 182) ไดกลาวถึง หลักที่ผูบริหารใชสรางมนุษยสัมพันธกับผู

ใตบังคับบัญชา มีดังนี้ 1. รูจักควบคุมอารมณตนเอง การตัดสินใจในการทํางานตองอาศัยหลักเหตุผล จึงควร

ควบคุมอารมณ ดังนี้ 1.1 อย่าโมโหฉุนเฉียว ความโมโหฉุนเฉียวเปนพลังรายที่เผาผลาญจิตใจ เปนอันตรายตอ

สัมพันธภาพกับบุคคลอ่ืน 1.2 อยาหลงตนเองวาเกงกวาผูอ่ืน เพราะในบางเรื่องผูใตบังคับบัญชาทําไดดีกวาผูบริหาร

เสียอีก 1.3 อยาใชอํานาจเกินความจําเปน การแสดงอํานาจตลอดเวลาจะทําใหผูใต้บังคับบัญชารู

สึกหวาดกลัว 1.4 อยาตัดสินใจเวลาโกรธ ขณะที่โกรธมักขาดเหตุผลทําใหผลการตัดสินใจผิดพลาด

รุนแรง ทําใหเกิดความเสียหายได 1.5 อย่าเลือกท่ีรักมักท่ีชัง คือ อยาแสดงใหผูใตบังคับบัญชาเห็นวา รักไมเทากัน เพราะจะ

ทําใหเกิดการแตกความสามัคคีได 2. รจูักสงเสริมกําลังใจผูใตบังคบับัญชา วิธีที่ทําไดมีดังนี้

2.1 เอาใจเขามาใสใจเรา 2.2 แสดงความเชื่อมั่นในตัวเขา เมื่อมอบหมายงานใหทําตองใหผ ูใตบังคับบัญชาเกิดความ

ภูมิใจเมื่อเขาทํางานเสร็จเรียบรอยแลว 2.3 อยาจุกจิกจูจี้เหมือนเปนโรคประสาท 2.4 ดูแลความยากลําบากในการทํางานของผูใตบังคับบัญชา 2.5 มีความจริงใจตอผูใตบังคับบัญชา

3. รจูักยกยองและชมเชยใหบําเหน็จความชอบ โดย 3.1 ยกยองชมเชยเมื่อเขาทําดี 3.2 แสดงความยินดีในความสําเร็จของเขา 3.3 ใหบําเหน็จความชอบหรือรางวัล 3.4 หลีกเลี่ยงการขบูังคับ 3.5 ชี้แจงความเคลื่อนไหวในหนวยงานใหทราบ 3.6 รกัษาผลประโยชนของผูใตบังคับบัญชา

Page 16: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

156

ศิริ เจริญวัย (2540, 163 – 164) ไดเสนอหลักการสรางมนุษยสัมพันธสําหรับผูบังคับบัญชาไวดังนี้

1. หลักการให เชน การยกยองชมเชย ใหความรัก ความนับถือ 2. หลักสังคหวัตถุธรรม ไดแก การให การพูดไพเราะ การทําประโยชนแกบุคคลอ่ืนและการ

ปฏิบัติสม่ําเสมอแกบุคคลอื่น 3. หลักพรหมวิหารธรรม ไดแก ความมีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา 4. หลักคริสตบัญญัติ เรื่องกฎทองคํา (Golden rule) มีสาระสําคัญวา “ทานจงปฏิบัติต่อ

เพ่ือนบานของทานเหมือนท่ีทานปฏิบัติตอตัวทานเอง” 5. หลักการปฏิบัติตน งาม ไดแก งามกาย คือมีบุคลิกทางรางกายดี งามใจ คือมีน้ําใจ และ

นิสัยใจคอดี งามวาจา คือการพูดไพเราะ งามกริยา คือมีมารยาทดี สุภาพออนโยน และงามอาภรณคือการแตงกายสะอาดเรียบรอย สวยงามและถูกกาลเทศะ

6. หลักการขอความรวมมือ คือ ทําดีเสมอตนเสมอปลาย ใชวาจาไพเราะ กระตุนใหอยากทํางาน

กลาวโดยสรุป หลักการสรางมนุษยสัมพันธ์โดยทั่วไป เปนการจูงใจใหคนปฏิบัติงานรวมกัน ซึ่งจะทําใหเกิดความสมัครสมานสามัคคี กลมเกลียวกัน มีความเปนน้ําหนึ่งใจเดียว โดยพยายามที่จะใหเขาใจถึงคุณคาของคนทุกคน ยอมรับในความเปนมนุษยดวยกัน เคารพในความรูสึกนึกคิดของผูอ่ืน มีความตองการที่จะรวมกับบุคคลอ่ืนหรือหมูคณะ โดยมีจุดมุงหมาย ที่จะทําใหงานดําเนินไปดวยดีและเกิดผลสําเร็จบรรลุเปาหมายเปนที่ยอมรับรวมกัน 6.8 เทคนิคในการสรางมนุษยสัมพันธ

โดยธรรมชาติของมนุษยจะตองมีการติดตอกับบุคคลอ่ืนอยูตลอดเวลาเพราะเรา ไมสามารถ

อยูคนเดียวในโลกได การที่จะอยูอยางมีความสุขจะตองเขาหาสังคม รูจักสรางสัมพันธภาพที่ดีในการติดตอกับผูอ่ืน แตการจะทําใหผูที่เราไปติดตอดวยมีความพอใจมีความสุข อยากที่จะติดตอกับเราเรื่อยๆ ไป มิใชเรื่องงายนัก คงจะมีหลายครั้งที่ตองตั้งเปาหมายวาจะเขาไปติดตอกับกลุมคน กลุมใดกลุมหนึ่ง แตไมอาจไดผลตามที่ตั้งใจไวซึ่งอาจเปนดวยเหตุผลหลายๆ อย่าง เชน เหตุผลที่เกิดจากตนเอง คือ พฤติกรรมที่ไมเปนที่นิยมชมชอบ ไมเปนที่ศรัทธาและยอมรับของผูอ่ืนหรือเหตุผลจากผูอ่ืนที่แสดงออกวาไมอยากสนใจไมรับฟงและไมกระตือรือรนที่จะมีสัมพันธภาพดวย

ดังนั้น การศึกษาใหรูถึงจิตใจคนเพ่ือปรับตนเองใหเปนผูมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับบุคคลอ่ืนซึ่งแตละคนมีบุคลิกภาพ อุปนิสัยและคุณสมบัติแตกตางกันหลากหลายนั้น หลักเกณฑ หรือ ทฤษฎีในการสรางมนุษยสัมพันธอยางเดียวคงจะไมเพียงพอ บางครั้งจําเปนตองมีเทคนิคหรือ กลวิธีที่แยบยลในการจะทําตนใหเขากับผูอ่ืนไดดี เทคนิคการสรางมนุษยสัมพันธทีส่ําคัญๆ พอจําแนกไดดังนี้

6.1 เทคนิคการสรางมนุษยสัมพันธ ซึ่ง สมใจ เขียวสด (2536, 112) ไดกลาววา การสราง มนุษยสัมพันธ์ในฐานะเปนผูบริหารการศึกษาที่ดี จะตองสามารถครองตนไดดีมีความสุข ดํารงชีวิตอยูไดอยางมีคุณคา ตองสํานึกความมีคุณคาในตนเอง มีความรับผิดชอบ มีพันธะสัญญามุงมั่น ตอตนเองไวดังนี้ คือ มีกิริยามารยาทและแตงกายดี มีความเปนผูใหญ สม่ําเสมอ คงเสนคงวา และเชื่อถือได

Page 17: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

157

ฝกใฝหาความรูและประสบการณเพ่ิมเติมอยูเสมอ ใชมธุรสวาจาในการเจรจาพาทีตอผูอ่ืน มีวินัยในตนเอง และยึดถือหลักธรรมคําสอนของศาสนา

ศิริ เจริญวัย (2540, 169 – 170) ได้กลาวถึงเทคนิคในการสรางมนุษยสัมพันธ ในฐานะเปน ผูบริหารการศึกษาไววา ผ ูบริหารตองเปนผูที่มีความสุภาพเรียบรอย วาจาไพเราะ สั่งงานอยางมีเหตุผลและรอบคอบ ไมเปนคนหูเบา เชื่อคนงาย ไมสนิทสนมหรือเกลียดผูใตบังคับบัญชาคนใดคนหนึ่ง เปนพิเศษ ไมตําหนิผูใตบังคับบัญชาในที่เปดเผย จัดใหมีการอบรมหรือประชุมอยางสม่ําเสมอ ไมแสดงตนวามีความรูอยางใดอยางหนึ่งเหนือผูใตบังคับบัญชา ตรงต่อเวลา ไมเห็นแกตัว แสดงความรับผิดชอบในงานทุกดานไมแสดงตนวารวยมากหรือจนเกินไปแสดงตนเองวา เปนผูที่รักความกาวหนา มีความคิดริเริ่ม ตองการสรางความกาวหนาใหกับองคการ

สมพร สุทัศนีย (2544, 130 – 134) กลาววา กลวิธีในการติดตอสัมพันธเพ่ือสรางความ ประทับใจกับบุคคลอื่นมีดังนี้ ยิ้มแยมแจมใส มีความเกรงใจ เปนผูฟงใหมากกวาพูด ใหความสําคัญแกผูอ่ืน ไมควรทําตัวเดนจนเกินไป ไมควรมีความมั่นใจจนเกินไป วางตัวให เหมาะกับกาลเทศะและบุคคล สร้างความประทับใจในการพูด เชน มีอารมณขัน พูดในสิ่งที่ดี พูดจาสุภาพ ออนหวาน ยกยองชมเชยผูอ่ืน รูจักบริการ รูจักตอนรับหรือเชื้อเชิญ แสดงความเห็นใจในความทุกขของผูอ่ืน รูจักการใหคือใหความรัก ใหอภัยใหความชวยเหลือ และสิ่งของตามสมควรยอมรับความคิดเห็นของผู อ่ืนยกยอง ใหเกียรติผู อ่ืนตามโอกาส เมื่อผิดตองยอมรับผิด ไมจับผิดผู อ่ืน แสดงน้ําใจตอผู อ่ืน มีความ กระตือรือรนที่จะชวยเหลือผู อ่ืน มีความเปนกันเอง เปดเผยตนเองในระดับที่เหมาะสม อดทนและควบคุมอารมณได รจูักใหอภัย ราเริงแจมใส มองโลกในแงดี ไมพูดเรื่องสวนตัวของผูอ่ืน ไมเอาเปรียบผูอ่ืน เปน ตน

6.2 เทคนิคการสื่อสาร เนื่องจากการสื่อสารเปนสิ่งจําเปนสําหรับการสรางมนุษยสัมพันธ ไมวาจะมีหลักการและทักษะในการสรางมนุษยสัมพันธที่ดีมาก ก็ไมสามารถสรางมนุษยสัมพันธไดอยางมีประสิทธิภาพถาขาดเทคนิคในการสื่อสารที่ดี เทคนิคการสื่อสารแบงออกได ดังนี้

6.2.1 เทคนิคการฟง เปนเทคนิคที่สําคัญมาก ถาไมฟงจะไมสามารถเขาใจผู อ่ืนไดผ ูบริหารควรเสริมสรางเทคนิคการเปนผูฟงที่ดี เชน ฟังดวยความสนใจโดยแสดงความกระตือรือรนที่จะฟง ไมแสดง ทาทางเบื่อหนายหรือไมสนใจ ฟงผูพูดทุกคน ฟงใหเขาใจความหมายเพ่ือจับใจความเนื้อหาไดถูกตอง ฟงโดยสังเกตถี่ถวน คือ นอกจากฟงเนื้อหาแลวใหสังเกตสีหนาทาทางของผูพูดดวย ฟงดวยความอดทน คือ อดทนฟงจนจบ โดยไมพยายามคาดเดาลวงหนา ฟงโดยไมคิดเตรียมตัว โตตอบในขณะที่ฟง ฟงโดยไมถือการเลนสํานวนเปนเรื่องใหญ คือ ฟงเพ่ือหาใจความสําคัญ มากกวาการสนใจคอยจับผิดคําพูด การใชสํานวน ฟงเพ่ือพยายามหาขอตกลง คือฟงแลว พยายามหาประเด็นที่จะประนีประนอมกัน ไมใชคอยจองจับผิดหาจุดออนเพ่ือโตแยง ฟงโดยทําความเขาใจใหตรงกันขณะที่มีการโต้แยงกัน ฟงอยางเขาซึ้งถึงจิตใจผูพูดโดยพยายามปรับตัวใหเขาซึ้งถึงความคิดเห็น รวมถึง ความรูสึกของผูพูดขณะนั้นดวย ฟงดวยจิตวางปราศจากอคติ คือยินดีรับฟงทุกสิ่งทุกอยางโดย ปลอยวาง ไมยึดมั่นถือมั่นในความรู ความสามารถของตนเปนใหญฟงดวยความอดทนและแสดง กิริยาตอบรับ เชน พยักหนา ฟงดวยอาการเงียบ เพ่ือจับความรูสึกและจับเนื้อความสําคัญๆ ทบทวนคําพูดในประเด็นสําคัญๆ ไมตัดบทโดยใช วาจาแสดงอํานาจ พยายามหลีกเลี่ยงการถกเถียงเกี่ยวกับ ขอเท็จจริงในชวงแรกๆ พยายามปรับประเด็นสําคัญที่ผูพูดพยายามหลีกเลี่ยง ตองหาทางยํ้าใหผูพูด

Page 18: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

158

แสดงออก พยายามพูดใหนอยที่สุดไมด่วนแสดงความคิดเห็นเมื่อผูพูดไมตองการใหพูด 6.2.2 เทคนิคการพูด โดยคํานึงถึง วัย เพศ ระดับการศึกษา ความสนใจของ ผ ูฟง

สถานที่ที่จะพูด เวลาและโอกาสในการพูด และมีการเตรียมเนื้อเรื่องที่จะพูดใหชัดเจนโดยถือคติที่วา “ถาพูดไมดี จงอยาพูด” โดยฝกหัดลีลาการพูดใหนาฟง ทักทายผูอ่ืนกอน พูดชื่นชม แตอยาพูดตําหนิ หลีกเลี่ยงการพูดที่ทําใหผูอ่ืนอับอาย หลีกเลี่ยงคําผรุสวาทหรือดาทอ ไมพูด กวนเลนลิ้น เลนสํานวน ฝกเสียงพูดใหมีกังวาน พูดในเรื่องท่ีผูฟงยินดีชอบใจถูกใจและสบายใจ ชวยสงเสริม ตอการพูด แตอยา แยงพูดหรือผูกขาดการพูดเพียงคนเดียว เปดโอกาสใหผูอ่ืน ในสิ่งที่เปนจุดเดนที่เขาตองการบอก ไม่ วิพากษวิจารณหรือขัดคอเมื่อไมเห็นดวยในเรื่องที่พูด พูดถอยคําสุภาพ ออนโยน เหมาะสมกับกาลเทศะ พูดชมเชยใหเหมาะสมกับเรื่องดวย ความจริงใจ เมื่อถูกชมควรรับคําชมดวยความยินดี

6.2.3 เทคนิคในการสนทนา ผูบริหารตองมีเทคนิค ถามในสิ่งที่เขาชอบถามในสิ่งที่ เปน จุดเดนของคูสนทนา ถามในสิ่งที่แปลกใหมที่คูสนทนากําลังนิยมชมชอบ ถามเพ่ือแสดงความเปน เพ่ือนแท เปนคูคิด สรางความอบอุนและมั่นใจกับคูสนทนาโดยตรง เชน สบตา จับมือ สราง ความอบอุนและมั่นใจกับสิ่งของของคูสนทนา เชน ชมการแตงกาย ชมสิ่งของหรือสรางความอบอุนใจและม่ันใจกับครอบครัว เปนตน

6.2.4 เทคนิคการติชม เปนการใหขอสังเกตแกผูอ่ืนวา เขามีโอกาสที่จะปรับปรุงแกไขเปลี่ยนแปลงใหดีขึ้น ควรติชมอยางสรางสรรค เรียม ศรีทอง (2539, 127) ไดกลาววา ก่อนติชมตองศึกษาขอมูลกอนอยางละเอียด เชิญมาพูดในที่เฉพาะสวนตัว ไมมีบุคคลที่สามอยูดวย ขณะติชมทําสีหนาไมเครียด ใชน้ําเสียงแสดงความเห็นอกเห็นใจในความผิดพลาดที่เกิดขึ้น ติชมที่การกระทําไมใชที่ตัวเขา ใชชวงเวลาที่เหมาะสมในการติชม ใหติชมเฉพาะเรื่อง ปจจุบันเทานั้น สรางกําลังใจใหเกิดกอนติชม อยานําความผิดพลาดของเขาไปเปรียบเทียบกับผู้อ่ืน สรางความเชื่อมั่นใหแกตัวเขา อยาติชมซ้ําซาก ใหมีโอกาสไดมีสวนรวมในการพิจารณา และวิธีแกไขความผิดพลาด กล่ าวชมเชยความสามารถหรือความดีท่ีเขามีอยู

6.2.5 เทคนิคการยกยอง เรียม ศรีทอง (2539, 127) ไดกลาวถึงเทคนิคในการยกยองไวพอสังเขปดังนี้ กระทําดวยความจริงใจ ไมเสแสรง เลือกใหเหมาะสมกับบุคคล และโอกาสอันควร เลือกวิธีใหเหมาะสมกับบุคคลและโอกาส เชน อาจใชวาจา ลายลักษณอักษร หรือการมอบรางวัล การปฏิบัติตองเปนมาตรฐานที่ทุกคนยอมรับ

6.2.6 เทคนิคการแตงกาย ในการพบปะกันของบุคคลทั่วไป สิ่งที่เราเห็นดวย สายตา คือ รูปราง ลักษณะการแตงกายของบุคคล ซึ่งควรแตงกายตามขนบธรรมเนียม ประเพณี คานิยมของตนเอง เพ่ือใหสวยงาม มีเสนหดึงดูดใจผูพบเห็น เรียม ศรีทอง (2539, 127) ไดกลาวถึงเทคนิคการแตงกายไว คือ แตงกายใหสะอาด แตงกายใหประหยัด ไมจําเปนตองฟุมเฟอยและมีราคาแพง แตง กายใหเหมาะสมกับรูปราง แตงกายใหเหมาะสมกับบุคลิกภาพ แตงกายใหเหมาะสมกับวัย แตงกายใหเหมาะสมกับโอกาสและสถานการณ แตงกายใหเรียบรอย ใหมีรสนิยม แตงกายให เหมาะสมกับภูมิอากาศ เปนตน

6.3 เทคนิคการสรางมนุษยสัมพันธดานจิตวิทยา ในการสรางมนุษยสัมพันธดานจิตวิทยา สมพร สุทัศนีย (2544, 175 – 176) ไดก้ลาวถึงเทคนิคดานจิตวิทยา ไวดังนี้

6.3.1 ดานมนุษยมีความคลายคลึงกัน โดยแสดงความเขาใจในสิ่งที่เกิดขึ้นกับ ผู้อ่ืนเชน

Page 19: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

159

เขาใจวามนุษยทุกคนจะเสียใจเมื่อถูกตําหนิ เชนเดียวกับเราก็รูสึกเชนนั้นเหมือนกัน แสดงความเขา ใจในเหตุการณที่เกิดขึ้นของผูอ่ืน ใหอภัยเมื่อผูอ่ืนทําผิดพลาด คือ ไมแสดง ความโกรธ รูจักเอาใจเขามาใสใจเรา คือรูสึกอยางที่เขารูสึก

6.3.2 ดานมนุษยมีความแตกตาง โดยใหแสดงความเขาใจและเห็นใจเมื่อรูวา ผูอ่ืนไมเหมือนเรา ใหอภัยในความผิดพลาดของผูอ่ืน ยอมรับความแตกตางโดยความสบายใจ ปรับตัวให้เขา กับความแตกตางของผูอ่ืน แยกตนออกมาชั่วขณะเมื่อยอมรับความแตกตางนั้น ไมได รอใหอารมณหรือสถานการณดีขึ้นเสียกอนแลวจึงกลับเขาไปพูดจากันใหม

6.3.3 ดานมนุษยมีความซับซอน โดยแสดงความเขาใจเมือ่พฤติกรรมของผูอ่ืนแตกตางไปจากเดิม มีความยืดหยุนในเหตุการณตางๆ ที่แปรเปลี่ยนไป มีความเขาใจในภูมิหลังของแตละบุคคลที่แตกตางกัน

6.3.4 ดานมนุษย มีคุณคาและศักดิ์ศรี โดยตองยกยองใหเกียรติ และใหคําชมเชยผูอ่ืน อยาง จริงใจ ไมดูถูกเหยียดหยามผูอ่ืน ยอมรับในตัวบุคคลอ่ืน แสดงความเคารพนับถือ มีความจริงใจในการคบหาสมาคม รับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน แสดงความสุภาพออนโยน ซื่อสัตยตอบุคคลอ่ืน ใหความเชื่อถือและไววางใจผูอ่ืน ใหความสําคัญแกผูอ่ืน มีความเกรงใจผูอ่ืน ใหความเสมอภาคแกผูอ่ืน ไมตําหนิ ไมกาวราว ไมนินทา ไมยุงเรื่องสวนตัวของผูอ่ืนและให โอกาสผูอ่ืนไดมีสวนรวมในกิจกรรม ตางๆ

กลาวโดยสรุป เทคนิคในการสรางมนุษยสัมพันธสําหรับผูบริหาร หากจัดเปนกลุม พฤติกรรมจะสามารถแยกออกไดเปน 3 ดานใหญ คือ

ดานการติดตอสื่อสาร ไดแก การแสดงออก เชน การพูด การฟง การสนทนา การประสานงาน

ดานบุคลิกภาพ ไดแก มารยาท รูปรางหนา ตา ผิวพรรณ การแตงกาย การใชเครื่องประดับ ภาวะสุขภาพ การแสดงออกถึงความมีน้ําใจ และเอ้ือเฟอเผื่อแผ ความสุขุมรอบคอบ ความซื่อสัตยสุจริต ความยุติธรรม ความเฉลียวฉลาด ความมีคุณธรรมและจริยธรรม

ดานความรับผิดชอบ ไดแก การแสดงบทบาทภาวะผูนํา การจูงใจ การใหคําปรึกษา การชี้แนะแนวทางในการแกปญหา การสรางความสามัคคี การวางแผนงาน การมอบหมายงาน และ การควบคุมงาน

6.9 การสรางมนุษยสัมพันธในการทํางาน

นพพงษ บุญจิตราดุลย , 236) ไดระบุเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธในทางการบริหารและองคประกอบที่เก่ียวกับการสรางมนุษยสัมพันธไวพอสรุปไดดังนี้

มนุษยสัมพันธในทางบริหารสรางขึ้นจากพ้ืนฐานของความนับถือซึ่งกันและกัน ที่มั่นคง มีไมตรีจิต ศรัทธา จริงใจในศักดิ์ศรี และคุณคาของมนุษยดวยกันจึงตองพัฒนาทักษะที่จะสัมพันธตนเองกับบุคคลอ่ืน ๆ กับสถานการณทางสังคมที่ตนอยูไดอยางถูกตองเหมาะสมองคประกอบที่เกี่ยวพันกับการสรางมนุษยสัมพันธในการทํางาน มีขอควรพิจารณาดังนี้

1.กกการสื่อสาร หรือการสื่อความหมายที่ดี (Communication) การสื่อสารเปนการสง ขาว

Page 20: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

160

สารขอเท็จจริงใหคนในหนวยงานทราบความจริง ทราบความเคลื่อนไหวของงาน การสื่อสารที่ดีจะ ชวยสรางความเขาใจ ความรวมมือและการประสานงานที่ดีขึ้นในหนวยงานเกิดทัศนคติที่ดีและเปน แรงกระตุนจูงใจใหคนอยากทํางาน ชวยสรางความสัมพันธที่ดีตอกัน การใชภาษาทาทาง ในการสื่อสารกันควรจะตองเลือกใชใหถูก ใหเหมาะกับคน สถานที่ บรรยากาศและเวลา เพ่ือ ปองกันการแปลความหมายผิด ๆ ไป

2. การรับรู (Perception) การรับรูโดยบุคคลตางกัน ยอมเกิดผลแตกตางกัน ถาภูมิหลังประสบการณ ความตองการ ความใกลชิดกับหนวยงาน ความเขาใจในบทบาทหนาที่ของคนใน ตําแหนงตาง ๆ กัน ยอมกอใหเกิดขอขัดแยงขึ้นได คนเรามักจะเขาขางตนเองวาดี วาถูกตอง แตคนอ่ืนอาจมองเราไปอีกในแงอ่ืน ๆ ก็ได โดยเฉพาะบุคลิกภาพของคนก็เปนสวนหนึ่งที่กอใหเกิดความขัดแยง ในการรับรูของคนอ่ืน ๆ ก็ได ดังนั้นการรับรูโดยการเขาใจพ้ืนฐานซึ่งกันและกันก็จะ ชวยลดความขัดแยงกันไดมาก

3. การใชอํานาจโดยตําแหนง (Authority) อํานาจโดยตําแหนงสวนใหญจะ หมายถึง ผูมี ตําแหนงสูงกวา จะใชอํานาจทางตําแหนงกับบุคคลที่อยูต่ํากวา พฤติกรรมการใชของแตละบุคคล ที่มีตําแหนงสูงจะมีความแตกตางกัน บางคนใชอํานาจไปตามประเพณี บางคนใชดวยเหตุผล บางคนใชโดยอาศัยบุคลิกภาพสวนตัว การจะทํางานในหนวยงานดวยกันใหไดผลดีจึงจําเปนตองมี ความเขาใจกันถึงอํานาจหนาที่ มีการอธิบายชี้แจงใหเกิดการยอมรับนับถือในอํานาจนั้นและไม ยอมรับในพฤติกรรมที่แสดงออกของผูใชอํานาจเกินขอบเขตการใชอํานาจที่ผิดพลาดยอมเปน อันตรายตอ ความสัมพนัธของคนท่ีจะทํางานรวมกันได

4. ภาวะผูนํา (Leadership) เปนองคประกอบอีกแบบหนึ่ง ที่มีผลกระทบตอการ ปฏิบัติงาน รวมกันของบุคลากร ผูนํา คือผูที่มีอิทธิพลตอการทํางานของบุคลากรในหนวยงาน จะตองรักษาเปาหมายและวัตถุประสงคของหนวยงาน อํานวยความสะดวกในการใหบุคลากรมี ปฏิสัมพันธกัน และรักษาความสามัคคีกลมเกลียวของบุคคลในหนวยงาน ผูนําจะเปนผูชี้แนะบังคับบัญชาและสื่อสารงานใหคนไดมีความเขาใจในแผนงาน วิธีการปฏิบัติงานแสวงหาความรวมมือ และตีความหมายบทบาทของแตละคนใหเขาใจความสําเร็จของงานขึ้นอยูกับความสามารถและ รูปแบบของความ เปนผูนําการตัดสินใจ ผูนํามีอิทธิพลตอการปฏิบัติงานของบุคคลในหนวยงาน การรูจักใชสิ่งจูงใจ เปนเครื่องกระตุน ในการทํางานของผูใตบังคับบัญชา เปนเทคนิคอยางหนึ่งที่ผูนํา จะตองศึกษาและจะตองเลือกใชใหเหมาะกับคน

5.กการจูงใจ (Motivation) สิ่งจูงใจมีอิทธิพลตอการทํางานของบุคคลและสิ่งจูงใจที่จะใหกับคนแตละคนนั้นอาจมีความแตกตางกันไป ความตองการและลักษณะประเภทของบุคคล สิ่งจูงใจอาจจะเปนในดานวัตถุ ไดแก เงิน สิ่งของ เปนโอกาสในการทํางานใหญ ๆ สภาพทางกาย อันเปนสิ่งที่พึงปรารถนาบรรยากาศแหงความเปนมิตร งานที่ทาทายใหอยากทํา สิ่งเหลานี้จะตองมีการศึกษาและสํารวจลักษณะบุคลิกของแตละคน ที่รวมกันทํางานและนํามากระตุนมอบใหแตละคนตามความตองการ บุคลากรที่ทํางานรวมกันก็ควรศึกษาใหเขาใจและรูจักเสียสละและเลือกใชกับเพ่ือนรวมงานของตน เพ่ือกอใหเกิดบรรยากาศของการทํางานรวมกันใหได

6.กการบํารุงขวัญ (Morale) ขวัญเปนการแสดงออกทางสภาวะจิตใจ หรือความรูสึก ทัศนคติของคนในหนวยงานที่มีตองาน ตอบุคคล หรือเพ่ือนรวมงาน ตอองคการที่ตนปฏิบัติงานอยู่ตอ

Page 21: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

161

ความสําเร็จตามความมุงหมายขององคการ ตอความเชื่อมั่นในตัวผูนําขวัญของคนในหนวยงานจึงเปน สิ่งจําเปนที่จะตองตรวจสอบอยูเสมอ ขวัญในหนวยงานจะมองไดจากทัศนคติ ของคนที่มีตอหนวยงานความกระตือรือรนของคนทํางาน ความสามัคคีกลมเกลียวของคนใน หนวยงาน การมี สวนรวม ชวยเหลือในกิจกรรมตาง ๆ ที่มีขึ้นในหนวยงาน ดังนั้นในหนวยงานจึงมี ความจําเปนจะตองมีการบํารุงขวัญเพื่อใหคนทํางานรวมกันดวยดีและทํางานใหบรรลุวัตถุประสงคของหนวยงาน

เพ็ญนภา สังข์สุวรรณ (2547, 29 - 30) มนุษยสัมพันธเปนพ้ืนฐานของการทํา กิจกรรมรวม

กัน ของมนุษย มนุษยสัมพันธเริ่มตนจากการที่บุคคลเห็นความจําเปนที่ตองพ่ึงพาซึ่งกันและกัน และเริ่มสรางมนุยสัมพันธดวยการสํารวจหรือประเมินตนเองและปรับปรุงตนเอง การเสริมสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางบุคคลจําเปนตองทราบและทําความเขาใจใหถองแทในบุคคล สองฝายคือผูอ่ืนและตัวเราการวัด และประเมินมนุษยสัมพันธเปนการศึกษาเกี่ยวกับกลุมคนเพ่ือใหได ขอมูลที่จะนําไปใชในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมของคนอันจะเป็นประโยชนในดานการเสริมสรางความสัมพันธ และการปรับปรุงการทํางานของกลุมใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นมนุษยสัมพันธ์เปน คุณลักษณะที่สําคัญสําหรับผูที่เกี่ยวของกับบุคคลอ่ืนๆ การพัฒนาตนเองเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์มี 2 ลักษณะ คือ การพัฒนาลักษณะที่แสดงออกภายนอก เชน การยิ้มแยมการทักทายผูอ่ืนการแตงกาย กิริยามารยาทตางๆ เปนตน และการพัฒนาดานจิตใจเชน การรูจักเคารพในสิทธิของผูอ่ืน การมีความจริงใจ เปนตน มนุษยสัมพันธจึงควรเกิดจากระดับสภาพหรือสภาวะของจิตใจที่พรอมที่จะปรับปรุงตนเองโดยมีความเขาใจตนเองและผูอ่ืน สามารถที่จะตอบสนองในเรื่องความแตกต่างระหวางบุคคลและความต้องการของบุคคลอ่ืน ซึ่งจะทําใหเกิดการติดตอสัมพันธดวยความพอใจท่ามกลางบรรยากาศของความเขาใจซึ่งกันและกัน

ดังนั้นมนุษยสัมพันธ์จึงเปนเรื่องของการสรางความสัมพันธระหวางบุคคลตอบุคคล ระหวางบุคคลตอกลุมใหมีประสิทธิภาพในการอยู รวมกันดวยความพอใจของทุกฝายสรุปการสราง มนุษยสัมพันธที่ดีคือ

1. การใหความรัก ความปรารถนาดีตอผูอ่ืน 2. การใหความจริงใจ ความสนใจตอผูอ่ืน 3. การใหก้ารยกยองและให้เกียรติ ใหความเคารพตอผูอ่ืน 4. การใหอภัย ใหความรู ใหความคิด ให้สติตอผูอ่ืน 5. การใหน้ําใจ และความจริงใจ การใหความดีตอผูอ่ืน 6. การใหมิตรภาพ และการใหบริการผูอ่ืน 7. การใหความชวยเหลือตามควรแกผูอ่ืน 8. การใหความธรรมแกผูอ่ืน 9. การใหโอกาส ใหขวัญ และใหกําลังใจ ใหการชมเชย ใหการสนับสนุนแกผูอ่ืน 10. การใหก้ารยิ้มแยมแจมใสตอกันให้การทกัทายที่ดี การวัดและประเมินมนุษยสัมพันธ

Page 22: บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ · 2016-05-20 · 143 2. แนวคิดในเรื่องลักษณะของสังคมไทย

162

บทสรุป การศึกษามนุษยสัมพันธนั้นถูกจัดใหเปนทั้งศาสตร และศิลปเนื่องจากมีหลักการ และทฤษฎี

ที่เปนขอความรู และการนําหลักการหรือทฤษฎีไปปฏิบัติให ประสบความสําเร็จไดนั้นตองอาศัยเทคนิควิธีการซึ่งถือเปน ศิลปะเฉพาะตัวของแตละบุคคล จะสังเกตเห็นไดอยางหนึ่งวา คนแตละคน มีความสามารถในการติดตอกับผูอ่ืนไมเทากัน บางคน เปนที่พอใจของคนหมูมาก มีเพ่ือนมากหนาหลายตา และมีคนที่อยากพูดคุยติดตอ หรือทํางาน รวมกับเขามากมาย ในขณะที่บางคนไมคอยมีใครอยากจะเขาใกลหรือทํางานรวมดวย นั่นเปน เพราะเขาขาดศิลปะในการติดตอกับบุคคลอ่ืน ซึ่งอาจเปนเพราะไมรูหลักการวาควรทําอยางไร หรือเปนเพราะนําหลักการไปใชไมถูกวิธี ดังนั้นการที่คนเราจะมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับบุคคลอื่น จึงจําเปนตองเรียนรูทั้งภาคทฤษฎี และหมั่นฝกฝนเพ่ือใหเกิดความเชี่ยวชาญ จนสามารถนําหลักการที่เปนขอความรูทางทฤษฎีไปใชไดอยางเปนธรรมชาติ

แนวคิดในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การนั้น ผู้บริหารจะต้องเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ในองค์การก่อนว่าทุกคนมีความแตกต่างกัน มีคุณค่าและศักดิ์ศรี มีขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างกัน ลักษณะของสังคมไทย ธรรมชาติขององค์การเป็นอย่างดี จึงจะทําให้สามารถสร้าง มนุษยสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชาได้อย่างมีประสิทธิภาพ มนุษยสัมพันธ์เป็นสิ่งที่มีความสําคัญมากทั้งในชีวิตประจําวันและการปฏิบัติงาน จําเป็นกับทุกคน โดยเฉพาะบุคคลที่เป็นหัวหน้าหน่วยงาน หรือผู้บริหาร เพราะ ต้องอาศัยความร่วมมือจากเพ่ือนร่วมงาน หรือบุคคลอ่ืนจึงจะบริหารงานได้ประสบความสําเร็จบรรลุตามเป้าหมายได้ด้วยดี นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่เป็นปัจจัยที่ทําให้เกิดมนุษยสัมพันธ์ในองค์การที่ดี ได้แก่ ลักษณะ/ องค์ประกอบของผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ การรู้จักตนเองและการปรับปรุงตนเอง ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างมนุษยสัมพันธ์ หลักพ้ืนฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ เทคนิคในการสร้งมนุษยสัมพันธ์ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการทํางาน และ ประโยชน์ของการมีมนุษยสัมพันธ์