บทที่ 2 - dnp.go.th · title: บทที่ 2 author... created date: 12/19/2006...

52
รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที3 ขอมูลพื้นฐาน 3-1 บทที3 ขอมูลพื้นฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของและการศึกษาขอมูลทรัพยากรและสิ่งแวดลอมทั่วไปบริเวณ อุทยานแหงชาติเขาใหญ มีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการจําแนกกลุมทรัพยากร นันทนาการตามศักยภาพและคุณคา รวมทั้งลักษณะการใชประโยชนพื้นที่นันทนาการของนักทองเที่ยว ในแตละพื้นทีและเพื่อเปนแนวทางในการกําหนดมาตรฐานตัวชี้วัดที่มีความสําคัญของทรัพยากรแตละดาน สําหรับการประเมินขีดความสามารถในการรองรับไดของพื้นที่ตอไป สําหรับขอบเขตเนื้อหา ประกอบดวย การสํารวจสภาพพื้นที่โครงการ และการทบทวนขอมูลทุติยภูมิ การศึกษาขอมูล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในสภาพปจจุบัน รวมถึงการศึกษานโยบายและแผนงาน รวมทั้ง แผนพัฒนาขององคกรที่เกี่ยวของกับโครงการ 3.1 ที่ตั้งและลักษณะทั่วไปของพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ 3.1.1 ที่ตั้งอุทยานแหงชาติเขาใหญ อุทยานแหงชาติเขาใหญ ตั้งอยูบริเวณเทือกเขาพนมดงรักระหวางเสนรุงที14 องศา 5 ลิปดาเหนือ ถึง 14 องศา 15 ลิปดาเหนือ และเสนแวงที101 องศา 5 ลิปดาตะวันออก ถึง 101 องศา 50 ลิปดาตะวันออก ครอบคลุมพื้นที11 อําเภอ 4 จังหวัด คือ จังหวัดสระบุรี จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดนครราชสีมา และ จังหวัดนครนายก มีพื้นที2,165.55 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,353,471.53 ไร ( ดังรูปที3.1-1) อุทยานแหงชาติ เขาใหญมีพื้นที่ใหญมากเปนอันดับ 3 รองจากอุทยานแหงชาติแกงกระจาน และอุทยานแหงชาติทับลาน นอกจากนี้อุทยานแหงชาติเขาใหญยังมีพื้นที่ตอเนื่องกับผืนปาในเขตอุทยานแหงชาติทับลาน และอุทยานแหงชาติปางสีดา โดยมีอาณาเขตติดตอ (ดังรูปที3.1-2) ดังนีทิศเหนือ ติดตอกับ เขตจังหวัดนครราชสีมา ทิศใต ติดตอกับ เขตจังหวัดนครนายกและปราจีนบุรี ทิศตะวันออก ติดตอกับ เขตจังหวัดปราจีนบุรี ทิศตะวันตก ติดตอกับ เขตจังหวัดสระบุรี

Upload: others

Post on 17-Oct-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-1

บทที่ 3

ขอมูลพื้นฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของและการศึกษาขอมูลทรัพยากรและสิ่งแวดลอมทั่วไปบริเวณอุทยานแหงชาติเขาใหญ มีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการจําแนกกลุมทรัพยากรนันทนาการตามศักยภาพและคุณคา รวมทั้งลักษณะการใชประโยชนพื้นที่นันทนาการของนักทองเที่ยวในแตละพื้นที่ และเพื่อเปนแนวทางในการกําหนดมาตรฐานตัวชี้วัดที่มีความสําคัญของทรัพยากรแตละดาน สําหรับการประเมินขีดความสามารถในการรองรับไดของพื้นที่ตอไป สําหรับขอบเขตเนื้อหาประกอบดวย การสํารวจสภาพพื้นที่โครงการ และการทบทวนขอมูลทุติยภูมิ การศึกษาขอมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในสภาพปจจุบัน รวมถึงการศึกษานโยบายและแผนงาน รวมทั้งแผนพัฒนาขององคกรที่เกี่ยวของกับโครงการ

3.1 ที่ตั้งและลักษณะทัว่ไปของพื้นที่อุทยานแหงชาตเิขาใหญ 3.1.1 ที่ต้ังอุทยานแหงชาติเขาใหญ

อุทยานแหงชาติเขาใหญ ต้ังอยูบริเวณเทือกเขาพนมดงรักระหวางเสนรุงที่ 14 องศา 5 ลิปดาเหนือ ถึง 14 องศา 15 ลิปดาเหนือ และเสนแวงที่ 101 องศา 5 ลิปดาตะวันออก ถึง 101 องศา 50 ลิปดาตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ 11 อําเภอ 4 จังหวัด คือ จังหวัดสระบุรี จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดนครนายก มีพื้นที่ 2,165.55 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,353,471.53 ไร (ดังรูปที่ 3.1-1) อุทยานแหงชาติเขาใหญมีพื้นที่ใหญมากเปนอันดับ 3 รองจากอุทยานแหงชาติแกงกระจาน และอุทยานแหงชาติทับลาน

นอกจากนี้อุทยานแหงชาติเขาใหญยังมีพื้นที่ตอเนื่องกับผืนปาในเขตอุทยานแหงชาติทับลาน

และอุทยานแหงชาติปางสีดา โดยมีอาณาเขตติดตอ (ดังรูปที่ 3.1-2) ดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับ เขตจังหวัดนครราชสีมา ทิศใต ติดตอกับ เขตจังหวัดนครนายกและปราจีนบุรี ทิศตะวันออก ติดตอกับ เขตจังหวัดปราจีนบุรี

ทิศตะวันตก ติดตอกับ เขตจังหวัดสระบุร ี

Page 2: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-4

3.1.2 การเดนิทางเขาสูพ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ การเดินทางเขาสูที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ สามารถเลือกเดินทางได 2 วิธี (ดังรูปที่ 3.1-3) ดังนี้

1) รถยนตสวนบุคคล สามารถเลือกเสนทางในการเดินทางจากกรุงเทพมหานครได 3 เสนทาง โดย

ใชเวลาในการเดินทางประมาณ 3 ชั่วโมง ดังนี้ เสนทางที่ 1 จากถนนพหลโยธิน ผานรังสิต ประตูน้ําพระอินทร และจังหวัดสระบุรี เลี้ยวขวา

เขาถนนมิตรภาพ (ทางหลวงหมายเลข 2) กอนถึงอําเภอปากชอง บริเวณกิโลเมตรที่ 56 ชิดซายขึ้นสะพานลอยไปตามถนนธนะรัชต (ทางหลวงหมายเลข 2090) จนถึงกิโลเมตรที่ 23 จะพบดานศาล เจาพอเขาใหญ เดินทางตอไปอีกประมาณ 15 กิโลเมตร จะถึงที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ รวมระยะทางประมาณ 205 กิโลเมตร

เสนทางที่ 2 ใชเสนทางถนนพหลโยธินผานรังสิต ผานหนองแค เลี้ยวขวาสูทางหลวงแผนดิน

หมายเลข 33 (สุวรรณศร) ที่หินกอง ผานตัวเมืองนครนายกถึงสี่แยกเนินหอม หรือวงเวียนนเรศวร กอนเขาตัวเมืองปราจีนบุรีเลี้ยวซายเขาสูถนนปราจีนบุรี-เขาใหญ ถึงพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญบริเวณดานตรวจเนินหอม รวมระยะทางประมาณ 190 กิโลเมตร

เสนทางที่ 3 ใชเสนทางถนนพหลโยธิน เลี้ยวขวาบริเวณรังสิต เขาสูทางหลวงสายรังสิต-

องครักษ-นครนายก บรรจบกับเสนทางสายที่ 2 บริเวณตัวเมืองนครนายก แลวเดินทางตอตามเสนทางที่ 2

2) รถโดยสารประจําทาง ในการเดินทางไปยังอุทยานแหงชาติเขาใหญนั้น สามารถนั่งรถ

โดยสารประจําทางสายกรุงเทพฯ – นครราชสีมา จากสถานีขนสงสายตะวันออกเฉียงเหนือ ไปลงที่อําเภอปากชอง ตอจากนั้นจึงตอรถโดยสารประจําทางสายปากชอง-เขาใหญ ต้ังแตเวลา 06.00-17.00 น. ของทุกวัน ซึ่งรถจะไปสิ้นสุดที่ดานเก็บคาธรรมเนียม ใชเวลาประมาณ 40 นาที แลวอาจเชาเหมารถรับจางบริเวณดานเก็บคาธรรมเนียม หรือขออาศัยรถนักทองเที่ยวเพื่อพาเขาไปยังแหลงทองเที่ยวตางๆ ในเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญ โดยนักทองเที่ยวสามารถระบุแหลงทองเที่ยวที่ตองการไปได 3.2 ลักษณะทั่วไปของอุทยานแหงชาติเขาใหญ 3.2.1 ประวัติความเปนมาของการจัดต้ังอุทยานแหงชาติเขาใหญ

อุทยานแหงชาติเขาใหญนับเปนอุทยานแหงชาติแหงแรกของประเทศไทย และไดรับสมญานามวาเปน อุทยานมรดกของกลุมประเทศอาเซียน ตลอดจนเปนที่ยอมรับทั่วไปวา เปนอุทยานแหงชาติที่สําคัญของโลก โดยไดรับความรวมมือและชวยเหลือจาก Dr. George C. Ruhle ผูเชี่ยวชาญทางดานอุทยานแหงชาติของสหภาพสากลวาดวยการอนุรักษธรรมชาติ และทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งไดดําเนินการประกาศจัดต้ังอุทยานแหงชาติ โดยไดมีพระราชกฤษฎีกากําหนดที่ดินบริเวณปาเขาใหญ ในทองที่ตําบลปาขะ ตําบลบานพราว อําเภอบานนา ตําบลหนองแสง ตําบลนาหินลาด อําเภอปากพลี ตําบลสาริกา ตําบลหินต้ัง ตําบลพรหมมณี อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก ตําบลประจันตคาม อําเภอประจันตคาม ตําบลสัมพันตา ตําบลทุงโพธ์ิ อําเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี ตําบลหมูสี อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา และตําบลมวกเหล็ก ตําบลซําผักแพว อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี

Page 3: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-6

ใหเปนอุทยานแหงชาติเมื่อ พ.ศ. 2502 ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 79 ตอนที่ 86 ลงวันที่ 18 กันยายน 2505 รวมเนื้อที่ 1,355,468.75 ไร หรือ 2,168.75 ตารางกิโลเมตร

ตอมากองทัพอากาศไดมีหนังสือที่ กศ 0379/15739 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2519 ถึงกระทรวงเกษตรและสหกรณ ขอกันพื้นที่กอสรางสถานีเรดาร และสถานีถายทอดโทรคมนาคม ออกจากพื้นที่อุทยานแหงชาติ ซึ่งคณะกรรมการอุทยานแหงชาติ ไดมีมติในคราวประชุม ครั้งที่ 1/2520 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ 2520 เห็นชอบใหกันพื้นที่สวนดังกลาวได โดยไดมีพระราชกฤษฎีกา เพิกถอนอุทยานแหงชาติปาเขาใหญบางสวน ในทองที่ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก พ.ศ. 2521 ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 95 ตอนที่ 99 ลงวันที่ 21 กันยายน 2521 เปนเนื้อที่ ประมาณ 71 ไร 3 งาน 16 ตารางวา หรือ 0.1149 ตารางกิโลเมตร และกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ ขอใชพื้นที่บางสวนในเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญในทองที่อําเภอปากพลี และอําเภอเมือง จังหวัดนครนายก เนื้อที่ 1,925 ไร 1 งาน 73 ตารางวา หรือ 3.0807 ตารางกิโลเมตร เพื่อกอสรางโครงการเขื่อนคลองทาดานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อประโยชนในการจัดแหลงเก็บกักน้ําใชเพื่อการอุปโภคและบริโภค ตลอดจนการเพาะปลูก รวมทั้งชวยบรรเทาอุทกภัยที่เกิดขึ้นในเขตจังหวัดนครนายกเปนประจําทุกป คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบใหทําการกอสรางโครงการเขื่อนคลองทาดานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ซึ่งไดมีพระราชกฤษฎีกาเพิกถอนอุทยานแหงชาติปาเขาใหญบางสวนในทองที่ตําบลหินลาด อําเภอปากพลี และตําบลหินต้ัง อําเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 116 ตอนที่ 119ก ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2542 จึงเปนผลใหปจจุบันอุทยานแหงชาติเขาใหญ มีเนื้อที่ประมาณ 1,353,471.53 ไร คิดเปน 2,165.55 ตารางกิโลเมตร

3.2.2 สภาพพื้นที่ทั่วไปและแหลงทองเที่ยวทีน่าสนใจ

1) สภาพพื้นที่ทั่วไป สภาพทั่วไปของอุทยานแหงชาติเขาใหญ ประกอบดวยเทือกเขาที่

สลับซับซอนกันหลายลูก ไดแก เขารม ซึ่งเปนยอดเขาที่สูงที่สุดประมาณ 1,351 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง รองลงมาไดแก เขาแหลม เขาเขียว เขาสามยอด เขาฟาผา เขากําแพง เขาสมอปูน และเขาแกว ตามลําดับ และยังประกอบดวยทุงกวางสลับกับปาไมที่อุดมสมบูรณ ดานทิศเหนือและทิศตะวันออกพื้นที่จะลาดลง ทางทิศใตและทิศตะวันตกเปนที่สูงชันขึ้นไปเรื่อยๆ นอกจากนี้ยังเปนแหลงกําเนิดตนน้ํา ที่สําคัญถึง 5 สาย ไดแก แมน้ําปราจีนบุรี แมน้ํานครนายก แมน้ําลําตะคอง แมน้ําลําพระเพลิง และหวยมวกเหล็ก

2) แหลงทองเที่ยวที่นาสนใจ อุทยานแหงชาติเขาใหญ นับวาเปนแหลงกําเนิดของตนน้ํา

ลําธารที่ทําใหเกิดปรากฎการณทางธรรมชาติ ที่เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญเนื่องจากมีน้ําตกที่สวยงาม มีทั้งน้ําตกนอยใหญเกิดขึ้นหลายแหง ซึ่งไดดําเนินการสํารวจและทําเสนทางเดินเทาไปถึงแลวประมาณ 30 แหง โดยแตละแหงมีความสวยงามแตกตางกันไปตามสภาพธรรมชาติของภูมิประเทศ (รายละเอียดดังภาพที่ 3.2-1) ไดแก

Page 4: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-9

น้ําตกนางรองและน้ําตกสาริกา น้ําตกทั้ง 2 แหง เปนน้ําตกขนาดใหญอยูในพื้นที่จังหวัดนครนายก มีชื่อเสียงมาชานาน ต้ังแตกอนการจัดต้ังอุทยานแหงชาติ การเดินทางไปยังน้ําตกทั้ง 2 แหงนี้ ทําไดโดยสะดวกเพราะมีถนนลาดยาง แยกจากถนนสุวรรณศรเขาไปประมาณ 20 กิโลเมตร

น้ําตกกองแกว อยูหางจากศูนยบริการนักทองเที่ยวประมาณ 100 เมตร เปนน้ําตก

เล็กๆ ที่เกิดจากหวยลําตะคอง ในฤดูฝนจะดูสวยงามมากเหมาะสําหรับการเลนน้ํา ใกลบริเวณน้ําตกจะมีสะพานแขวนขามลําหวย 2 สะพาน นอกจากนี้ยังมีหวยลําตะคองเปนแนวเขตแบง 2 จังหวัด คือ จังหวัดนครนายก และจังหวัดนครราชสีมา

น้ําตกผากลวยไม เปนน้ําตกขนาดกลาง ที่อยูในหวยลําตะคองเชนเดียวกัน หางจากสถานที่

กางเต็นทผากลวยไมประมาณ 1.5 กิโลเมตร สามารถเขาถึงไดโดยทางรถยนตและทางเดินเทา น้ําตกผากลวยไมจะมีกลวยไมหวายแดงขึ้นอยู ซึ่งเปนสัญลักษณของน้ําตกแหงนี้

น้ําตกเหวสุวัต เปนน้ําตกที่มีชื่อเสียงมากจนเปนที่รูจักของประชาชนโดยทั่วไป น้ําตก

เหวสุวัตนี้อยูสุดถนนธนะรัชต มีลักษณะเปนสายน้ําตกลงมาจากหนาผาสูงประมาณ 20 เมตร บริเวณดานลางของน้ําตกเปนแองน้ําและลําธารเหมาะที่จะลงเลนน้ํา ในชวงฤดูฝนน้ําจะมากและไหลแรง และคอนขางเย็นจัด

น้ําตกเหวไทร เปนน้ําตกอีกแหงหนึ่งที่อยูใตถัดไปจากน้ําตกเหวสุวัต หางจากน้ําตกเหวสุวัต

ประมาณ 700 เมตร น้ําตกนี้มีลักษณะเปนหนาผากวางเต็มลําหวย สูงประมาณ 5 เมตร น้ําตกเหวประทุน เปนน้ําตกที่อยูในหวยลําตะคองอีกแหงหนึ่ง ซึ่งอยูถัดจากน้ําตกเหวไทร

ประมาณ 2 กิโลเมตร น้ําตกเหวนรก เปนน้ําตกขนาดใหญและสูงที่สุด อยูทางดานทิศใตของอุทยานแหงชาติ

เขาใหญ มีทั้งหมด 3 ชั้น ชั้นแรกสูงประมาณ 60 เมตร เมื่อน้ําไหลผานหนาผาชั้นนี้ จะไหลลงสูหนาผาชั้นที่สองและที่สามที่อยูถัดลงไปใกลๆ กัน ลักษณะของน้ําตกมีการไหลตกประมาณ 90 องศา รวมความสูงไมตํ่ากวา 150 เมตร เปนสายน้ําที่ไหลทะลักไปสูหุบเหวเบื้องลาง ในฤดูฝนน้ําจะไหลแรงมากจนดูนากลัว

น้ําตกไมปลอง เปนน้ําตกที่พบมานาน มีทั้งหมด 5 ชั้น ลดหล่ันกันลงมา ชั้นสูงสุดไม

เกิน 12 เมตร มีลักษณะคลายคลึงกับน้ําตกเหวนรก และเหวสุวัต ความงามตลอดเสนทางเดินเทาประกอบดวย โขดหินเล็กใหญและลําธารที่สวยงาม ต้ังอยูในเสนทางเดินปาทองไพร การเดินทางไปน้ําตกแหงนี้เริ่มตนที่วังตะไคร โดยการเดินเทาตามเสนทางเดินเทาระยะทางประมาณ 24 กิโลเมตร

น้ําตกวังเหว เปนน้ําตกขนาดใหญมีความกวางประมาณ 40-60 เมตร ในฤดูฝนน้ํามาก

และไหลแรง อยูหางจากหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.4 (คลองปลากั้ง) ประมาณ 10 กิโลเมตร อยูใจกลางปาทางดานทิศตะวันออกของอุทยานแหงชาติเขาใหญ การเดินทางจะตองเดินเทาใชเวลาในการเดินทาง 1 วัน

น้ําตกตะครอ, น้ําตกสลัดได,น้ําตกสมปอย,น้ําตกธารทิพย เปนน้ําตกขนาดเล็กที่

สวยงามอยูใกลกับที่ทําการหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.10 (ประจันตคาม)

Page 5: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-10

น้ําตกแกงกฤษณา น้ําตกเหวจั๊กจั่น น้ําตกเหวอีอ่ํา เปนน้ําตกขนาดเล็กและขนาดใหญที่มีความงดงามไมแพแหงอื่นๆ โดยเฉพาะน้ําตกเหวอีอ่ํามีความสูงประมาณ 25 เมตร

น้ําตกผาไทรคู และน้ําตกผากระชาย เปนน้ําตกขนาดกลางที่เกิดจากหวยโกรกเค

บริเวณเขาแหลมอยูทางดานทิศเหนือของอุทยานแหงชาติ อยูหางจากหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.2 (ผากระดาษ) ประมาณ 12-15 กิโลเมตร มีความสูงประมาณ 15 เมตร

น้ําตกแกงหินเพิง เปนน้ําตกขนาดเล็กที่อยูไมไกล ประมาณ 5 กิโลเมตรจากหนวย

พิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.9 (ใสใหญ) เปนสถานที่ทองเที่ยวประจําทองถิ่น น้ําตกมะนาว เปนน้ําตกขนาดเล็กๆ ที่สวยงามอีกรูปแบบหนึ่ง อยูทางทิศตะวันตกเฉียงใต

เดินไปตามเสนทางเดินเทาออกจากดานหลังอาคารโภชนาการเกาของที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ ประมาณ 6 กิโลเมตร

น้ําตกตาดตาภู น้ําตกนี้อยูทางทิศตะวันตกเฉียงใตของอุทยานแหงชาติเขาใหญ เกิด

จากหวยระยา เปนน้ําตกที่มีลักษณะเปนโขดหินและลานหินที่มีน้ําไหลหล่ันเปนแนวทอดลาดเอียงไปขางลางประมาณ 100 เมตร

น้ําตกตาดตาคง เปนน้ําตกที่งดงามและสูงอีกแหงหนึ่ง ซึ่งอยูถัดไปจากน้ําตกตาดตาภู

ประมาณ 4 กิโลเมตร การเดินทางสามารถใชเสนทางเดียวกับการเดินทางสูน้ําตกมะนาว กลุมน้ําตกผาตะแบก น้ําตกนี้เปนน้ําตกที่เกิดบนหวยน้ําซับลักษณะของน้ําตกเปนชั้นๆ

ลดหล่ันกันลงไป 5 ชั้น จากปากทางเขาบนถนนสายเขาใหญ-ปราจีนบุรี บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 6 มีทางเดินเขาระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร

น้ําตกโกรกอิดก เปนน้ําตกที่สวยงามมีหลายชั้น ต้ังอยูบริเวณ หมูที่ 5 บานบึงไม ตําบล

ชะอม อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี ซึ่งเปนน้ําตกที่เกิดจากเทือกเขาใหญ น้ําตกเจ็ดคต เปนน้ําตกที่สวยงามมีทางน้ําไหลและมีหลายชั้น การเดินทางสะดวกอยู

บริเวณ หมูที่ 8 บานหินต้ัง ตําบลชะอม อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี น้ําตกวังมวง ต้ังอยูที่ตําบลนาหินลาด อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก มีทางแยก

ซายมือจากถนนสุวรรณศร ที่อําเภอปากพลีไปยังน้ําตกวังมวง ระยะทาง 16 กิโลเมตร เสนทางสะดวกไปจนถึงบริเวณน้ําตก

แกงหินเพิง เปนแกงที่มีลักษณะเปนลานหินกวางตั้งอยูในแมน้ําใสใหญ ซึ่งครอบคลุม

พื้นที่ตําบลสะพานหิน อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี สามารถเดินทางไดโดยใชทางหลวงหมายเลข 33 ทางไปอําเภอกบินทรบุรี จนถึงบริเวณหลักกิโลเมตรที่ 201 ใหเลี้ยวซายเพื่อเขาสูระบบการจราจรของถนน ร.พ.ช. (สระดู-สะพานหิน) เดินทางตอไปประมาณ 17 กิโลเมตร จนถึงโรงเรียนบานหนองแหน จึงเลี้ยวซายเขาไปอีก 7 กิโลเมตร จะถึงหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.9 (ใสใหญ) จากนั้นใชเสนทางเดินเทาเขาไปอีกประมาณ 2.5 กิโลเมตร จึงจะถึงแกงหินเพิง

สถานที่กางเต็นทลําตะคอง เปนสถานที่กางเต็นทที่เปนพื้นที่คอนขางโลงแจง มีพื้นที่

ประมาณ 40 ไร มีลําหวยลําตะคองไหลผาน สามารถเดินทางไดโดยใชเสนทางปราจีนบุรี-น้ําตก เหวสุวัต ต้ังอยูหางจากแยกปราจีนบุรีประมาณ 3 กิโลเมตร แตเนื่องจากเปนสถานที่กางเต็นทที่เปดได

Page 6: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-11

ไมนานนัก จึงมีจํานวนตนไมที่ใหรมเงานอย ปจจุบันทางอุทยานแหงชาติ กําลังปรับปรุงโดยการปลูกตนไมเพิ่มเติม

จากการศึกษาสถิตินักทองเที่ยวที่เขาไปพักแรมในสถานที่กางเต็นทลําตะคอง พบวา ในระหวางเดือนมกราคม-มิถุนายน 2548 มีจํานวนนักทองเที่ยวทั้งสิ้น 18,712 คน โดยในชวงเดือนมกราคมจะมีจํานวนนักทองเที่ยวมากที่สุด คือ 9,147 คน รองลงมาคือเดือนกุมภาพันธ จํานวน 2,849 คน และเดือนเมษายน จํานวน 2,613 คน ตามลําดับ (อุทยานแหงชาติเขาใหญ, 2548)

นอกจากนี้ยังมีจุดชมทิวทัศนและหอดูสัตวที่นาสนใจ ไดแก จุดชมทิวทัศน กม.20 ถนนปราจีนบุรี–เขาใหญ เปนจุดที่สามารถชมทิวทัศนดาน

จังหวัดปราจีนบุรีได จุดชมทิวทัศน กม.30 ถนนธนะรัชต อยูที่ระดับความสูงประมาณ 680 เมตรจาก

ระดับน้ําทะเล สามารถชมทิวทัศนดานทิศเหนือของอุทยานแหงชาติ ไดในบริเวณกวางและสวยงาม มองเห็นเทือกเขาสลับซับซอน แมแตทุงนาหมูบานทามะปรางที่อยูหางไกล

จุดชมทิวทัศนผาเดียวดาย ถามาจากที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ หรือผากลวยไม ทางขึ้นเขาเขียวจะอยูซายมือ ของถนนสายปราจีนบุรี-เขาใหญ บริเวณกิโลเมตรที่ 12 ใหสังเกตลานจอดรถทางดานขวามือ สวนทางเขาไปจุดชมทิวทัศนผาเดียวดาย มีทางเดินเล็กๆ เขาสูปาดงดิบบริเวณดานซายมือ ลงไปตามทางชันอีกเล็กนอย จะถึงจุดชมทิวทัศน ซึ่งเปนลานหินยื่นออกมาจากหนาผา มองเห็นเขารม และปาดงดิบหนาทึบ จนถึงทุงงูเหลือม และเขาสมอปูน จากลานหินจะมีทางเดินแยกไปชมทิวทัศน ไดอีกหลายมุม ถนนขึ้นเขาเขียวจะไปสิ้นสุดที่ศูนยควบคุมและรายงานเขาเขียว ของกองทัพอากาศ ตรงดานรักษาการฯ จะมีจุดชมทิวทัศนอีกแหงคือ ผาตรอมใจ ซึ่งจะมองเห็นผืนปาไดในบริเวณกวาง

จุดชมทิวทัศนเขาเขียว (ผาตรอมใจ) นับเปนจุดชมทิวทัศนที่สวยงามนาชมและเปนที่นิยมของนักทองเที่ยวเปนอยางมาก มีลักษณะคลายผานกเคาที่ภูกระดึง และทิวทัศนที่สวยงามทางดานจังหวัดปราจีนบุรี ตอนเชาตรูจะเห็นพระอาทิตยขึ้นยามเชาเปนดวงกลมสีแดงเหนือสันเขารมที่สวยงาม

จุดชมทิวทัศน กม.9 อยูชวงกิโลเมตรที่ 9 ถนนขึ้นเขาเขียว สามารถมองทิวทัศนปาไมและภูเขาดานทิศเหนือตลอดแนวไดเปนอยางดี

หอดูสัตว เปนสถานที่ที่จัดทําขึ้นสําหรับการซุมดูสัตวปา นักทองเที่ยวสามารถเขาไปใชประโยชนไดต้ังแตเวลา 06.00 น.–18.00 น. จํานวน 2 แหง ไดแก

- หอดูสัตวหนองผักชี อยูบริเวณหนองผักชี ซึ่งเปนแหลงน้ําของสัตวปารอบๆ หนองน้ําเปนทุงหญาคากวางใหญมีโปงสัตว ปากทางเขาไปอยูบริเวณกิโลเมตรที่ 35 ถนนธนะรัชต และตองเดินเทาเขาไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตร

- หอดูสัตวมอสิงโต อยูบริเวณอางเก็บน้ํามอสิงโตรอบๆ มีลักษณะเปนทุงหญาโลงๆ ที่เหมาะสําหรับการซุมดูสัตวปาที่มากินดินโปง ซึ่งเปนดินที่มีแรธาตุสําคัญของสัตวกินพืช อยูหางจากที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญประมาณ 500 เมตร

Page 7: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-12

3) กิจกรรมการทองเที่ยว ภายในเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญมีกิจกรรมที่นาสนใจสําหรับบริการนักทองเที่ยว ดังนี้ สองสัตว เปนกิจกรรมที่ใชไฟสองสัตวในเวลากลางคืนไปตามถนนสองขางทาง เปน

กิจกรรมที่นักทองเที่ยวใหความนิยมมาก สามารถติดตอขออนุญาตไดที่ที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ ภายในเวลา 18.00 น. ของทุกวัน

เดินปาศึกษาธรรมชาติ ในพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ มีเสนทางเดินปาระยะสั้น และเสนทางเดินปาประเภททองไพร สามารถสอบถามรายละเอียดการเดินปาและติดตอเจาหนาที่นําทางไดที่ศูนยบริการนักทองเที่ยว แบงเปน

- เสนทางศึกษาธรรมชาติ (Nature trail) เสนศูนยบริการนักทองเที่ยว–น้ําตกกองแกว ระยะทางประมาณ 1,200 เมตร เสนทางนี้จะปูดวยตัวหนอน มีปายสื่อความหมายตลอดเสนทาง นักทองเที่ยวสามารถเดินเองได

- เสนทางเดินปาประเภทไมพักแรม (Hiking trail) มีอยู 13 เสนทาง จัดทําอยูบริเวณที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ มีระยะทางตั้งแต 1–8 กิโลเมตร ใชเวลาเดินประมาณ 1–5 ชั่วโมง ตองติดตอขออนุญาตจากเจาหนาที่กอนเขาไป

- เสนทางเดินปาประเภททองไพร (Trekking trail) เปนเสนทางที่ตองมีการพักคางแรมในปา โดยมากเปนเสนทางที่อยูรอบอุทยาน ใชเวลาคางคืนต้ังแต 1–3 คืน สามารถติดตอเดินปาไดที่หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญที่อยูใกลเคียง และที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ

ดูนก อุทยานแหงชาติเขาใหญเปนแหลงดูนกที่ดีที่สุดแหงหนึ่ง ที่สามารถพบนกมากกวา 340 ชนิด มีทั้งนกอพยพและนกประจําถิ่น โดยมีแหลงดูนกที่นาสนใจทั้งหมด 5 จุด ไดแก

จุดที่ 1 บริเวณศูนยบริการนักทองเที่ยวและคายพักกองแกว จุดที่ 2 ริมถนนธนะรัชต จุดที่ 3 ที่ทําการฯ – มอสิงโต จุดที่ 4 ดานชาง–บึงไผ จุดที่ 5 ผากลวยไม–เหวสุวัต จุดที่ 6 เขาเขียว ขี่จักรยาน อุทยานแหงชาติเขาใหญจัดทําเสนทางขี่จักรยาน เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศมีจักรยานใหเชาติดตอไดที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ ลองแกง เปนกิจกรรมหนึ่งในเขตพื้นที่แกงหินเพิงหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ. 9 (ใสใหญ) ทองที่อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ผูสนใจสามารถติดตอกับผูประกอบการเอกชนในพื้นที่ รอยเทาไดโนเสาร พบอยูบริเวณน้ําตกวังเหว ซึ่งอยูในเสนทางเดินปา

4) ที่ทําการ และหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ บริเวณพื้นที่ของอุทยานแหงชาติเขาใหญ ประกอบดวยที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ

หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ (20 หนวย) และศูนยบริการขอมูลตางๆ (ดังรูปที่ 3.2-1) ดังนี้ 1) ที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ ต้ังอยูที่ ต.หินต้ัง อ.เมือง จังหวัดนครนายก

ภายในมีศูนยบริการนักทองเที่ยวสําหรับประชาชนทั่วไปและนักเรียน นอกจากนี้ยังมีบานพัก สถานที่กางเต็นท และรานอาหารไวใหบริการแกนักทองเที่ยวอีกดวย

2) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.1 (ดานตรวจศาลเจาพอ)

Page 8: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-14

3) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.2 (ผากระดาษ) 4) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.3 (ตะเคียนงาม) 5) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.4 (คลองปลากั้ง) 6) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.5 (กม.80) 7) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.6 (บุพราหมณใน) 8) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.7 (ลําพระยาธาร) 9) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.8 (วานเหลือง) 10) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.9 (ใสใหญ) 11) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.10 (ประจันตคาม) 12) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.11 (คลองเพกา) 13) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.12 (เนินหอม) 14) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.13 (นางรอง) 15) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.14 (วังรี) 16) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.15 (ชะอม) 17) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.16 (มวกเหล็กใน) 18) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.17 (กลางดง) 19) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.18 (เจ็ดคต) 20) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.19 (ผากลวยไม) 21) หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.20 (เหวนรก)

โดยสามารถแบงเขตการจัดการพื้นที่ภายในเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญไดทั้งหมด 8 เขตการจัดการ ดังนี้

1) เขตการจัดการที่ 1 ประกอบดวย หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.1,2,16 และ17

2) เขตการจัดการที่ 2 ประกอบดวย หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.3,4 และ 5 3) เขตการจัดการที่ 3 ประกอบดวย หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.6,7,8 และ 9 4) เขตการจัดการที่ 4 ประกอบดวย หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.10 และ11 5) เขตการจดัการที่ 5 ประกอบดวย หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.12 และ 20 6) เขตการจัดการที่ 6 ประกอบดวย หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.13 7) เขตการจัดการที่ 7 ประกอบดวย สวนกลาง และหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ

ขญ.14,15 และ 18 8) เขตการจัดการที่ 8 ประกอบดวย หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติเขาใหญ ขญ.19

สถานที่กางเต็นทลําตะคอง และน้ําตกเหวสุวัต

Page 9: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-15

3.3 ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอมในปจจุบัน 3.3.1 สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศทั่วไปของอุทยานแหงชาติเขาใหญ เปนพื้นที่ดานตะวันตกของเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งสูงโดดเดนขึ้นมาจากที่ราบภาคกลางแลวกอตัวเปนแนวเขตของที่ราบสูงโคราช มีเขารมเปนยอดเขาที่สูงที่สุด 1,351 เมตร เขาแหลมสูง 1,326 เมตร เขาเขียวสูง 1,292 เมตร เขาสามยอดสูง 1,142 เมตร เขาฟาผาสูง 1,078 เมตร เขากําแพงสูง 875 เมตร เขาสมอปูนสูง 805 เมตร และเขาแกวสูง 802 เมตร ซึ่งวัดความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางเปนเกณฑ และยังประกอบดวยทุงกวางสลับกับปาไมที่อุดมสมบูรณ ดานทิศเหนือและตะวันออกพื้นที่จะลาดลง ทางทิศใตและตะวันตกเปนที่สูงชันขึ้นไปเรื่อยๆ นอกจากนี้ยังเปนแหลงกําเนิดตนน้ําลําธารที่สําคัญถึง 5 สาย ไดแก แมน้ําปราจีนบุรี และแมน้ํานครนายก อยูในพื้นที่ทางทิศใตของอุทยานแหงชาติเขาใหญ ซึ่งมีความสําคัญตอการเกษตรกรรมและระบบทางเศรษฐกิจและสังคมของภูมิภาคนี้ แมน้ําทั้ง 2 สายนี้ มาบรรจบกันที่จังหวัดฉะเชิงเทรา กลายเปนแมน้ําบางปะกงแลวไหลลงสูอาวไทย แมน้ําลําตะคอง และแมน้ําลําพระเพลิง อยูในพื้นที่ทางทิศเหนือ ไหลไปหลอเลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรมของที่ราบสูงโคราช ไปบรรจบกับแมน้ํามูลซึ่งเปนแหลงน้ําสําคัญของภาคอีสานตอนลางแลวไหลลงสูแมน้ําโขง และหวยมวกเหล็กซึ่งอยูทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มีปริมาณน้ําไหลตลอดทั้งปและใหประโยชนทางดานการเกษตร โดยเฉพาะการปศุสัตวของภูมิภาคนี้ ไหลลงสูแมน้ําปาสัก ที่อําเภอมวกเหล็ก 3.3.2 สภาพภูมิอากาศ

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของอุทยานแหงชาติเขาใหญ เปนแบบเมืองรอนเฉพาะฤดู

(Tropical Savannah Climate “AW”) ลมมรสุมที่พัดผานแบงออกเปน 2 ชวง คือระหวางเดือน กรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม จะมีฝนตกชุก เนื่องจากไดรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต และชวงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม อากาศจะหนาวเย็น และอาจจะมีฝนประปราย ซึ่งเกิดจากลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยแบงได 3 ฤดู ดังนี้

ฤดูรอน อยูระหวางเดือนมีนาคม-พฤษภาคม แมวาอากาศจะรอนอบอาวกวาในที่อื่น แตที่เขา

สูงบนเขาใหญอากาศเย็นสบายเหมาะแกการพักผอน เลนน้ําในลําธารและนําอาหารไปรับประทาน ฤดูฝน อยูระหวางเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม เปนชวงหนึ่งของปที่สภาพบนเขาใหญชุมฉ่ํา

น้ําตกทุกแหงมีปริมาณน้ํามาก และกระแสน้ําไหลแรง แมการเดินทางจะลําบากกวาปกติแตนักทองเที่ยวยังคงนิยมไปทองเที่ยวในฤดูกาลนี้

ฤดูหนาว อยูระหวางเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ ในชวงเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ

เปนฤดูที่นิยมไปเขาใหญมากที่สุด สําหรับปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยตอปของอุทยานแหงชาติเขาใหญวัดได 2,270 มิลลิเมตร ที่บริเวณ

ที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ พื้นที่ที่ไดรับปริมาณน้ําฝนมากที่สุดอยูบริเวณลุมน้ําคลองทาดาน ซึง่เปนบริเวณดานทิศใตของเขาเขียวและเขารม โดยวัดปริมาณน้ําฝนไดถึง 3,000 มิลลิเมตรตอป สวนบริเวณที่รับน้ําฝนนอยที่สุดคือพื้นที่ดานลางสุดของทิศตะวันตกเฉียงใตและทิศใต โดยมีฝนตกเฉลี่ยตอป 1,600 มิลลิเมตรหรือนอยกวา โดยปกติฝนจะตกมากที่สุดระหวางกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือน

Page 10: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-16

ตุลาคม เฉพาะในชวงเวลาดังกลาวสามารถวัดน้ําฝนในบริเวณที่ทําการอุทยานแหงชาติ ไดสูงถึง 1,917 มิลลิเมตร สวนชวงที่ปริมาณฝนนอยที่สุดคือระหวางเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม โดยมีปริมาณฝนตกเฉลี่ยประมาณเดือนละ 15 มิลลิเมตร (แผนการจัดการอุทยานแหงชาติเขาใหญ, 2529)

นอกจากนี้ยังพบวา อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปของอุทยานแหงชาติเขาใหญประมาณ 23 องศา

เซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดพบวาอยูระหวางเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม ประมาณ 28 องศาเซลเซียส ในเดือนธันวาคมและเดือนมกราคมมีอุณหภูมิประมาณ 17 องศาเซลเซียส และมีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยของอุทยานแหงชาติเขาใหญเทากับ 66 เปอรเซ็นต (แผนการจัดการอุทยานแหงชาติ เขาใหญ, 2529) จากการศึกษาขอมูลสถิติอากาศในคาบ 30 ป (พ.ศ.2514-2543) พบวาสถานีตรวจวัดอากาศที่ใกลเคียงอุทยานแหงชาติเขาใหญมี 2 สถานี ไดแก สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดนครราชสีมา และสถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดปราจีนบุรี (ตารางที่ 3.3-1 และตารางที่ 3.3-2) สามารถสรุปสภาพภูมิอากาศบริเวณพื้นที่โครงการไดดังนี้

1) ความกดอากาศ คาความกดอากาศเปนคาแสดงความหนาแนนของอากาศ ซึ่งนอกจากจะเปลี่ยนแปลง

ตามระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางแลว ยังแปรผันตามสภาวะอากาศ คือ มีความกดอากาศสูงภายใตอิทธิพลของลมตะวันออกเฉียงเหนือ และจะมีความกดอากาศต่ําภายใตอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต หรือสภาวะอากาศที่มีพายุหมุนเขตรอนเคลื่อนตัวเขามา สําหรับความกดอากาศเฉลี่ยในรอบ 30 ปที่ตรวจวัดบริเวณสถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดปราจีนบุรี พบวา คาความกดอากาศเฉลี่ยตอปที่ตรวจวัดในจังหวัดนครราชสีมามีคาเทากับ 1,009.5 เฮกโตปาสคาล โดยมีคาเฉล่ียสูงสุดเทากับ 1,014.7 เฮกโตปาสคาล ในเดือนธันวาคม และเฉล่ียตํ่าสุดเทากับ 1,005.9 เฮกโตปาสคาล ในเดือนมิถุนายน คาความกดอากาศสูงสุดและต่ําสุดมีคาเทากับ 1,027.1 และ 997.7 เฮกโตปาสคาล ในเดือนมกราคม และเดือนกรกฎาคม ตามลําดับ สวนคาความกดอากาศที่ตรวจวัดในจังหวัดปราจีนบุรีมีคาเฉลี่ยตอปเทากับ 1,009.4 เฮกโตปาสคาล และคาเฉล่ียสูงสุดมีคาเทากับ 1,013.1 เฮกโตปาสคาล ในเดือนธันวาคม และเฉล่ียตํ่าสุดเทากับ 1,006.7 เฮกโตปาสคาล ในเดือนมิถุนายน คาความกดอากาศสูงสุดมีคาเทากับ 1,023.1 เฮกโตปาสคาล ในเดือนธันวาคมและเดือนมกราคม และคาความกดอากาศต่ําสุดมีคาเทากับ 998.7 เฮกโตปาสคาล ในเดือนกรกฎาคม ตามลําดับ

2) อุณหภูม ิ

ในการตรวจวัดอุณหภูมิของสถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดนครราชสีมา พบวา อุณหภูมิเฉลี่ยในรอบ 30 ปมีคาเทากับ 27.0 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิที่สูงที่สุดเทากับ 42.7 องศาเซลเซียสในเดือนเมษายน และอุณหภูมิตํ่าสุดมีคาเทากับ 6.2 องศาเซลเซียสในเดือนธันวาคม สวนอุณหภูมิที่ตรวจวัดไดจากสถานีตรวจอากาศจังหวัดปราจีนบุรีนั้น พบวา มีอุณหภูมิเฉลี่ยในรอบ 30 ปเทากับ 28.2 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิสูงสุดเทากับ 42.2 องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน และมีอุณหภูมิตํ่าสุดเทากับ 11.5 องศาเซลเซียสในเดือนธันวาคม

Page 11: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-17

ตารางที่ 3.3-1 สถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ป (พ.ศ.2514-2543) จังหวัดนครราชสมีา

CLIMATOLOGICAL DATA FOR THE PERIOD 1971-2000 Station NAKHON RATCHASIMA Elevation of station above MSL 187 Meters Index station 48431 Height of barometer above MSL 188 Meters Latitude 14’ 58” N Height of thermometer above ground 1.25 Meters Longitude 102’ 05” E Height of wind vane above ground 12.00 Meters Height of rain gauge 1.00 Meters

JAN FEB MAR APR MAY JUN JUL AUG SEP OCT NOV DEC ANNUAL Pressure (Hectopascal) Mean 1,013.5 1,011.5 1,009.7 1,008.1 1,007.0 1,005.9 1,006.0 1,006.1 1,008.0 1,010.5 1,012.9 1,014.7 1,009.5 Ext. max. 1,027.1 1,024.6 1,024.9 1,020.4 1,017.9 1,012.7 1,013.1 1,013.1 1,016.3 1,020.1 1,023.1 1,026.5 1,027.1 Ext. min. 1,003.0 1,000.7 999.5 998.1 999.2 997.8 997.7 998.3 998.8 1,000.1 1,003.5 1,003.6 997.7 Mean daily range 5.9 6.2 6.0 5.5 4.8 4.3 4.2 4.4 4.7 4.8 5.0 5.5 5.1 Temperature (Celsius) Mean 23.9 26.5 28.7 29.7 28.9 28.8 28.3 27.9 27.2 26.4 24.9 23.1 27.0 Mean max. 30.8 33.5 35.8 36.5 35.1 34.3 33.8 33.2 32.2 30.9 29.7 29.1 32.9 Mean min. 17.7 20.4 22.7 24.4 24.7 24.7 24.3 24.1 23.7 22.8 20.5 17.5 22.3 Ext. max. 37.1 40.1 42.3 42.7 41.3 39.7 40.0 38.1 38.0 35.2 36.1 36.0 42.7 Ext. min. 7.9 11.4 12.4 19.0 21.0 21.2 21.3 21.5 20.4 16.2 10.1 6.2 6.2 Relative Humidity (%) Mean 64 61 60 65 72 73 73 75 80 79 72 66 70 Mean max. 85 83 82 84 88 88 88 90 93 93 89 86 87 Mean min. 40 38 37 42 50 52 53 56 61 60 53 44 49 Ext. min. 21 15 12 19 23 23 32 35 34 31 27 20 12 Dew Point (Celsius) Mean 15.9 17.7 19.4 21.6 23.0 22.9 22.7 22.8 23.3 22.0 19.1 15.9 20.5 Evaporation (mm.) Mean-pan 137.3 143.9 183.2 183.4 174.8 163.4 164.3 151.0 125.8 125.6 128.6 135.9 1,817.2 Cloudiness (0-10) Mean 3.6 4.0 4.6 5.6 7.1 7.9 8.1 8.5 8.1 6.7 5.1 3.9 6.1 Sunshine Duration (hr.) NO OBSERVATION Visibility (km.) 0700 L.S.T. 3.4 3.4 4.0 5.2 7.4 8.9 8.9 8.8 7.5 6.2 5.4 4.4 6.1 Mean 5.8 5.3 5.6 6.7 9.0 10.0 10.1 9.8 9.4 8.5 7.8 6.7 7.9 Wind (Knots) Mean wind speed 1.4 1.5 1.6 1.7 1.9 2.3 2.4 2.3 1.4 1.8 2.1 2.0 - Prevailing wind NE NE S S S SW SW SW W NE NE NE - Max. wind speed 22 50 42 49 50 58 41 32 33 29 28 28 58 Rainfall (mm.) Mean 5.9 18.1 36.1 66.3 137.2 111.8 115.3 146.2 226.6 141.2 27.0 3.0 1,034.7 Mean rainy day 0.9 2.3 4.9 7.8 13.8 13.4 13.7 16.5 18.2 12.1 3.8 0.8 108.2 Daily maximum 71.2 51.2 97.3 91.8 107.3 83.4 104.1 121.3 138.0 136.0 84.3 18.1 138.0 Number of days with Haze 28.8 27.7 29.2 24.0 7.7 2.4 1.1 1.0 1.8 9.7 16.4 25.9 175.7 Fog 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.2 0.2 0.1 0.0 0.6 Hail 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 Thunderstorm 0.2 2.2 5.6 11.9 15.1 9.0 9.0 8.4 12.7 7.4 1.0 0.0 82.5 Squall 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ที่มา : ขอมูลสถิติอากาศในรอบ 30 ป ี กรมอุตุนิยมวิทยา, 2544.

Page 12: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-18

ตารางที่ 3.3-2 สถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ป (พ.ศ.2514-2543) จังหวัดปราจีนบุร ี

CLIMATOLOGICAL DATA FOR THE PERIOD 1971-2000 Station PRACHIN BURI Elevation of station above MSL 4 Meters Index station 48430 Height of barometer above MSL 6 Meters Latitude 14’ 03” N Height of thermometer above ground 1.25 Meters Longitude 101’ 22” E Height of wind vane above ground 11 Meters Height of rain gauge 0.8 Meters

JAN FEB MAR APR MAY JUN JUL AUG SEP OCT NOV DEC ANNUAL

Pressure (Hectopascal) Mean 1,012.5 1,011.3 1,010.1 1,008.5 1,007.4 1,006.7 1,006.8 1,006.9 1,008.1 1,009.8 1,011.6 1,013.1 1,009.4 Ext. max. 1,023.1 1,022.1 1,022.3 1,018.2 1,014.7 1,013.1 1,013.3 1,013.6 1,015.8 1,018.1 1,020.4 1,023.1 1,023.1 Ext. min. 1,004.0 1,001.7 1,001.0 999.7 1,000.3 998.8 998.7 999.5 1,000.2 1,001.0 1,003.5 1,004.0 998.7 Mean daily range 5.1 5.5 5.6 5.3 4.5 3.9 3.8 4 4.4 4.5 4.4 4.7 4.6 Temperature (Celsius) Mean 26.6 28.2 29.6 30.1 29.3 28.7 28.4 28.1 28 27.9 27.2 26 28.2 Mean max. 32.9 34.4 36 36.3 34.7 33.2 32.6 32.2 32.1 32.2 32 31.7 33.4 Mean min. 20.2 22.4 24.1 25.2 25.2 25.1 24.9 24.8 24.7 24.4 22.6 20.1 23.6 Ext. max. 37.9 38.5 40.6 42.2 41.3 38.4 39.8 35.7 35.3 35.7 36 36.8 42.2 Ext. min. 12.7 14.5 15.3 21.3 21.5 21.6 22.2 22 20 19 14.5 11.5 11.5 Relative Humidity (%) Mean 62 65 67 72 77 80 81 82 82 78 68 61 73 Mean max. 83 86 88 90 92 93 93 94 94 91 84 80 89 Mean min. 40 42 44 50 59 64 66 67 67 62 52 43 55 Ext. min. 21 16 20 24 32 35 47 48 37 26 24 23 16 Dew Point (Celsius) Mean 18 20.2 22 23.7 24.5 24.7 24.5 24.5 24.5 23.3 20.2 17.5 22.3 Evaporation (mm.) Mean-pan 137.8 132.4 169 157.3 147 126.7 133 126 122.8 125.1 136.2 140.4 1,653.7 Cloudiness (0-10) Mean 3.2 4.1 4.8 5.7 7.1 8.1 8.2 8.6 8 6.3 4.2 3.1 6 Sunshine Duration (hr.) NO OBSERVATION Visibility (km.) 0700 L.S.T. 7 6.6 6.9 7.5 8.3 8.3 8.2 8.1 8.4 8.4 8.2 7.7 7.8 Mean 8 7.8 7.9 8.3 8.8 8.9 8.9 8.8 9.2 9.3 8.9 8.5 8.6 Wind (Knots) Mean wind speed 1.8 1.6 1.6 1.2 1.2 1 1 1.1 1.1 1.6 2.6 2.7 - Prevailing wind E E S S S W W W W E E E - Max. wind speed 30 40 40 55 35 37 35 30 35 23 32 25 55 Rainfall (mm.) Mean 7.7 17.1 50.1 128.2 213.7 251.8 270.4 377.7 355.7 163.9 35.1 6.9 1,878.3 Mean rainy day 1.1 2 4.9 9.5 16.8 18.8 19.8 23 20.9 14.8 4.2 0.7 136.5 Daily maximum 58.2 65 78 189 112.9 132.1 124.7 194.9 194 171.9 55.5 85.5 194.9 Number of days with Haze 27.6 25.7 26 18.7 8.9 2.5 0.8 0.4 1.7 5.1 17.8 24.5 159.7 Fog 0.3 0.5 0.3 0 0 0 0 0 0.1 0.2 0.2 0.3 1.9 Hail 0 0 0 0.1 0 0 0 0 0 0 0 0 0.1 Thunderstorm 0.3 1.3 5.2 11.4 15.9 11.8 12.1 13.4 13.9 8.6 1.2 0.1 95.2 Squall 0 0 0.1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0.1

ที่มา : ขอมูลสถิติอากาศในรอบ 30 ป ี กรมอุตุนิยมวิทยา, 2544.

Page 13: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-19

3) ความชื้นสัมพัทธ คาความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดปที่ตรวจวัดไดของจังหวัดนครราชสีมามีคาเฉล่ียตอป

คิดเปนรอยละ 70 โดยมีคาเฉล่ียสูงสุดและต่ําสุดเฉล่ียคิดเปนรอยละ 80 และ 60 ในเดือนกันยายนและมีนาคม ตามลําดับ สวนคาความชื้นสัมพัทธที่ตรวจวัดไดของจังหวัดปราจีนบุรีมีคาเฉล่ียตอปคิดเปนรอยละ 73 โดยมีคาเฉลี่ยสูงสุดและต่ําสุดเฉลี่ยคิดเปนรอยละ 82 และ 61 ในเดือนกันยายนและเดือนธันวาคม ตามลําดับ ซึ่งลักษณะดังกลาวทําใหบริเวณอุทยานแหงชาติเขาใหญ มีอากาศเย็นสบายและชุมชื้น เนื่องจากไอน้ําจากเมฆหมอกที่ปกคลุมอยูตลอดป ในชวงเดือนธันวาคม-มีนาคม

4) ปริมาณน้ําฝน

ปริมาณน้ําฝนรายปที่ตรวจวัดไดจากสถานีตรวจวัดสภาพอากาศจังหวัดนครราชสีมา พบวา มีคาเฉลี่ยของปริมาณน้ําฝนในรอบ 30 ปเทากับ 1,034.7 มิลลิเมตรตอป มีจํานวนวันฝนตก ตลอดปเฉลี่ย 108.2 วัน โดยมีปริมาณฝนตกเฉลี่ยมากที่สุดเทากับ 226.6 มิลลิเมตรในเดือนกันยายน และเฉล่ียนอยที่สุดเทากับ 3.0 มิลลิเมตรในเดือนธันวาคม สําหรับปริมาณฝนสูงสุดในรอบ 24 ชั่วโมง มีคาเฉล่ียเทากับ 138.0 มิลลิเมตรในเดือนกันยายน สวนสถานีตรวจวัดสภาพอากาศจังหวัดปราจีนบุรีสามารถวัดปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยในรอบ 30 ปไดเทากับ 1,878.3 มิลลิเมตรตอป มีจํานวนวันฝนตกตลอดปเฉลี่ยเทากับ 136.5 วัน โดยมีปริมาณฝนตกเฉลี่ยมากที่สุดเทากับ 377.7 มิลลิเมตรในเดือนสิงหาคม และเฉล่ียนอยที่สุดเทากับ 6.9 มิลลิเมตรในเดือนธันวาคม สําหรับปริมาณฝนสูงสุดในรอบ 24 ชั่วโมง มีคาเฉล่ียเทากับ 194.9 มิลลิเมตรในเดือนสิงหาคม

5) จํานวนเมฆ จํานวนเมฆสามารถวัดไดโดยแบงทองฟาออกเปน 10 สวน ซึ่งจากการตรวจวัดของสถานี

ตรวจวัดอากาศจังหวัดนครราชสีมา พบวา คาเฉล่ียในรอบ 30 ปมีคา 6.1 สวน เดือนที่เมฆปกคลุมทองฟามากที่สุดคือเดือนสิงหาคม มีคา 8.5 สวน สวนเดือนที่เมฆปกคลุมทองฟานอยที่สุดคือเดือนมกราคม มีคา 3.6 สวน สําหรับสถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดปราจีนบุรีมีคาเฉลี่ยในรอบ 30 ปเทากับ 6.0 สวน ซึ่งเดือนที่เมฆปกคลุมทองฟามากที่สุดคือเดือนสิงหาคม มีคาเทากับ 8.6 สวน และเดือนที่มีเมฆปกคลุมนอยที่สุดคือเดือนธันวาคม มีคาเทากับ 3.1 สวน

6) ทัศนวิสัย ทัศนวิสัย คือ ระยะทางไกลที่สุดที่สามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา และสามารถระบุ

ลักษณะของวัตถุนั้นๆ ไดในชวงเวลากลางวัน จากขอมูลของสถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดนครราชสีมา พบวา ทัศนวิสัยในการมองเห็นมีคาเฉล่ียในรอบ 30 ปเทากับ 7.9 กิโลเมตร โดยคาเฉล่ียสูงสุดคือเดอืนกรกฎาคมมีคาเทากับ 10.1 กิโลเมตร และคาเฉล่ียตํ่าสุดคือเดือนกุมภาพันธมีคาเทากับ 5.6 กิโลเมตร ทั้งนี้เนื่องจากมีฝุนละอองมากและลมพัดคอนขางแรงจึงทําใหมีการฟุงกระจายไดมาก สําหรับสถานีตรวจวัดสภาพอากาศจังหวัดปราจีนบุรีสามารถตรวจวัดทัศนวิสัยในการมองเห็นในรอบ 30 ปมีคาเฉลี่ยเทากับ 8.6 กิโลเมตร โดยคาเฉลี่ยสูงสุดคือเดือนตุลาคมมีคาเทากับ 9.3 กิโลเมตร และคาเฉล่ียตํ่าสุดคือเดือนกุมภาพันธมีคาเทากับ 7.8 กิโลเมตร

Page 14: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-20

5) ทิศทางและความเร็วลม จากขอมูลการวิเคราะหลมในรอบป 30 ป ของสถานีตรวจวัดสถิติภูมิอากาศจังหวัด

นครราชสีมา แสดงใหเห็นวาทิศทางของผิวลมพื้นเปนลมจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีระยะเวลาต้ังแตเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ รวมระยะเวลา 5 เดือน และลมที่พัดมาจากทางทิศใต โดยมีระยะเวลาต้ังแตเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม รวมระยะเวลา 3 เดือน และลมจากทิศตะวันตกเฉียงใตและทิศตะวันตกมีระยะเวลาตั้งแตเดือนมิถุนายนถึงกันยายน รวมระยะเวลา 4 เดือน ความเร็วลมเฉลี่ยมีคาอยูระหวาง 1.4-2.4 นอต ลมพัดแรงที่สุดที่วัดไดมีคาเทากับ 58 นอต ในชวงเดือนมิถุนายน สําหรับขอมูลของสถานีตรวจวัดสถิติภูมิอากาศจังหวัดปราจีนบุรี พบวา ทิศทางของผิวลมพื้นเปนลมจากทิศตะวันออก โดยมีระยะเวลาต้ังแตเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ รวมระยะเวลา 5 เดือน ลมจากทิศตะวันตกมีระยะเวลาตั้งแตเดือนมิถุนายนถึงกันยายน รวมระยะเวลา 4 เดือน และลมจากทิศใตมีระยะเวลาตั้งแตเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม รวมระยะเวลา 3 เดือน โดยมีความเร็วลมเฉลี่ยมีคาอยูระหวาง 1.0-2.7 นอต ลมพัดแรงที่สุดที่วัดไดมีคาเทากับ 55 นอต ในชวงเดือนเมษายน

3.3.3 สภาพธรณีวิทยา และแผนดินไหว

1) ลักษณะธรณีวิทยา

ลักษณะโครงสรางทางธรณีโดยทั่วไปของอุทยานแหงชาติเขาใหญเปนผลมาจากวัฏจักรของการทับถมของตะกอน การยกตัวของเปลือกโลก การกัดเซาะพังทลายของดินและหิน สลับกับการระเบิดของภูเขาไฟในยุคพาลีโอโซอิค (Paleozoic) หรือประมาณ 300-400 ลานปมาแลว

สําหรับพื้นที่บริเวณเขาใหญในชวงยุคพาลีโอโซอิค (Paleozoic) นั้น เกิดขึ้นจากการทับถมของตะกอนขนาดหนัก ซึ่งตะกอนเหลานี้ถูกพัดพามาตามลําน้ํา แลวไปทับถมบริเวณที่ราบชายฝงจนกระทั่งมีความสูงประมาณ 3,000 เมตร ซึ่งเปนจุดกําเนิดของการเกิดหินชุดกาญจนบุรี และนับวาเปนหินชั้นลางสุดของหินที่ปรากฏในพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ เมื่อพื้นที่โดยรอบไมไดทําการผลิตตะกอน ทําใหเกิดการชะลางพังทลายในบริเวณดังกลาวควบคูไปกับการยกตัวของเปลือกโลก ภายหลังปรากฏการณดังกลาวจึงทําใหหินปูนและหินดินดานเริ่มทับถมอยูตอนบนของหินชุดกาญจนบุรี เกิดเปนหินชุดใหมที่เรียกวา หินชุดราชบุรี ซึ่งมีลักษณะของการทับถมของซากสิ่งมีชีวิตทางทะเลปนอยูในเนื้อหิน มีอายุประมาณ 250 ลานป อยูในชวงยุคเปอรเมียน นอกจากนี้ยังพบหินที่เปนฐานรากซึ่งมีทั้งหินปูน หินทราย หินดินดาน และหินไดโดไรทอีกดวย (ดังรูปที่ 3.3-1)

จากแผนที่ธรณีวิทยามาตราสวน 1:250,000 ในพื้นที่อุทยานแหงชาติ สวนใหญจะเปน

หินทรายชั้นหนา เนื้อเปนแรควอรตซ และหินภูเขาไฟ โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 3.3-3

Page 15: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-22

ตารางที่ 3.3-3

สภาพธรณีวิทยาบริเวณอุทยานแหงชาติเขาใหญ

ชุดหิน หนวยหิน ลักษณะชนิดหิน ยุค ภูกระดึง โคราช หินซิลตสีน้ําตาลแกมแดง แดงแกมมวง สวนมากมีปูนและ

ไมกาปนอยู หินทรายสีเทาเขียวถึงน้ําตาลแกมเหลือง บางแหงมีหินกรวดมนเปนชั้นฐาน

จูแรสซิก

พระวิหาร โคราช หินทรายชั้นหนามีรอยชั้นขวาง เนื้อเปนแรควอรตซสีขาวน้ําตาล และน้ําตาลแกมเหลือง หินวิลตสีแดงแกมมวง และหินดินเหนียวสีเทาแกมขาว

จูแรสซิก

โคกกรวด โคราช หินซิลต และหินทรายสีแดงแกมเทา น้ําตาลแกมแดงและแดงเร่ือ และหินกรวดมนเม็ดเล็ก และมีหินปูนปนอยู

ครีเตเชียส

เขาขาด ราชบุรี หินปูนสีดํา เทาเขมจนถึงเทาออนบางสวนเปนหินปูนตกผลึกใหม และหินปูนเนื้อดินกับหินโดโลไมต มักมีหินเชิรตที่เปนกระเปาะและเปนชั้นดินแทรก

เพอรเมียน

ซับบอน ราชบุรี หินทราย หินซิลต หินดินดาน ปูนเซิรตและหินเซิรตสีเทา น้ําตาลออนชั้นบางๆ สลับดวยหินปูนสีเทา บางแหงเปนหินฟลไลตและหินซิลต

เพอรเมียน

หินภูเขาไฟเขาใหญ - หินภูเขาไฟแยกประเภทไมได ประกอบดวยหินไรโอไลต หินแอนดีไซต หินทัฟฟที่มีสวนประกอบทางไรโอไลตและแอนดีไซต กับหินกรวดภูเขาไฟและหินกรวดเหล่ียมภูเขา

ไตรแอสซิก

ตะกอนในที่ราบลุม - กรวดทรายและดินที่น้ําพัดพามาสะสมกันในที่ราบน้ําทวมถึงและหนองน้ําทั่วไป

ควอเทอรนารี

ตะกอนตามขั้นบันได - กรวดและทรายตามที่ราบเปนหล่ัน บางแหงเปนศิลาแลง ดินแลงและคราบปูน

ควอเทอรนารี

หินอัคนีเขาสอยวอย - หินอัคนีแยกประเภทไมได ประกอบดวย หินแกรโนไดโอไรต หินฮอรนเบลนแกรนิต หินไบโอไทตแกนิต หิน ครอตซมอนไซไนต และหินไซโนไดโอไรต และบางแหงเปนหินแกรนิตที่ถูกบีบ

ไตรแอสซิก

ที่มา: ดัดแปลงจากบริษัท จี โอ เอเซีย จํากัด, 2545: 91

2) แผนดินไหว

รอยเลื่อนมีพลัง (Active Fault) ทั้งภายในและนอกประเทศที่เปนสาเหตุของการเกิดแผนดินไหวอยางรุนแรงในประเทศไทยมีจํานวนทั้งหมด 13 รอยเลื่อน (ดังรูปที่ 3.3-2) ไดแก รอยเลื่อนแมจัน รอยเลื่อนแมทา รอยเลื่อนเถิน รอยเลื่อนปว รอยเลื่อนอุตรดิตถ รอยเลื่อนแมฮองสอน รอยเลื่อนพะเยา รอยเลื่อนเมย รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อนเจดียสามองค รอยเลื่อนระนอง รอยเลื่อนคลองมะรุย และรอยเลื่อนทาแขก ซึ่งพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญไมอยูในแนวเขตของรอยเลื่อนมีพลัง

Page 16: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-24

จากแผนที่ความเสี่ยงบริเวณเสี่ยงภัยแผนดินไหวของประเทศไทย ของกองธรณีวิทยา สิ่งแวดลอมและธรณีพิบัติภัย กรมทรัพยากรธรณี ไดปรับปรุงเมื่อ พ.ศ. 2548 (ดังรูปที่ 3.3-3) โดยกําหนดใหมีระดับความเสี่ยงภัย 4 เขต ไดแก เขต 0 ไมมีความเสียหายใดๆ (ความรุนแรงนอยกวา III เมอรคัลลี) เขต 1 ความเสียหายบาง (ความรุนแรง III-V เมอรคัลลี) เขต 2ก ความเสียหายในระดับนอยถึงปานกลาง (ความรุนแรง V-VII เมอรคัลลี) และเขต 2ข ความเสียหายในระดับปานกลาง (ความรุนแรง VII-VIII เมอรคัลลี) สําหรับพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญในเขตพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรีและนครราชสีมาต้ังอยูเขต 0 และในเขตพื้นที่จังหวัดนครนายกและจังหวัดสระบุรีต้ังอยูในเขต 1 ตามการแบงเขตเสี่ยงภัยแผนดินไหวของประเทศไทย หากมีเหตุการณแผนดินไหวเกิดขึ้น ความรุนแรงสูงสุดนาจะไมเกินระดับ V เมอรคัลลี ซึ่งเปนความรุนแรงที่กอใหเกิดความเสียหายบาง 3.3.4 ทรัพยากรดิน ลักษณะดินบริเวณพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ ซึ่งเปนเทือกเขาสลับซับซอนนั้น มีลักษณะทั้งดินต้ืนและดินลึกปะปนกัน ดินที่พบมีทั้งดินทรายและดินเหนียว หรือดินรวนเหนียวปนทรายหรือ ปนกรวดสลับกัน บริเวณนี้สวนใหญจะเปนปาและทุงหญา สวนตามเชิงเขาสวนใหญเปนดินที่เกิดจากการทับถมกันของวัตถุตนกําเนิดที่เรียกวา colluvial complex โดยบริเวณพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ มีลักษณะดิน (ดังตารางที่ 3.3-4 และรูปที่ 3.3-4) ดังนี้ 1. บริเวณดานทิศเหนือของพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ สวนใหญเปนดินปากชอง และ ดินมวกเหล็ก โดยดินปากชองเกิดจากการทับถมของตะกอนที่สลายตัวมาจากหินดินดานและหินปูน ดินมีการระบายน้ําดี เก็บความชื้นไดดี ความอุดมสมบูรณปานกลาง ชั้นดินลึกสวนใหญเปนดินพวก reddish brown laterritic ที่มีสวนผสมของดินเหนียวที่ละเอียด สวนดินมวกเหล็กเกิดจากการทับถมของตะกอนที่สลายตัวมาจากหินดินดาน หินชนวนและหินปูน เปนดินพวก loamy skeletal สีน้ําตาลเขม หรือสีน้ําตาลปนเทา ชั้นดินต้ืนมีการระบายน้ําดี ความอุดมสมบูรณของดินคอนขางต่ําและงายตอการชะลางพังทลาย

2. บริเวณดานทิศตะวันตกของพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ มีลักษณะคลายคลึงกับ ดินมวกเหล็ก แตเนื่องจากพื้นที่มีความลาดชันสูงเก็บความชื้นไมดี ชั้นดินต้ืน และมีความอุดมสมบูรณตํ่ากวาทางดานทิศเหนือ

3. บริเวณดานทิศใตสวนใหญดินเปนกลาง ซึ่งเกิดจากการทับถมของตะกอนดิน ชั้นดินดานลางมีสวนผสมของซากสิ่งมีชีวิตทางทะเลเปนดินพวก red-yellow podzolic และ reddish brown laterritic soils ที่มีสวนผสมของดินเหนียวและทรายเปนสวนใหญ การระบายน้ําไมดีนัก ความอุดมสมบูรณของดินปานกลางและงายตอการชะลางพังทลาย

4. บริเวณดานทิศตะวันออก และตอนกลางของพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ พบวามีดินหลายชุดปะปนกันอยู เชน ดินดอนไร ดินตะกอน ดินเชียงใหม ดินโคราช ดินปากชอง และดินทามวง ซึ่งสวนใหญเปนพวก red-yellow podzolic และ reddish brown laterritic soils ที่มีการทับถมของตะกอนที่สลายตัวมาจากหินทรายมาเปนเวลานาน ดินมีการระบายน้ําปานกลางถึงดี ชั้นดินมีทั้งต้ืนและลึกสลับกัน และมีความอุดมสมบูรณปานกลาง

Page 17: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-27

ตารางที่ 3.3-4 ชุดดินบริเวณพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ

สัญลักษณ ชุดดิน

ชื่อชุดดิน พื้นท่ี (ตร.ม.) คิดเปนรอยละ

A.C. หนวยผสมของดินตะกอน (Alluvial Complex) 0.14 0.006546 A.U. ดินตะกอนที่ไมสามารถจําแนกได (Undifferentiated alluvium) 4.19 0.193405 Cb ดินชุดชลบุรี (Chon Buri series) 0.09 0.004029 Cm ดินชุดเชียงใหม (Chiang Mai series) 0.07 0.003328 Dr ดินชุดดอนไร (Don Rai series) 0.91 0.041914 G ดินที่มีการกัดกรอนเปนรองลึก (Gullied Land) 0.73 0.033528 Kl ดินชุดแกลง (Klaeng series) 17.19 0.793882 Kt ดินชุดโคราช (Korat series) 7.40 0.341542 Kt/Re หนวยสัมพันธของดินชุดโคราช/ดินชุดรอยเอ็ด

(Korat/Roi Et association) 0.13 0.006122

Ly/Ty หนวยสัมพันธของดินชุดลาดหญา/ดินชุดทายาง (Lat Ya/Tha Yang association)

1.07 0.049264

Ml ดินชุดมวกเหล็ก (Muak Lek series) 5.06 0.233887 Ml/Tk หนวยสัมพันธของดินชุดมวกเหล็ก/ดินชุดตาคลี

(Muak Lek/Takhli association) 3.30 0.152423

Nn ดินชุดนครพนม (Nakhon Phanom series) 21.56 0.995623 Pc ดินชุดปากชอง (Pak Chong series) 4.66 0.215269 Re ดินชุดรอยเอ็ด (Roi Et series) 0.32 0.014597 Re-ca ดินคลายดินชุดรอยเอ็ดที่เปนดาง (Roi Et,calcareous variant) 7.88 0.363666 Re-l ดินคลายดินชุดรอยเอ็ดที่มีเนื้อเปนทรายแปง (Roi Et,loamy variant) 0.34 0.015786 Rn ดินชุดเรณู (Renu series) 6.32 0.291807 SC พ้ืนที่ลาดชันเชิงซอน (Slope Complex) 2,057.83 95.02581 Suk ดินชุดสตึก (Satuk series) 23.16 1.069377 Tm ดินชุดทามวง (Tha Muang series) 1.30 0.060007 Tng-us ดินคลายดินชุดตรังแตมีสีเขม (Trang, ustic variant) 0.35 0.01636 Tw/Tw-lat หนวยสัมพันธของดินชุดทับกวาง/ดินคลายดินชุดทับกวางแตมีสีแดง

(Thap Kwang/Thap Kwang, lateritic varient association) 0.93 0.04279

Wn ดินชุดวาริน (Warin series) 0.63 0.028981 รวมพื้นท่ี 2,165.55 100.00

Page 18: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-28

3.3.5 การใชประโยชนที่ดิน จากการแปลภาพถายดาวเทียม Landsat 5 TM Band combination 4 5 3 (RGB) พ.ศ.2543

พบวา ปจจุบันพื้นที่ในเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญเปนพื้นที่ปาที่ยังคงความสมบูรณ โดยมีพื้นที่ปาดิบแลงมากที่สุดเทากับ 724,648.66 ไร หรือคิดเปนรอยละ 53.54 รายละเอียดดังตารางที่ 3.3-5 และรูปที่ 3.3-5

ตารางที่ 3.3-5 การใชประโยชนที่ดินในเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญ

รูปแบบการใชที่ดิน พ้ืนที่ (ไร) รอยละ

ปาดิบเขา 1,894.86 0.14 ปาดิบชื้น 335,119.55 24.76 ปาดิบแลง 724,648.66 53.54 ปาเบญจพรรณ 148,475.83 10.97

ปาผลัดใบเสื่อมโทรม 86,080.79 6.36 สวนปาผสม 11,910.55 0.06 ทุงหญา 44,529.21 0.88 แหลงน้ํา 812.08 3.29

รวม 1,353,471.53 100.00

3.3.6 ทรัพยากรน้ํา

เสนทางน้ําสวนใหญในพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ จะเปนทางน้ําขนาดเล็ก ทําใหในชวงฤดูแลงน้ํามีปริมาณนอยมาก โดยมีลําน้ําที่สําคัญ ไดแก แมน้ําใสใหญ หวยใสนอย คลองชางปาคลาน แมน้ําลําตะคอง และคลองมวกเหล็ก ซึ่งลําน้ําในเขตอุทยานแหงชาติ ดังที่กลาวมาแลวขางตนทําใหเกิดแมน้ําหลายสายที่เอื้อประโยชนในดานตางๆ ไดแก พื้นที่ดานทิศใตมีแมน้ําปราจีนบุรี และแมน้ํานครนายก ซึ่งแมน้ําทั้งสองสายจะไหลไปรวมกันที่จังหวัดฉะเชิงเทรากลายเปนแมน้ําบางปะกง โดยมีความสําคัญตอการเกษตร และระบบเศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาคนี้ สําหรับดานทิศเหนือมีแมน้ํา ลําตะคอง และแมน้ําลําพระเพลิงซึ่งไหลหลอเลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรมของพื้นที่ราบสูงโคราช และไปบรรจบกับแมน้ํามูล ซึ่งเปนแมน้ําสายสําคัญของภาคอีสานตอนลางแลวไหลลงสูแมน้ําโขงตอไป นอกจากนี้ทางดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือยังมีหวยมวกเหล็ก ซึ่งมีปริมาณน้ําไหลสม่ําเสมอตลอดป และใหประโยชนตอพื้นที่การเกษตรอีกดวย

นอกจากนี้ลําน้ําตางๆ ในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ ยังกอใหเกิดแหลงทองเที่ยว

ที่นาสนใจ ซึ่งเปนสิ่งหนึ่งที่ดึงดูดใหนักทองเที่ยวเขามาเยี่ยมชม นั่นคือน้ําตกตางๆ ที่กระจายอยูทั่วไป เชน น้ําตกเหวนรก น้ําตกเหวสุวัต น้ําตกผากลวยไม น้ําตกกองแกว น้ําตกสาริกา และน้ําตกนางรอง เปนตน และมีแหลงน้ําขนาดเล็กที่สําคัญ ซึ่งถือเปนแหลงที่อยูอาศัยและแหลงหากินของสัตวชนดิตางๆ ไดแก หนองผักชี หนองขมิ้น บึงไผ และคลองอีเฒา เปนตน

Page 19: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-30

สําหรับแหลงน้ําธรรมชาติในพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ ประกอบดวย 1. แมน้ําปราจีนบุรี และแมน้ํานครนายก อยูในพื้นที่ดานทิศใตของอุทยานแหงชาติเขาใหญ ซึ่งมีความสําคัญตอการเกษตรกรรมและระบบเศรษฐกิจและสังคมของภูมิภาคนี้ แมน้ําทั้ง 2 สายนี้ พบกันที่จังหวัดฉะเชิงเทรา กลายเปนแมน้ําบางปะกงแลวไหลลงสูอาวไทย 2. แมน้ําลําตะคอง และลําพระเพลิง อยูในพื้นที่ดานทิศเหนือ ไหลไปหลอเลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรมของที่ราบสูงโคราช ไปบรรจบกับแมน้ํามูล ซึ่งเปนแหลงน้ําที่สําคัญของภาคอีสานตอนลาง และไหลลงสูแมน้ําโขง 3. หวยมวกเหล็ก ซึ่งอยูทางดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มีปริมาณน้ําไหลตลอดทั้งป และใหประโยชนทางดานการเกษตร โดยเฉพาะการปศุสัตวของภูมิภาคนี้ หวยมวกเหล็กจะไหลลงสูแมน้ําปาสัก ที่อําเภอมวกเหล็ก

3.3.7 การจัดการลุมน้ํา ลักษณะภูมิประเทศของอุทยานแหงชาติเขาใหญ เปนแหลงกําเนิดของลุมน้ําที่สําคัญ 4 ลุมน้ําหลัก ซึ่งหลอเล้ียงพื้นที่ในภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม ดังนี้

1. ลุมน้ําปราจีนบุรี มีพื้นที่มากที่สุดถึง 739,878.6 ไร คิดเปนรอยละ 54.58 ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของหวยที่สําคัญๆ ที่ไหลออกมาจากเขาใหญ เชน ลําพระยาธาร คลองหนองแกว ใสนอยและ ใสใหญ ที่อําเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี แลวไหลไปบรรจบแมน้ํานครนายกเกิดเปนแมน้ําบางปะกง ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา สําหรับปริมาณน้ําทั้งหมดที่เขาใหญระบายน้ําใหแกลุมน้ํานี้พบวา มีปริมาณมากกวา 790 ลานลูกบาศกเมตรตอป มีพื้นที่รองรับน้ําฝนขนาด 1,122 ตารางกิโลเมตร

2. ลุมน้ํานครนายก อยูทางทิศตะวันตกเฉียงใตของอุทยานแหงชาติเขาใหญในเขตจังหวัดนครนายก เกิดจากการรวมตัวของลําหวยสําคัญๆ หลายสาย เชน ลําหวยสาริกา ลําหวยนางรอง ลําหวย ลํากระตุก ลําหวยทาดาน และลําหวยสมพุงใหญ ไหลผานกลางเมืองนครนายกไปบรรจบกับแมน้ําปราจีนบุรี เปนแมน้ําบางปะกงที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ปริมาณน้ําทั้งหมดที่เขาใหญระบายน้ําใหแกลุมน้ํานครนายกมีประมาณ 813 ลานลูกบาศกเมตรตอป มีพื้นที่รองรับน้ําฝนขนาด 660 ตารางกิโลเมตร

3. ลุมน้ําลําตะคอง อยูทางตอนเหนือของอุทยานแหงชาติเขาใหญ แมน้ําที่สําคัญคือ ลําตะคอง แมน้ํานี้จะไหลลงสูแมน้ํามูลในที่สุด เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของลุมน้ําลําตะคองไดรับปริมาณน้ําฝนนอย มีการคายระเหยคอนขางสูง และพื้นที่รับน้ํามีไมมากเม่ือเทียบกับลุมน้ําทางทิศใตของอุทยานแหงชาติเขาใหญ น้ําที่ลุมน้ํานี้ระบายลงสูตอนลางที่อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา จึงมีปริมาณคอนขางต่ําคือประมาณ 104 ลานลูกบาศกเมตรตอป พื้นที่รองรับน้ําฝนมีขนาด 201 ตารางกิโลเมตร

4. ลุมน้ําลําพระเพลิง อยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่เขาใหญ โดยมีแมน้ําลําพระเพลิงเปนแมน้ําสายหลัก เนื่องจากสภาพภูมิประเทศคลายคลึงกับลุมน้ําลําตะคอง และสภาพปาถูกบุกรุกทําลายไปมาก น้ําที่ไดจากลุมน้ํานี้จึงมีปริมาณที่ตํ่ามาก คือประมาณ 19 ลานลูกบาศกเมตรตอป เมือ่เทยีบกบัลุมน้ําอื่นๆ ในพื้นที่เขาใหญ มีพื้นที่รองรับน้ําฝนขนาด 114 ตารางกิโลเมตร

Page 20: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-31

สําหรับคุณภาพของทั้ง 4 ลุมน้ําดังที่กลาวมาแลวขางตนนั้น โดยทั่วไปอยูในเกณฑที่สามารถนําไปใชประโยชนเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมไดเปนอยางดี แตถานํามาใชเพื่อการบริโภคตองผานการปรับปรุงคุณภาพน้ํากอน

ชั้นคุณภาพลุมน้ํา ในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ สามารถแบงพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําไดดังตารางที่ 3.3-6

และรูปที่ 3.3-6

ตารางที่ 3.3-6 ชั้นคุณภาพลุมน้ําภายในพื้นที่อทุยานแหงชาติเขาใหญ

คุณภาพลุมน้ําชั้น 1A พ้ืนที่ปาตนน้ํา มีพ้ืนที่ 878,132.33 ไร คิดเปนรอยละ 64.88 คุณภาพลุมน้ําชั้น 1B พ้ืนที่ปาตนน้ําลําธารที่ถูกทําลาย มีพ้ืนที่ 28,828.94 ไร คิดเปนรอยละ 2.13 คุณภาพลุมน้ําชั้น 2 พ้ืนที่ซึ่งสามารถทําประโยชนไดแตตองไมมีผลกระทบตอพ้ืนที่ตนน้ําลําธาร มีจํานวน

พ้ืนที่ 145,092.15 ไร คิดเปนรอยละ 10.72 คุณภาพลุมน้ําชั้น 3 พ้ืนที่ซึ่งประกอบกิจกรรมบางอยางไดรวมทั้งการเกษตรบางชนิด มีพ้ืนที่ 221,292.60 ไร

คิดเปนรอยละ 16.35 คุณภาพลุมน้ําชั้น 4 พ้ืนที่สามารถปลูกพืชไรได มีพ้ืนที่ 66,049.41 ไร คิดเปนรอยละ 4.88 คุณภาพลุมน้ําชั้น 5 พ้ืนที่ซึ่งสามารถประกอบกิจกรรมตางๆ ไดรวมทั้งการกสิกรรมมีพ้ืนที่ 14,076.10 ไร

คิดเปนรอยละ 1.04 ที่มา : บริษัท จี โอ เอเชีย,2544.

ซึ่งในแตละเขตการใชประโยชนที่ดินตามหลักการจัดชั้นคุณภาพลุมน้ํานั้นไดกําหนดลักษณะและมาตรการไวดังนี้

(1) พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1A พื้นที่ภายในลุมน้ํามีศักยภาพเหมาะสมเปนพื้นที่ตนน้ํา

โดยเฉพาะ มีความลาดชันสูง ต้ังแตรอยละ 50 ขึ้นไป ดินมีสมรรถนะการพังทลายสูง ซึ่งมีมาตรการการใชที่ดิน ดังนี้

- หามมิใหมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นที่ปาไมเปนรูปแบบอื่นอยางเด็ดขาด เพื่อรักษาไวเปนพื้นที่ตนน้ําลําธารอยางแทจริง

(2) พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1B พื้นที่ภายในลุมน้ํามีศักยภาพเหมาะสมเปนพื้นที่ตนน้ํา

สภาพปาสวนใหญในพื้นที่ถูกทําลายดัดแปลงหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาการใชที่ดินรูปแบบอื่น มีความลาดชันสูง ต้ังแตรอยละ 50 ขึ้นไป ดินมีสมรรถนะการพังทลายสูง ซึ่งมีมาตรการการใชที่ดิน ดังนี้

- หากมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใดๆ ในพื้นที่จะตองดําเนินการวางแผนการใชที่ดินใหสอดคลองกับสภาพธรรมชาติ ในลักษณะที่เอื้ออํานวยตอการรักษาดุลยภาพของลักษณะทางนิเวศวิทยาและการอนุรักษธรรมชาติ

- กรณีตองมีการกอสรางถนนผานเขาไปในพื้นที่ลุมน้ํา หรือใหมีการทําประโยชนเหมืองแร หนวยงานที่รับผิดชอบในโครงการฯ จะตองดําเนินการปฏิบัติงานในระหวางดําเนินการและภายหลังเสร็จสิ้นโครงการฯ เพื่อมิใหปริมาณตะกอนลงสูแหลงน้ําจนทําใหเกิดอันตรายแกสัตวน้ําและไมสามารถนํามาอุปโภคและบริโภคได

Page 21: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-33

(3) พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 2 พื้นที่ภายในลุมน้ํามีศักยภาพเหมาะสม ในการเปนตนน้ํา ลําธาร และสามารถนํามาใชประโยชนเพื่อกิจการที่สําคัญได เชน การทําไมและเหมืองแรได ลักษณะภูมิประเทศเปนพื้นที่ลาดเขาที่มีแนวยาวปานกลาง ลักษณะรองน้ําคอนขางกวาง สภาพปาเปนปาดงดิบ หรือปาเสื่อมโทรม ความลาดชันอยูระหวางรอยละ 35-50 ลักษณะทางธรณีวิทยาประกอบดวย หินที่ ใหกําเนิดดินงายตอการถูกชะลางพังทลาย ดินต้ืนถึงปานกลาง ความอุดมสมบูรณตํ่าถึงปานกลางและมีสมรรถนะการพังทลายสูง มาตรการการใชที่ดิน มีดังนี้

- การใชพื้นที่ทํากิจการปาไมและเหมืองแร ควรอนุญาตได แตจะตองมีการควบคุมอยางเขมงวดและเปนไปตามระเบียบราชการ เพื่อมิใหเกิดความเสียหายแกพื้นที่ตนน้ําลําธารและพื้นที่ตอนลางอยางเด็ดขาด

- การใชที่ดินเพื่อกิจกรรมดานการเกษตรควรหลีกเลี่ยงอยางเด็ดขาด และใหหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการปลูกปาทดแทนในพื้นที่ที่ถูกทําลาย

(4) พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 3 เปนพื้นที่ที่สามารถใชประโยชนไดทั้งกิจกรรมทําไมและ

เหมืองแร และปลูกไมยืนตน พื้นที่สวนใหญมีความลาดชันระหวางรอยละ 25-35 ลักษณะทางธรณีวิทยาประกอบดวย หิน หรือตะกอนที่ทับถมจากแรงโนมถวงของโลกที่ใหกําเนิดดินคอนขางยากตอการถูกชะลางพังทลาย ความลึกของดินปานกลาง ความอุดมสมบูรณปานกลางถึงสูง สมรรถนะการพังทลายปานกลาง โดยมีมาตรการการใชที่ดิน ดังนี้

- การใชพื้นที่ทํากิจการปาไม เหมืองแร การเกษตร หรือกิจกรรมอื่นๆ อนุญาตใหใชไดแตตองมีการควบคุมอยางเขมงวดและเปนไปตามหลักอนุรักษดินและน้ํา

- ในกรณีใชที่ดินเพื่อการเกษตรนั้น บริเวณที่ดินลึกมากกวา 50 เซนติเมตร ใหใชเปนพื้นที่ปลูกไมผล ไมยืนตนไดตามความเหมาะสม และบริเวณที่ดินมีความลึกนอยกวา 50 เซนติเมตร ซึ่งไมเหมาะกับกิจกรรมทางการเกษตร แตควรใชเปนพื้นที่ปาไมหรือทุงหญาเลี้ยงสัตว

(5) พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 4 สภาพพื้นที่เปนสภาพปาถูกบุกรุกแผวถาง เพื่อการเกษตรกรรมประเภทพืชไรเปนสวนมาก มีความลาดชันระหวางรอยละ 6-25 มีลักษณะทางธรณีวิทยาประกอบดวย หินอัคนีหรือตะกอนที่ใหกําเนิดดินยากตอการพังทลาย ดินคอนขางลึกถึงลึกมาก ความอุดมสมบูรณคอนขางสูง มีมาตรการการใชที่ดินได ดังนี้

- การใชพื้นที่ทําเหมืองแร ปาไมและกิจการอื่นๆ ใหอนุญาตไดตามปกติ โดยตองปฏิบัติตามระเบียบของราชการอยางเครงครัด

- การใชพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมบริเวณที่มีความลาดชันรอยละ 18-25 และดินลึกนอยกวา 50 เซนติเมตร สมควรเปนพื้นที่ปาไมและปลูกไมผล สําหรับพื้นที่มีความลาดชันระหวาง รอยละ 6-18 เหมาะสมใชเพาะปลูกพืชไรนา โดยมีมาตรการอนุรักษดินและน้ํา

(6) พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 5 เปนพื้นที่ลุมน้ําที่มีสภาพเปนที่ราบถึงที่ราบลุมหรือเนินลาดเอียงเล็กนอย สวนใหญปาไมไดถูกรบกวนแผวถางเพื่อประโยชนดานเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทํานา การทํากิจกรรมใดๆ ไมจําเปนตองมีมาตรการปองกันการชะลางพังทลายของดิน สวนมาตรการการใชที่ดินเพื่อกิจการเหมืองแร การเกษตร ปาไม และกิจกรรมอื่นๆ ใหอนุญาตไดตามปกติ การใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมจะตองปฏิบัติ ดังนี้

Page 22: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-34

- บริเวณที่มีดินลึกนอยกวา 50 เซนติเมตร ควรใชเปนพื้นที่ในการปลูกพืชไร ปาไม ไมผลและทุงหญาเลี้ยงสัตว บริเวณดินลึกมากกวา 50 เซนติเมตร ควรใชเปนพื้นที่ปลูกขาว และพชืไร และจะตองระมัดระวังดูแลการใชที่ดินอยางสม่ําเสมอในกรณีที่การใชที่ดินในชั้นคุณภาพนี้เพื่อการอุตสาหกรรม ควรหลีกเลี่ยงพื้นที่ที่มีศักยภาพทางการเกษตรสูง

หมายเหตุ หนวยงานที่เกี่ยวขอในท่ีนี้ หมายถึง กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง

อุตสาหกรรม กระทรวงกลาโหม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการพลังงาน กระทรวงคมนาคม และสํานักนายกรัฐมนตรี

3.3.8 ระบบสาธารณูปโภค

ชุมชนรอบๆ เขตพื้นที่อุทยานแหงชาติ สวนใหญมีระบบไฟฟาใช เนื่องจากอุทยานแหงชาติ

เขาใหญ ต้ังอยูใกลเขตเมืองทําใหรัฐสามารถอํานวยความสะดวกดานการใหบริการไฟฟาแกหมูบานตางๆ และสําหรับการประปาหมูบาน พบวาทุกชุมชนมีน้ําประปาใช และยังมีศาสนสถานเกือบทุกหมูบาน

3.3.9 การเกษตรและอุตสาหกรรม

1) การเกษตร

ชุมชนที่อาศัยอยูรอบแนวเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ สวนใหญประกอบอาชีพหลักคือการทําเกษตรกรรม ไดแก ทํานา ทําไรและสวน พืชหลักที่ปลูกไดแก ขาว ขาวโพด และถั่วตางๆ เปนตน

2) การปศุสัตว

โดยทั่วไปในจังหวัดสระบุรีและนครราชสีมามีการเลี้ยงปศุสัตวคลายคลึงกัน ปศุสัตวที่

สําคัญ คือ โคเนื้อ กระบือ สุกร ไกเนื้อและไกไข

3) การอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรีมีการทําอุตสาหกรรมหลายชนิด อุตสาหกรรมที่สําคัญ คือ เหมืองแร การระเบิดและการยอยหิน อุตสาหกรรมโคนม โคเนื้อ จังหวัดนครนายกมีการทําอุสาหกรรมทองถิ่นไดแก การสีขาวและการทํามันเสน สวนจังหวัดนครราชสีมามีการอุตสาหกรรมขนาดตางๆ กระจายอยูทั่วไป เชน อุตสาหกรรมสิ่งทอ และการทํานาเกลือ เปนตน 3.3.10 ทรัพยากรปาไม

อุทยานแหงชาติเขาใหญมีลักษณะภูมิประเทศที่มีลักษณะเดน คือ พื้นที่ดานตะวันออกของเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งสูงโดดมาจากที่ราบภาคกลางแลวกอตัวเปนแนวเขตที่ราบสูงโคราช มียอดเขารมเปนยอดเขาสูงสุดคือ 1,351 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง สวนเขาอื่นที่สําคัญก็มีความสูงใกลเคียงกันคือ เขาแหลม เขาเขียว เขาสามยอด เขาฟาผา เขากําแพง เขาสมอปูน และเขาแกว ซึ่งมีความสูงเทากับ 1,326, 1,292, 1,142, 1,078, 875, 805 และ 802 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง ตามลําดับ ครอบคลุมไปดวย ปาดิบชื้น (Moist evergreen forest) เปนสวนใหญ อีกทั้งมีปาประเภทอื่นๆ ไดแก ปาเบญจพรรณ (Mixed deciduous forest) ปาดิบเขา (Hill evergreen forest) ปาดิบแลง (Dry evergreen forest) และทุงหญา (Grassland) ผสมผสานกัน เหมาะสมเปนสถานที่พักผอนหยอนใจ ทางธรรมชาติที่สําคัญมาก เทาเทียมกับการเปนตนน้ําลําธารที่หลอเลี้ยงพื้นที่ เกษตรกรรม

Page 23: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-35

อุตสาหกรรม และการใชสอยของชุมชนในภูมิภาคโดยรอบ ชนิดพืชพันธุในอุทยานแหงชาติเขาใหญมีมากมายหลายประเภท ต้ังแตไมยืนตน เฟน กลวยไม เห็ดรา ไลเคน มอสส ไดมีการศึกษาประเมินพันธุไมในอุทยานแหงชาติเขาใหญมีจํานวน 2,000–2,500 ชนิด โดยไดรับการยืนยันจากรายงานการศึกษาของ เต็ม สมิตินันท (2520) พบวา มีไมยืนตน จํานวน 219 ชนิด กลวยไม จํานวน 120 ชนิด เฟน จํานวน 145 ชนิด และไลเคนที่ผากลวยไมและเขาเขียว จํานวน 108 ชนิด ทั้งนี้เพราะพื้นที่แหงนี้เปนจุดรวมการแพรกระจายพันธุของพืชตางๆ

จากการศึกษาขอมูลทุติยภูมิ พบวา สภาพทรัพยากรปาไมในเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญ

สามารถแบงออกไดเปน ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง ปาดิบชื้น ปาดิบเขา ทุงหญา และปารุนสอง (อยูระหวางการทดแทน) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. ปาเบญจพรรณ (Mixed deciduous forest) ลักษณะของปาชนิดนี้พบปรากฏอยูบนพื้นที่ลาดต่ําทางดานทิศเหนือ ซึ่งมีระดับความสูง

ระหวาง 200-600 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง ประกอบดวยไมยืนตนประเภทผลัดใบ เชน มะคาโมง (Afzelia xylocarpa) ประดูปา (Pterocarpus macrocarpus) ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) ตะเคียนหนู (Annogeissus acuminata) แดง (Xylia kerrii) นนทรี (Peltophorum inermae) ซอ (Gmellina arborea) สมอพิเภก (Terminalia bellerica) ตะคร้ํา (Garuga pinnata) พืชชั้นลางมีไมไผและหญาตาง ๆรวมทั้งกลวยไมดวย ในฤดูแลงปาชนิดนี้จะมีไฟลุกลามเสมอ และตามพื้นปาจะมีหินปูนผุดขึ้นอยูทั่วๆ ไป

2. ปาดิบแลง (Dry evergreen forest) ลักษณะปาชนิดนี้มีอยูทางทิศตะวันออก ซึ่งเปนที่ราบลูกเนินในระดับความสูง 200-600

เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง ไมชั้นบน ไดแก ยางนา (Dipterocarpus alatus) พันจํา (Anisoptera costata) เคี่ยมคะนอง (Shorea henryyana) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) ตะเคียนหิน (H. ferrae) ปออีเกง (Pterocymbium tinctorium) สะตอ (Parkia speciosa) พันซาด (Erythophleum teysmannii) และคอแลน (Nephelium hypoleucum) เปนตน ไมยืนตนชั้นรองมี กะเบากลัก (Hydnocarpus ilicifolius) ตาเสือ (Chisocheton macrophyllus) และกัดลิ้น (Walsura wallichii) เปนตน พืชจําพวกปาลม (Palmae) คือหมากนางลิง (Areca triandra) และลาน (Corypha leccontei) พืชชั้นลางประกอบดวยพืชในวงศขิงขา (Zingeberaceae) ขึ้นปะปนกับกลวยปา (Musa acuminata) และเตย(Pandanus sp.) เปนตน

3. ปาดิบชื้น (Moist evergreen forest) ลักษณะปาชนิดนี้เปนปาที่อยูในระดับความสูง 400-1,000 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง

จะมีชนิดไมคลายคลึงกับปาดงดิบแลง เพียงแตวาไมวงศยาง (Dipterocarpaceae) ขึ้นอยูเปนจํานวนมาก เชน ยางกลอง (Dipterocarpus dyeri) ยางขน (D. baudii) ยางเสียน (D. gracilis) และ กระบาก (Anisoptera costata) โดยเฉพาะพื้นที่ถูกรบกวนจะพบชมพูปา (Syzygium megacarpum) และกระทุมน้ํา (Mitragyna diversifolia) ขึ้นอยูทั่วไป พันธุไมผลัดใบ เชน ปออีเกง (Pterocymbium javanicum) สมพง (Tetrameles nudiflora) และกวาว (Haldina cordifolia) แทบจะไมพบเลย บริเวณริมลําธารมักจะมีไผลําใหญๆ คือ ไผลํามะลอก (Bambusa longispiculata) ขึ้นอยูเปนกลุม ปาดิบชื้น

Page 24: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-36

บนที่สูงขึ้นไปจะมียางปาย (Dipterocarpus costatus) และยางควน (D. retusus) นอกจากไมยางแลวไมชั้นบนชนิดอื่นๆ ยังมี มะมือ (Choerospondias axillaries) จําปปา (Michelia floribunda) และทะโล (Schima wallichii) เปนตน ไมชนิดรองลงมาเปนพวกไมกอชนิดตางๆ เชน กอน้ํา (Lithocarpus annamensis) กอรัก (Quercus semiserrata) กอดาง (Q. myrsiacfolia) ขึ้นปะปนกับขี้ขม (Ligustrum confusum) ในระดับไมพุมมีหลายชนิด ไดแก สมกุง (Embelia ribes) ขาวสาร (Maesa ramentacea) บริเวณฝงลําธารจะพบพวกผักกูดตน เชน มหาสะดํา (Cyathea borneensis) และกูดพราว (C. latebrosa) ขึ้นปะปนกับละอองไฟฟา (Cibotium barometz) ชายผาสีดา (Platycerium holttumi) และกูดออม (Pseudodrynavia coronans) สวนกลวยไมที่พบทั่วไป เชน เอื้องกุหลาบพวง (Aerides falcatum) และเอื้องปากเปด (Cymbidium simulans) เปนตน

4. ปาดิบเขา (Hill evergreen forest) ปาชนิดนี้เกิดอยูในที่ที่มีอากาศเย็นบนภูเขาสูง ที่สูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 1,000

เมตรขึ้นไป สภาพปาแตกตางไปจากปาดงดิบชื้นอยางเปนไดชัด ไมมีไมวงศยาง (Dipterocarpaceae) ขึ้นอยูเลยพันธุไมที่พบเปนไมเนื้อออน เชน พญาไม (Podocarpus neriifolius) ขุนไม (Nageia wallichiana) และมะขามปอมดง (Podocarpus imbricatus) และไมกอ (Fagaceae) ชนิดตางๆ ที่พบขึ้นในปาดงดิบชื้น ตามเขาสูงจะพบตนกําลังเสือโครง (Betula alnoides) ขึ้นกระจัดกระจายอยูทั่วไป

ปาดิบเขาจําแนกไดโดยไมดัชนีและลักษณะโครงสรางของสังคมในดานการผสมกันของ

ชนิดพันธุไมเปนหลัก แตการปรากฏของไมดัชนีของปานี้มีความสัมพันธกับสภาพภูมิอากาศที่หนาวเย็น ซึ่งความหนาวเย็นในประเทศไทยมักขึ้นกับความสูงจากระดับน้ําทะเล ดังนั้นจึงกลาวกันวา ปาดิบเขาเปนปาที่ขึ้นปกคลุมบนยอดเขาสูงที่มีอากาศหนาวเย็นตลอดป โดยทั่วไปสภาพดังกลาวมักเกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีระดับความสูงเกิน 1,000 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง แตการจําแนกปาชนิดนี้ โดยแทจริงแลวพิจารณาที่การปรากฏของไมดัชนีตอไปนี้คือการปรากฏของไมวงศไมกอ (Fagaceae) ในสกุล Quercus, Lithocarpus และ Castanopsis ผสมกับไมในกลุมจิมโนสเปรม (Gymnosperm) ในสกุล Podocarpus, Dacrydium, Cephalotaxus, Gnetum และ Cycas ผสมกับไมในเขตอบอุน อีกหลายชนิด สําหรับปาดิบเขาที่พบในพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญจัดไดวาเปนปาดิบเขาระดับตํ่า (lower montane forest) ซึ่งเปนปาที่ประกอบดวยไมที่สูงใหญ มีเรือนยอดชั้นบนสูงถึง 30 เมตร มีไมหนาแนนและเดนดวยไมกอชนิดตางๆ ผสมกับไมในสกุลอื่นๆ ที่อาจพบไดในปาดิบแลงบางแหงในทีส่งู ตามตนไมมีพืชอิงอาศัยอยูแตมีปริมาณนอยเมื่อเปรียบเทียบกับปาดิบเขาระดับสูง (upper montane forest) พื้นปามีซากพืชทับถมไมมากนัก สําหรับพื้นที่เก็บขอมูลมีความสูงอยูระหวาง 900-1,000 เมตร จากระดับน้ําทะเลโดยเฉพาะบริเวณเขาเขียว (ผาเดียวดาย) จัดเปนพื้นที่ที่มีอากาศหนาวเย็น ซึ่งในป พ.ศ.2548 จัดไดวาเปนปที่มีความแหงแลงผิดปกติ สืบเนื่องมาจากปรากฏการณเอลนิโน อยางไรก็ตามความแหงแลงดังกลาวเกิดขึ้นทั่วประเทศไทย

ปาดิบเขาระดับตํ่าในอุทยานแหงชาติเขาใหญ สามารถจําแนกเรือนยอดได 3 ชั้นเรือนยอด

แตการจําแนกชั้นไมคอยชัดเจน คือเรือนยอดชั้นบนสุดสูงประมาณ 20-25 เมตร ประกอบดวยไมกอ ที่เปนไมดัชนีเปนหลัก เชน กอตลับ (Quercus ramsbottomii) กอเดือย (Castanopsis acuminatissima) กอใบเลื่อม (Castanopsis tribuloides) และมีไมในวงศไมพญาไม (Podocarpaceae) ผสมอยูทั่วไป เชน พญาไม (Podocarpus aneriifolius) และพญามะขามปอมดง (Phyllanthus emblica) สวนไมอื่นๆ

Page 25: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-37

ที่พบในเรือนยอดชั้นนี้ ไดแก กระตุก (Altingia excelsa) สองกระดองหิน (Drypetes hainanensis) ทะโล (Schima wallichii) พะอง (Calophyllum polyanthum) และนางพญาเสือโครง (Prunus cerasoides) เปนตน

ไมในระดับเรือนยอดชั้นรอง มีความสูงประมาณ 15-20 เมตรมีปรากฏอยูหลายชนิด ที่

สําคัญไดแก เสม็ดชุน (Syzygium gratum) สารภีดง (Mammea harmandii) เหมือดคน (Helicia robusta) ขี้หนอนคาย (Gironniera nervosa) เมี่ยง (Camelia sp.) และขม้ินตน (Alseodaphne birmanica) เปนตน

เรือนยอดชั้นไมพุม มักมีความสูงไมเกิน 10 เมตร โดยทั่วไปแลวในสภาพที่ไมในเรือนยอด

ชั้นบนมีการปกคลุมดานเรือนยอดที่รกทึบมักพบไมพุมปรากฏอยูนอยชนิด แตในชองวางหรือสวนทีถ่กูทําลายมักปรากฏหนาแนน ชนิดสําคัญ ไดแก โคลงเคลงขน (Melastoma villosa) ตาเปดตาไก (Ardisia lenticellata) ชั้นไมพุมมักตอเนื่องลงไปถึงชั้นพืชคลุมดินที่ประกอบดวยพืชจําพวกขิงขาเปนพืชเดนผสมกับพืชลมลุกอื่นๆ ชนิดพืชสําคัญของชั้นนี้ ไดแก ขาคม (Catimbium speciosa) กระชายปา (Boesenbergia pandurata) ขมิ้นขม (Curcuma amarissima) กระเจียวขาว (C. paviflora) ขมิ้นแดง (C. roscoeana) กลวยคอดํา (Globba garrettiana) และผักปลาบชางปา (Floscopa scandens) เปนตน

ปาดิบเขาทั้งระดับตํ่าแลระดับสูงมีพืชเกาะอิงอาศัย (epiphytes) ปรากฏอยูมากมาย ทั้งที่

เปนกลวยไมและพืชในสกุลอื่น ที่สําคัญเขน วานไกแดง (Aeschynanthus hildebrandii) เอื้องหงอนไก (A. macranthus) ขาหลวงหลังลาย (Asplenium nidus) สวนกลวยไมที่สําคัญ เชน เอื้องคําเหล่ียม (Dendrobium trigonosus) เอื้องคําสาย (D. binoculare) เอื้องเคากิ่ว (D. nobele) เอื้องคํานอย (D. fibriatum) และเอื้องเงินหลวง (D. infundibulum) เปนตน

5. ทุงหญาและปารุนสอง (Grassland and Secondary forest) ลักษณะปาชนิดนี้เปนผลเนื่องจากการทําไรเลื่อนลอยในอดีต เนื่องจากกอนที่จะมีการจัดต้ัง

ปาเขาใหญเปนอุทยานแหงชาติไดมีราษฎรอาศัยอยูและไดแผวถางปาทําไร เมื่อมีการอพยพราษฎร ลงไปสูที่ราบ บริเวณไรดังกลาวจึงถูกปลอยทิ้ง ตอมามีสภาพเปนทุงหญาคา (Imperata cylindrica) เสียสวนใหญ บางแหงมีหญาแขมหลวง (Themeda arunnacea) หญาพง (Saccharum fuscum) และ เลา (S. spontaneum) และยังมีกูดชนิดตางๆ ขึ้นปะปนอยูดวย เชน โซนใหญ (Pteridium aquilinum) กูดปด (Dicarnopteis linearis) โซนผี (Cheilanthes tenulfolia) กูดงอดแงด (Salaginenlla spp.) และกูดตีนกวาง (Helmintirostachys zeylarica) เปนตน ทุงหญาเหลานี้มักถูกไฟไหมเปนประจํา ทั้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากอุบัติเหตุและเพื่อการชิงเผาของทางเจาหนาที่อุทยานแหงชาติ เพื่อปองกันการลุกลามของไฟปาตามธรรมชาติและยังเปนการเพิ่มหญาระบัดที่เปนอาหารใหกับสัตวปาในพื้นที่ สวนทุงหญาบางพื้นที่เมื่อมีการปองกันไฟมิใหลามเขามาไหม สภาพทุงหญาก็จะเปลี่ยนสภาพกลายมาเปนปาละเมาะหรือปารุนสอง ซึ่งมักพบพันธุไมเบิกนํา (pioneer species) หลายชนิด เชน สอยดาว (Mallotus cochinchinensis) เลี่ยน (Melia azedarach) กระทุม (Anthocephalus chinensis) ไมสกุลตองแตบ (Macaranga) ลําพูปา (Duabanga grandiflora) รวมถึงไมดั้งเดิมขนาดใหญในปาดิบแลง เชน มะมือ (Choerospondias axillaris) เปนตน

Page 26: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-38

สําหรับรายชื่อพันธุไมที่ไดจากการสํารวจจริงในภาคสนามในระหวางวันที่ 9-11 มิถุนายน 2549 แสดงดังภาคผนวก ก

3.3.11 ทรัพยากรสัตวปา

อุทยานแหงชาติเขาใหญเปนแหลงที่มีสัตวปาชุกชุมมาก จากการศึกษาตามโครงการการ

อนุรักษชางปา และการจัดการพื้นที่ปองกัน (Elephant Conservation and Protected area management) โดย Mr. Robert J. Dobias ภายใตความรวมมือของ WWF และ IUCN ในป 2527-2528 พบวา มีจํานวนประมาณ 250 ตัว สัตวปาที่สามารถพบเห็นไดบอยๆ และตามโอกาสอํานวย ไดแก เกง (Muntiacus muntjak) กวาง (Cervus unicolor) ตามทุงหญาทั่วๆ ไป นอกจากนี้ยังพบเสือโครง (Panthera tigris) กระทิง (Bos gaurus) เลียงผา (Capricornis sumatraensis) หมีหมา (0Helarctos malayanus) ชะนีมือขาว (Hylobates lar) พญากระรอกดํา (Ratufa bicolor) ชะมด (Hibiscus surattensis) และกระตายปา (Lepus pequensis) เปนตน จํานวนรวมกวา 200 ชนิด นกที่นาสนใจและพบเห็นบอยๆ ไดแก นกเงือกวงศ Bucerotidae นกขุนทอง (Halichoeres kallochroma) นกพญาไฟใหญ (Pericrocotus flammeus) นกขุนแผน (Urocissa erythrorhyncha) นกแตวแรว (Pitta gurneyi) นกแซงแซวหางปลา (Dicrurus macrocercus) นกเขา (Streptopelia chinensis) นกกระปูด (Centopus sinensis) ไกฟาพญาลอ (Lophura diardi) และนกกินแมลงชนิดตางๆ รวมทั้งมีผีเสื้อชนิดตางๆ ที่สวยงามไมนอยกวา 5,000 ชนิด

นอกจากนี้ จากการสํารวจชนิดของสัตวปาภายในเขตอุทยานแหงชาติ อางถึงใน คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล (2540:2-19) พบวา ทรัพยากรสัตวปาในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติ ประกอบดวย

1. สัตวเลี้ยงลูกดวยนม สัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่พบในพื้นที่อุทยานแหงชาติ มีประมาณ 65 ชนิด นอกจากนี้ยังมีอีก

ประมาณ 62 ชนิด ที่พบในพื้นที่ใกลเคียง สัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่พบเห็นไดบอย และเปนสิ่งดึงดูดใจของนักทองเที่ยว ไดแก ชางปา (Elephant maximus) เกง (Muntiacus muntjak) กวาง (Cervus unicolor) หมูปา (Sus scrofa) กระตายปา (Lepus pequensis) กระรอกหลากสี (Callosciurus finlaysonii) และพญากระรอกดํา (Ratufa bicolor) เปนตน

สําหรับสัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดใหญ และเปนชนิดที่สําคัญของอุทยานแหงชาติเขาใหญ ไดแก ชางปา (Elephant maximus) เสือโครง (Panthera tigris) เสือลายเมฆ (Neofelis nebulosa) กระทิง (Bos gaurus) และชะนี 2 ชนิด คือ ชะนีมือขาว (Hylobates lar) และชะนีมงกุฎ (Hylobates pileatu) เปนตน

2. นก

นกที่พบในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติ ประกอบดวย นกประจําถิ่น และนกอพยพที่ยายถิ่นเขามาในประเทศไทยในชวงฤดูหนาวอีกหลายชนิด ดังนั้นอุทยานแหงชาติเขาใหญจึงเปนแหลงดูนก ที่สําคัญของนักดูนกจากทั่วโลกที่เขามาดูนกในประเทศไทยดวย

นกที่สําคัญของอุทยานแหงชาติเขาใหญ ไดแก นกเงือกชนิดตางๆ ซึ่งมีมากถึง 4 ชนิด ไดแก นกเงือกสีน้ําตาล (Ptilolaemus tickelli) นกเงือกกรามชาง (Rhyticeros undulatus) นกแกก

Page 27: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-39

(Anthracoceros albirostris) และนกกกหรือนกกาฮัง (Buceros bicornis) นอกจากนี้ยังพบนกชนิดอื่นๆ เชน ไกฟาพญาลอ (Lophura diardi) นกเปลาทองขาว (Treron sieboldii) นกโกโรโกโส (Carpococcyx renauldi) นกขมิ้นขาว (Oriolus traillii) และนกปรอดเหลืองหัวจุก (Pycnonotus melanicterus) เปนตน

3. สัตวเลื้อยคลาน

สัตวเลื้อยคลานที่พบเห็นไดโดยทั่วไป ไดแก กิ้งกาสวน (Calotes mystaceus) จิ้งเหลนหลากหลาย (Mabuya macularia) และงูเขียวหางไหม (Trimerseurus albolabris) สวนงูเหา (Naja kaouthia) และงูจงอาง (Ophiophagus hannah) มีปรากฏใหเห็นบางในบางพื้นที่ โดยเฉพาะบริเวณพุมไมและไมชั้นลาง สวนงูสามเหลี่ยม (Bungarus fasciatus) จะพบอยูตามลําหวย สวนสัตวขนาดใหญ เชน ตัวเงินตัวทอง (Varanus nebulosus) จะสามารถพบเห็นไดทั่วไปบริเวณแหลงน้ําหรือลําธารขนาดใหญ เชน ลําตะคอง เปนตน

4. สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก

สัตวสะเทินน้ําสะเทินบกที่พบในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ สวนใหญเปนสัตวในกลุมพวกกบชนิดตางๆ เชน กบนา (Rana rugulosa) กบหนอง (R. limnocharis) และเขียดคลื่น (Phrynoglossus lavies) เปนตน นอกจากนี้ยังพบสัตวในกลุมอึ่งจิ๋ว (Microhyla sp.) เชน อึ่งขาดํา (Microhyla pulchra) อึ่งน้ําเตา (M. ornata) และอึ่งอางบาน (Kaloula pulchra) เปนตน

5. แมลง

เนื่องจากอุทยานแหงชาติเขาใหญมีความหลากหลายของชนิดพืช และมีแหลงที่อยูอาศัยหลายแบบ จึงมีความเหมาะสมในการดํารงชีวิตของผีเสื้อชนิดตางๆ ปจจุบันมีการคนพบผีเสื้อชนิดตางๆ ไมนอยกวา 206 ชนิด นอกจากนี้ยังพบพวกแมลงปอ (Libellulidae sp.) แมลงปกแข็ง และแมลงอื่นๆ สําหรับผีเสื้อที่พบเห็นสวนใหญจะเปนกลุมผีเสื้อกลางวัน เชน ผีเสื้อรอน (Parthenos sylvia) ผีเสื้อปลายปกสม (Hebomoia glaucippe) ผีเสื้อหนอนกาฝากจุดแดง (Delias descombesi) ผีเสื้อหางติ่งปารีส (Papilio paris paris) ผีเสื้อหางติ่งนางระเวง (P. memnon agenor) และผีเสื้อถุงทองปาสูง (Troides aecus) เปนตน สําหรับการพบเห็นผีเสื้อนั้นสวนใหญจะพบบริเวณริมลําธาร หรือทางเดิน ในปา เปนตน 3.3.12 ระบบนิเวศวิทยาทางน้ําและการประมง แหลงน้ําในพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ สวนใหญมีลักษณะเปนน้ําตกรวมทั้งสิ้น 6 แหง ขณะที่ทําการสํารวจสภาพทั่วไปพบวา มีปริมาณน้ํานอย ระดับน้ําไมลึกมากนัก ยกเวนบริเวณที่เปนแองจะคอนขางลึกมาก บางน้ําใส บางไหลแรงบางไหลชาบาง ตามความลาดชันของพื้นที่ แตบางแหงน้ําขุน เนื่องจากสภาพของลําธารเปนดินปนทราย จากการสํารวจดานนิเวศวิทยาทางน้ําและการประมงในเบื้องตนพบวา

ปลา : บริเวณที่เปนแองพบเห็นปลาขนาดตางๆ กัน ปลาสวนใหญที่พบมักจะเปนกลุมปลาตะเพียน (Puntius sp.) และปลาในกลุมปลาคอ (Noemacheilus sp.) และปลาหมู (Botia sp.) นอกจากนี้ยังพบปลากด (Leiocassis sp.) เปนตน

Page 28: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-40

แพลงกตอน : ในสภาพน้ําตกที่เปนน้ําใส สวนใหญมักจะพบวาในน้ํามีธาตุอาหารนอย ทําใหแพลงกตอนไมคอยชุกชุม แตเนื่องจากน้ําใสมากจึงทําใหแสงสองลงไปในน้ําไดลึก ซึ่งชวยให แพลงกตอนพืชเจริญเติบโตไดดี โดยเฉพาะแพลงกตอนที่เจริญบริเวณพื้นแหลงน้ํา และบริเวณ หินกรวดที่เปนแหลงเกาะ (substrate) ไดดี สวนแพลงกตอนสัตว (zooplankton) จะไมคอยชุกชุม

สัตวหนาดิน : เนื่องจากริมฝงและพื้นกนแหลงน้ําเปนหิน กรวด ทราย จึงมักมีความอุดมสมบูรณของสัตวหนาดินตํ่า ยกเวนบางแหลงน้ํา และบางตอนเปนดินปนทราย มีอินทรียวัตถุสลายตัวอยูบาง จะมีสัตวหนาดินมากกวาบริเวณที่เปนหิน กรวด และทราย สําหรับแหลงน้ําที่เปนน้ําตก สัตวหนาดินสวนใหญที่พบเปนหอยฝาเดียว ซึ่งกินอาหารพวก epiphyte

วัชพืชน้ํา : แหลงน้ําที่เปนน้ําตกที่มีสภาพน้ําไหล จะไมพบพันธุไมลอยน้ํา และพันธุไมกลางน้ํา แตจะพบบางบางแหงคือ พันธุไมใตน้ํา และที่พบไดมากคือ พันธุไมริมน้ํา แตจะพบนอยกวาที่บริเวณแหลงน้ําพื้นราบทั่วไป เนื่องจากมีปจจัยจํากัดหลายประการ และจากการไปสํารวจครั้งนี้พันธุไมที่พบสวนใหญ ไดแก กก เฟน และบอน เปนตน

การประมง และการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา : เนื่องจากบริเวณแหลงน้ําที่พบทั้ง 6 แหงอยูในเขต

อุทยานแหงชาติเขาใหญ อันเปนเขตหวงหามไมสามารถทําการประมง และเพาะเลี้ยงสัตวน้ําได จึงไมพบกิจกรรมดังกลาวในพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ แตอยางใด

3.3.13 สภาพเศรษฐกิจสังคม 3.3.13.1 สภาพเศรษฐกิจสังคมในภาพรวม

สภาพเศรษฐกิจสังคมของ 4 จังหวัดรอบเขาใหญมีรายละเอียดดังนี้ สภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดนครนายกพบวา ประชากรมีรายได เฉลี่ยตอหัว 38,628 บาทตอป

เปนอันดับ 47 ของประเทศ โดยทั้งจังหวัดมีผลิตภัณฑมวลรวม 9,618.461 ลานบาท รายไดสวนใหญขึ้นอยูกับ สาขาการคาสงและคาปลีกมากที่สุดถึงรอยละ 26 คิดเปนมูลคา 2,415.208 ลานบาท รองลงมาเปน สาขาการเกษตรกรรมรอยละ 22 คิดเปนมูลคา 2,097.062 ลานบาท และสาขาการบริการ รอยละ 14 คิดเปนมูลคา 1,374.397 ลานบาท อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจรอยละ 18.5

สภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดนครราชสีมาพบวา ประชากรมีรายได เฉลี่ยตอหัว 39,826 บาทตอป

เปนอันดับ 41 ของประเทศ โดยทั้งจังหวัดมีผลิตภัณฑมวลรวม 102,191.964 ลานบาท รายไดสวนใหญขึ้นอยูกับ สาขาการอุตสาหกรรมมากที่สุดถึงรอยละ 21.89 คิดเปนมูลคา 22,415.526 ลานบาท รองลงมาเปน สาขาการเกษตรกรรมรอยละ 17.82 คิดเปนมูลคา 18, 246.003 ลานบาท และสาขาการบริการ รอยละ 15.68 คิดเปนมูลคา 16,053.640 ลานบาท อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจรอยละ 1.64

สภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดสระบุรีพบวา ประชากรมีรายได เฉลี่ยตอหัว 119,134 บาทตอป

เปนอันดับ 9 ของประเทศ โดยทั้งจังหวัดมีผลิตภัณฑมวลรวม 119,280 ลานบาท รายไดสวนใหญขึ้นอยูกับ สาขาการอุตสาหกรรมมากที่สุดถึงรอยละ 52.963 คิดเปนมูลคา 33,964 ลานบาท รองลงมาคือ สาขาการคาสงและคาปลีกรอยละ 8.82 คิดเปนมูลคา 5,654 ลานบาท และสาขาการผลิตดานการไฟฟาและการประปารอยละ 7.53 คิดเปนมูลคา 4,830 ลานบาท

Page 29: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-41

สภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดปราจีนบุรีพบวา ประชากรมีรายได เฉลี่ยตอหัว 56,999 บาทตอป เปนอันดับ 24 ของประเทศ โดยทั้งจังหวัดมีผลิตภัณฑมวลรวม 27,359 ลานบาท รายไดสวนใหญขึ้นอยูกับ สาขาการขนสงและการคาปลีกมากที่สุดถึงรอยละ 27.54 คิดเปนมูลคา 7,534 ลานบาท รองลงมาเปน สาขาอุตสาหกรรมรอยละ 27.01 คิดเปนมูลคา 7,391 ลานบาท และสาขาการเกษตรรอยละ 12.91 คิดเปนมูลคา 3,531 ลานบาท อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจรอยละ 6.96

3.3.13.2 สภาพเศรษฐกิจสังคมโดยรอบพื้นที่อทุยานแหงชาติเขาใหญ

โครงสรางประชากร ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน และโครงสรางทางเศรษฐกิจของชุมชนสรุปไดดังนี้ 1) ประชากร สรุปขอมูลจํานวนและครัวเรือนของประชากรครอบคลุมหมูบานที่อยูโดยรอบ

พื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ มีจํานวนทั้งหมด 117 หมูบานจาก 11 อําเภอ 4 จังหวัด แสดงดังตารางที่ 3.3-7

ตารางที่ 3.3-7 หมูบานและชุมชนโดยรอบพื้นท่ีอุทยานแหงชาติเขาใหญ

ลําดับท่ี หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด

1 บานหัวเขาแกว ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 2 บานสวนหงษ ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 3 บานโนนบก ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 4 บานคลองมะเดื่อ ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 5 บานดง ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 6 บานคลองบานเผา ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 7 บานขามมดดํา ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 8 บานเดิ่น ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 9 บานสาริกา ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 10 บางสีสุก ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 11 บานทาดาน ตําบลสาริกา อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 12 บานเขาแดง ตําบลพรหมณี อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 13 บานตาดหินกอง ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 14 บานเขานอย ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 15 บานคลองสีเสียด ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 16 บานวังถํ้าเตา (ฝงลาว) ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 17 บานคลองบอ ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 18 บานซับธรณี ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 19 บานนางรอง ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 20 บานปาไผ ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 21 บานหนองโปง ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 22 บานทาชัย ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 23 บานหุบเมย ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก

Page 30: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-42

ตารางที่ 3.3-7 (ตอ)

หมูบานและชุมชนโดยรอบพื้นท่ีอุทยานแหงชาติเขาใหญ

ลําดับท่ี หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด

24 บานบุงเข ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 25 บานวังยายฉิม ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26 บานหนองเสือโตน ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 27 บานหนองปรือ ตําบลดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 28 บานโนนมะคา-บานเขาน้ําโจน ตําบลเขาพระ อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 29 บานคลองกั้ง ตําบลเขาพระ อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 30 บานเขาลําดวน ตําบลเขาพระ อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 31 บานปากชอง ตําบลเขาพระ อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 32 บานวังรี ตําบลเขาพระ อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 33 บานหุบเมย ตําบลนาหินลาด อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 34 บานเนินสูง ตําบลนาหินลาด อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 35 บานเนินตนไทร ตําบลนาหินลาด อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 36 บานวังบอน ตําบลนาหินลาด อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 37 บานเหลาเดิ่น ตําบลหนองแสง อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 38 บานเนินหินแร ตําบลหนองแสง อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 39 บานบุงเข ตําบลหนองแสง อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 40 บานหนองรี ตําบลบานพราว อําเภอบานนา จังหวัดนครนายก 41 บานโคกสะทอน ตําบลวังน้ําเขียว อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 42 บานคลองทราย ตําบลวังน้ําเขียว อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 43 บานศาลเจาพอ ตําบลวังน้ําเขียว อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 44 บานคลองสะทอน ตําบลวังน้ําเขียว อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 45 บานเขาแผงมา ตําบลวังน้ําเขียว อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 46 บานคลองปลากั้ง ตําบลวังหมี อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 47 บานบุเจาคุณ ตําบลวังหมี อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 48 บานวังหมี ตําบลวังหมี อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 49 บานทาวังไทร ตําบลวังหมี อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 50 บานบุเนิน ตําบลวังหมี อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 51 บานคลองอีเฒา ตําบลวังกะทะ อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 52 บานเลือดไทย ตําบลหมูสี อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 53 บานคลองเพล ตําบลหมูสี อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 54 บานทามะปราง ตําบลหมูสี อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 55 บานเหวปลากั้ง ตําบลหมูสี อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 56 บานวังโตงเตง ตําบลหมูสี อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 57 บานวังประดู ตําบลหมูสี อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา

Page 31: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-43

ตารางที่ 3.3-7 (ตอ)

หมูบานและชุมชนโดยรอบพื้นท่ีอุทยานแหงชาติเขาใหญ

ลําดับท่ี หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด

58 บานคลองเด็ด ตําบลหมูสี อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 59 บานกลาง ตําบลโปงตาลอง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 60 บานโปงตาลอง ตําบลโปงตาลอง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 61 บานอีซอม ตําบลโปงตาลอง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 62 บานตะเคียนงาม ตําบลโปงตาลอง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 63 บานโพนกระโดน ตําบลพญาเย็น อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 64 บานวังเพ่ิม (โสกนอย) ตําบลพญาเย็น อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 65 บานซับใต ตําบลพญาเย็น อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 66 บานโสกลึก ตําบลพญาเย็น อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 67 บานวังหรี่ ตําบลนนทรี อําเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี 68 บานเนินยาว ตําบลบุฝาย อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 69 บานตะครอใต ตําบลบุฝาย อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 70 บานตะครอเหนือ ตําบลบุฝาย อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 71 บานเขานอย ตําบลบุฝาย อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 72 บานทุงสะบก ตําบลคําโตนด อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 73 บานหนองกวาง ตําบลคําโตนด อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 74 บานเนินสูงเหนือ ตําบลคําโตนด อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 75 บานคลองแกมช้ํา ตําบลโพธิ์งาม อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 76 บานคลองฟนปลา ตําบลโพธิ์งาม อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 77 บานทุงยาว ตําบลโพธิ์งาม อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 78 บานเนินหินต้ัง ตําบลหนองแกว อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 79 บานชัยคลี ตําบลหนองแกว อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 80 บานโคกเขื่อน ตําบลหนองแกว อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 81 บาน กม. 80 ตําบลบุพราหมณ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 82 บานขุนศรี ตําบลบุพราหมณ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 83 บานบุพราหมณใน ตําบลบุพราหมณ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 84 บานวังมืด ตําบลบุพราหมณ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 85 บานวังหิน ตําบลบุพราหมณ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 86 บานทับลาน ตําบลบุพราหมณ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 87 บานวังขอนแดง ตําบลบุพราหมณ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 88 บานทุงแฝก ตําบลทุงโพธิ์ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 89 บานระเบาะเกตุ ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 90 บานหวานเหลือง ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 91 บานสันทัน ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี

Page 32: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-44

ตารางที่ 3.3-7 (ตอ)

หมูบานและชุมชนโดยรอบพื้นท่ีอุทยานแหงชาติเขาใหญ

ลําดับท่ี หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด

92 บานบุสูง ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 93 บานคลองทราย ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 94 บานโนนปาแขม ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 95 บานโนนแสนสุข ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 96 บานดานตะกั่ว ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 97 บานเขารัง ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 98 บานจัดสรรค-วัดประสาทสามัคคี ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 99 บานสะพานหิน ตําบลสะพานหิน อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 100 บานหนองตะแบก ตําบลสะพานหิน อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 101 บานโนนหินแห ตําบลสะพานหิน อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 102 บานหนองแหน ตําบลสําพันตา อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 103 บานหวยเกษียรใหญ ตําบลดงขี้เหล็ก อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 104 บานหวยเกษียรนอย ตําบลเนินหอม อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 105 บานหัวบุง ตําบลเนินหอม อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 106 บานทับฟาน ตําบลเนินหอม อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 107 บานชางปาตกโกรก ตําบลชะอม อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 108 บานมาบโสม ตําบลชะอม อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 109 บานบึงไม ตําบลชะอม อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 110 บานบึงทองหลาง ตําบลชะอม อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 111 บานเขาสองกลอง ตําบลชะอม อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 112 บานเจ็ดคต ตําบลชะอม อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 113 บานผาหินต้ัง ตําบลชะอม อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 114 บานกะเหรี่ยงคอมา ตําบลชะอม อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 115 บานโปงกอนเสา ตําบลทามะปราง อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 116 บานธารน้ําตก ตําบลซําผักแพว อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 117 บานหมวกเหล็กใน ตําบลมิตรภาพ อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ที่มา : ที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ ,2547

จากตารางขางตนสามารถสรุปจํานวนและการกระจายตัวของชุมชนไดดังนี้

- อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา อยูรอบเขต 16 หมูบาน - อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา อยูรอบเขต 10 หมูบาน - อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี อยูรอบเขต 22 หมูบาน - อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี อยูรอบเขต 13 หมูบาน - อําเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี อยูรอบเขต 1 หมูบาน

Page 33: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-45

- อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี อยูรอบเขต 4 หมูบาน - อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี อยูรอบเขต 1 หมูบาน - อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี อยูรอบเขต 10 หมูบาน - อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก อยูรอบเขต 7 หมูบาน - อําเภอบานนา จังหวัดนครนายก อยูรอบเขต 1 หมูบาน - อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก อยูรอบเขต 32 หมูบาน

2) การศกึษา

การศึกษาของประชากรในบริเวณพื้นที่โดยรอบอุทยานแหงชาติเขาใหญ ในภาพรวมระดับจังหวัดมีรายละเอียดดังนี้ จังหวัดนครราชสีมา พบวาในป พ.ศ. 2545 มีการจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียน และนอกระบบ จํานวนทั้งสิ้น 1,577 สถานการศึกษา มีจํานวนหองเรียน 18,210 หองเรียน มีจํานวนครู 22,196 คน มีจํานวนนักเรียน 461,789 คน มีอัตราสวนครู 1 คน ตอนักเรียน 21 คน และ 1 หองเรียน ตอนักเรียน 25 คน

จังหวัดสระบุรี แบงเขตความรับผิดชอบในดานการศึกษา รวม 2 เขต คือ

1) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรีเขต 1 รับผิดชอบ 8 อําเภอ ไดแก อําเภอเมืองสระบุรี อําเภอหนองแซง อําเภอบานหมอ อําเภอเสาไห อําเภอพระพุทธบาท อําเภอหนองโดน อําเภอดอนพุด และอําเภอเฉลิมพระเกียรติ

2) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรีเขต 2 รับผิดชอบ 5 อําเภอ ไดแก อําเภอแกงคอย

อําเภอหนองแซง อําเภอหนองแค อําเภอวิหารแดง อําเภอมวกเหล็ก และอําเภอวังมวง ในปการศึกษา 2546 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 1 (ประกอบดวยโรงเรียน

ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (เดิม) สังกัดกรมสามัญศึกษา (เดิม) และโรงเรียนเอกชนที่เปดสอนระดับตํ่ากวาระดับประถมศึกษา มีสถานศึกษาในสังกัด จํานวน 157 แหง

และนักเรียน จํานวน 48,734 คน (ขอมูลสถิติจังหวัดสระบุรี,2547)

จังหวัดนครนายก ในปพ.ศ. 2546 จังหวัดนครนายกมีสถานศึกษาในจังหวัด 186 แหง เปนสถานศึกษาชั้นนํา 6 แหง คือโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต โรงเรียนเตรียมทหาร และวิทยาลัยนานาชาติเซ็นเทเรซา อินติ ซึ่งสามารถชวยเสริมพื้นฐานที่สําคัญในการกาวไปสูสังคมฐานความรูไดอยางดี

จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรีเปนจังหวัดที่มีการจัดการเรียนการสอนหรือมี

สถานศึกษาในทุกระดับต้ังแตระดับกอนประถมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา มีแหลงพัฒนาความรูและทักษะในการศึกษาสําหรับผูที่ไมมีโอกาสเขาศึกษาในระบบโรงเรียน ประชาชนชาวปราจีนบุรีจึงมีโอกาสที่จะไดรับการศึกษาในระดับสูงคอนขางมาก ในปการศึกษา 2546 จังหวัดปราจีนบุรีมีสถานศึกษารวมทั้งสิ้น 315 แหง สังกัด สพฐ. จํานวน 279 แหง สังกัดคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จํานวน 25 แหง สังกัดสํานักงานการศึกษาทองถิ่นจํานวน 8 แหง และสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย จํานวน 4 แหง มีหองเรียนจํานวน 3,618 แหง นักเรียนจํานวน 4,895 คน นักเรียน/นักศึกษาในระดับ

Page 34: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-46

มัธยมศึกษาจํานวน 88,204 คน นักศึกษาระดับอาชีวศึกษา/อุดมศึกษาจํานวน 8,772 คน จํานวนครู/อาจารยในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จํานวน 4,343 คน (บรรยายสรุปจังหวัดปราจีนบุรี,2548) สําหรับพื้นที่ชุมชนในบริ เวณโดยรอบอุทยานแหงชาติเขาใหญ มีโรงเรียนชั้นประถมศึกษา 40 แหง และมัธยมศึกษา 12 แหง ซึ่งสามารถรองรับนักเรียนไดจากหลายชุมชน ทําใหเยาวชนมีโอกาสทางการศึกษาเพิ่มขึ้น

3) สภาพเศรษฐกิจ จากรายงานขอมูลพื้นฐานอุทยานแหงชาติเขาใหญ (2548) พบวา ประชากรที่อาศัยอยู

โดยรอบพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ สวนใหญมีอาชีพรับจางในภาคเกษตร และอาชีพคาขาย เปนอาชีพหลัก และไมประกอบอาชีพรอง และมีรายไดเฉลี่ย 94,320.75 บาทตอป และรายจายของประชากรสวนใหญอยูในชวง 50,001-100,000 บาทตอป เฉลี่ย 79,551 บาทตอป และมีหนี้สินเฉล่ีย ตอครัวเรือนเทากับ 34,345 บาทตอป สําหรับการกูเงินสวนใหญประชากรจะทําการกูเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ (ธกส.) มากที่สุด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลงทุนทางการเกษตร สวนในดานการออมเงิน พบวา ประชากรสวนใหญยังไมมีเงินออม

4) สภาพสังคม รูปแบบวัฒนธรรมและคานิยมของชุมชน

จังหวัดนครราชสีมา ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ ในป พ.ศ. 2545 มีวัดจํานวน 2,037 แหง สํานักสงฆจํานวน 502 แหง โบสถคริสตจํานวน 22 แหง และมัสยิด 4 แหง มีพระภิกษุจํานวน 14,812 รูป และสามเณรจํานวน 3,232 รูป จังหวัดนครราชสีมา มีศูนยวัฒนธรรมตั้งอยูในสถาบันราชภัฏจังหวัดนครราชสีมา ทําการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบาน ไดแก ภาษาโคราช และเพลงโคราช เปนตน จังหวัดนครราชสีมา มีขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และการละเลนพื้นเมืองที่สําคัญที่นิยมปฏิบัติสืบทอดกันกันมาแตโบราณถึง ปจจุบัน คือ 1. งานฉลองวันแหงชัยชนะทาวสุรนารี เริ่มต้ังแตวันที่ 23 มีนาคม-3 เมษายนทุกๆ ป มีวางการพวงมาลา และบวงสรวงวิญญาณของทาวสุรนารี มีขบวนแหของกลุมมวลชน นอกจากนั้นก็มีการออกรานจําหนายผลิตภัณฑ และการประกวดผลิตผลการเกษตร การประกวดธิดาทาวสุรนารี การแสดงละครกลางแจง เกี่ยวกับประวัติวีรกรรมทาวสุรนารี 2. งานแขงเรือยาวประเพณีพิมาย กําหนดวันเสาร-อาทิตย ถัดไปจากเทศกาลออกพรรษาทุกปที่ลําน้ํามูล เมื่อถึงเทศกาลออกพรรษา ชาวบานจะรวมกันทําบุญทอดกฐิน และมีการแขงเรือยาวเพื่อเสริมสราง ความรัก ความสามัคคี ระหวางคนทองถิ่น นอกจากนี้ยังมีการประกวดขบวนพาเหรด (แฟนซี) ดวย จังหวัดสระบุรี ในป พ.ศ. 2547 จังหวัดสระบุรี จํานวนประชากรในจังหวัดสระบุรีทั้งสิ้น 621,994 คน มีพุทธศาสนิกชน 555,732 คน (รอยละ 89.34) จํานวนวัด 502 แหง ที่พักสงฆ 105 แหง จํานวนพระภิกษุสงฆ 3,737 รูป สามเณร 427 รูป นับถือศาสนาอิสลาม 351 คน (รอยละ 0.05) จํานวนมัสยิด 4 แหง นับถือศาสนาคริสต 1,884 คน (รอยละ 0.32) จํานวนโบสถคริสต 3 แหง ผูนับถือศาสนาพราหมณ 237 คน (รอยละ 0.04) จังหวัดนครนายก ในปพ.ศ.2547 พบวา ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ รอยละ 92.85 นับถือศาสนาอิสลาม รอยละ 5.61 และนับถือศาสนาคริสต รอยละ 1.54 ศาสนสถานในจังหวัด

Page 35: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-47

นครนายก แบงเปน วัด จํานวน 196 แหง สํานักสงฆ จํานวน 13 แหง มัสยิดจํานวน 24 แหง และโบสถคริสต จํานวน 5 แหง จังหวัดปราจีนบุรี ประชาชนสวนใหญของจังหวัดปราจีนบุรี รอยละ 89 นับถือศาสนาพุทธ จึงทําใหจังหวัดปราจีนบุรีมีวัดเปนจํานวนมากถึง 341 วัด เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ของจังหวัดที่มีเนื้อที่ 4,762.36 ตารางกิโลเมตร พบวา มีความหนาแนนของวัดตอพื้นที่ คือ 1 : 14 จังหวัดปราจีนบุรีมีโรงเรียนพระปริยัติธรรมและบาลีจํานวน 2 แหง โดยกระจายในทุกอําเภอยกเวนอําเภอศรีมโหสถ สวนโรงเรียนพระปริยัติธรรมสายสามัญมีเพียงแหงเดียว คือ วัดแกว อําเภอประจันตคาม ซึ่งไดเปดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย และมีผูนับถือศาสนาคริสตคิดเปนรอยละ 1 ของจํานวนประชากร มีโบสถคาทอลิกจํานวน 5 แหง

จังหวัดปราจีนบุรีเปนจังหวัดที่เปนแหลงที่ต้ังของอารยธรรมอันเกาแกมาหลายยุคสมัย มีการขุดคนพบโบราณวัตถุและโบราณสถานเปนจํานวนมาก มีพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ 1 แหง พิพิธภัณฑของวัดจํานวน 2 แหง อยูที่วัดปามะไฟ อําเภอเมือง และที่วัดบางแตน อําเภอบานสราง มีศูนยวัฒนธรรมจังหวัดจํานวน 1 แหง มีศูนยวัฒนธรรมอําเภอจํานวน 7 แหง รวมทั้งจังหวัดปราจีนบุรียังเปนที่ต้ังของสํานักโบราณคดี และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติที่ 4 กรมศิลปากรอีกดวย (บรรยายสรุปจังหวัดปราจีนบุรี , 2548)

สําหรับพื้นที่ชุมชนโดยรอบพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญนั้น พบวา ในดานประเพณี

วัฒนธรรมของการเขารวมงานบุญ งานประเพณี และกิจกรรมตางๆ ในชุมชน ประชาชนจะเขารวมเปนบางครั้งเมื่อมีโอกาส โดยสวนใหญจะเขารวมประเพณีกฐิน และผาปา ซึ่งเปนงานประเพณีตามศาสนาพุทธ เนื่องจากประชาชนโดยรอบพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ และมีวัดประจําหมูบานแทบทุกหมูบาน 3.3.13.3 การวิเคราะหสภาพเศรษฐกิจสังคมของชุมชน

การศึกษาเรื่องขีดความสามารถในการรองรับทางนันทนาการของพื้นที่อุทยานแหงชาติ เขาใหญ มีความจําเปนตองสํารวจขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับเศรษฐกิจ-สังคม ของประชาชนที่อาศัยอยูในบริเวณพื้นที่ศึกษา ซึ่งเกี่ยวของสัมพันธกับกิจกรรมนันทนาการ เนื่องจากนักทองเที่ยวสวนใหญจะตองมีการเกี่ยวของในเรื่องตางๆ เชน ที่จอดรถ หองน้ํา-หองสุขา รานอาหาร และรานขายของที่ระลึก เปนตน ทั้งนี้เพราะนักทองเที่ยวจะตองมีปฏิสัมพันธกับประชาชนในบริเวณดังกลาว เชน การจับจายซื้อของ การสงเสียงดังขณะทองเที่ยว เปนตน

ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้ จึงกําหนดใหมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับดานเศรษฐกิจ-สังคม ความรูสึกอึดอัด และความปลอดภัยของประชาชนภายในบริเวณพื้นที่ศึกษา โดยการใชแบบสอบถาม ในการสํารวจขอมูลภาคสนามระหวางวันที่ 23-27 ตุลาคม 2547 และวันที่ 17 มกราคม-4 กุมภาพันธ 2548 (ตัวอยางแบบสอบถามแสดงดังภาคผนวก ค) เนื่องจากเปนชวงที่ครอบคลุมฤดูกาลทองเท่ียว และชวงหลังฤดูกาลทองเที่ยว โดยทําการสัมภาษณประชาชนที่อาศัยอยูโดยรอบพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ ซึ่งมีจํานวนทั้งสิ้น 117 หมูบาน ในเขตพื้นที่ 30 ตําบล มีจํานวนประชากรรวม 38,824 คน คิดเปน 10,560 ครัวเรือน โดยจํานวนแบบสอบถามที่ใชในการสัมภาษณไดจากการคํานวณทางสถิติจากสูตรของ Taro Yamane ดังนี้

Page 36: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-48

กําหนดให n หมายถึง จํานวนตัวอยางแบบสอบถามที่ใชในการสัมภาษณ N หมายถึง จํานวนครัวเรือนของพื้นที่ศึกษา e หมายถึง คาความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได (กําหนดใหเทากับ 0.05) จากการคํานวณ พบวา จํานวนแบบสอบถามที่ใชในการสัมภาษณกลุมตัวอยาง ควรมีจํานวนเทากับ 385 ชุด แตในการศึกษาครั้งนี้ดําเนินการศึกษาทั้งสิ้น 545 ตัวอยาง (ดังตารางที่ 3.3-8) อนึ่ง จากจํานวนประชากรตัวอยางที่คํานวณไดจากสูตรของ Taro Yamane เมื่อนํามาแบงชั้นของจํานวนประชากรตัวอยางตามสัดสวนของจํานวนครัวเรือนของแตละตําบล (stratified sampling) โดยการคิดจากสูตร

โดย nh คือ จํานวนประชากรตัวอยางที่ตองการสุมตัวอยางในแตละตําบล Nh คือ จํานวนครัวเรือนในแตละตําบลที่ศึกษา N คือ จํานวนครัวเรือนรวมทั้งหมดในพื้นที่ศึกษา

no คือ จํานวนประชากรตัวอยางที่คํานวณไดจากสูตร Taro Yamane ในขั้นที่1

ตารางที่ 3.3-8 จํานวนแบบสอบถามประชากรทีอ่าศัยอยูรอบพื้นที่อทุยานแหงชาติเขาใหญแยกรายตําบล

ตําบล จํานวนครัวเรอืน จํานวนประชากร (คน) จํานวนแบบสอบถาม (ชุด)

ตําบลสาริกา 1,168 4,116 43 ตําบลพรหมณี 151 520 6 ตําบลหินต้ัง 967 3,602 35 ตําบลดงละคร 145 555 5 ตําบลเขาพระ 481 1,798 18 ตําบลนาหินลาด 166 605 6 ตําบลบานพราว 44 166 2 ตําบลหนองแสง 318 1,031 12 ตําบลวังน้ําเขียว 268 929 10 ตําบลวังหมี 311 1,182 11 ตําบลวังกะทะ 76 271 3 ตําบลหมูสี 659 2,151 24 ตําบลโปงตาลอง 340 1,176 12

n = N 1+e2N

nh = Nh x no N

Page 37: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-49

ตารางที่ 3.3-8 (ตอ)

จํานวนแบบสอบถามประชากรทีอ่าศัยอยูรอบพื้นที่อทุยานแหงชาติเขาใหญแยกรายตําบล

ตําบล จํานวนครัวเรอืน จํานวนประชากร (คน) จํานวนแบบสอบถาม (ชุด)

ตําบลพญาเย็น 630 1,797 23 ตําบลนนทรี 37 149 2 ตําบลบุฝาย 241 959 9 ตําบลคําโตนด 278 1,027 10 ตําบลโพธิ์งาม 286 1,052 10 ตําบลหนองแกว 290 1,106 11 ตําบลบุพราหมณ 1,323 5,248 48 ตําบลทุงโพธ์ิ 138 546 5 ตําบลนาดี 519 2,199 19 ตําบลสะพานหิน 206 819 8 ตําบลสําพันตา 150 624 23 ตําบลดงขี้เหล็ก 110 432 16 ตําบลเนินหอม 234 819 30 ตําบลชะอม 653 2,313 84 ตําบลทามะปราง 121 444 16 ตําบลซําผักแพว 49 180 7 ตําบลมิตรภาพ 201 1,008 37

รวม 10,560 38,824 545 ที่มา : กชช.2ค.,2546.

สําหรับเทคนิคการสุมตัวอยางใชวิธีการสํารวจอยางงาย (simple random sampling) โดยไมมี

การเจาะจงครัวเรือน การกระจายของประชากรตัวอยางจะพิจารณาจากปจจัยดานรูปแบบการใชที่ดินของแตละชุมชนและระยะหางของที่ต้ังของครัวเรือนกับขอบเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติ เปนสําคัญ โดยรายละเอียดของผลการศึกษามีดังตอไปนี้ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณ

กลุมตัวอยางที่สัมภาษณทั้งหมด 545 ครัวเรือน พบวา ผูใหสัมภาษณสวนใหญเปนประชากร

เพศหญิงมากที่สุด จํานวนทั้งสิ้น 292 คน คิดเปนรอยละ 53.58 และเพศชายจํานวน 253 คน คิดเปนรอยละ 46.42 โดยประชากรมีอายุโดยเฉลี่ย คือ 40.50 ป โดยสวนใหญมีอายุระหวาง 41-50 ป จํานวนทั้งสิ้น 137 คน คิดเปนรอยละ 25.14 รองลงมามีอายุระหวาง 31-40 ป จํานวนทั้งสิ้น 133 คน คิดเปนรอยละ 24.40 และอายุระหวาง 21-30 ป จํานวนทั้งสิ้น 118 คน คิดเปนรอยละ 21.65 ตามลําดับ ในดานการนับถือศาสนา พบวา ประชาชนสวนใหญในพื้นที่ศึกษานับถือศาสนาพุทธมากที่สุด จํานวน

Page 38: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-50

ทั้งสิ้น 493 คน คิดเปนรอยละ 90.46 รองลงมาคือศาสนาคริสต จํานวนทั้งสิ้น 42 คน คิดเปนรอยละ 7.71 และศาสนาอิสลามจํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 1.83 ตามลําดับ

ระดับการศึกษาสูงสุดของกลุมตัวอยางที่สัมภาษณที่มีจํานวนมากที่สุด คือ ระดับประถมศึกษา

จํานวนทั้งสิ้น 174 คน คิดเปนรอยละ 31.92 รองลงมา ไดแก ระดับมัธยมศึกษาตอนตนจํานวน 131 คน คิดเปนรอยละ 24.04 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจํานวน 89 คน คิดเปนรอยละ 16.33 ตามลําดับ ดังนั้นจึงสามารถสรุปไดวา ประชากรในพื้นที่ศึกษายังไดรับการศึกษาในระดับตํ่า ทั้งนี้อาจเนื่องจากประชากรสวนใหญอยูหางไกลจากสถานศึกษา ทําใหการพัฒนาดานการศึกษามีนอย ดังนั้น จึงควรมีการสงเสริมการศึกษาขึ้นภายในชุมชนใหเพิ่มมากขึ้น เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ดังกลาว

สําหรับขอมูลดานครัวเรือนของกลุมตัวอยางที่ใหสัมภาษณ จากการศึกษาขอมูลสมาชิกใน

ครัวเรือน พบวา จํานวนสมาชิกโดยเฉลี่ยของแตละครัวเรือนมีจํานวน 5.09 คน/ครัวเรือน โดยสวนใหญ มีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนอยูในชวง 4-7 คน จํานวน 228 ครัวเรือน (รอยละ 41.83) และโดยสวนใหญไดต้ังถิ่นฐานอาศัยในพื้นที่ศึกษาเปนระยะเวลามากกวา 21 ป เปนจํานวน 390 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 71.56 รองลงมาคือ ระยะเวลาเพียง 1-5 ป จํานวนทั้งสิ้น 52 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 9.54 จะเห็นไดวา ประชากรสวนใหญที่อาศัยอยูในพื้นที่ศึกษา เปนประชากรทองถิ่นที่อาศัยอยูมาเปนเวลานาน รวมทั้งผูที่อพยพมากจากพื้นที่อื่น โดยมีวัตถุประสงคในการยายมาเพื่อประกอบอาชีพ (รายละเอียดดังตารางที่ 3.3-9)

ตารางที่ 3.3-9 ขอมูลท่ัวไปของผูใหสัมภาษณ

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ

1. เพศ - ชาย 253 46.42 - หญิง 292 53.58 2. ชวงอายุ - 18-20 ป 37 6.79 - 21-30 ป 118 21.65 - 31-40 ป 133 24.40 - 41-50 ป 137 25.14 - 51-60 ป 61 11.19 - 61 ปขึ้นไป 59 10.83 3. ทานนับถือศาสนา - พุทธ 493 90.46 - คริสต 42 7.71 - อิสลาม 10 1.83 4. ทานสําเร็จการศึกษาสูงสุดระดับใด - ไมไดรับการศึกษา 62 11.38 - ประถมศึกษา 174 31.92

Page 39: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-51

ตารางที่ 3.3-9 (ตอ)

ขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณ

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ

4. ทานสําเร็จการศึกษาสูงสุดระดับใด (ตอ) - มัธยมศึกษาตอนตน 131 24.04 - มัธยมศึกษาตอนปลาย 89 16.33 - ปวช./ปวส. 55 10.09 - ปริญญาตรี 34 6.24 5. สถานภาพการสมรส - แตงงาน 435 79.73 - โสด 110 20.27 6. สมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด (รวมตัวทานดวย) - 1-3 คน 152 27.93 - 4-7 คน 228 41.89 - มากกวา 7 คนขึ้นไป 164 30.18 7. ระยะเวลาที่ต้ังถิ่นฐานในพื้นที่นี้ - 1-5 ป 52 9.46 - 6-11 ป 29 5.41 - 12-16 ป 42 7.66 - 17-21 ป 32 5.86 - มากกวา 21 ป 390 71.62

ที่มา : บริษัท เอเซีย แล็ป แอนด คอนซัลแตนท จํากัด, 2548

ตอนที่ 2 ขอมูลทางเศรษฐกิจ-สังคม

จากการศึกษาขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคมของกลุมตัวอยางที่สัมภาษณ พบวา ประชากรสวนใหญ

ประกอบอาชีพหลัก คือ คาขาย จํานวนทั้งสิ้น 265 คน คิดเปนรอยละ 48.62 รองลงมา ไดแก การทําไร จํานวนทั้งสิ้น 88 คน คิดเปนรอยละ 16.15 และรับจางทั่วไปจํานวน 45 คน คิดเปนรอยละ 8.26 โดยสวนใหญมีรายไดเฉลี่ยของครัวเรือนตอเดือนมากกวา 10,001 บาทขึ้นไป จํานวนทั้งสิ้น 139 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 25.51 รองลงมา ไดแก ระหวาง 4,001-6,000 บาทตอเดือน จํานวนทั้งสิ้น 108 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 19.82 และระหวาง 2,001-4,000 บาทตอเดือน จํานวนทั้งสิ้น 84 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 14.86 ตามลําดับ และประชากรสวนใหญไมไดประกอบอาชีพเสริมมากถึง 388 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 71.19 มีเพียง 157 ครัวเรือน (รอยละ 28.81) ที่มีการประกอบอาชีพเสริม โดยสวนใหญจะปลูกมะปราง และเลี้ยงสัตว เปนอาชีพเสริม สวนขอมูลดานการครอบครองที่ดิน พบวา ประชากรสวนใหญไมมีที่ดินในครอบครองจํานวนทั้งสิ้น 346 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 63.49 มีเพียง 199 ครัวเรือนที่มีที่ดินทํากินเปนของตนเอง คิดเปนรอยละ 36.51

Page 40: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-52

สวนขอมูลดานการใชน้ําเพื่อการอุปโภค-บริโภคในครัวเรือน จากการสอบถาม พบวา ประชากรสวนใหญใชน้ําประปาหมูบานในการอุปโภค-บริโภค จํานวนทั้งสิ้น 381 ครัวเรือน คิดเปน รอยละ 69.91 และประชากรสวนใหญนิยมใชแกสหุงตมเปนพลังงานในการประกอบอาหารมากถึง 241 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 44.22 รองลงมาคือใชไมฟนจํานวนทั้งสิ้น 223 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 40.92 ตามลําดับ (รายละเอียดดังตารางที่ 3.3-10)

ตารางที่ 3.3-10 ผลการสํารวจขอมูลเศรษฐกิจ-สังคม อุทยานแหงชาติเขาใหญ

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ

1. ปจจุบันทานประกอบอาชีพหลัก - เล้ียงสัตว 44 8.07 - ทําไร 88 16.15 - ทําสวนผลไม 29 5.32 - ทํานา 5 0.92 - รับจางทั่วไป 45 8.26 - คาขาย 265 48.62 - ลูกจางหนวยงาน 42 7.71 - อื่นๆ เชน รัฐวิสาหกิจ และรับราชการ เปนตน 27 4.95 2. รายไดเฉล่ียของครัวเรือนตอเดือน - นอยกวา 2,000 บาท 73 13.39 - 2,001-4,000 บาท 84 15.41 - 4,001-6,000 บาท 108 19.82 - 6,001-8,000 บาท 81 14.86 - 8,001-10,000 บาท 60 11.01 - มากกวา 10,001 บาท ขึ้นไป 139 25.51 3. ทานประกอบอาชีพเสริมหรือไม - ไมประกอบอาชีพเสริม 388 71.19 - ประกอบอาชีพเสริม เชน ปลูกมะปราง และ เล้ียงสัตว เปนตน 157 28.81 4. ทานมีที่ดินสําหรับประกอบอาชีพหรือไม - ไมมี 346 63.49 - มี 199 36.51 5. ทานเปนสมาชิกของกลุมใดบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) - กลุมเกษตรกร 221 40.55 - กลุมออมทรัพย 147 26.97 - กลุมทองเที่ยว 12 2.20 - กลุมสตรี 182 33.39 - กลุมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 73 13.39 - กองทุนหมูบาน 376 68.99 - อื่นๆ เชน กองทุนสวัสดิการ หรือไมเปนสมาชิกของกลุมใดๆ เปนตน 216 39.63

Page 41: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-53

ตารางที่ 3.3-10 (ตอ)

ผลการสํารวจขอมูลเศรษฐกิจ-สังคม อุทยานแหงชาติเขาใหญ

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ

6. สิ่งอํานวยความสะดวกในครัวเรือนของทาน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) - โทรทัศน 430 78.90 - ตูเย็น 32 5.87 - รถจักรยานยนต 66 12.11 - รถยนต 12 2.20 - อื่นๆ เชน พัดลม เครื่องซักผา และเครื่องเสียง เปนตน 91 16.70 7. ทานใชน้ําเพื่ออุปโภค-บริโภคในครัวเรือนจากแหลงใด - น้ําบอต้ืน 15 2.75 - น้ําประปาหมูบาน 381 69.91 - น้ําบาดาล 27 4.95 - น้ําฝน 39 7.16 - อื่นๆ เชน น้ําซื้อ และ น้ําจากแหลงน้ําธรรมชาติ เปนตน 83 15.23 8. ทานใชพลังงานจากแหลงใดในการหุงตมอาหาร - ไมฟน 223 40.92 - ถานไม 61 11.19 - แกสหุงตม 241 44.22 - ไฟฟา 20 3.67

ที่มา : บริษัท เอเซีย แล็ป แอนด คอนซัลแตนท จํากัด, 2548

ตอนที่ 3 ขอมูลการใชประโยชนจากทรัพยากรจากปาและทรัพยากรการทองเที่ยว ในดานทรัพยากรธรรมชาติ พบวา มีประชาชนถึง 334 คน (รอยละ 61.28) ที่เขาไปใช

ประโยชนในพื้นที่ปา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเก็บหาฟนมากที่สุดจํานวน 125 คน (รอยละ 37.43) รองลงมาไดแก การเก็บหาของปาจํานวน 66 คน (รอยละ 19.76) และการทองเที่ยวจํานวน 60 คน (รอยละ 17.96) ตามลําดับ สําหรับประชาชนที่ไมเคยเขาไปใชประโยชนในเขตปามีจํานวน 211 คน (รอยละ 38.72) และประชาชนสวนใหญทราบวาบริเวณใกลที่อยูอาศัยมีแหลงทองเที่ยวที่สําคัญจํานวน 236 คน (รอยละ 43.30) ซึ่งชุมชนดังกลาวทราบวามีทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ ไดแก ปาไม/สัตวปา และแหลงน้ํา โดยจุดเดนของทรัพยากรในพื้นที่ ไดแก ความอุดมสมบูรณของพื้นที่ปา ทัศนียภาพ และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยชุมชนดังกลาวสวนใหญเคยเห็นนักทองเที่ยวเขามาในชุมชน คิดเปน รอยละ 99.08 โดยจากการเขามาของนักทองเที่ยวทําใหชุมชนไดรับประโยชนจากกิจกรรมการทองเที่ยว เชน การคาขาย และการรับจาง คิดเปนรอยละ 77.98

สําหรับการรับทราบขอมูลขาวสาร พบวา ประชาชนไดรับขาวสารจากทางอุทยานแหงชาติ

คอนขางมาก เนื่องจากมีประชาชนถึง 447 คน (รอยละ 81.98) ที่เคยไดรับขาวสารจากทางอุทยานแหงชาติ สวนการไดรับขาวสารสวนใหญนั้นมาจากเจาหนาที่อุทยานแหงชาติ จํานวน 277 คน คิดเปน

Page 42: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-54

รอยละ 61.97 รองลงมา ไดแก การรับทราบขอมูลขาวสารจากสื่อโทรทัศน และสื่อทางวิทยุ คิดเปนรอยละ 13.65 และรอยละ 10.51 ตามลําดับ รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 3.3-11

ตารางที่ 3.3-11 ขอมูลการใชประโยชนจากทรัพยากรจากปาไมและทรัพยากรการทองเที่ยว

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ

1. ทานเคยเขาไปใชประโยชนในเขตปาหรือไม - ไมเคย 211 38.72 - เคย โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ 334 61.28 เล้ียงสัตว 29 8.68 ลาสัตว 10 2.99 เก็บหาฟน 125 37.43 เก็บหาของปา 66 19.76 ปลูกปา 27 8.08 ทองเที่ยว 60 17.96 อื่นๆ เชน เพาะปลูก จับสัตวน้ํา เปนตน 17 5.10 2. ปาใกลบานทานมีแหลงทองเที่ยวที่สําคัญหรือไม - ไมมี 221 40.55 - ไมทราบ 88 16.15 - มี เชน น้ําตกตางๆ และ แกงหินเพิง เปนตน 236 43.30 3. ทานเคยเห็นนักทองเที่ยวเขามาในชุมชนของทานหรือไม - เคยเห็น 540 99.08 - ไมเคยเห็น 5 0.92 4. ทานหรือสมาชิกในครัวเรือนของทาน เคยไดรับประโยชนจากการทองเที่ยวหรือไม - ไมไดรับประโยชน 120 22.02 - ไดรับประโยชน เชน การคาขาย และ รับจาง เปนตน 425 77.98 5. ทานเคยไดรับขอมูลขาวสาร หรือการติดตอในดานตางๆ จากอุทยานแหงชาติ เขาใหญ หรือไม

- ไมเคย 98 17.98 - เคย ไดรับจาก 447 82.02 โทรทัศน 61 13.65 วิทยุ 47 10.51 หนังสือพิมพ หรือส่ิงพิมพอื่นๆ 22 4.92 เจาหนาที่อุทยานแหงชาติ 277 61.97 เจาหนาที่จากภาครัฐอื่นๆ 40 8.95

ที่มา : บริษัทเอเซีย แล็ป แอนด คอนซัลแตนท จํากัด , 2548.

Page 43: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-55

3.3.14 ประวัติศาสตร โบราณคดี และวัฒนธรรม

แหลงโบราณคดี วัฒนธรรมประเพณี และสิ่งมีคาทางประวัติศาสตร ในบริเวณพื้นที่ใกลเคียงกับอุทยานแหงชาติเขาใหญ ไดแก

1) ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ประดิษฐาน ณ ปากทางแยกเขาสูตัวเมืองปราจีนบุรี

ใกลกับคายจักรพงษ มีพระบรมรูปหลอประทับยืนอยูภายใน เหตุที่สรางศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราชขึ้นที่นี่ก็เพราะพระองคไดเคยเสด็จกรีฑาทัพจากกรุงศรีอยุธยาผานมาที่เมืองปราจีนบุรี เพื่อไปยังเมืองละแวกและจับพระสัฏฐาทําพิธีปฐมกรรม

2) วัดแกวพิจิตร เปนวัดสําคัญของจังหวัดปราจีนบุรี สรางเมื่อป พ.ศ. 2422 ต้ังอยูริมฝง

ดานขวาของแมน้ําปราจีนบุรี หางจากตัวเมืองปราจีนบุรีไปทางทิศตะวันออกประมาณ 2 กิโลเมตร วัดนี้มีลักษณะคือ นําศิลปะกรีกมาประยุกตเขากับศิลปะไทย ในพระอุโบสถมีจิตรกรรมฝาผนังงดงามมาก

3) วัดตนโพธิ์ศรีมหาโพธิ์ เปนวัดสําคัญอยูในเขตอําเภอศรีมโหสถ หางจากตัวเมือง

ปราจีนบุรี 22 กิโลเมตร ตามถนนสาย 319 ภายในวัดมีตนโพธ์ิใหญที่สุด และเกาแกที่สุดในประเทศ เปนตนโพธ์ิที่นําหนอมาจากพุทธคยา ประเทศอินเดีย ที่โคนตนมีพระพุทธรูปปางตางๆ ประดิษฐานอยูโดยรอบ

4) เมืองมโหสถ ต้ังอยูที่อําเภอศรีมโหสถหางจากตัวเมืองปราจีนบุรีไปทางใตประมาณ 20

กิโลเมตร ตามถนนสายปราจีนบุรี-พนมสารคาม เปนเมืองโบราณ สมัยทวารวดี มีคันดินคูเมืองลอมรอบเนื้อที่กวา 700 ไร คูเมืองกวาง ประมาณ 20 เมตร ภายในตัวเมืองมโหสถมีซากโบราณวัตถุอีกเปน จํานวนมาก เชน ลูกปดซึ่งถือวาเปนแหลงลูกปดขนาดใหญในภาคตะวันออก รูปพระวิษณุ พระพิฆเนศ ศิวลึงค และเครื่องปนดินเผา เปนตน โบราณสถานที่สําคัญ ไดแก สระแกว ต้ังอยูทาง ทิศตะวันตกเฉียงใตของเมืองมโหสถ หางจากคูเมืองประมาณ 100 เมตร เปนสระน้ําโบราณขุดลงไปในศิลาแลงธรรมชาติ มีภาพสลักรูปสัตว เชน ชางปา สิงห หมูปา มีประมาณ 41 ภาพ ถือวาเปนสระน้ําที่สวยที่สุด นอกจากนี้ยังมีภูเขาทอง ลักษณะเปนฐานเจดียรูปสถูป ตรงกลางอัดดวยดินลูกรังลอมรอบดวยศิลาแลงรูปกลมและแปดเหลี่ยมอยูทางทิศตะวันตกนอกคันดินคูเมือง

5) ศาลหลักเมืองนครนายก ต้ังอยูอําเภอเมือง จังหวัดนครนายก เดิมเปนเสาไม ยาว

ประมาณ 1 เมตรเศษ ปลายเสาแกะสลักเปนรูปดอกบัวต้ังอยูบริเวณกําแพงเมืองเกา ปจจุบันคือบริเวณบานพักผูชวยที่ดินจังหวัด และศูนยบริการสาธารณสุขเทศบาล ประมาณ พ.ศ.2453 ทางราชการเห็นวา ศาลหลักเมืองเดิมชํารุดมาก จึงไดยายหลักเมืองไปประดิษฐานที่ตึกแดงในโรงเรียนสตรีประจําจังหวัด คือ โรงเรียนศรีนครนายก ภายหลังไดยายมาสรางใหม ณ สถานที่ปจจุบันโดยสรางเปนศาลาจตุรมุข เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์คูบานคูเมืองของชาวเมืองนครนายกจนถึงทุกวันนี้

6) ศาลเจาพอขุนดาน ต้ังอยูอําเภอเมือง จังหวัดนครนายก เปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์มี

ประชาชนเคารพนับถือมาก ตามประวัติทานเปนนายดานเมืองนครนายกสมัยอยุธยา วีรกรรมของทานคือ การตอตานเขมรที่แปรพักตร เมื่อป พ.ศ.2130 ในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ขณะที่ไทยติดพันศึกกับพมา เขมรไดเขามารุกรานและกวาดตอนผูคนแถบปราจีนบุรีเพื่อนํากลับไปเขมร และไดยึดเมืองปราจีนบุรีและเมืองนครนายก ขุนดานไดรวบรวมชาวเมืองถอยไปตั้งหลักที่เขาชะโงกแลวยกกําลัง

Page 44: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-56

เขาขับไลเขมรออกจากนครนายก จนเขมรแตกพายไป ยังมีเรื่องเลาเกี่ยวกับความศักดิ์สิทธิ์ของทานอีกวาในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุนนํากําลังพลไปตั้งที่เขาชะโงก และไดรื้อศาลเจาพอขุนดานทานจึงแสดงอภินิหารทําใหทหารญี่ปุนลมตายเปนจํานวนมาก

7) พระพุทธฉาย หรือวัดพระฉาย แตเดิมชื่อวา "วัดเขาชะโงก" ต้ังอยูอําเภอเมือง จังหวัด

นครนายก เปนภาพเขียนสีติดอยูกับชะโงกผาบนภูเขาเตี้ยๆ ถัดจากเขาชะโงก พระพุทธฉายนี้ ประวัติเดิมเปนอยางไรไมปรากฏแตเลากันวาสภาพเดิมเปนภาพพระพุทธรูปปางตางๆ เมื่อ พ.ศ. 2485 กรมแผนที่ทหารบกเขาไปตั้งโรงงานหินออนที่เชิงเขานี้ และไดเขียนตามรอย พระพุทธรูปเดิมใหชัดเจนขึ้น ชาวบานนับถือกันวา เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์แหงหนึ่ง ทุกกลางเดือน 3 จะมีงานนมัสการเปนประจําทุกป

8) พระพุทธบาท 4 รอย ต้ังอยูอําเภอบานนา จังหวัดนครนายก ประดิษฐาน ณ มณฑปวัดทองยอย

เปนโบราณสถานอันเกาแก มีคุณคาทางศิลปะซึ่งแสดงถึงความประณีตงดงามในการประดิษฐการหลอของฝมือชางไทยสมัยโบราณ มีงานนมัสการทุกวัน ขึ้น 15 ค่ํา เดือน 3 ของทุกป

9) ประตูชุมพล เปนประตูเมืองดานทิศตะวันตกของเมืองนครราชสีมา ซึ่งสรางขึ้นในสมัย

สมเด็จพระนารายณมหาราช เมืองนครราชสีมาในสมัยนั้นมีผังเมืองเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ลอมรอบดวยคูน้ําและกําแพง มีประตูเมืองสี่ประตู ปจจุบันคงเหลือเพียงประตูชุมพลทางดานทิศตะวันตกที่เปนประตูเดิม สวนอีกสามประตูอันไดแก ประตูพลแสนดานทิศเหนือ ประตูพลลานดานทิศตะวันออก และประตูชัยณรงคดานทิศใต ไดสรางขึ้นใหมแทนของเดิม

10) พิพิธภัณฑ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ มหาวีรวงศ ต้ังอยูในบริเวณวัดสุทธิจินดาตรง

ขามศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา มีศิลปวัตถุทั้งที่สมเด็จพระมหาวีรวงศอดีตเจาอาวาสวัดสุทธิจินดารวบรวมไว โบราณวัตถุที่กรมศิลปากรไดสํารวจขุดพบในเขตจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดใกลเคียง และที่มีผูบริจาค เชน พระพุทธรูปศิลาสมัยขอม สมัยอยุธยา เครื่องเคลือบดินเผาขนาดตางๆ พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ เครื่องใชสมัยโบราณ ภาพไมแกะสลักซึ่งนํามาจากวัดโบราณ

11) อนุสาวรียทาวสุรนารี อนุสาวรียทาวสุรนารี สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2476 ต้ังอยูหนาประตูชุม

พล ซึ่งเปนประตูเมืองเกาทางดานทิศตะวันตก อนุสาวรียหลอดวยทองแดงรมดํา สูง 1.85 เมตร หนัก 325 กิโลกรัม ประดิษฐานอยูบนไพทีสี่เหลี่ยมยอมุมไมสิบสอง สูง 2.5 เมตร แตงกายดวยเครื่องยศพระราชทาน มือขวากุมดาบ ปลายดาบจรดพื้น มือซายทาวสะเอว หันหนาไปทางทิศตะวันตกซึ่งเปนที่ต้ังของกรุงเทพฯ ฐานอนุสาวรียบรรจุอัฐิของทาวสุรนารี เปนที่เคารพสักการะของชาวจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดใกลเคียง

แตสําหรับในพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญไมพบวามี แหลงโบราณคดี วัฒนธรรมประเพณี

และสิ่งมีคาทางประวัติศาสตร แตอยางใด 3.3.15 สาธารณสุข 1) สถานบริการสาธารณสุข จังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี สระบุรี และนครราชสีมา มีการบริการดานสาธารณสุขแกประชาชนโดยทั่วไป ซึ่งไดแก สถานีอนามัยประจําตําบล โรงพยาบาลประจําอําเภอ และโรงพยาบาลประจําจังหวัด

Page 45: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-57

2) โรคที่สมาชิกในครอบครัวเปนกันบอย การเจ็บปวยที่เกิดขึ้นบอย ไดแก อุจจาระรวง ตาแดง ไขไมทราบสาเหตุ การเจ็บปวยของราษฎรดังกลาวจะปรากฏในบางชวงฤดูกาล

3) การรักษาพยาบาล เมื่อเกิดการเจ็บปวยในกรณีเล็กๆ นอยๆ ชาวบานจะรักษาตาม

อาการ โดยการซื้อยาซอง ยาชุด มารับประทานเองจาก อสม. หรือศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน ประจําหมูบาน สถานีอนามัยประจําตําบล แตหากมีการเจ็บปวยที่รุนแรงหรือ หากรักษาดวยตนเองไมหายราษฎรจะไปรักษาที่สถานีอนามัย โรงพยาบาลประจําอําเภอ โรงพยาบาลประจําจังหวัด หรือคลินิก

4) แหลงน้ําดื่มน้ําใชและการปรับปรุงคุณภาพน้ํา แหลงน้ําดื่มน้ําใชของชุมชนสวนใหญ

ใชน้ําจากน้ําผิวดิน เชน ลําหวย สระ และคลองตางๆ 5) การใชสวม การใชสวมในหมูบาน พบวา สวนใหญมีการใชสวมชนิดสวมซึม

3.3.16 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

บริเวณพื้นที่น้ําตกเหวสุวัต อยูในความรับผิดชอบของสถานีตํารวจภูธร ตําบลหมูสี อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา สําหรับบริเวณพื้นที่อื่นๆ ในเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญ ก็มีสถานีตํารวจประจําอําเภอ และประจําตําบลรับผิดชอบดูแล โดยมีสายตรวจออกตรวจพื้นที่เปนประจํา และในแตละแหลงทองเที่ยว ทางอุทยานแหงชาติ ไดจัดใหมีฝายปองกัน ซึ่งทําหนาที่ควบคุมดูแลการจัดเวรยามรักษาความปลอดภัยใหแกนักทองเที่ยว ไดแก ที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาใหญ และหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติทั้ง 20 แหง 3.3.17 ทรัพยากรการทองเที่ยว

แหลงทองเที่ยวพักผอนหยอนใจ สุนทรียภาพ และสภาพธรรมชาติอันควรอนุรักษแบงออกไดเปนแหลงทองเที่ยวในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติ และแหลงทองเที่ยวใกลเคียงพื้นที่อุทยาน รายละเอียดดังนี้

1) แหลงทองเที่ยวในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ

แหลงทองเที่ยวในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ ซึ่งมีชื่อเสียงและเปนที่รูจักกัน

แพรหลาย ไดแก น้ําตกซึ่งมีความสวยงามตามธรรมชาติหลายแหง ไดแก น้ําตกนางรอง น้ําตกสาริกา น้ําตกกองแกว น้ําตกผากลวยไม น้ําตกเหวสุวัต น้ําตกเหวนรก น้ําตกไมปลอง น้ําตกวังเหว น้ําตกตะครอ น้ําตกแกงกฤษณา น้ําตกเหว น้ําตกจั๊กจั่น น้ําตกเหวอีอ่ํา น้ําตกผาไทรคู และน้ําตกผากระชาย น้ําตกแกงหินเพิง น้ําตกเหวไทร น้ําตกเหวประทุน น้ําตกวังมะนาว น้ําตกตาดตาภู น้ําตกตาดตาคง แกงสลัดได และกลุมน้ําตกผาตะแบก ดังรายละเอียดในหัวขอ 3.2.2

นอกจากนี้ยังมีจุดชมทิวทัศนทิวทัศนในพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ อีก 5 จุด คือ จุด

ชมทิวทัศน ก.ม.18.5 (เสนทางดานเนินหอม-แยกศูนยฝกอบรม) จุดชมทิวทัศนหัวเขา ก.ม.30 (เสนทางดานตรวจอําเภอปากชอง-ที่ทําการอุทยานแหงชาติ) จุดชมทิวทัศนเขาเขียว ก.ม.12 หรือ

Page 46: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-58

ผาเดียวดาย (เสนทางแยกเขาเขียว-สถานีทวนสัญญานกองทัพอากาศ) จุดชมทิวทัศนอางเก็บน้ํา มอสิงโต (ก.ม.37) และจุดชมทิวทัศน ก.ม.4 (เสนทางแยกศูนยฝกอบรม-ผากลวยไม-เหวสุวัต)

2) แหลงทองเที่ยวที่อยูใกลเคียงพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ แหลงทองเที่ยวที่อยูใกลเคียงพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญสวนใหญเปนแหลงทองเที่ยว

ทางธรรมชาติ ไดแก

2.1) อุทยานแหงชาติทับลาน อยูในเขตอําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี บนทางหลวงหมายเลข 304 เลยสี่แยกกบินทรบุรีไปประมาณ 30 กิโลเมตร ไดรับการจัดต้ังเปน อุทยานแหงชาติ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2524 มีพื้นที่ประมาณ 2,240 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,400,000 ไร พืชที่พบมาก ในเขตอุทยานแหงชาติ ไดแก ไมตระกูลปาลม นอกจากนั้นยังมีน้ําตกทับลานซึ่งมีความสวยงามมาก

2.2) น้ําตกเขาอีโต และอางเก็บน้ําจักรพงษ อยูหางจากตัวเมืองปราจีนบุรีประมาณ

12 กิโลเมตร จากตัวเมืองออกมาสามแยกถนนใหญ แลวเลี้ยวขวาไปทางอรัญประเทศ ไมไกลนักก็จะพบทางแยกซายมือเขาสูน้ําตกอีก 2 กิโลเมตร น้ําตกเขาอีโตมีลักษณะเปนลําธารไหลผานแกงหินใหญ นอย แตปจจุบันจะมีน้ําเฉพาะในฤดูฝนและตนฤดูหนาวเทานั้น ทางเดียวกับทางเขาน้ําตกจะผานอางเก็บน้ําซึ่งเปน สถานที่พักผอนและสามารถลงเลนน้ําได

2.3) น้ําตกหวยเกษียร ปากทางแยกเขาน้ําตกแหงนี้อยูที่หมูบานขอนขวาง ตําบลดง

ขี้เหล็ก อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งอยูตรงหลัก กม.ที่ 166 หรือหางจากตัวเมืองปราจีนบุรี 15 กิโลเมตร แยกซายมือเขาสูน้ําตกอีก 4 กิโลเมตร บริเวณน้ําตกเปนปาเขาสวยงามตามธรรมชาติ

2.4) วังตะไคร ต้ังอยูที่ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก อยูใกลกับน้ําตก

นางรอง อยูหางจากตัวเมืองประมาณ 16 กิโลเมตร เปนของกรมหมื่นนครสวรรคศักดิ์พินิจ และหมอมราชวงศหญิงพันธุทิพยบริพัตรเปนสถานที่ซึ่งไดรับการตกแตงดวยพันธุไมดอกไมประดับนานาพันธุในเนื้อที่ 1,500 ไร

2.5) น้ําตกกะอาง ต้ังอยูที่ตําบลเขาเพิ่ม อําเภอบานนา จังหวัดนครนายก จากตัวเมือง

ไปตามถนนสุวรรณศรถึงอําเภอบานนา เยื้องกับสถานีตํารวจภูธร อําเภอบานนา มีถนนแยกไปน้ําตกกะอางระยะทาง 11 กิโลเมตร เปนน้ําตกเล็กๆ ลักษณะเปนลานหินกวางมีน้ําตกไหลผานตามชองหิน ในบริเวณยังไมมีสิ่งอํานวยความสะดวกใดๆ บริเวณใกลเคียงมีสถานีเพาะชํากลาไมของกรมปาไมต้ังอยูดวย และมีเนินเขาเปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย

2.6) น้ําตกธารหลังเหว ต้ังอยูบริเวณหมูที่ 19 ตําบลปากชอง อําเภอปากชอง จังหวัด

นครราชสีมา เปนน้ําตกที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยมีตนน้ําจากฝายน้ําลนในหมูบานไหลผานมายังวัดน้ําตกธารหลังเหว มีความสูง 50 เมตร บันไดขึ้นลงใตน้ําตก 200 ขั้น มีจุดชมทิวทัศนที่สวย

2.7) น้ําตกสวนหอม ต้ังอยูตําบลวังน้ําเขียว อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

หางจากถนนสืบศิริประมาณ 6 กม. เขาทางตลาด 79 เปนน้ําตกที่สวยงามมาก ภูมิทัศนโดยรอบยังคงความเปนธรรมชาติ บรรยากาศรมรื่น

Page 47: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-59

3.4 แนวทาง นโยบาย และแผนพัฒนาที่เก่ียวของกับการจัดการอุทยานแหงชาติและการทองเที่ยว

ในการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของพ้ืนที่อุทยานแหงชาติ จําเปนตองพิจารณานโยบาย แผนงาน และแผนพัฒนาในระดับชาติ เพื่อใชเปนกรอบ ในการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของพื้นที่อุทยานแหงชาติและวางแผนการจัดการพื้นที่เพื่อการทองเที่ยวที่เหมาะสม รวมทั้งพิจารณานโยบายและแผนของหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหสามารถพัฒนาศักยภาพของอุทยานแหงชาติ ในการใชประโยชนเพื่อกิจกรรมทองเที่ยวและนันทนาการ โดยไมกอใหเกิดผลกระทบตอสภาพธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งตอบสนองตอความตองการของประชาชนบริเวณโดยรอบอุทยานแหงชาติ 3.4.1 แนวทาง นโยบาย และแผนพัฒนาระดับชาติ 3.4.1.1 นโยบายรัฐบาลดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการทองเที่ยว

1) นโยบายดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รัฐบาลชุดปจจุบันใหความสําคัญกับการอนุรักษและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม โดยกําหนดนโยบายในการฟนฟูคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง ชีวภาพใหเอื้อตอการดํารงชีวิตและเกิดความสมดุล เพื่อเปนรากฐานในการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน โดยการบริหารและจัดการสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพแบบบูรณาการ ยึดหลักธรรมาภิบาลและการมีสวนรวมของประชาชนและชุมชนทองถิ่นในการควบคุมและกําจัดมลภาวะที่มีผลตอสุขภาพ สวัสดิภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน สนับสนุนใหนําตนทุนทางสังคม และระบบกรรมสิทธิ์รวมมาใชในการจัดการดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการ การอนุรักษและฟนฟูสิ่งแวดลอม และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ

2) นโยบายการบริการและทองเที่ยว นโยบายดานการบริการและทองเที่ยวกําหนดใหมีการสงเสริมคุณภาพและมาตรฐานของ

การบริการและการทองเท่ียว เพิ่มความหลากหลายของรูปแบบและเพิ่มประสิทธิภาพการบริการและการทองเท่ียวเพื่อยกระดับความสามารถในการแขงขันของประเทศ ทั้งดานการพัฒนาภาคบริการและการสงเสริมใหประเทศไทยเปนประตูการทองเที่ยวในภูมิภาค ดวยกลยุทธการตลาดเชิงรุก 3.4.1.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549)

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 มุงใหการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตอบสนองตอการปรับโครงสรางการพัฒนาประเทศเขาสูสมดุล โดยการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางประหยัดและคุมคา ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ตลอดจนการเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนในการไดรับประโยชน และการมีสวนรวมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน สรางความรูและเผยแพรขอมูลขาวสาร โดยใหประชาชน ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นเขามามีสวนรวมและรับผิดชอบในการรักษาความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหมีการใชประโยชน อนุรักษ และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติอยางสมดุล และอนุรักษสิ่งแวดลอมแหลงศิลปวัฒนธรรมอยางยั่งยืน มีการจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการระดับพื้นที่ลุมน้ํา ฟนฟูชายฝงและทะเล อนุรักษพื้นที่ปาไมรวมทั้งจัดการ

Page 48: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-60

ทรัพยากรดินที่มีปญหาและเสื่อมโทรม อนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมเมืองและแหลงทองเที่ยว จัดการมลพิษอยางมีประสิทธิผลควบคูกับสงเสริมการผลิตที่สะอาดและการนํากลับมาใชใหม 3.4.1.3 นโยบายและแผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ (พ.ศ. 2540-2559) นโยบายและแผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2540-2559 มีสาระสําคัญเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรักษาและฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อเสริมสรางคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยที่ดีของประชาชน อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติใหเปนฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถฟนสภาพไดใหมีศักยภาพเปนปจจัยพื้นฐานของการพัฒนาในอนาคต รวมทั้งสงวนรักษาและใชทรัพยากรธรรมชาติที่ไมสามารถฟนคืนสภาพไดอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม และกระจายอํานาจหนาที่ไปสูจังหวัดและทองถิ่น 3.4.1.4 นโยบายในการจัดการเชิงนิเวศ

1) นโยบายดานการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวและสิ่งแวดลอม กําหนดกรอบการพัฒนาการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวดวยมาตรฐานที่ชัดเจน สนับสนุนการทองเที่ยวในพื้นที่ที่มีศักยภาพ การพัฒนาพื้นที่เกี่ยวเนื่องนอกเขตอนุรักษใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ วางแผนการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวและสิ่งแวดลอมในแหลงทองเที่ยว เชิงนิเวศตามขีดความสามารถที่รองรับได โดยการกําหนดเปนเขตพื้นที่ทองเที่ยวและเขตอนุรักษอื่นๆ สนับสนุนการพัฒนาแหลงทองเท่ียวทองถิ่นในระดับกลุมพื้นที่ใหเชื่อมโยงและสนับสนุนซึ่งกันและกัน กระจายการพัฒนาแหลงทองเท่ียวในระดับที่สามารถทดแทนกันได และจัดระบบขอมูลขาวสารในการเดินทางเพื่อการจัดการปริมาณนักทองเที่ยวใหเกิดสมดุล กําหนดมาตรการปองกันและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมที่เขมงวดมากขึ้น และสนับสนุนการประกอบการที่ถูกตองเหมาะสมอยางเปนรูปธรรม สนับสนุนการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการควบคุมคุณภาพ ตรวจสอบ และการจัดการมลพิษในพื้นที่ และเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรในการวางแผน การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

2) นโยบายดานการใหการศึกษา และสรางจิตสํานึก กํากับ ดูแล จัดกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ใหเปนการศึกษานอกระบบโรงเรียน โดย

คํานึงถึงผลกระทบของกิจกรรมตอสิ่งแวดลอม จัดการศึกษาในระบบโรงเรียนและสถาบันที่เกี่ยวของใหเกิดความเขาใจดานการทองเที่ยวในทิศทางที่ยั่งยืน สนับสนุนสื่อสารมวลชนและสื่ออื่นๆ เพื่อใชเปนขอมูล คูมือและอุปกรณการเรียนรูของนักทองเที่ยวและผูเกี่ยวของ และการจัดสื่อความหมายธรรมชาติที่มีคุณภาพในแหลงทองเที่ยว นําภูมิปญญาทองถิ่นมาสื่อความหมาย สนับสนุนใหมีมัคคุเทศกทองถิ่น และใหการศึกษาดานธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแกบุคลากรที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกัน

3) นโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชนทองถิ่น พัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนดานการลงทุน การผลิตสินคาและบริการ ดวยความ

เสมอภาค สอดคลองกับการพัฒนาดานอื่น และมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด สนับสนุนการจัดต้ังเครือขายความรวมมือพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศในรูปองคกรหรือคณะกรรมการ โดยใหขอบเขตในการตัดสินใจและดําเนินการอยางอิสระภายใตกรอบที่จําเปนในการจัดการ เปดโอกาสให

Page 49: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-61

ประชาชนมีสวนรวมในการวางแผน ตัดสินใจ ติดตามประเมินผลและไดประโยชนจากการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ปรับทัศนคติและขีดความสามารถของหนวยงานรัฐใหรวมมือและเกื้อหนุนการมีสวนรวมของประชาชนมากขึ้น สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพคน โดยเพิ่มความรู ทักษะ และการมีจิตสํานึกในการดําเนินธุรกิจทองเที่ยว การอนุรักษ ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสามารถอนุรักษ ฟนฟูการทองเที่ยวไดดวยตนเอง และมีทักษะการจัดการที่ถูกตอง

4) นโยบายดานการสงเสริมตลาดและการนําเที่ยว กํากับการสงเสริมตลาดการทองเที่ยวเชิงนิเวศในทิศทางที่เหมาะสมกับสภาพทรัพยากรและขีดความสามารถในการรองรับได โดยสนับสนุนการตลาดในรูปแบบเครือขายเพื่อใหมีการกระจายนักทองเที่ยว สงเสริมการพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยวที่เนนการศึกษาและกิจกรรมเชิงนิเวศสําหรับกระตุนใหเกิดการขยายตัวของตลาดการทองเท่ียวเชิงนิเวศในกลุมนักทองเท่ียวชาวไทยและชาวตางประเทศ พัฒนาคุณภาพการบริการ เนนการใหการศึกษา การเรียนรูจากประสบการณ และการมีสวนรวมอยางเปนธรรมกับชุมชนทองถิ่น โดยกําหนดเกณฑมาตรฐานการบริการทองเที่ยว มาตรฐานการปฏิบัติตัวของนักทองเที่ยวในการทองเที่ยวเชิงนิเวศในลักษณะที่มีความเขมงวดเปนพิเศษ ภายใตการจัดใหมีความพึงพอใจแกนักทองเที่ยวในระดับที่ เหมาะสม ใหขอมูลขาวสารที่ถูกตองแกนักทองเที่ยว และมุงใหไทยเปนศูนยกลางการทองเที่ยวเชิงนิเวศในภูมิภาค

5) นโยบายดานการจัดโครงสรางพ้ืนฐานและบริการการทองเที่ยว จัดระบบการเดินทางเชื่อมโยงโครงขายการทองเที่ยวใหมีความสะดวก เหมาะสมกับ พื้นที่และกิจกรรม โดยเนนดานความปลอดภัย ใชพลังงานอยางประหยัดตามความจําเปนของขนาดพื้นที่และบริการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ สรางระบบการสื่อสารโทรคมนาคมดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสมครอบคลุมพื้นที่ทองเที่ยวและโครงขาย เพื่อการติดตอสื่อสาร การควบคุมปริมาณนักทองเที่ยว และการบรรเทาสาธารณภัย สนับสนุนใหภาคเอกชนดําเนินการบริการการทองเที่ยว โดยองคกรของรัฐสนับสนุนดานสิ่งอํานวยความสะดวก และกําหนดพื้นที่แหลงทองเที่ยว ภายใตการมีสวนรวมของทุกฝาย 3.4.1.5 นโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กําหนดใหมีนโยบายดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยตองมีการควบคุมดูแลรักษา และจัดการทรัพยากรใหคงสภาพเดิมใหมากที่สุด หลีกเลี่ยงการทองเที่ยวในพื้นที่ที่ออนไหวงายตอการถูกกระทบและฟนตัวไดยาก การจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศตองคํานึงถึงศักยภาพของทรัพยากรที่มีอยู จัดกิจกรรมที่เหมาะสม และคํานึงถึงการใหการศึกษา การสรางจิตสํานึกในการรักษาระบบนิเวศรวมกัน ใหความสําคัญตอการมีสวนรวมของประชาชนและองคกรทองถิ่นในการจัดการทรัพยากร การบริการ การแลกเปลี่ยนความรูและวัฒนธรรมชุมชนในกระบวนการทองเท่ียว ใหประชาชนมีตัวแทนเปนคณะกรรมการรวมในทุกระดับ ทั้งนี้ใหองคกรตางๆ กําหนดบทบาทที่ชัดเจนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยมีการจัดสรรงบประมาณ บุคลากร และกําหนดวิธีการจัดการที่เหมาะสม และนําแผนการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เขาสูแผนพัฒนาระดับตาง ๆ อยางมีความสําคัญ

Page 50: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-62

3.4.2 นโยบาย กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช ไดกําหนดนโยบายเพื่ออนุรักษ คุมครอง ดูแลและรักษาทรัพยากรปาไม สัตวปา และพันธุพืช ใหสมบูรณและสมดุลตามธรรมชาติ ตามกฎกระทรวง ซึ่งแบงสวนราชการ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2545 โดยใหมีการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน และเกิดประโยชนสูงสุด ฟนฟูและแกไขความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ควบคุมปองกันการบุกรุกทําลายปา และการกระทําผิด ทําการศึกษาวิจัยและพัฒนาวิธีการอนุรักษ การบริหารจัดการ และฟนฟูทรัพยากรปาไม สัตวปา พันธุพืช และความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงกําหนดมาตรการและมาตรฐานเกี่ยวกับการอนุรักษ บริหารจัดการ และการใชประโยชนจากทรัพยากรปาไม และสัตวปา และการใหบริการขอมูลสารสนเทศ และถายทอดเทคโนโลยีดานปาไม 3.4.3 นโยบาย แผนงาน และแผนพัฒนาดานการทองเที่ยวของประเทศไทย 3.4.3.1 นโยบายดานการทองเที่ยวของกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา สรางรายไดสูประเทศ เปนศูนยกลางทองเที่ยวในระดับภูมิภาคเอเชีย เปนศูนยกลางพัฒนาอุตสาหกรรมรองรับการถายทําภาพยนตรใหมีมาตรฐานทัดเทียมนานาอารยประเทศ

3.4.3.2 นโยบายการบริหารและการพัฒนาสงเสริมการทองเที่ยวภายในอุทยานแหงชาติ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ไดกําหนดแผนงานการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติ ไดแก

1) แผนงานจัดต้ังเครือขายการทองเที่ยวเชิงนิเวศเนนการสงเสริมการมีสวนรวมของผูมีสวนเกี่ยวของในรูปของเครือขายระดับนโยบายและการปฏิบัติการ

2) แผนงานจัดทําเขตพื้นที่ทองเที่ยวเชิงนิเวศในแหลงทองเที่ยวและกิจกรรมที่เหมาะสมกับขีดความสามารถที่รองรับได

3) แผนงานดําเนินการพัฒนาการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่นํารองเพื่อใชเปนแบบอยางในการพัฒนาการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศระยะยาว

4) แผนงานจัดทําคูมือการประเมินขีดความสามารถในการรองรับการทองเที่ยวเชิงนิเวศดวยตนเอง

5) แผนงานจัดทําคูมือการจัดสื่อความหมายธรรมชาติโดยผูเกี่ยวของทุกฝายในพื้นที่ 3.4.4 นโยบายและแผนพัฒนาระดับจังหวัด 3.4.4.1 แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา วิสัยทัศน : “ในทศวรรษหนา จังหวัดนครราชสีมาดินแดนแหงศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน พรอมที่จะกาวสูมหานคร เปนศูนยกลางการเกษตร การอุตสาหกรรม การพาณิชย และการทองเที่ยว นําสังคมสู ความเขมแข็ง มีดุลยภาพและมีคุณภาพชีวิตที่ดี” จากวิสัยทัศนดังกลาว ทางจังหวัดนครราชสีมาจึงมียุทธศาสตรในการพัฒนาการทองเที่ยว และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังนี้

ยุทธศาสตรการพัฒนาการทองเที่ยว เพื่อสนับสนุนนโยบายสงเสริมการทองเที่ยวใหสอดคลองกับยุทธศาสตร เพื่อเพิ่มศักยภาพใน

การแขงขันของประเทศและสอดรับกับยุทธศาสตรของกลุมจังหวัดซึ่งจังหวัดมีที่ต้ังเหมาะสม เปนจุด

Page 51: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-63

เชื่อมตอการคมนาคมทางบก เปนเสนทางผานของนักทองเที่ยวทางรถยนตเปนสวนใหญมีแหลงทองเที่ยวทางอารยธรรม วัฒนธรรมและธรรมชาติที่หลากหลาย สามารถสรางเรื่องราวเชื่อมโยงเปนตํานานตอเนื่อง ในกลุมจังหวัดและเชื่อมตอกับประเทศเพื่อนบาน โดยใหหยุดแวะพักที่จังหวัดนครราชสีมา และใชทรัพยากรดานการทองเที่ยวอันหลากหลายของจังหวัดเปนปจจัยดึงดูดนักทองเที่ยว

ยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเกิดดุลยภาพที่ย่ังยืน ฟนฟูพื้นที่ปาและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่มีในแตละจังหวัดไมใหถูกบุก

รุกทําลายไปมากกวาที่มีอยูในปจจุบัน และใหไดตามระวางพื้นที่ที่กําหนดเปนเขตอนุรักษ เพิ่มพื้นที่สวนสาธารณะใหไดมาตรฐาน และเพิ่มพื้นที่บริการน้ําชลประทานใหแกภาคเกษตรกรรมอยางทั่วถึง ตลอดจนการรักษาคุณภาพแหลงน้ํา อากาศ และความดังของเสียงใหไดมาตรฐาน 3.4.4.2 แผนพัฒนาจังหวัดสระบุรี วิสัยทัศน : “เปนศูนยกลางอุตสาหกรรมวัสดุกอสราง เปนแหลงผลิตและรวบรวมสินคาเกษตรเพื่อการสงออก เปนเสนทางเชื่อมโยงสําคัญสูภาคอีสานและชายฝงทะเลตะวันออก” จากวิสัยทัศนดังกลาว ทางจังหวัดสระบุรีจึงมียุทธศาสตรในการพัฒนาการทองเท่ียว และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังนี้

ยุทธศาสตรการสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยวใหสอดคลองกับกลุมเปาหมายเฉพาะ (Niche Market) เพื่อเพิ่มศักยภาพการทองเที่ยว และผูประกอบการสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ

ยุทธศาสตรการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสงเสริมการจัดการส่ิงแวดลอม โดย

การสงเสริมการมีสวนรวมในการอนุรักษ และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติสงเสริมการจัดการสิ่งแวดลอม

3.4.4.3 แผนพัฒนาจังหวัดนครนายก วิสัยทัศน : “เปนเมืองทองเที่ยวเชิงนิเวศระดับโลกและนาอยู เมืองใหมมาตรฐานผังเมืองสูง ล้ํายุค เพิ่มฐานเศรษฐกิจแกประชาชน อนุรักษฟนฟูธรรมชาติ สิ่งแวดลอมคูการพัฒนา การเกษตรกาวหนาสูสากล และเปนสังคมฐานความรู” จากวิสัยทัศนดังกลาว ทางจังหวัดนครนายกจึงมียุทธศาสตรในการพัฒนาการทองเที่ยว และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังนี้ ยุทธศาสตรการเปนเมืองทองเที่ยวเชิงนิเวศระดับโลกและนาอยู ยุทธศาสตรที่สําคัญในการทําใหจังหวัดนครนายกเปนเมืองที่เดนในเรื่องของการทองเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย คือ

การพัฒนาแหลงทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวก เชน ปรับปรุงน้ําตกสาริกาใหมีภูมิทัศนที่สวยงาม การพัฒนาอางเก็บน้ําวังบอนใหเปนแหลงทองเที่ยวที่ไดมาตรฐาน การพัฒนาแมน้ํานครนายกใหเปนสถานที่ลองแกงที่ทาทายมากขึ้น การพัฒนาที่พักแรมและเสนทางเดินปาในเขตอุทยานแหงชาติ เขาใหญ การพัฒนาเขื่อนคลองทาดาน การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการสงเสริมยกมาตรฐานของ รีสอรทตางๆ เปนตน

Page 52: บทที่ 2 - dnp.go.th · Title: บทที่ 2 Author... Created Date: 12/19/2006 3:18:43 PM

รายงานฉบับสุดทาย โครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับไดของ พ้ืนที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บทที่ 3 ขอมูลพื้นฐาน

3-64

การพัฒนากิจกรรมการทองเที่ยวใหเปนระบบ เชน การทองปาเขาใหญเปนคณะที่มีจุดอํานวยความสะดวกปลอดภัยระดับโลก กิจกรรมผจญภัยที่เขาหลน การโรยตัวจากน้ําตกธารธารา และมาสิ้นสุดที่อางเก็บน้ําวังบอน การสรางลองแกงเทียม การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมประวัติศาสตร

การประชาสัมพันธและการตลาดสูระดับโลก เชน เอกสารประชาสัมพันธศูนยขอมูลและบริการนักทองเที่ยว

การพัฒนาบุคลากรทางการทองเที่ยว เชน การฝกอบรมการเปนเจาบานที่ดี การฝกอบรมดานบริหารจัดการ

การสรางจิตสํานึกและการจัดต้ังองคกรเครือขาย การทองเที่ยว เชน การฝกอบรมใหประชาชนในแหลงทองเที่ยวเขาใจการทองเที่ยวเชิงนิเวศ และสงเสริมใหเยาวชนเขามามีบทในการพัฒนาการทองเที่ยว เปนตน

การวางผังเมืองรวมจังหวัดซึ่งกําลังเรงรัด การเรงใหความรูแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกระดับ ใหยึดมั่นแนวทางการพัฒนาภายใต

แผนงานรวมกันกับยุทธศาสตร และผังเมืองของจังหวัด เสริมสรางความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เชน การลดจํานวนอาชญากรรม ลดอุบัติเหตุ

จากการจราจร และการแกไขปญหายาเสพติดและผูมีอิทธิพล ซึ่งไดเรงรัดแกไขตามแนวทางแนวทางของรัฐบาลไดผลดีอยางตอเนื่องมาโดยตลอด

การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม เชน มีสถานที่กําจัดขยะที่ถูกสุขลักษณะ บอบําบัดน้ําเสียรวมในเขตเทศบาลเมืองนครนายกและเทศบาลตางๆ และการจัดเก็บขยะมูลฝอย

การแกไขปญหาความยากจน ยุทธศาสตรการอนุรักษฟนฟูธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม คูการเรงรัดพัฒนา การเรงรัดจัดทํา

นิคมอุตสาหกรรมขึ้นในพื้นที่ของจังหวัดนครนายก โดยเนนอุตสาหกรรมสะอาด ต้ังอยูในเสนทางจากสนามบินสุวรรณภูมิไปเมืองใหมบานนา และมีมาตรการวิธีการควบคุมราคาที่ดินในพื้นที่การนิคมใหราคาไมแพง และเรงรัดผังเมืองทั้งจังหวัด ปองกันการจัดต้ังโรงงานในนอกพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม และเรงฟนฟูสิ่งแวดลอมที่เสียไปแลวอันเนื่องจากโรงงานที่มีอยูแลว

3.4.4.4 แผนพัฒนาจังหวัดปราจีนบุรี วิสัยทัศน : “ปราจีนเมืองนาอยู เชิดชูทองเทีย่วเชิงนิเวศน เกษตรและอุตสาหกรรมกาวหนา ภูมิปญญาแพทยแผนไทย” จากวิสัยทัศนดังกลาว ทางจังหวัดนครราชสีมาจึงมียุทธศาสตรในการพัฒนาการทองเที่ยว และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังนี้

ยุทธศาสตรการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (แบบผจญภัยและพักผอนหยอนใจ) กําหนดแนวทางพัฒนาไว 4 ทาง

การบริหารจัดการทองเที่ยวที่ดี การพัฒนาบุคลการดานการทองเที่ยว พัฒนาสินคา OTOP ใหเปนของที่ระลึก พฒันาการตลาด ขอมูลขาวสาร การอนุรักษ ฟนฟู พัฒนาแหลงทองเที่ยว และสิ่งอํานวยความสะดวก