บทที่ 2 แนวคิด...

34
บทที2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ งานวิจัย เรื่อง ความคิดเห็นของนักศึกษาคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ตอการเรียนวิชาหลักการสอนโดยการสรุปเนื้อหาดวยแผนที่ความคิดผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดและ งานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี1. แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่ความคิด (Mind Mapping) 2. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ 3. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 4. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูที่เขากับการทํางานของสมอง 5. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการคิด 6. แนวคิดเกี่ยวกับความคิดเห็น 7. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 8. กรอบแนวคิดในการวิจัย แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่ความคิด (Mind Mapping) แผนที่ความคิด (Mind Mapping) เปนเครื่องมือสําคัญที่ครูผูสอนนิยมใชในการจัดกิจกรรม การเรียนรู สวนใหญใชในการระดมสมองขณะทํากิจกรรมกลุมของผูเรียน และในการสรุป บทเรียนทั้งรายกลุมและรายบุคคล เนื่องจากเกิดความสนุกสนานแกผูเรียนในการเขียนสิ่งที่ตน เรียนรูอยางอิสระ มีการจัดกลุมและเรียงลําดับความสําคัญผานเสนแขนงตาง จากจุดกึ่งกลาง เพื่อใหเห็นความสัมพันธระหวางความคิดรวบยอดยอยๆ และความคิดรวมทั้งหมดในกระดาษเพียง แผนเดียว นอกจากนีMind Mapping ยังสามารถนํามาใชในการวางแผนงาน ทั้งของครู และการทํา โครงงานของนักเรียน หรือการเตรียมงาน เชน การเตรียมการสอนของครู การวางแผนเพื่อเขียน เรียงความของนักเรียน เอกสารฉบับนี้จึงขอนําเสนอเทคนิคการทํา Mind Mapping ในการจับ ประเด็น / หัวขอยอยตางๆ โดยการทดลองทําในแผนแรกใหครอบคลุมทั้งหมดกอน แลวจึงนํามา

Upload: others

Post on 13-Feb-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่ีเกีย่วของ

งานวิจัย เร่ือง “ความคิดเห็นของนักศึกษาคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ตอการเรียนวิชาหลักการสอนโดยการสรุปเนื้อหาดวยแผนที่ความคิด” ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้ 1. แนวคดิเกีย่วกบัแผนที่ความคิด (Mind Mapping) 2. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ 3. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 4. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูที่เขากับการทํางานของสมอง 5. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการคิด 6. แนวคดิเกีย่วกบัความคิดเหน็ 7. งานวิจยัที่เกีย่วของ 8. กรอบแนวคิดในการวิจยั แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่ความคิด (Mind Mapping) แผนที่ความคิด (Mind Mapping) เปนเครื่องมือสําคัญที่ครูผูสอนนิยมใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู สวนใหญใชในการระดมสมองขณะทํากิจกรรมกลุมของผูเรียน และในการสรุปบทเรียนทั้งรายกลุมและรายบุคคล เนื่องจากเกิดความสนุกสนานแกผูเรียนในการเขียนสิ่งที่ตนเรียนรูอยางอิสระ มีการจัดกลุมและเรียงลําดับความสําคัญผานเสนแขนงตาง ๆ จากจุดกึ่งกลาง เพื่อใหเห็นความสัมพันธระหวางความคิดรวบยอดยอยๆ และความคิดรวมทั้งหมดในกระดาษเพียงแผนเดียว นอกจากนี้ Mind Mapping ยังสามารถนํามาใชในการวางแผนงาน ทั้งของครู และการทําโครงงานของนักเรียน หรือการเตรียมงาน เชน การเตรียมการสอนของครู การวางแผนเพื่อเขียนเรียงความของนักเรียน เอกสารฉบับนี้จึงขอนําเสนอเทคนิคการทํา Mind Mapping ในการจับประเด็น / หัวขอยอยตางๆ โดยการทดลองทําในแผนแรกใหครอบคลุมทั้งหมดกอน แลวจึงนํามา

Page 2: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

6

จัดระเบียบความคิดใหมในแผนที่ 2 ซ่ึงจะทําให Mind Mapping ที่ไดมีความกระชับ นาสนใจ และครอบคลุมตรงตามหัวขอหลักที่นําเสนอ ความหมายของแผนที่ความคิด (Mind Mapping) แผนที่ความคิด (Mind Mapping) เปนวิธีการชวยบันทึกความคิดเพื่อใหเห็นภาพความคิดที่หลากหลายมุมมองที่กวางและชัดเจนกวาการบันทึกที่เราคุนเคยโดยยังไมจัดระบบระเบียบความคิดใด ๆ ทั้งสิ้นเปนวิธีการที่สอดคลองกับโครงสรางการคิดของมนุษยที่บางชวงสมองจะกระโดดออกนอกทางขณะ ที่กําลังคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การทําใหสมองไดคิด ไดทํางานตามธรรมชาตินั้น มีลักษณะเหมือนตนไมที่แตกกิ่งกานออกไปเรื่อยๆ (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2548) Mind Map คือ การใชสมองจดบันทึก ถาตองการทําใหสมองโยงใยใชขอมูลอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด ก็ควรจะจัดรูปแบบการบรรจุขอมูลใหงายที่สุดเทาที่จะทําได โดยการจัดในลักษณะ “จับใสกลอง” หรือ “หยอดหลุม” ซ่ึงจะเปนไปตามที่วา ถาหากสมองทํางาน ขั้นตอนกับคําสําคัญในการเชื่อมโยง และประสานรวมกันแลว ความสัมพันธของการจดบันทึกและคําของเราก็ควรจะไดรับการจัดในรูปแบบเดียวกัน แทนที่จะเปนแบบ “เสนตรง” อยางที่เคยทํากันมา (สมชัย ปนงาม, 2548) แผนที่ความคิด (Mind Map) เปนการนําเอาทฤษฎีที่เกี่ยวกับสมองไปใชใหเกิดประโยชนอยางสูงสุด การเขียนแผนที่ความคิด (MIND MAP) นั้น เกิดจากการใชทักษะทั้งหมดของสมอง หรือเปนการทํางานรวมกันของสมองทั้ง 2 ซีก คือสองซีกซายและซีกขวา ซ่ึงสมองซีกซายจะทําหนาที่ในการวิเคราะห คํา ภาษา สัญลักษณ ระบบ ลําดับ ความเปนเหตุผล ตรรกวิทยา สวนสมองซีกขวาจะทําหนาที่สังเคราะห คิดสรางสรรค จินตนาการ ความงาม ศิลป จังหวะ โดยมีแถบเสนประสาทคอรปสคอโลซั่มเปนเสมือนสะพานเชื่อม (คณิตศาสตร, 2548) Mind Map คือ เทคนิคการจดบันทึก ที่พัฒนาขึ้นจากความรูเร่ืองสมอง และความทรงจําของมนุษย (Thai-seminar, 2548) แผนที่ความคิด (Mind Mapping) คือ การนําทฤษฎีเกี่ยวกับสมองไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุดในการคิด วิเคราะหคํา ภาษา สัญลักษณ ระบบ ลําดับ คํานวณ ความเปนเหตุเปนผล ความคิดสรางสรรค จินตนาการ โดยกระบวนการที่เชื่อมโยงกัน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2548) แผนที่ความคิด (Mind Mapping) ใชแสดงการเชื่อมโยงขอมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหวางความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดยอยที่เกี่ยวของสัมพันธกัน (สุจินต พุทธสารสิชฌน, 2548)

Page 3: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

7

ความเปนมาของแผนที่ความคิด (Mind Mapping) โทนี บูซาน (Tony Buzan) เปนชาวอังกฤษ เปนผูไดริเร่ิม พยายามนําเอาความรูเร่ืองสมอง

มาปรับใชกับการเรียนรูของเขา โดยพัฒนาการจากการจดบันทึกแบบเดิมที่จดบันทึกเปนตัวอักษรเปนบรรทัด ๆ เปนแถว ๆ ใชปากกาหรือดินสอสีเดียวมาเปนการบันทึก ดวยคํา ภาพ สัญลักษณ แบบแผเปนรัศมีออกรอบ ๆ ศูนยกลางเหมือนกับการแตกแขนงของกิ่งไมโดยใชสีสัน ตอมาเขาก็พบวาวิธีที่เขาใชนั้นสามารถนําไปใชกับกิจกรรมอื่นในชีวิตสวนตัวและชีวิตการงานไดดวย เชน ใชในการวางแผน การตัดสินใจ การชวยจํา การแกปญหา การนําเสนอ การเขียนหนังสือ เปนตน ซ่ึงโทนี บูซาน ไดเขียนหนังสือ Use you Head (ใชหัวคิด) และ Get Ahead (ใชหัวลุย) รวมกับแวนดา นอรธ (Vanda North) และนายธัญญา ผลอนันต ผูแปลเปนฉบับภาษาไทย ซ่ึงเปนผูที่นําแนวคิด วิธีการนําเขามาเผยแพรในประเทศไทย ผูเขียนไดมีโอกาสศึกษาเรื่องนี้กับคุณธัญญา ผลอนันต และพบวาวิธีการของ MIND MAP นั้นสามารถนําไปใชไดทั้งชีวิตสวนตัวและการงานจริง และเห็นวาถานําแนวคิด เทคนิค วิธีการนี้ขยายผลในการศึกษา นาจะเปนประโยชนอยางยิ่งกับผูที่มีหนาที่จัดการเรียนรู เร่ิมตั้งแตการวางแผนจัดการเรียนรู การจัดกิจกรรมตาง ๆ ในการเรียนรู สําหรับผูเรียนนั้นจะสามารถพัฒนาทักษะในการเรียนรู ศาสตรและศิลปะดานตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชน สามารถชวยคิด จํา บันทึก เขาใจเนื้อหา การนําเสนอขอมูลและชวยแกปญหาไดอยางเปนรูปธรรม ทําใหการเรียนรูเปนเรื่องที่สนุกสนาน มีชีวิตชีวายิ่งขึ้น (กระทรวงศึกษาธิการ, 2548) ความสําคัญของแผนที่ความคิด (Mind Mapping)

ความสําคัญของการทํา Mind Mapping : ควรใหความสําคัญ ดังนี้ (อําไพ เกตุสถิตย, 2548)

1) ประเด็น /ความคิดสําคัญที่อยูกลางภาพ ควรใชภาพที่ส่ือความหมาย และชัดเจนสวยงาม เพื่อเปนการดึงดูดความสนใจ และสามารถคนหาไดงายกวาการใชตัวอักษร เมื่อเก็บรวบรวมไวดวยกัน

2) การแตกแขนง ควรจัดลําดับความสําคัญของขอความในแตละกิ่งที่แตกออกจากจุดกึ่งกลาง จากมากไปหานอย และถามีความสําคัญในระดับใกลเคียงกัน จะแตกออกจากจุดเดียวกัน

3) การใชถอยคํา ใชถอยคําที่กระชับ งาย และสื่อความหมายชัดเจน 4) การผสมผสานเชื่อมโยง ระหวางขอความในแตละกิ่งยอย และกิ่งใหญเพื่อใหเกิด

ความคิดรวบยอดที่สอดคลองกับภาพตรงกลาง 5) เปนเทคนิคที่เหมาะสําหรับคนขี้เกียจเขียน และเปนการบริหารสมองทั้ง 2 ซีก

Page 4: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

8

ขอดีของการเขียนบันทึกแผนที่ความคิด (Mind Mapping) Mind Map หรือแผนที่ความคิดนั้น มีขอดีหลายประการ เมื่อเทียบกับการจดบันทึกแบบเสนตรง (สํานักงานเลขานุการคณะสหเวชศาสตร, 2548) 1) ศูนยกลางหรือความคิดหลักจะถูกกําหนดขึ้นอยางเดนชัดกวาเดิม 2) ความสัมพันธที่สําคัญของแตละความคิดเชื่อมโยงใหเห็นอยางชัดเจน โดยความคิดที่สําคัญกวาอยูใกลจุดศูนยกลางมากกวา ความคิดที่สําคัญนอยลงไปจะอยูบริเวณขอบ 3) การเชื่อมโยงระหวางคําสําคัญจะเห็นไดอยางชัดเจน เพราะตําแหนงที่ใกลกันและการเชื่อมตอกัน 4) ผลจาก 3 ประการดังกลาวขางตน ทําใหการฟนความจํา และการทบทวนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และรวดเร็วมากขึ้น 5) ธรรมชาติของโครงสรางดังกลาวชวยใหการเพิ่มเติมขอมูลใหมๆ ทําไดงายขึ้น โดยขอมูลจะไมกระจัดกระจาย หรือตองอัดใสเขาไป 6) Mind Map แตละแผนจะมีลักษณะแตกตางกันออกไป ชวยฟนความจํางายขึ้น กฎของแผนที่ความคิด (Mind Mapping) กฎของแผนที่ความคิด (Mind Mapping) ประกอบดวย (สํานักงานเลขานุการคณะ สหเวชศาสตร, 2548) 1) เร่ิมดวยภาพสีตรงกึ่งกลางหนากระดาษ ภาพ ๆ เดียวมีคากวาคําพันคํา ซํ้ายังชวยใหเกิดความคิดสรางสรรคและเพิ่มความจํามากขึ้นดวย 2) ใชภาพใหมากที่สุด ในMIND MAP ของคุณตรงไหนที่ใชภาพไดใหใชกอนคําสําคัญ (Key Word) หรือรหัส เปนการชวยการทํางานของสมอง ดึงดูดสายตาและชวยจํา 3) ควรเขียนคําสําคัญบรรจงตัวใหญ ๆ เปนภาษาอังกฤษใหใชตัวพิมพใหญ เพื่อที่วายอนกลับมาอานใหมจะใหภาพที่ชัดเจน สะดุดตาอานงาย และกอผลกระทบตอความคิดมากกวาการใชเวลาเพิ่มอีกเล็กนอยในการเขียนตัวใหญ อานงาย ชัดเจน จะชวยใหเราสามารถประหยัดเวลาได เมื่อยอนกลับมาอานใหมอีกครั้ง 4) เขียนคําสําคัญเหนือเสนและแตละเสนตองเชื่อมตอกับเสนอื่น ๆ เพื่อให MIND MAP มีโครงสรางพื้นฐานรองรับ 5) คําสําคัญ ควรจะมีลักษณะเปน "หนวย" โดยคําสําคัญ 1 คําตอเสน 1 เสน คําละเสน เพราะจะชวยใหแตละคําเชื่อมโยงกับคําอื่น ๆ ไดอยางอิสระเปดทางให MIND MAP คลองตัวและยืดหยุนมากขึ้น

Page 5: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

9

6) ระบายสีใหทั่ว MIND MAP เพราะสีชวยยกระดับความจํา เพลินตา กระตุนสมองซีกขวา 7) เพื่อใหเกิดความคิดสรางสรรคใหม ๆ ควรปลอยใหหัวคิดมีอิสระมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได อยามัวคิดวาจะเขียนลงตรงไหนดีหรือวาจะใสหรือไมใสอะไรลงไปเพราะลวนแตจะทําใหงานลาชาอยางนาเสียดาย หลักการสรางแผนที่ความคิด (Mind Mapping) หลักสําคัญของ Mind Mapping จะเริ่มตนจากการเขียนหัวเร่ืองหรือแกนของเรื่องที่จะเปนจุดศูนยกลางความคิดทุกอยางที่เกี่ยวของ โดยมีเสนเชื่อมโยงความคิดรอง และแตกกิ่งกานออกไปจากศูนยกลาง คลายกับที่สมองทํางาน ซึ่งมีขั้นตอนการทํา ดังนี้ (ชนิดา บุญชรโชติกุล, 2547, หนา 30) 1) Paper: หากระดาษที่มีพื้นที่วาง ตั้งกระดาษตามแนวนอน และเริ่มการเขียน Mind Mapping ดวยหัวเร่ืองที่กึ่งกลางหนากระดาษ 2) Use: ใชรูปภาพ สี และคํา ในการชวยส่ือความหมายของแกนเรื่องและความคิดรอง 3) Lines: ใชเสนชวยเชื่อมความสัมพันธระหวางแกนของเรื่องที่จะเปนศูนยกลางความคิดทุกอยางกับความคิดรองที่เกี่ยวของ 4) Style: รูปแบบการนําเสนอสามารถกําหนดไดตามตองการ 5) Structure: โครงสรางมีหลายรูปแบบ เชน มีโครงสรางอยางชัดเจน โดยจัดตามลําดับความสําคัญหรือเสนอแบบความสัมพันธของขอมูล เปนตน ตัวอยางการใชงาน แผนที่ความคิด (Mind Mapping) ธรรมชาติของ Mind Map นั้นเชื่อมโยงอยางแนบแนน กับการทํางานของหัวคิด และยังสามารถนําไปใชกับแทบทุกกิจกรรม ที่เกี่ยวของกับความคิด การฟนความจํา การวางแผนหรือการใชความคิดสรางสรรค ตัวอยางการใชงานแผนที่ความคิดมีดังนี้ (โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย, 2548)

Page 6: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

10

Page 7: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

11

Page 8: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

12

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ (Integrated Instruction) เปนการสอนที่เชื่อมโยงความรู ความคิดรวบยอด หรือทักษะเขาดวยกัน เพื่อใหเกิดการเรียนรูโดยองครวม ทั้งดานพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย ซ่ึงสอดคลองตามแนวการจัดการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ความสําคัญของการจัดการเรียนรูแบบบรูณาการ การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ทําใหผูเรียนมีประสบการณที่สัมพันธกันและตอเนื่องกับประสบการณตรง สามารถนําความรูและประสบการณที่ไดรับไปใชในชีวิตจริงไดอยางเหมาะสม เปดโอกาสใหผู เรียนมีสวนรวมในกิจกรรม สงเสริมใหผู เรียนมีทั้งระเบียบวินัยและมีความรับผิดชอบหนาที่ดวยตนเอง รวมทั้งชวยสงเสริมใหผูเรียนมีความคิดริเร่ิมสรางสรรค การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรแบบบูรณาการ โดยสรางหัวขอเร่ืองแทนการสอนเนื้อหาเปนรายวิชาแบบเดิมไดรับความนิยมมาก ผูเรียนจะมีความลึกซึ้งและเขาใจในสิ่งที่ไดเรียน มีความเขาใจในความหมายของเนื้อหาสาระโดยองครวม หลักสูตรบูรณาการจะเปนสิ่งที่สามารถกระตุนนักเรียนใหเกิดความคิดและตระหนักถึงการเชื่อมโยงระหวางความคิด (สิริพัชร เจษฎาวิโรจน, 2548) ความหมายของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ หมายถึง การจัดการเรียนรูโดยการเชื่อมโยงเนื้อหาความรูที่เกี่ยวของจากศาสตรตางๆ ของรายวชิาเดียวกันหรือรายวิชาตางๆ มาใชในการจัดการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนสามารถนําความคิดรวบยอดของศาสตรตางๆ มาใชในชีวิตจริงได สําหรับการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ (Integrated Learning Management) หมายถึง กระบวนการจัดประสบการณการเรียนรูตามความสนใจ ความสามารถ โดยเชื่อมโยงเนื้อหาสาระของศาสตรตางๆ ที่เกี่ยวของสัมพันธกันใหผูเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สามารถนําความรู ทักษะและ เจตคติไปสรางงาน แกปญหาและใชในชีวิตประจําวันไดดวยตนเอง (สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, 2548)

Page 9: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

13

จุดมุงหมายในการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ จุดมุงหมายในการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ มีดังนี้ (สิริพัชร เจษฎาวิโรจน, 2548) 1) เพื่อสอนผูเรียนใหเปนผูที่สามารถแกปญหาไดดวยตัวเอง 2) เพื่อใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการเรียนรูโดยตรงอยางมีจุดมุงหมายและมีความหมาย 3) เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดความตระหนักวาการเรียนรูทุกสิ่งมีความสัมพันธซ่ึงกันและกัน 4) เพื่อตอบสนองความสนใจของผูเรียนแตละคนโดยการเรียนรูตามเอกัตภาพ 5) เพื่อออกแบบสถานการณใหผูเรียนไดเรียนรูตามที่ตองการจะรู มากกวาเรียนตามที่หลักสูตรกําหนดให 6) เพื่อกระตุนใหผูเรียนทํางานกับผูอ่ืนในการเรียนรูแบบรวมมือ เชน การเรียนเปนคู หรือเปนกลุมยอย และเนนคุณคาทางสังคมของการเรียนรู 7) เพื่อเนนกระบวนการเรียนรูแบบองครวมและสัมพันธกันอยางตอเนื่อง มากกวาเรียนรูแบบรายวิชาและทักษะที่แยกจากกัน เหตุผลในการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ เหตุผลในการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ประกอบดวย (สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, 2548) 1) ส่ิงตางๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันนั้นจะเปนสิ่งที่เกี่ยวเนื่องสัมพันธกันกับศาสตรในสาขาตางๆ ผสมผสานกันทําใหผูเรียนที่เรียนรูศาสตรเดี่ยวๆ มาไมสามารถนําความรูมาใชในการแกปญหาได ดังนั้นการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการจะชวยใหสามารถนําความรู ทักษะจากหลายๆ ศาสตรมาแกปญหาไดกับชีวิตจริง 2) การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ทําใหเกิดความสัมพันธเชื่อมโยงความคิดรวบยอดของศาสตรตางๆ เขาดวยกันทําใหเกิดการถายโอนการเรียนรู (Transfer of learning) ของศาสตรตางๆ เขาดวยกันทําใหผูเรียนมองเห็นประโยชนของสิ่งที่เรียนและนําไปใชจริงได 3) การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการชวยลดความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชาตางๆ ในหลักสูตรจึงทําใหลดเวลาในการเรียนรูเนื้อหาบางอยางลงได แลวไปเพิ่มเวลาใหเนื้อหาใหมๆ เพิ่มขึ้น 4) การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการจะตอบสนองตอความสามารถในหลายๆ ดานของผูเรียนชวยสรางความรู ทักษะและเจตคติ “แบบพหุปญญา” (Multiple Intelligence) 5) การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการจะสอดคลองกับทฤษฎีการสรางความรูโดยผูเรียน (Constructivism) ที่กําลังแพรหลายในปจจุบัน

Page 10: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

14

ประโยชนของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ประโยชนของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ มีดังนี้ (สิริพัชร เจษฎาวิโรจน, 2548) 1) ทําใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาในลักษณะองครวม มองเห็นความสัมพันธระหวางเนื้อหาวิชา ทําใหเปนผูมีทัศนะกวางไกล และลดความซ้ําซอนของเนื้อหาแตละกลุมสาระการเรียนรู 2) ผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง โดยผสมผสานความรู คุณธรรม คานิยม และลักษณะอันพึงประสงค เปนการเพิ่มศักยภาพของผูเรียนไดอยางเต็มที่ ผูเรียนไดเรียนรูวิธีการเรียนรูตลอดชีวิต และสามารถนําความรูที่ไดไปใชในชีวิตจริงอยางเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 3) สงเสริมใหเกิดกิจกรรมการเรียนรูหลายรูปแบบที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ สงเสริมกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและแกปญหา 4) สงเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย รูจักเคารพสิทธิเสรีภาพของผูอ่ืน โดยคํานึงถึงความคิดเห็นและผลประโยชนของสวนรวมเปนหลัก 5) ชวยแกปญหาดานการขาดผูสอนในแตละรายวิชา 6) สงเสริมใหเกิดทักษะและความสามารถในการแกปญหา ทั้งผูเรียนและผูสอน รวมทั้งสงเสริมการคนควาวิจัยดวย ขอจํากัดของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ขอจํากัดของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ มีดังนี้ (สิริพัชร เจษฎาวิโรจน, 2548) 1) เปนวิธีการที่ทําไดคอนขางยาก เพราะตองอาศัยความรวมมือจากผูสอนหลายคนมาปรึกษาหารือรวมกัน ตองมีความเขาใจตรงกัน และตองเปนความรวมมืออยางจริงจังและตองทุมเททั้งความรูความสามารถ และเวลาอยางเต็มที่ 2) การบูรณาการหลักสูตรเขาดวยกัน อาจทําใหผูเรียนขาดความลึกซึ้งในการเรียนรู มองไมเห็นความสําคัญของเนื้อหาสาระ หรือวิชาการตางๆ ตามที่ผูสอนตองการได 3) การจัดตารางสอนของผูสอนทุกคน โดยเฉพาะผูสอนที่สอนประจําวิชาตาง ๆ เชน ศิลปะ พลศึกษา ดนตรีและนาฏศิลป งานเกษตร ตองสอนหลายชั้น หลายหอง จึงตองจัดตารางสอนของแตละหองแนนอนตายตัว ซ่ึงขัดกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ เพราะเนื้อหาสาระตาง ๆ จะคลุกเคลากันไปตามบรรยากาศของการเรียนการสอน 4) การบูรณาการหลักสูตรเหมาะมากสําหรับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน แตระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอาจจะไมคอยเอื้ออํานวย เนื่องจากเนื้อหามีความลึกซึ้งมาก และทาง

Page 11: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

15

โรงเรียนก็ตองการจัดการสอนในแตละกลุมสาระการเรียนรูอยางเขมขน หรือถาจะบูรณาการ ก็สามารถทําไดในบางรูปแบบที่เปนการบูรณาการภายในวิชาเดียว ลักษณะการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ นักการศึกษาหลายทานไดกลาวถึงลักษณะของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการไววาเปนการเชื่อมโยงวิชาหรือศาสตรตางๆ เขาดวยกันเพื่อใหเกิดการเรียนรูที่ลึกซึ้งมีลักษณะใกลเคียงกับชีวิตจริงมากขึ้น ไดแก (สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, 2548) 1) บูรณาการระหวางความรูและกระบวนการเรียนรู ปจจุบันเนื้อหาความรูมีมากมายที่จะตองเรียนรูหากไมใชวิธีการเรียนรูที่ทันสมัยมาใชจะทําใหเรียนรูไมทันตามเวลาที่กําหนดไดจึงตองมีการนําวิธีการจัดการเรียนรูใหมๆ มาใช เชน การสอนโดยวิธีการบอกเลา ทองจําจะทําใหไดปริมาณความรูหรือเนื้อหาสาระไมเพียงพอกับสิ่งที่ตองเรียนรูจึงตองเลือกใชกระบวนการเรียนรูใหมๆ ที่เหมาะสม 2) บูรณาการระหวางพัฒนาการความรูและทางจิตใจ การเรียนรูที่ดีนั้นผูเรียนตองมีความอยากรูอยากเรียนดวย ดังนั้นการใหความสําคัญแกเจตคติ คานิยม ความสนใจและสุนทรียภาพแกผูเรียนในการแสวงหาความรู กอใหเกิดความซาบซึ้งกอนลงมือศึกษาซึ่งเปนการจูใจใหเกิดการเรียนรูไดเปนอยางดี 3) บูรณาการระหวางความรูและการกระทําการเรียนรูที่สามารถนําความรูสูการปฏิบัติไดนั้นถือเปนการดีมาก ดังนั้นการใหความสําคัญระหวางองคความรูที่ศึกษากับการนําไปปฏิบัติจริงโดยนําความรูไปแกปญหาในสถานการณจริง 4) บูรณาการระหวางสิ่งที่ เ รียนรูในโรงเรียนและชีวิตประจําวัน การตระหนักถึงความสําคัญแหงคุณภาพชีวิตเมื่อผานการเรียนรูแลวตองมีความหมายและคุณคาตอชีวิตของผูเรียนอยางแทจริง 5) บูรณาการระหวางวิชาตางๆ เพื่อใหเกิดความรู เจตคติและการกระทําที่เหมาะสมกับความตองการ ความสนใจของผูเรียนอยางแทจริงตอบสนองตอคุณคาในการดํารงชีวิตของผูเรียน

รูปแบบของการบูรณาการ (Model of integration) การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการที่พบโดยทั่วไปมีอยู 4 แบบ

1) การบูรณาการแบบสอดแทรก (Infusion) การเรียนรูแบบนี้ครูจะนําเนื้อหาของวิชาตางๆ มาสอดแทรกในรายวิชาของตนเองเปนการวางแผนการสอนและทําการสอนโดยครูเพียงคนเดียว

Page 12: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

16

ขอดี 1. ครูคนเดียวบริหารทั้งเนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรียนรูและเวลาที่ใชโดยสะดวก 2. ไมมีผลกระทบกับครูผูอ่ืนและการจัดตารางสอน ขอจํากัด 1. ครูคนเดียวอาจไมมีความชํานาญในเนื้อหาวิชาบางเรื่อง 2. เนื้อหาวิชาและกิจกรรมการเรียนรูที่จัดอาจซ้ําซอนกับของวิชาอื่น 3. ผูเรียนจะมีภาระงานมากเพราะทุกรายวิชาจะตองมอบหมายงานให 2) การบูรณาการแบบขนาน (Parallel) การเรียนรูแบบนี้ครูตั้งแต 2 คนขึ้นไปตางคนตางสอนวิชาของตนเองแตจะมาวางแผน ตัดสินใจรวมกันวาจะจัดแผนการเรียนรูและจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยมุงสอนในหัวเร่ือง (Theme) ความคิดรวบยอด (Concept) และปญหา (Problem) เดียวกันในสวนหนึ่ง ขอดี 1. ครูผูสอนแตละคนยังคงบริหารทั้งเนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรียนรูเวลาโดยสะดวก 2. ไมมีผลกระทบกับครูผูอ่ืนและการจัดตารางสอน 3. เนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรียนลดการซ้ําซอนลง ชวยใหเกิดการทํางานรวมกัน ขอจํากัด 1. ครูยังคงตองรับภาระเนื้อหาวิชาที่ไมชํานาญ 2. ผูเรียนยังมีภาระงานมากเพราะทุกรายวิชาจะตองมอบหมายงานให 3) การบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Multidiscipline) การเรียนรูแบบนี้คลายกับแบบคูขนาน ครูตั้งแต 2 คนขึ้นไปตางคนตางสอนวิชาของตน จัดกิจกรรมการเรียนรูของตนเองเปนสวนใหญ มาวางแผนการสอนรวมกันในการใหงานหรือโครงการที่มีหัวเร่ือง แนวคิดหรือความคิดรวบยอดและปญหาเดียวกัน ขอดี 1. สนับสนุนการทํางานรวมกันของทั้งผูสอนและผูเรียน ลดความซ้ําซอนของกิจกรรม 2. ผูสอนทุกคนและผูเรียนมีเปาหมายรวมกันที่ชัดเจน 3. ผูเรียนเห็นความสําคัญของการนําความรูไปใชกับงานอาชีพจริง ขอจํากัด 1. มีผลกระทบตอการจัดตารางสอนและการจัดแผนการเรียน

Page 13: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

17

4) การบูรณาการแบบขามวิชา (Transdisciplinary) การเรียนรูแบบนี้ผูสอนในรายวิชาตางๆ จะมารวมกันสอนเปนคณะ รวมกันวางแผน กําหนดหัวเร่ือง ความคิดรวบยอดและปญหาเดียวกัน ขอดี 1. สนับสนุนการทํางานรวมกันของทั้งผูสอนและผูเรียน ลดความซ้ําซอนของกิจกรรม 2. ผูสอนทุกคนและผูเรียนมีเปาหมายรวมกันที่ชัดเจน 3. ผูเรียนเห็นความสําคัญของการนําความรูไปใชกับงานอาชีพจริง ขอจํากัด 1. มีผลกระทบตอการจัดตารางสอนและการจัดแผนการเรียน 2. ผูสอนตองควบคุมการเรียนใหทันตามกําหนด การประเมินผลในการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการนั้นเปนการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับแนวทางการจัดการเรียนรูตามแนวปฏิรูปที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ที่ใหผูเรียนไดเรียนรูจากการไดคิดและปฏิบัติจริงตามความสนใจ ความถนัดของตนเอง เรียนรูทั้งแบบเรียนคนเดียวและเรียนเปนกลุมจากแหลงการเรียนรูที่หลากหลายโดยใชกระบวนการเรียนรูของตนเองและเรียนรูอยางเปนองครวม (บูรณาการ) ดังนั้นการวัดและประเมินผลการเรียนรูดังกลาวจึงตองสอดคลองกับสภาพจริง นั่นคือการที่จะตองนําลักษณะที่สําคัญของการประเมินผลตามสภาพจริงมาใชจึงจะเหมาะสมกับการเรียนรูแบบบูรณาการ ซ่ึงนาจะมีการประเมินความสามารถในดานตางๆ ดังนี้ การประเมินดานกระบวนการคิด กระบวนการวางแผน กระบวนการทํางาน กระบวนการแกปญหาโดยใชหลักการทางวิทยาศาสตร (การวิจัยอยางงาย) กระบวนการกลุม กระบวนการประเมินผล คุณธรรมจริยธรรม ความตั้งใจ ความใสใจ คุณภาพของผลงานโดยใชวิธีการ เครื่องมือประเมินที่หลากหลาย ตอเนื่องตลอดเวลาตามกิจกรรมการเรียนรูของผูเรียน ดวยวิธีการสังเกตใชแบบตรวจสอบรายการ ใชแบบประมาณคา การบันทึกการปฏิบัติงาน การประเมินคุณภาพชิ้นงานและอาจมีการประเมินดานความรูควบคูกันไปดวย โดยการประเมินจะกระทํารวมกันทั้งผูสอนและผูเรียน ซ่ึงผลการประเมินเหลานี้ควรจะเปนสวนหนึ่งของการนํามาปรับปรุงและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสมบูรณยิ่งขึ้นดวย

Page 14: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

18

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เปนกระบวนการเรียนรูที่มุงจัดกิจกรรมที่

สอดคลองกับการดํารงชีวิต เหมาะสมกับ ความสามารถ ความสนใจของผูเรียน โดยผูเรียนมีสวนรวมและลงมือปฏิบัติทุกขั้นตอน จนเกิดการเรียนรูดวยตนเอง ซ่ึงการเรียนรู เปนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของบุคคลอยางคอนขางถาวร อันเปนผลมาจากการฝกฝนหรือการมีประสบการณ โดยพฤติกรรมของบุคคลที่เกิดจากการ เรียนรูจะตองมีลักษณะสําคัญ ดังนี้

1) พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะตองเปลี่ยนไปอยางคอนขางถาวร จึงจะถือวาเกิดการเรียนรูขึ้น หากเปนการ เปลี่ยนแปลงชั่วคราวก็ยังไมถือวาเปนการเรียนรู อยางไรก็ดียังมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมแตเปลี่ยนแปลงชั่วคราวอัน เนื่องมาจากการที่รางกายไดรับสารเคมี ยาบางชนิด หรือเกิดจากความเหนื่อยลา เจ็บปวยลักษณะดังกลาวไมถือวาพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปนั้นเกิดจากการเรียนรู

2) พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจะตองเกิดจากการฝกฝน หรือเคยมีประสบการณนั้น ๆ มากอน เชน ความ สามารถในการใชคอมพิวเตอร ตองไดรับการฝกฝน และถาสามารถใชเปนแสดงวาเกิดการเรียนรู หรือความ สามารถในการขับรถ ซ่ึงไมมีใครขับรถเปนมาแตกําเนิดตองไดรับการฝกฝน หรือมีประสบการณ จึงจะขับรถเปน ในประเด็นนี้มีพฤติกรรมบางอยางที่เกิดขึ้นโดยที่เราไมตองฝกฝนหรือมีประสบการณ ไดแก พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเจริญเติบโต หรือการมีวุฒิภาวะ และพฤติกรรมที่เกิดจากแนวโนมการตอบสนองของเผาพันธุ

แนวคิดในการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญมีแนวคิดมาจากปรัชญา Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผูเรียน ผูเรียนเปนผูสรางความรูจากความสัมพันธระหวางสิ่งที่พบเห็นกับความรูเดิมที่มีอยู เปนปรัชญาที่มีขอสันนิษฐานวาความรูไมสามารถแยกจากความอยากรู ความรูไดมาจากการสรางเพื่ออธิบาย แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดดวยตนเองโดยผูสอนไมสามารถปรับเปลี่ยนโครงสรางทางปญญา (Cognitive structure) ของผูเรียนได แตผูสอนสามารถชวยผูเรียนปรับเปลี่ยนโครงสรางทางปญญาไดโดยจัดสภาพการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางปญญาหรือเกิดสภาวะไมสมดุลข้ึน (Unequilibrium) ซ่ึงเปนสภาวะที่ประสบการณใหมไมสอดคลองกับประสบการณเดิม ผูเรียนพยายามปรับขอมูลใหมกับประสบการณที่มีอยูเดิมแลวสรางเปนความรูใหม นักการศึกษาไดนําแนวคิด Constructivism มาใชเปนหลักฐานและพัฒนารูปแบบการสอนดังนี้ (สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, 2548)

Page 15: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

19

Explore ขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกต สนับสนุน และรวมมือกันสํารวจเพื่อใหเห็นปญหา Explain ขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน แนะนํา ถามใหคิดเพื่อใหผูเรียนคนพบหรือสรางความรูดวยตัวเอง ความรูที่ไดเปนความรูเชิงประจักษ Expand ขั้นที่ผูสอนชวยพัฒนาผูเรียนใหคิดคนตอ ๆ ไป พัฒนาทักษะกระบวนการและพัฒนาการทํางานรวมกันเปนกลุมและพัฒนาใหมีประสบการณกวางไกลทั้งเรื่องธรรมชาติและเทคโนโลยี Evaluate ขั้นที่ผูสอนประเมินมโนทัศนของผูเรียนโดยตรวจสอบความคิดที่เปลี่ยนไปและตรวจสอบทักษะกระบวนการ การปฏิบัติ การแกปญหา การถามหาคําตอบตลอดจนพัฒนาใหผูเรียนสนใจและเคารพความคิดและเหตุผลของคนอื่นๆ ดวย แนวทางของการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ แนวทางของการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เปนการจัดการเรียนรูโดยใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเองและฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ (สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, 2548) 1) กระบวนการคิด เปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอน โดยเริ่มตนจาก (1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐานหรือกระบวนการทางวิทยาศาสตร ไดแก การสังเกต การจําแนก การสื่อความหมาย การคาดคะเน การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน (2) ระดับของลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดคลอง คิดหลากหลาย คิดอยางมีเหตุผล เปนตน (3) ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิดสรางสรรค และกระบวนการวิจัย เปนตน สําหรับวิธีการสอนที่ใชเพื่อใหผูเรียนใชกระบวนการคิดในการสรางความรู เชน วิธีสืบสอบแบบแนะนํา (Guided Inquiry) และแบบไมมีการแนะนํา (Unguided Inquiry) วิธีการคนพบ วิธีแบบเนนปญหา วิธีใชทักษะกระบวนการ 9 ขั้น กรณีศึกษา สถานการณจําลอง วิธีอริยสัจสี่ วิธีการเชื่อมโยงมโนทัศนโดยใชแผนที่ความคิด (Mind Map) การใชผังมโนทัศน (Concept Map) 2) กระบวนการกลุม เปนแนวทางใหผูเรียนไดใชกลุมเพื่อรวมกันสรางความรูโดยประสานความรวมมือ ประสานความคิด ทํางานรวมกัน รับผิดชอบรวมกันจนสามารถบรรลุเปาหมาย การทํางานกลุมควรตองเปนการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ คือ หัวหนาดี สมาชิกดี และกระบวนการทํางานดี วิธีสอนที่ใชเพื่อใหผูเรียนใชทั้งกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมก็คือวิธีการสอนที่

Page 16: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

20

กลาวมาแลวขางตนแตเปนการเรียนรูแบบเปนกลุม หรือใชวิธีสอนกลุมสัมพันธ วิธีการอภิปราย วิธีการเรียนแบบรวมมือ เปนตน ลักษณะสําคัญของการจัดการเรียนรูท่ีผูเรียนเปนสําคัญ ลักษณะสําคัญของการจัดการเรียนรูแบบผูเรียนเปนสําคัญนั้นมีดังนี้ (สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, 2548) 1) ผูสอนจัดการเรียนรูโดยใหผูเรียนสรางความรูเอง (Construct) 2) ผูสอนใชทักษะกระบวนการ (Process Skill) คือ กระบวนการคิด (Thinking Process) และกระบวนการกลุม (Group Process) เพื่อใหผูเรียนสรางความรูดวยตนเอง 3) ผูสอนใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูอยางแทจริง (Participation) ลงมือคิด ปฏิบัติ สรุปความรูดวยตนเอง รวมทั้งใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธ (Interaction) ทั้งสมาชิกในกลุมและสมาชิกระหวางกลุมและปฏิสัมพันธกับผูสอน 4) ผูสอนสรางบรรยากาศเอื้อตอการเรียนรู ทั้งบรรยากาศทางกายภาพและจิตใจเพื่อใหผูเรียนเรียนรูอยางมีความสุข (Happy Learning) 5) ผูสอนมีการวัดและประเมินผลทั้งทักษะกระบวนการ และเนื้อหาสาระซึ่งเปนการประเมินตามสภาพจริง (Authentic assessment) 6) ผูสอนพัฒนาใหผูเรียนสามารถนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน (Application) 7) ผูสอนเปลี่ยนบทบาทเปนผูอํานวยความสะดวก (Facilitator) รูปแบบการเรยีนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคญั : โมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) รูปแบบการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ : โมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) ประกอบดวย (สอบครูดอทคอม, 2548) C : Construct ใหผูเรียนสรางความรูดวยตนเอง เปนการสรางความรูตามแนวคิดของ Constructivism กลาวคือ กิจกรรมการเรียนรูที่ดี ควรเปนกิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนมีโอกาส สรางความรูดวยตนเอง ซ่ึงจะทําใหผูเรียนมีความเขาใจ และเกิดการเรียนรูที่มีความหมายตอตนเอง การที่ผูเรียนมีโอกาสไดสรางความรูดวยตนเองนี้ เปนกิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนมีสวนรวมทางสติปญญา I : Interaction ใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธตอกัน แลกเปลี่ยนประสบการณซ่ึงกันและกัน

Page 17: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

21

เปนการปฏิสัมพันธกับผูอ่ืนหรือส่ิงแวดลอมรอบตัว กิจกรรมการเรียนรูที่ดี จะตองเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับบุคคล และแหลงความรูที่หลากหลาย ซ่ึงเปนการชวยใหผูเรียนมีสวนรวมทางสังคม P : Participation ใหผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรู เปนการเรียนรูที่มีโอกาสไดทํากิจกรรมในลักษณะตาง ๆ ซ่ึงเปนการชวยใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรม P : Process / Product ใหผูเรียนไดเรียนรูกระบวนการควบคูกันไปกับผลงาน เปนการเรียนรูกระบวนการตาง ๆ กิจกรรมการเรียนรูที่ดี ควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูกระบวนการตาง ๆ ซ่ึงเปนทักษะที่จําเปนตอการดํารงชีวิต เชน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการคิด กระบวนการแกปญหา กระบวนการ กลุม กระบวนการพัฒนาตนเอง เปนตน การเรียนรูกระบวนการเปนสิ่งสําคัญเชนเดียวกับการเรียนรู เนื้อหาสาระตาง ๆ การเรียนรูเกี่ยวกับกระบวนการ เปนการชวยใหผูเรียนมีสวนรวมทางดานสติปญญาอีกทางหนึ่ง A : Application ใหผูเรียนนําความรูประประยุกตใช เปนการนําความรูที่ไดเรียนรูไปประยุกตใช ซ่ึงจะชวยใหผูเรียนไดรับประโยชนจากการเรียน และชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเพิ่มเติมขึ้นเรื่อย ๆ กิจกรรมการเรียนรูที่มีแตเพียงการสอนเนื้อหาสาระใหผูเรียนเขาใจ โดยขาดกิจกรรมการนําความรูไปประยุกตใช จะทําใหผูเรียนขาดการเชื่อมโยงระหวางทฤษฎีกับการปฏิบัติ ซ่ึงจะทําใหการเรียนรู ไมเกิดประโยชนเทาที่ควร การจัดกิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนสามารถนําความรูไปประยุกตใชนี้ เทากับเปนการชวยใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูในดานหนึ่งหรือหลาย ๆ ดาน แลวแตลักษณะของสาระและกิจกรรมที่จัด แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูท่ีเขากับการทํางานของสมอง ความกาวหนาของการคนพบเกี่ยวกับโครงสราง และการทํางานสมองในรอบ 2 ทศวรรษที่ผานมาทําใหพบวา การจัดการศึกษา หรือจัดกระบวนการเรียนรูที่ไมสอดคลอง หรือตรงกันขาม เปนปฏิปกษตอกลไกการทํางานของสมอง นักการศึกษาจึงไดพยายามนําความรูใหม ๆ นี้ ไปประยุกตใชในเรื่องการจัดการศึกษา หรือกระบวนการเรียนรูที่สอดคลองกับธรรมชาติของสมอง (Brain Based Learning) หรือเขากับการทํางานของสมอง (Brain Compatible Learning) ทฤษฎีการเรียนรูที่เขากับการทํางานของสมอง หมายถึง การเรียนรูที่มีพื้นฐานอยูบนโครงสราง และการทําหนาที่ของสมอง ถาหากสมองไมไดถูกปดกั้น จากการบรรลุกระบวนการตามปกติของมัน การเรียนรูก็จะเกิดขึ้น นั่นก็คือ ทุกคนที่มีสมองปกติเรียนรูอยูแลวโดยธรรมชาติ

Page 18: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

22

(เพื่อการอยูรอดของชีวิต) เพราะสมองเปนเครื่องประมวลผลที่มีพลังสูงอยางมหาศาล แตการจัดการศึกษาแบบเกามักขัดขวาง การเรียนรูของสมองโดยการทําใหทอถอย เพิกเฉย หรือลงโทษ กระบวนการเรียนรูทางธรรมชาติของสมอง โดยการเรียนรูที่เขากับการทํางานของสมอง ประกอบดวย แนวคิดสําคัญของการเรียนรูท่ีเขากับการทํางานของสมอง แนวคิดสําคัญของการเรียนรูที่เขากับการทํางานของสมอง ประกอบดวย (วิทยากร เชียงกูล, 2548, หนา 116-120) 1. สมองเปนเครื่องประมวลผลแบคูขนาน (Parallel Processor) หมายถึงวา สมองสามารถที่จะทํากิจกรรมหลายระดับและหลายอยางไดในเวลาเดียวกัน ทั้งความคิด อารมณ จินตนาการ พฤติกรรมโนมเอียง และสภาวะทางรางกาย ทํางานไปพรอมกันและอยางมีปฏิสัมพันธตอกันและกัน ตัวอยางเชน การเห็น ชิมรส และการดมกลิ่น 2. สวนตาง ๆ ในสมองนั้นทํางานรวมกันแบบประชาคม (Social Brain) การเรียนรูนั้นเกี่ยวของกับความพรอมของสภาพทางกายภาพทุกสวนของผูเรียน (Whole Physiology) เชน การมีวุฒิภาวะตามวัย ความสะดวกสบายทางรางกาย การมีอารมณดี และที่สําคัญที่สุดคือ การสัมพันธกับคนอื่นๆ ในสังคม การเรียนรูจึงไดรับอิทธิพลอยางลึกซึ้งจากความสัมพันธทางสังคม ที่คนแตละคนคนพบตัวเองในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของสังคม 3. การแสวงหาความหมายของสิ่งตาง ๆ เพื่อที่จะทําความเขาใจเปนเรื่องที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติอยูแลว นั่นคือ คนเราตองการทําความเขาใจกับประสบการณของตนเอง 4. การแสวงหาความหมายเกิดขึ้นโดยผานการจําแนกแยกแยะ จัดหมวดหมูความเขาใจ ออกมาเปนแบบแผนตาง ๆ (Patterning) เชื่อมโยงกับสิ่งที่เขาเขาใจอยูเดิม 5. อารมณของคนเรามีความสําคัญตอกระบวนการจัดหมวดหมูความเขาใจ เปนแบบแผนตาง ๆ บรรยากาศที่ตื่นตัวแบบผอนคลาย เหมาะกับการเรียนรู บรรยากาศที่กังวล เครียด หวั่นกลัวที่เปนภายรายละเอียดทําใหเรียนรูไดยาก 6. สมองประมวลผลทั้งภาพรวม และสวนยอยตาง ๆ ไดในขณะเดียวกัน การศึกษาตองชวยใหผูเรียนเขาใจไดทั้ง 2 อยางไดดีขึ้น 7. การเรียนรู เกี่ยวของกับการรูจักเพงเล็งความสนใจ ไปยังจุดที่เฉพาะเจาะจง และการรับรูของประสาทสัมผัสตาง ๆ อยางรอบดาน การสรางสื่อสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการรับรูหลาย ๆ ทาง ชวยใหผูเรียนเขาใจและจําไดดีขึ้น

Page 19: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

23

8. การเรียนรูเกี่ยวของกับกระบวนการทั้งแบบมีจิตสํานึก (Conscious) และจิตใตสํานึก (Unconscious) เชน ความเขาใจอาจจะไมไดเกิดในชั้นเรียนตอนนั้น แตไมเกิดขึ้นหลังจากหลายช่ัวโมงหรือหลายสัปดาหผานไป 9. เรามีความจํา 2 อยาง คือ ความจําที่เชื่อมโยงกับขนาดรูปรางและตําแหนง (Spatial) ของส่ิงตางๆ และความจําแบบทองจํา แยกเปนสวน ๆ (Rote) อยางหลังซึ่งเปนวิธีการที่ครูสวนใหญชอบสอน มักจะจําไดยาก และนําไปใชประโยชนไดนอยกวาความจําแบบเชื่อมโยงกับสิ่งที่มีความหมายอยูเดิม 10. การเรียนรูเปนพัฒนาการอยางมีขั้นตอนตามลําดับ เราจะเขาใจไดดีที่สุด เมื่อขอเท็จจริงเขาไปแฝงผังอยูในความจําที่เชื่อมโยงกับขนาดรูปรางตําแหนงของสิ่งตางๆ และความจําดานอื่น ๆ อยางสอดคลองกับประสบการณหรือขอมูลเดิม 11. การเรียนรูจะไปไดดีกับความรูสึก วาสิ่งที่เรียนทาทายนาสนใจ และจะหยุดชะงักไปไมไดดี ถาผูเรียนรูสึกวากําลังเผชิญกับการคุกคามของผูสอนหรือสภาพแวดลอม 12. สมองของคนมีลักษณะเฉพาะไมเหมือนกัน การจัดการสอนการเรียนจึงตองคํานึงถึงผูเรียนแตละคนเปนสําคัญ แทนที่จะยึดติดกับมาตรฐานตําราหรือครูเพียงมาตรฐานเดียว เทคนิคการสอนที่สัมพันธกับการเรียนรูท่ีเขากับการทํางานของสมอง เทคนิคการสอนที่สัมพันธกับการเรียนรูที่ เขากับการทํางานของสมอง ประกอบดวย (วิทยากร เชียงกูล, 2548, หนา 116-120) 1) การสรางสภาพแวดลอมทางการเรียนรู แบบประสานทุกอยางที่เอื้ออํานวย ใหผูเรียนไดเขามาเปนสวนหนึ่งของประสบการณการเรียนรูอยางเต็มที่ (Orchestrated Immersion) เชน การสอนภาษาตางประเทศจะไดผลดี ตองสอนในบรรยากาศที่มีวัฒนธรรมของการใชภาษานั้น ๆ อยางแทจริง 2) ตองลดความหวาดกลัว ความหวั่นวิตกในผูเรียน และสรางบรรยากาศที่ทาทาย นาสนใจสําหรับนักเรียน แตไมถึงกับกดดัน คือ สงเสริมใหผูเรียนตื่นตัว แตผอนคลายตามธรรมชาติ (Relaxed Alertness) 3) การสงเสริมใหผูเรียนประมวลขอมูลอยางกระตือรือรน (Active Processing) เพื่อที่จะกล่ันกรองสังเคราะหขอมูลเหลานั้นอออกมาเปนความรูดวยตัวของเขาเองไมใชการทองจําขอมูล เพื่อสงกลับมาใหผูสอนโดยไมมีการวิเคราะห สังเคราะห การที่นักเรียนจะ “หยั่งรู” เกี่ยวกับปญหาหนึ่งปญหาใดไดจะตองสงเสริมใหพวกเขาสามารถวิเคราะหอยางเขมขนไดหลายแนวทาง

Page 20: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

24

การเรียนรูท่ีเขากับการทํางานของสมอง การเรียนรูที่เขากับการทํางานของสมอง ประกอบดวย (วิทยากร เชียงกูล, 2548, หนา 122) 1) ผูเรียนจะตอบสนองการเรียนรู จากสภาพความเปนจริงและจากสื่อที่ใกลเคียงกับสภาพความเปนจริง ไดดีกวาการฟงคําบรรยายจากผูทรงความรู 2) คนเราจะเรียนรูไดดีที่สุดเมื่อเขาไดฝกหัดแกปญหาที่เปนจริง 3) การเขาใจภาพรวมที่เปนภาพใหญไมอาจแยกออกจากการเขาใจรายละเอียด การเริ่มตนจากการสอนใหเขาใจภาพใหญกอนจะไปถึงรายละเอียด จะชวยการเรียนรูไดดีขึ้น 4) เนื่องจากสมองทุกสมองมีความแตกตางกัน ครู อาจารย ควรอนุญาตใหผูเรียนมีสวนรวมกําหนดหลักสูตร สภาพแวดลอมการเรียนรูที่เหมาะสมกับตัวเขาเองได 5) คนที่แกปญหาไดดีที่สุด คือ คนที่หัวเราะ (อารมณดี) 6) ส่ือการสอนตองมีศิลปะจูงใจอารมณ มีสภาพแวดลอมที่เปนมิตร วิธีที่จะเรียนไดดีที่สุด ไมใชการฟงบรรยาย แตเปนการมีสวนรวมในสภาพแวดลอมที่เปนโลกแหงชีวิตจริง และผูเรียนสามารถทดลองสิ่งใหม ๆ ไดอยางรูสึกปลอดภัยวาจะไมถูกหัวเราะเยาะหรือถูกลงโทษ ขอคนพบเรื่องการทํางานของสมอง และการนําไปประยุกตใชในการจัดการศึกษา

การคนพบเรื่องการทํางานของสมอง ขอเสนอแนะในการจัดการศึกษา 1. สมองทํางานไดหลายอยางในขณะเดียวกนั

การเรียนรูจะเพิ่มขึ้นหากมีสภาพแวดลอมที่อุดมสมบูรณไปดวยการกระตุนที่หลากหลาย

1. เสนอเนื้อหา โดยใชยุทธวิธีการสอนที่หลากหลาย เชน กิจกรรมทางกายภาพ การจัด ปฏิสัมพันธภายในกลุม การใชศิลปะและดนตรีเขาชวย เพื่อชวยใหนกัเรียนไดรับประสบการณอยางเหลือเฟอ

2. การเรียนรู ตองอาศัยสภาพแวดลอมทางกายภาพทั้งหมดของผูเรียน การมีวุฒภิาวะตามวัย ความสะดวกสบายทางรางกาย และการอยูในสภาพอารมณที่ดี มีผลกระทบตอความสามารถในการเรยีนรูของนักเรียน

2. ตระหนกัวา เดก็แตละคน เตบิโตในอัตราที่แตกตางกนั อายุตามปปฏิทินไมไดสะทอนวานักเรียนทุกคนจะมีความพรอมในการเรียนเทากันเสมอไป ตองผนวกเอาความรูและการปฏิบัติ เร่ืองสุขภาพทั้งกายและใจ (การกินอาหารที่ดี การออกกําลังกาย การรูจักลดความเครียดเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู)

Page 21: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

25

การคนพบเรื่องการทํางานของสมอง ขอเสนอแนะในการจัดการศึกษา 3. สมองนั้นเกิดขึ้นมาเพื่อแสวงหาความหมาย

ของสิ่งตาง ๆ อยูเสมอความอยากรูอยากเห็นของจิตใจ จะไดรับการสนองตอบอยางเต็มเปยม จากการทาทายที่ซับซอนและมีความหมาย

3. พยายามทําใหบทเรียนและกจิกรรมกระตุนความสนใจในการหาความหมายของจิตใจ

4. สมองถูกออกแบบมาใหมองเห็นและคิดอะไรออกมาเปนชุดของแบบแผน (Patterns)

4. เสนอขอมูล ภายในบริบทใดบริบทหนึ่ง (เชน วิทยาศาสตรของชีวิตจริง บทเรียนที่มีแนวเรื่อง) เพื่อที่ผุเรียนจะสามารถบงชี้ชุดของแบบแผน (Patterns) ได และสามารถเชื่อมตอกับประสบการณกอนหนานี้ของเขาได

5. อารมณ และการเรียนรูอยางเปนเหตุเปนผล (Cognition) ไมสามารถแยกออกจากกนัได ขอมูลที่เราอารมณนั้นชวยใหสมองของเราเก็บขอมูลและนํากลับมาใชใหมไดอยางสําคัญ

5.สรางบรรยากาศในหองเรยีน ที่สงเสริมใหนักเรียนและครูมีทัศคติในทางบวกเกี่ยวกบัการเรียนการสอนสนับสนุนใหนักเรียน ตระหนักในเรื่องอารมณความรูสึกของพวกเขาและตระหนกัวา อารมณนั้นมีผลกระทบตอการเรียนรูของพวกเขา ครูที่มีอารมณดี และมีอารมณขันจะสรางบรรยากาศการเรียนรูทีด่ี

6. สมองทั้งมองเห็นและสรางสวนยอย (Parts) และองครวมของสรรพสิ่ง (Wholes) ในเวลาเดยีวกัน

6.พยายามอยาสอนขอมูลเปนเรื่อง ๆ โดยไมเชื่อมโยงกับบริบทใหญ การสอนแบบแยกสวนทําใหการเรยีนรูเขาใจไดยาก ควรออก แบบกิจกรรมที่ตองการใหสมองทัง้สมอง ไดมีปฏิสัมพันธและสื่อสารถึงกันและกัน

7. การเรียนรูเกี่ยวของกับทั้งการเพงเล็งความสนใจไปจดุที่เฉพาะเจาะจง และการรับรูของประสาทสัมผัสตาง ๆ อยางรอบดาน

7.วางสื่อการเรียนรู (โปสเตอร งานศิลปะ กระดานขาว ดนตร)ี ไวรอบหองเพื่อใหมีอิทธิพลตอการเรียนรูทางออม ควรตระหนกัวาความกระตือรือรนของครูการทําตัวเปนแบบอยางและชี้แนะ (Coaching) เปนสัญลักษณที่สําคัญที่ชวยใหผูเรียนเหน็คุณคาของสิ่งที่กําลังเรียน

Page 22: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

26

การคนพบเรื่องการทํางานของสมอง ขอเสนอแนะในการจัดการศึกษา 8. การเรียนรุเกี่ยวของกับทั้งกระบวนการ

เรียนรูอยางมจีติสํานึกและอยางไรจิตสํานกึ 8. ใชเทคนิคการจูงใจ เพื่อกระตุนใหเกิดการ

เชื่อมโยงของบุคคล สนับสนุน “กระบวนการเรียนรูอยางกระตือรือรน” ผานการสะทอนกลับและการรูจักความคิดของตัวเอง (Metacognition) เพื่อชวยใหนักเรียนไดสํารวจการเรียนรูของตัวเขาเองอยางมีจิตสํานึก

9. เรามีความจําอยางนอย 2 แบบ คือ 1) ความจําแบบเชื่อมโยงมิต/ิระยะ (Spatial) ซ่ึงบนทึกประสบการณประจําวันของเรา 2) ความจําแบบทองจํา ซ่ึงเกีย่วกับขอเท็จจริงและทักษะแบบแยกสวน

9. การสอนขอมูล และทักษะ โดยไมสัมพันธกับประสบการณกอนหนานี้ของผูเรียน บังคับใหผูเรียนตองพึ่งพาการจําแบบทองจํา ดังนั้น จึงควรหลีกเลี่ยงการสอนแบบใหนกัเรียนทองจําเปนสวน ๆ เพราะมันมองขามดานสวนตวัของผูเรียน และบางทีจะเปนผลเสียตอการพัฒนาความเขาใจในภายหลังดวย

10. สมองจะเขาใจไดดีที่สุด เมือ่ขอมูล และ ทักษะแฝงฝงอยูในความจําแบบเชื่อมโยง มิติ/ระยะที่เปนไปโดยธรรมชาติ

10. ใชเทคนิคที่สราง หรือเลียนแบบประสบการณ จริงของโลก และใชประสาทสัมผัสที่ หลากหลาย เชน การสาธิต การทําโครงการ การอุปมาอุปมัย

11. การเรียนรูจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีการทาทาย และ ถูกขัดขวางเมือ่มีการคุกคาม

11. พยายามสรางบรรยากาศ “ตืน่ตัวแบบผอน คลาย” นั่นก็คอื มีการคุกคาม กดดันนอย และมี ความทาทายนาสนใจสูง

12. สมองแตละสมอง มีลักษณะเฉพาะ โครงสรางของสมองเปลี่ยนไปไดจากการ เรียนรูของสมองเอง

12. ใชยุทธศาสตรการสอน แบบหลายเหลีย่ม (Multifaceted) เพื่อเราความสนใจของผูเรียน และใหผูเรียนไดแสดงออกตามความถนัดของ เขาทั้งดานการฟง การจินตนาการเปนภาพการ ปฏิบัติ และอารมณ

Page 23: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

27

แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการคิด ในชวงเวลาของการปฏิรูปการศึกษา ไดมีนักคิดและนักการศึกษาใหความสนใจในเรื่องการพัฒนาการคิด มีทั้งการนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกตใชในการสอนและการวิจัย ควบคูกันไปกับการนําทฤษฎีและหลักการของตางประเทศมาประยุกตใช ทําใหไดรูปแบบการสอน กระบวนการสอนและเทคนิคการสอนตาง ๆ เพิ่มขึ้น กรอบความคิดในการพัฒนาความสามารถทางการคิด จากการคนควาองคความรูเกี่ยวกับการคิด ไดมีจัดมิติของการคิดไว 6 ดาน เพื่อใชเปนกรอบความคิดในการพัฒนาความสามารถทางการคิดของเด็ก ดังนี้ (สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, 2548) 1) มิติดานขอมูลหรือเนื้อหาที่ใชในการคิด การคิดเปนกระบวนการซึ่งจะตองมีขอมูลหรือเนื้อหาของเรื่องที่จะคิดหรือแกปญหาพรอมทั้งวิธีการที่จะคิด ซ่ึงขอมูลแบงไดเปน 3 ดาน ขอมูลเกี่ยวกับตนเอง ขอมูลเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดลอม และขอมูลวิชาการ ซ่ึงในการแกปญหาบุคคลจะตองพิจารณาขอมูลทั้งสามสวนนี้ผสมผสานกันอยางกลมกลืนจนกระทั่งพบทางเลือกในการแกปญหาอยางเหมาะสม 2) มิติดานคุณสมบัติที่เอื้ออํานวยตอการคิด การคิดพิจารณาเรื่องใดๆ คุณสมบัติสวนตัวของผูคิดมีผลตอการคิดและคุณภาพของการคิดอยางมากซึ่งคุณสมบัติตางๆ ไดแก ความเปนผูมีใจกวาง เปนธรรม ใฝรู กระตือรือรน ชางวิเคราะห ผสมผสาน ขยัน ตอสู กลาเสี่ยง อดทน มีความมั่นใจตนเอง 3) มิติดานทักษะการคิด การที่บุคคลจะคิดสิ่งใดจําเปนจะตองมีทักษะพื้นฐานในการคิดเพื่อสรางมโนทัศนในสิ่งที่จะคิดนั้น และจะตองมีทักษะกระบวนการที่ซับซอนที่เรียกวา ทักษะการคิดชั้นสูง เพื่อใหเกิดผลของการคิดและการพัฒนาทักษะการคิดดวย ทักษะตางๆ มีดังนี้ (1) ทักษะการคิดพื้นฐาน ไดแก ทักษะการฟง ทักษะการจํา ทักษะการอาน ทักษะการเก็บความรู ทักษะการใชความรู ทักษะการพูด ทักษะการเขียน ทักษะการแสดงออก ฯลฯ (2) ทักษะที่เปนแกนสําคัญ ไดแก ทักษะการสังเกต ทักษะการสํารวจ ทักษะการตั้งคําถาม ทักษะการเก็บรวบรวมขอมูล ทักษะการตีความ ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการสรุปความ ฯลฯ

Page 24: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

28

(3) ทักษะการคิดชั้นสูง ทักษะการนิยาม ทักษะการผสมผสาน ทักษะการสราง ทักษะการวิเคราะห ทักษะการจัดระบบ ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการทํานาย ทักษะการประยุกต ฯลฯ 4) มิติดานลักษณะการคิด เปนประเภทการคิดที่แสดงลักษณะเฉพาะที่ชัดเจนที่เด็กควรจะมีในการคิด มี 9 ประการ ไดแก การคิดคลอง การคิดหลากหลาย การคิดละเอียด การคิดชัดเจน การคิดอยางมีเหตุผล การคิดกวาง การคิดไกล การคิดลึกซึ้งและการคิดแหวกแนว 5) มิติดานกระบวนการคิด เปนการคิดอยางมีลําดับขั้นตอนเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคการคิดนั้นๆ ซ่ึงในแตละขั้นตอนตองใชทักษะการคิดและลักษณะการคิดเปนจํานวนมาก ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการคิดแกปญหา กระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการศึกษาวิจัย กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการคิดริเร่ิมสรางสรรค ฯลฯ 6) มิติดานการควบคุมและประเมินการคิดของตน เปนการคิดอยางมียุทธศาสตรซ่ึงประกอบดวยการวางแผน การควบคุมกํากับการกระทําของตนเอง การตรวจสอบความกาวหนาและการประเมินผล ซ่ึงจะสงผลตอความสามารถในการปรับปรุงกระบวนการคิดใหดีขึ้นเรื่อยๆ การสอนเพื่อพัฒนาการคิด แนวการสอนเพื่อพัฒนาการคิดสามารถสรุปไดเปน 3 แนว คือ (สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, 2548) 1) การสอนเพื่อพัฒนาการคิดโดยตรง โดยใชโปรแกรม ส่ือสําเร็จรูปหรือบทเรียน/กิจกรรมสําเร็จรูปที่มีผูพัฒนาไวแลวมาจัดสอนเปนพิเศษใหแกผูเรียน 2) การสอนเนื้อหาสาระตางๆ โดยใชรูปแบบหรือกระบวนการสอนที่เนนกระบวนการคิด เปนการพัฒนาผูเรียนทั้งดานเนื้อหาสาระตามรายวิชาและการคิดไปพรอมๆ กัน รูปแบบการสอนตาง ๆ ไดแก การสอนแบบสืบสวนของจอยสและเวลล การสอนแบบการคิดแกปญหาอนาคตของทอแรนซ การสอนแบบการสอนตามขั้นทั้ง 4 ของอริยสัจ โดย สาโรช บัวศรี ทักษะกระบวนการ โดย กรมวิชาการ ศธ. กระบวนการวิทยาศาสตร โดย สสวท. กระบวนการคิดเปน โดย โกวิท วรพิพัฒนฯลฯ 3) การสอนเนื้อหาสาระตางๆ โดยสงเสริมใหผูเรียนพัฒนาทักษะการคิด ลักษณะการคิดและกระบวนการคิดในกิจกรรมการเรียนรูเนื้อหาวิชาตางๆ เปนแนวทางที่สะดวกที่สุดเมื่อผูสอนเขาใจกรอบแนวคิดการสอนใหคิดก็นํามาจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมีลักษณะที่ใหโอกาสผูเรียนไดพัฒนาการคิด

Page 25: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

29

เคร่ืองมือการพัฒนาศักยภาพการคิดสรางสรรค ความคิดสรางสรรคเปนสิ่งที่ดีมีคุณคาตอชีวิต หลายคนอยากพัฒนาศักยภาพในการคิดสรางสรรคหรือสรางเครื่องมือในการพัฒนาเทคนิคการคิดสรางสรรคขึ้นมาใชเองไดอยางมี ประสิทธิภาพ การพัฒนาสิ่งใดก็ตามนอกจากจะตองมีความรูในเรื่องนั้นๆ แลว จําเปนอยางยิ่งที่เราจะตองอาศัยเครื่องมือในการพัฒนา เพราะเครื่องมือ คือ สะพานเชื่อมระหวางแนวคิดไปสูการปฏิบัติ (Think To Act) การนําเอาเทคนิคการพัฒนาการคิดสรางสรรคไปฝกฝนใหเกิดเปนรูปธรรมที่ชัดเจนนั้น จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีเครื่องมือตางๆ เขามารองรับ นอกจากจะมีเครื่องมือแลว ถือวายังไมเพียงพอ ตองดูตอไปวาเครื่องมือที่มีนั้นมีคุณภาพเพียงพอหรือไม เชนเดียวกันกับการพัฒนาศักยภาพในการคิดสรางสรรคที่จําเปนตองมีเครื่องมือ และเครื่องมือนั้นๆ จะตองมีคุณภาพที่ดีพอที่จะนํามาใชงานได โดยทั่วไปๆ แลวเครื่องมือการคิดสรางสรรคมีมากมายหลายอยาง เชน การระดมสมองโดยใชแผนภูมิกางปลา (Fish Bone Diagram) แผนภูมิตนไม (Tree Diagram) แผนภูมิความคิด (Mind Mapping) แตในที่นี้จะขอแนะนําเครื่องมือการคิดสรางสรรคแบบใหม ๆ ดังนี้ (ณรงควิทย แสนทอง, 2548) 1) สายใยลูกโซ (Creative Chain) หมายถึง การที่เราเกิดความคิดอะไรขึ้นมาแลว สงความคิดนั้นตอไปยังคนอื่นเพื่อใหคนอ่ืนตอยอดความคิดนั้นใหและใหคนตอไปตอยอดความคิดนั้นขึ้นไปอีก อาจจะใชวิธีการนั่งเปนวงกลมแลวเร่ิม ณ คนใดคนหนึ่งคิดอะไรขึ้นมากอน แลวพูดใหคนถัดไปฟงเพื่อใหคนถัดไปคิดตอยอด เชน คนแรกพูดวาเกาอี้ คนที่สองพูดวาเกาอี้ไฟฟา คนที่สามพูดวาเกาอี้ไฟฟาที่ปรับอุณหภูมิได ฯลฯ จนกลับมาถึงคนแรก คนแรกก็จะไดความคิดใหมที่เกิดจากการปลอยความคิดไปตามสายใยลูกโซทางความคิดของเพื่อนรวมทีม แลวใหคนที่สองทําเหมือนคนแรกไปเรื่อยๆจนครบทุกคน จะทําใหแตละคนไดความคิดในเรื่องตาง ๆ ออกมามากมาย 2) โดมิโน (Domino) หมายถึง การจับคูกันผลัดกันแสดงความคิดเห็น โดยใหคนที่หนึ่งพูดอะไรออกไปก็ได เชน มีด แลวคนที่สองพูดวามีดขนาดเล็กพับเก็บได คนแรกก็พูดตอไปอีกวา มีดขนาดเล็กพับเก็บไดมีทั้งคมและเลื่อย คนที่สองก็รับความคิดนี้กลับไปอีก ทําอยางนี้สลับกันไปเรื่อยๆจนกวาจะคิดไมออกหรือความคิดกลับมาที่เดิม เปรียบเสมือนแรงกระทบของลูกตุมที่แกวงไปมาจนกวาจะหมดพลัง 3) เขาวงกต (Fail for Success) ใหทดลองคิดบางสิ่งบางอยางไปจนกระทั่งคิดไมออกแลวคอยๆถอยกลับมาตั้งหลักใหมทีละขั้นเพื่อสรางแนวคิดใหมๆไปจนกวาจะเจอทางตัน ถาถอยมาหนึ่งขั้นแลวยังคิดไมออก ใหถอย

Page 26: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

30

กลับมาที่ความคิดกอนหนานั้นอีกหนึ่งขั้น เมื่อคิดตอไดก็ใหลากเสนใหมเหมือนกับการเดินทางในเขาวงกต ทําใหเราเห็นเสนทางของความคิดไดชัดเจนขึ้นวาเสนทางไหนที่เราเคยเดินไปแลว เสนทางไหนที่ยังไมเคยเดิน แลวคอยมาประมวลความคิดสรางสรรครวบยอดในภายหลัง เชน 4) คลุมถุงชน (Matching) ใหกําหนดหัวขอที่ตองการขึ้นมากอน เชน "การบริหารลูกนอง" แลวใหเขียนสิ่งของหรือช่ือสัตว หรืออะไรก็ไดลงในกระดาษแผนเล็กๆ แลวพับอยาใหมองเห็น เขียนใหมากที่สุดเทาที่จะมากได แลววางกองไว หลังจากนั้นใหหยิบขึ้นมาทีละใบนํามาจับคูกับหัวขอที่กําหนดไวคือ “การบริหารลูกนอง” เชน ถาเราไดคําวา “นาฬิกา” เราก็ลองนึกดูวาคุณสมบัติอะไรของนาฬิกาที่พอจะนําไปเชื่อมโยงกับการบริหารลูกนองไดบาง เชน การบริหารคนจะตองเนนเรื่องการตรงตอเวลา ถาเราหยิบไดคําวา “น้ํา” เราจะตองปรับตัวใหเขากับลูกนองแตละคนซึ่งเปรียบเสมือนภาชนะที่มีรูปทรงไมเหมือนกัน จะใชวิธีการบริหารลูกนองแตละคนที่แตกตางกันไป จากเครื่องมือดังกลาวเปนเพียงตัวอยางที่คิดขึ้นมาใหม ส่ิงที่ยกตัวอยางมาไมใช The Best tools แตเปนเพียงตัวอยางการคิดเครื่องมือใหมบนพื้นฐานของการคิดสรางสรรคเทานั้น ผูเรียนสามารถทดลองสรางเครื่องมือการคิดและสรางสรรคเครื่องมือทางการคิดเฉพาะตัวที่เหมาะสมกับตัวเองขึ้นมาเองในภายหลังได (ณรงควิทย แสนทอง, 2548) ดังนั้นการสงเสริมใหผูเรียนพัฒนาทักษะการคิด ลักษณะการคิดและกระบวนการคิดจึงสามารถจะทําไดโดยในการจัดการเรียนการสอนเนื้อหาสาระหรือรายวิชาตางๆ ผูสอนเลือกใชกิจกรรมการเรียนรูโดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตรใหผูเรียนทํากิจกรรมในการแสวงหาความรูและแกปญหา ซ่ึงรูปแบบที่ใชกันอยูโดยทั่วไปนั้น ไดแก การสอนโดยใชโครงการ

แนวคิดเกี่ยวกับความคิดเห็น คําวา “ความคิดเห็น” (opinion) ไดมีนักวิชาการใหคํานิยามไวตาง ๆ กัน เชน

เอนเกิล และ เชลลกลูบ (Engle and Shellgrove 1969, p. 36) ไดกลาววา ความคิดเห็น คือ การแสดงออกดานเจตคติที่ออกมาเปนคําพูด เปนการสรุปหรือการลงความคิดเห็นโดยอาศัยพื้นความรูที่มีอยู เบส (Best 1977, p. 20) กลาววา ความคิดเห็น คือ การแสดงออกทางดานความเชื่อ และความรูสึกของแตละบุคคลโดยการพูด

Page 27: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

31

ชอว และแจ็ค (Shaw and Jack 1967, p. 152) กลาววา ความคิดเห็นเปนการแสดงออก ซ่ึงการตัดสินใจจากการประเมินคา (Evaluation Judgment) หรือ ทัศนะ (Point of view) เกี่ยวกับเร่ืองใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ และความคิดยอมไดรับอิทธิพลของทัศนคติ มอรแกน และคิง (Morgan and King 1971, p. 95) กลาววา ความคิดเห็น คือการยอมรับคําพูดที่เกิดขึ้นโดยทัศนคติ วัตรภู อาจหาญ (2542, หนา 8) ความคิดเห็น เปนการแสดงออกของบุคคลที่มีตอส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ซ่ึงมีผลมาจากความเชื่อ ความคิดและทัศนคติ ซ่ึงตองอาศัยพื้นความรู ประสบการณ และพฤติกรรมระหวางบุคคล เปนเครื่องชวยในการพิจารณากอนที่จะตัดสินใจแสดงออกมา การลงความเห็นอาจจะเปนไปในลักษณะเห็นดวย หรือไมเห็นดวย ซ่ึงไมอาจบอกไดวาเปนการถูกตองหรือไม และปจจัยที่มีผลตอความคิดเห็นตาง ๆ นั้น ประกอบขึ้นดวยส่ิงสําคัญ ๆ คือ ความรู ประสบการณ และสภาพแวดลอม เสกสรร วัฒนพงษ (2542, หนา 141) สรุปไววา ความคิดเห็น หมายถึง การแสดงออกถึงความเชื่อ ทัศนะ การวินิจฉัย การพิจารณาหรือการประเมินผลอยางมีรูปแบบ โดยไดรับอิทธิพลมาจากทัศนคติและขอเท็จจริง ความรูที่มีอยูของผูแสดงความคิดเห็นตอเร่ืองใด เร่ืองหนึ่ง ซ่ึงขึ้นอยูกับสถานการณและสภาพแวดลอมตางๆ การแสดงความคิดเห็นอาจจะแสดงออกโดยการพูดหรือการเขียนก็ได พรนิภา ยันนาคี ชุติมา ศิริจันทรา ธนันตชัย นพแกว และบวร บัวขาว (2546, หนา 142) สรุปไดวา ความคิดเห็น เปนสภาพความรูสึกที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีตอส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ในเวลาใด เวลาหนึ่ง ซ่ึงอาจเปนผลมาจากความรู การรับรู ประสบการณที่บุคคลนั้นไดรับมา โดยบุคคลนั้นอาจจะแสดงออกมาทางใดทางหนึ่ง ไมวาจะเปนการพูด ลักษณะทาทาง หรือไมแสดงออกเลยก็ได จากแนวความคิดเห็นเกี่ยวกับความคิดเห็นดังกลาวสรุปไดวา ความคิดเห็น เปนการแสดงออกดานความรูสึกของบุคคล ตอส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ซ่ึงมีพื้นฐานจากสวนประกอบตาง ๆ ไดแก ความรู ประสบการณและสภาพแวดลอม งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ กระทรวงศึกษาศึกษาธิการของรัฐแมรี่แลนด (Maryland State Department of Education, 1990) ไดอางงานวิจัยที่กลาวถึง การจัดเนื้อหาสาระดวยแผนภาพเปนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพชวยการเรียนรูและจัดระบบการคิด เพราะผูเรียนไดมีโอกาสประมวลความคิด และมีปฏิสัมพันธกับสิ่งที่

Page 28: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

32

เรียนที่มีระบบไวอยางดี ทําใหผูเรียนรับเนื้อหาสาระชัดเจนขึ้น ผูเรียนไดแสดงความคิดออกมาเปนรูปธรรมที่สามารถตรวจสอบไดวาเขาใจเนื้อหานั้นถูกตองชัดเจนเพียงใด ประพันธ เจะอูมา (2537) ศึกษาผลของการจัดสิ่งชวยเสริมความคิดรวบยอดของเนื้อเร่ืองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีตอความเขาใจในการอานเรื่องภาษาไทยของนักเรียนที่พูดภาษามลายูถ่ินเปนภาษาที่หนึ่ง ผลการวิจัยพบวา (1) นักเรียนที่อานเรื่องที่มีการจัดสิ่งชวยเสริมความคิดรวบยอดของเนื้อเร่ืองภาษาไทยดวยเรื่องยอ การจัดสิ่งชวยเสริมความคิดรวบยอดของเนื้อเร่ืองดวยคําถามแทรกระหวางเรื่อง การจัดสิ่งชวยเสริมความคิดรวบยอดของเนื้อเร่ืองดวยแผนภูมิเร่ืองประกอบทายเรื่อง และเนื้อเร่ืองที่ไมมีการจัดสิ่งชวยเสริมความคิดรวบยอด มีความเขาใจในการอานเร่ืองภาษาไทยไมแตกตางกัน (2) นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงมีคะแนนจากการวัดความเขาใจในการอานเร่ืองสูงกวานักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ําอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3) ไมมีกิริยารวมระหวางการจัดสิ่งชวยเสริมความคิดรวบยอดของเนื้อเร่ืองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สุปรียา ตันสกุล (2540) ไดศึกษาผลของการใชรูปแบบการสอนแบบจัดขอมูลดวยแผนภาพที่มีตอสัมฤทธิผลทางการเรียนและความสามารถทางการแกปญหา กลุมตัวอยางเปนนักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 2 คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล กลุมทดลองไดรับการสอนดวยรูปแบบการสอนแบบการจัดขอมูลดวยแผนภาพ สวนกลุมควบคุมไดรับการสอนดวยวิธีการสอนปกติ ผลการวิจัยพบวา นักศึกษากลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน และความสามารถทางการแกปญหาสูงกวานักศึกษากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และรูปแบบการสอนแบบจัดขอมูลดวยแผนภาพที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมตอการเสริมสรางประสิทธิภาพในการเรียนรูของนักศึกษา การใชวิธีการจัดขอมูลดวยแผนภาพชวยใหนักศึกษาเขาใจเนื้อหาไดดีขึ้น สมาน ถาวรรัตนวานิช (2541) ศึกษาผลของการฝกใชเทคนิคแผนผังทางปญญาที่มีตอความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผลการวิจัยพบวา (1) คะแนนความคิดสรางสรรคหลังการทดลองของนักเรียนกลุมทดลองสูงกวากลุมควบคุมในแตละระดับของลักษณะบุคคลที่มีความคิดสรางสรรค อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) คะแนนความคิดสรางสรรคหลังการทดลองของนักเรียนกลุมทดลองสูงกวากอนการทดลองในแตละระดับของลักษณะบุคคลที่มีความคิดสรางสรรค อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3) ความคิดสรางสรรคจากงานประดิษฐหลังการทดลองของนักเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุมไมแตกตางกัน สิรินทิพย พูลศรี (2542) ศึกษาผลของการใชรูปแบบการสรางความคิดรวบยอดที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนัก เรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผลการวิจัยพบวา

Page 29: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

33

(1) แผนการสอนที่สรางขึ้นโดยใชรูปแบบการสรางความคิดรวบยอดเรื่องรูปทรงและปริมาตรของรูปทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก จํานวน 10 แผน แผนละ 3 คาบ ใชเวลา 30 คาบ สามารถพัฒนากระบวนการสรางความคิดรวบยอดของนักเรียน (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนที่เรียนโดยใชรูปแบบการสรางความคิดรวบยอด และนักเรียนที่เรียนโดยวิธีปกติแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) วิธีคิดของนักเรียนที่เรียนคณิตศาสตรโดยใชรูปแบบการสรางความคิดรวบยอด พบวา วิธีคิดที่นัก เ รียนใชจากมากที่ สุดไปหานอยที่ สุด คือ การสังเกตตัวอยางและตั้งสมมติฐาน การจําแนกตัวอยางและเปรียบเทียบความแตกตางของตัวอยาง การหาลักษณะรวมของตัวอยาง ลําดับขั้นในการคิดของนักเรียนเพื่อใหเกิดความคิดรวบยอด มีดังนี้ คือ สังเกตลักษณะทั่วไปของตัว อยาง เปรียบเทียบความแตกตางของตัวอยาง หาลักษณะรวมของตัวอยาง สรุปเปนความคิดรวบยอด จิรพรรณ จิตประสาท (2543) ศึกษาการใชผังความคิดและการบริหารสมองในการสอนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิตสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผลการวิจัยพบวา (1) การพัฒนาแผนการสอนที่เนนผังความคิดและการบริหารสมอง กลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต เร่ือง แสง ไดแผนการสอนทั้งหมด 12 แผน จํานวน 60 คาบ (2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน หลังจากไดรับการสอนโดยใชแผนการสอนที่เนนผังความคิดและการบริหารสมอง สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3) พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใชแผนการสอนที่เนนผังความคิด และการบริหารสมอง พบวา ผูเรียนมีพฤติกรรรมที่แสดงออกในดานปฏิสัมพันธในการทํางานดี มีความเขาใจและรูจักแกปญหาในการเรียน มีความกระตือรือรน สนใจ มั่นใจในการเรียน และมีการพัฒนาการในการเขียนผังความคิดดีขึ้น สุพรรณี สุวรรณจรัส (2543) ศึกษาผลของการฝกใชเทคนิคแผนผังทางปญญาที่มีตอการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ผลการวิจัยพบวา (1) นักเรียนกลุมทดลองที่ไดรับการฝกใชเทคนิคแผนผังทางปญญามีคาเฉลี่ยคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณสูงกวานักเรียนกลุมควบคุมที่ไดรับการสอนตามปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) นักเรียนกลุมทดลองที่ไดรับการฝกใชเทคนิคแผนผังทางปญญามีคาเฉลี่ยคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณหลังการทดลองสูงกวากอนทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3) ไมพบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณภายหลังการทดลองกับระยะติดตามผลของนักเรียนกลุมทดลองที่ไดรับการฝกใชเทคนิคแผนผังทางปญญา ศิริลักษณ หยางสุวรรณ (2543) ไดศึกษาการพัฒนาโปรแกรมการสงเสริมความสามารถในการจัดเนื้อหาสาระดวยแผนภาพสําหรับนักศึกษาฝกหัดครูสาขาการศึกษาปฐมวัย กลุมตัวอยางนักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 3 จํานวน 30 คน ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1

Page 30: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

34

ศึกษาขอมูลพื้นฐาน ขั้นที่ 2 สรางโปรแกรม ขั้นที่ 3 ทดลองใชโปรแกรม ขั้นที่ 4 ปรับปรุงโปรแกรม ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมขอมูล 13 สัปดาห ผลการวิจัยพบวา (1) นักศึกษามีคะแนนความสามารถจัดเนื้อหาสาระดวยแผนภาพหลังการทดลองใชโปรแกรมฯ สูงกวากอนทดลองใชโปรแกรมฯ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) นักศึกษามีคะแนนความสามารถในการเขียนแผนการสอนโดยใชการจัดเนื้อหาสาระดวยแผนภาพหลังการทดลองใชโปรแกรมฯ สูงกวากอนทดลองใชโปรแกรมฯ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3) นักศึกษาระยะที่ 3 ทุกคนมีความสามารถในการผลิตสื่อและการสอนโดยใชการจัดเนื้อหาสาระดวยแผนภาพในชั้นเรียนจริงในระดับผานเกณฑที่กําหนดไว กรแกว แกวคงเมือง (2544) ศึกษาผลของการฝกสรางแผนผังทางปญญาที่มีตอความเขาใจและความคงทนของความเขาใจในการอานภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ผลการวิจัยพบวา (1) นักเรียนกลุมทดลองมีคะแนนความเขาใจในการอานภาษาอังกฤษหลังการทดลองสูงกวานักเรียนกลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนกลุมทดลองมีคะแนนความเขาใจในการอานภาษาอังกฤษหลังการทดลองสูงกวากอนทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) นักเรียนกลุมทดลองและนักเรียนกลุมควบคุมมีคะแนนความคงทนของความเขาใจในการอานภาษาอังกฤษไมแตกตางกัน บรรหาญ จิตหวัง (2544) ศึกษา การพัฒนาแบบสอบความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผลการวิจัยพบวา (1) แบบสอบฉบับที่ 1 มีคาอํานาจจําแนก อยูในชวงตั้งแต 0.401 ถึง 2.402 คาความยากอยูในชวงตั้งแต –0.028 ถึง 1.463 คาการเดาอยูในชวงตั้งแต 0.118 ถึง 0.280 โดยมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อนําไปทดสอบกับนักเรียนที่มีระดับความสามารถปานกลาง (0.5) (2) แบบสอบฉบับที่ 2 มีคาอํานาจจําแนก อยูในชวงตั้งแต 0.558 ถึง 3.064 คาความยากอยูในชวงตั้งแต –0.097 ถึง 2.822 คาการเดาอยูในชวงตั้งแต 0.105 ถึง 0.346 โดยมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อนําไปทดสอบกับนักเรียนที่มีระดับความสามารถคอนขางสูง ชนัญชิดา จิตตปาลกุล (2545) ทําการศึกษาผลการใชกิจกรรมพัฒนาผูเรียนแบบแผนที่ความคิด (Mind Mapping) ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1/1 ผลการวิจัยพบวา การสอนโดยใชกิจกรรมพัฒนาผูเรียนแบบแผนที่ความคิด สงผลใหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยภาพรวมสูงขึ้นเพียง เล็กนอยเทานั้น และเมื่อดูจากการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลางภาคเรียนกับปลายภาคเรียน ในแตละระดับสติปญญา จะเห็นวา กลุมเกงและกลุมออนมีการพัฒนาขึ้น แตในกลุมปานกลางกลับมีคะแนนเฉลี่ยลดนอยลง ซ่ึงอาจแปรผลไดวากิจกรรมพัฒนาผูเรียนวิธีนี้ไมเหมาะกับผูเรียนในกลุมนี้ จึงควรไดมีการศึกษากิจกรรมพัฒนาผูเรียนหรือวิธีการสอนที่เหมาะสม กับการพัฒนาผูเรียนในกลุมนี้ตอไป ในการเลือกเนื้อหา

Page 31: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

35

เพื่อนํามาใชในการสรางแผนที่ความคิด ควรเปนเรื่องที่ไมยุงยากซับซอน หรือเนื้อความมากเกินไป และการสรางแบบทดสอบอาจมีผลตอการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได ถาผูสอนและผูออกแบบทดสอบไมใชบุคคลเดียวกัน และควรสรางแบบทดสอบจากเนื้อหาที่ไดสอนดวยวิธีแผนที่ความคิดเทานั้น มิฉะนั้นอาจทําใหไดขอมูลที่ไมตรงกับจุดมุงหมายที่ตั้งไว สุภาพร สายสวาท (2545) ศึกษาการใชกิจกรรมสงเสริมทักษะการคิด เพื่อพัฒนาความสามารถการแสดงความคิดของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 1 โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ผลการวิจัยพบวา (1) ไดชุดฝกกิจกรรมสงเสริมทักษะการคิดสามารถนําไปใชปฏิบัติการสอนอยางมีคุณภาพ (2) นักเรียนสามารถแสดงออกทางความคิดสูงขึ้น ไดอยางหลากหลาย มีความเชื่อมั่นในการแสดงความคิด กลาแสดงความคิดเห็นสูงขึ้น (3) มีผลสัมฤทธิ์ความสามารถในการคิดสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .01 นภาพร ภูทอง (2546) ศึกษาผลของการเลานิทานประกอบสื่อแบบตาง ๆ ที่มีตอการสรางผังคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษา กลุมตัวอยางที่ใชกําหนดโดยการเลือกแบบเจาะจง แบงเปน 3 กลุม ๆ ละ 43 คน รวม 129 คน ดําเนินกิจกรรมการเลานิทานประกอบสื่อรูปภาพ ส่ือเทปนิทาน และส่ือวีซีดี เปนระยะเวลา 3 สัปดาห ดวยตัวของผูวิจัยเอง ผลการวิจัยพบวา การเลานิทานประกอบสื่อรูปภาพ และการเลานิทานประกอบสื่อวีซีดี มีผลตอการสรางผังคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาอยูในระดับดี และการเลานิทานประกอบสื่อเทปนิทาน มีผลตอการสรางผังคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาอยูในระดับพอใช ศศิธร หาคํา (2548) การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ใชเทคนิคการคิดแบบ Mind Map ในขั้นสรุปเนื้อหาโดยผูเรียนเรื่องสมการ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนไดเรียนรูโดยการปฏิบัติจริง อภิปรายกลุมยอย แลวสรุป เนื้อหาโดยการสรุปแบบ ผังความคิด (Mind Map) เปนกลุมและฝกทักษะโดยการเลนเกมจากนั้นนําความรูจากการสรุป Mind Map กลุมไปทําแบบฝกหัด และสรางผลงานเอง เพื่อนําผลงาน คัดเลือก รอประเมินในแฟมสะสมผลงานดีเดน จากผลการศึกษาพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร เร่ือง สมการ ของนักเรียนอยูในเกณฑที่นาพอใจมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยคิดเปนรอยละ 80.44 นอกจากนี้จากการสังเกต พฤติกรรม การทํางานกลุมและสังเกตจากผลงานกลุมและรายบุคคลในแฟมสะสมผลงานดีเดน นักเรียน มีความพึงพอใจในผลงานกลุม และ การสรุปเนื้อหาโดยใชการคิดแบบ Mind Map สูงมาก

Page 32: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

36

กรอบแนวคิดในการวิจัย จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของดังกลาว สามารถกําหนดกรอบแนวคดิสําหรับการวิจัย ไดดังนี้ 1. ตัวแปรตน คือ ภูมิหลังของนักศึกษา ประกอบดวย 1.1 เพศ 1.2 อายุ 1.3 ประเภทของสถานศึกษา 1.4 ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน 2. ตัวแปรตาม คือ ความคิดเห็นของนักศึกษาตอการเรียนวิชาหลักการสอนโดยการสรุปเนื้อหาดวยแผนที่ความคิด ประกอบดวย 2.1 การสรางความรูความเขาใจ 2.2 ทักษะและความคิดสรางสรรค 2.3 การนําไปประยุกตใช ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิในการวิจัย

ภูมิหลังของนกัศึกษา

1. เพศ 2. อายุ 3. ประเภทของสถานศึกษา 4. ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

ความคิดเห็นของนักศึกษาตอการเรียน วิชาหลักการสอนโดยการสรปุเนื้อหาดวย

แผนที่ความคดิ 1. การสรางความรูความเขาใจ 2. ทักษะและความคิดสรางสรรค 3. การนําไปประยุกตใช

Page 33: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

37

นิยามศัพท 1. ความคิดเห็น หมายถึง ความคิดเห็นของนักศึกษาตอการเรียนวิชาหลักการสอนโดยการสรุปเนื้อหา ดวยการใชแผนที่ความคิด (Mind Mapping) โดยจําแนกเปน 3 ดาน คือ ดานความรูความเขาใจ ทักษะและความคิดสรางสรรค และดานการนําไปใช ความคิดเห็นดังกลาววัดโดยใชแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางเอง 2. การสรางความรูความเขาใจ หมายถึง ความสามารถในการสรางความรูความเขาใจในการสรุปเนื้อหาโดยใชแผนที่ความคิด 3. ทักษะและความคิดสรางสรรค หมายถึง ความสามารถในการถายทอด ความคิด การจัดเนื้อหาสาระและการสรางสรรค อยางมีความสัมพันธ 4. การนําไปประยุกตใช หมายถึง ทรรศนะของผูเรียนตอการสรุปเนื้อหาโดยใชแผนที่ความคิดไปใชในการเรียนการสอนวิชาอื่น 5. นักศึกษาครุศาสตร หมายถึง นักศึกษาสาขาการศึกษาชั้นปที่ 2 โปรแกรมการศึกษาปฐมวัย ที่เรียนวิชาหลักการสอนในภาคเรียนที่ 2 6. วิชาหลักการสอน เปนวิชาบังคับในกลุมวิชาชีพครู หมวดเฉพาะดานสําหรับนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาทุกโปรแกรมวิชาตามหลักสูตรปริญญาตรีของสภาการฝกหัดครูฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2530 มีจํานวน 3 หนวยกิต ใชเวลาเรียน 4 คาบตอ 1 สัปดาห ซ่ึงเนื้อหาวิชาประกอบดวย สภาพแวดลอมของการเรียนการสอน การเรียนการสอน จุดประสงคเชิงพฤติกรรม กิจกรรมการเรียนการสอน วิธีสอนแบบตาง ๆ และการวางแผนการสอน 7. แผนที่ความคิด หมายถึง แผนผังที่แสดงความสัมพันธความคิดรวบยอด (Concept) ที่เร่ิมจากความคิดรวบยอดหลักแลวแตกแขนงไปสูความคิดรวบยอดรองและความคิดรวบยอดยอยกระจายไปโดยรอบ ซ่ึงจะทําใหเกิดภาพแหงการเชื่อมโยงขององคความรู เร่ืองใดเรื่องหนึ่งอยางละเอียดลออทุกแงมุม 8. การเรียนการสอน หมายถึง การสอนในชั้นปกติ ซ่ึงผูวิจัยไดสอนตามแผนการสอนที่เขียนไวและดําเนินกิจกรรม โดยใชการบรรยาย การอภิปราย และการเรียนรูดวยตนเองเมื่อสอนจบบทเรียนแตละครั้ง อาจารยจะใหนักศึกษาสรุปเนื้อหาสง โดยใชแผนที่ความคิด 9. แผนการสอน หมายถึง การวางแผนการสอนลวงหนากอนที่จะสอนบทใดบทหนึ่ง ซ่ึงจะตองมีองคประกอบเกี่ยวกับ หัวขอเร่ือง จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอนและประเมินผล

Page 34: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข องความหมายของแผนที่ความค

38

10. ภูมิหลังของนักศึกษา หมายถึง เพศ อายุ ประเภทของสถานศึกษา และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน