ั้ง -...

17
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th แผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร แผนการจัดการเรียนรูที15 เรื่อง เมฆและฝน รายวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน 32101 เวลา 2 คาบ ภาคการเรียนที2 ปการศึกษา 2551 สัปดาหที15 วันที19 .. 2552 ชั้นมัธยมศึกษาปที2 หอง . 2/3 ผูสอน นางสาววจตุพร เจาทรัพย อาจารยนิเทศ อาจารยธวัชชัย วิจารณนิกรกิจ มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน 6.1 : เขาใจกระบวนการตางๆที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของ กระบวนการตางๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก มีกระบวน การสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําสิ่งที่เรียนรูไปใชประโยชนได จุดมุงหมายของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตและพัฒนานักเรียนใหมีความรูความสามารถทางดานวิทยาศาสตร 2. ใหนักเรียนสามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร 3. สงเสริมและสนับสนุนใหผูสอนคิดคนวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาและเผยแพรองค ความรูใหกับสถาบันการศึกษาอื่นๆ คุณลักษณะอันพึงประสงคของโรงเรียน 1. นักเรียนมีทักษะทางดานการคิดวิเคราะห สังเคราะห แกปญหาการจัดการอยางเปนระบบรู วิธีการแสวงหาความรูเพิ่มเติมจากสื่อและแหลงการศึกษาตางๆ 2. นักเรียนมีความรูและทักษะพื้นฐานทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ สิ่งแวดลอม เพียงพอตอการแสวงหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเอง หรือศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา รวมทั้ง รูจักเลือกใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันอยางเหมาะสมและตระหนักถึงความสําคัญของ การรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Upload: others

Post on 27-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

แผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร แผนการจัดการเรียนรูท่ี 15 เร่ือง เมฆและฝน รายวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 32101 เวลา 2 คาบ ภาคการเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2551 สัปดาหท่ี 15 วันท่ี 19 ก.พ. 2552 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 หอง ม. 2/3 ผูสอน นางสาววจตุพร เจาทรัพย อาจารยนิเทศ อาจารยธวัชชัย วิจารณนกิรกิจ

มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ว 6.1 : เขาใจกระบวนการตางๆท่ีเกิดข้ึนบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการตางๆ ท่ีมีผลตอการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก มีกระบวน การสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตรส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรูและนําส่ิงท่ีเรียนรูไปใชประโยชนได จุดมุงหมายของหลักสูตร

1. เพื่อผลิตและพฒันานักเรียนใหมีความรูความสามารถทางดานวิทยาศาสตร 2. ใหนกัเรียนสามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร

3. สงเสริมและสนับสนุนใหผูสอนคิดคนวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาและเผยแพรองคความรูใหกับสถาบันการศึกษาอ่ืนๆ คุณลักษณะอันพึงประสงคของโรงเรียน 1. นักเรียนมีทักษะทางดานการคิดวเิคราะห สังเคราะห แกปญหาการจัดการอยางเปนระบบรูวิธีการแสวงหาความรูเพิ่มเติมจากส่ือและแหลงการศึกษาตางๆ

2. นักเรียนมีความรูและทักษะพ้ืนฐานทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ ส่ิงแวดลอม เพยีงพอตอการแสวงหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเอง หรือศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา รวมท้ังรูจักเลือกใชวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีในชีวิตประจําวนัอยางเหมาะสมและตระหนักถึงความสําคัญของการรักษาธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

เมฆและฝน

การเกิดเมฆ ชนิดของเมฆ

หยาดน้ําฟา

การพยากรณอากาศจากปริมาณ

น้ําฝน ฝนละออง ลูกเห็บ หมอก ละออง หิมะ

การวัดปริมาณน้ําฝน

เรนเกจ

เมฆชั้นสูง

เมฆกอตัวในแนวตั้ง

เมฆชั้นต่ํา

ฝนกรด

เมฆชั้นกลาง

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

2. สาระพื้นฐาน สาระท่ี 6 : กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก 3. มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ว 6.1 : เขาใจกระบวนการตางๆท่ีเกิดข้ึนบนผิวโลก ความสัมพันธของกระบวนการตางๆท่ีมีผลตอการเปล่ียนแปลงภมิูอากาศและสัณฐานโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน 4. มาตรฐานการเรียนรูชวงชัน้ 1. สํารวจตรวจสอบ อธิบายการเกิดปรากฏการณธรรมชาติ องคประกอบของอุณหภูมิ ความชื้นและความดันบรรยากาศ รวมท้ังสภาพภูมิประเทศ 5. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับปรากฎการณทางลมฟาอากาศ ไดแก การเกิดเมฆ ชนิดของเมฆ การเกิดฝน การวัดปริมาณน้ําฝน รวมท้ังอธิบายผลของปรากฎการณทางลมฟาอากาศท่ีมีตอมนุษยและส่ิงแวดลอม รวมทั้งเสนอแนะวิธีปองกนัภยัท่ีเกดิจากปรากฎการณทางลมฟาอากาศ

6. จุดประสงคการเรียนรู

1. นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดเมฆ การจําแนกชนิดของเมฆตามลักษณะและรูปรางได 2. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของทองฟาโดยใชเมฆปนเกณฑได

3. นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดน้ําฟาเปนฝน หิมะ ลูกเห็บ ได 4. นักเรียนสามารถอธิบายการกําหนดฤดูฝน โดยใชปริมาณเฉล่ียของฝนท่ีตกในประเทศไทย เปนเกณฑ 5. นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดฝนกรดและผลกระทบตอส่ิงแวดลอม ได 7. สาระการเรียนรู เมฆ คือ น้ําในอากาศเบ้ืองสูงท่ีอยูในสถานะเปนหยดน้ํา และผลึกน้ําแข็ง และอาจมีอนุภาคของของแข็งท่ีอยูในรูปของควันและฝุนท่ีแขวนลอยอยูในอากาศรวมอยูดวย เมฆท่ีอยูในระดบัสูงประกอบดวยผลึกน้ําแข็งเกือบท้ังหมด เพราะอุณหภูมิท่ีระดับนีต้่ํากวาจุดเยือกแข็ง สวนเมฆท่ีระดับปานกลางจะประกอบดวยผลึกน้ําแข็งและอนภุาคน้ํา เนื่องจากเมฆท่ีเกดิในระดับท่ีไมสูงมาก มีอุณหภูมิต่ําไมพอท่ีจะเปนผลึกน้ําแข็ง สําหรับเมฆท่ีระดับต่ําจะประกอบดวยอนุภาคน้ําเกือบท้ังหมด

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

นักอุตินยิมวิทยาไดแบงเมฆออกเปน 4 ประเภท คือ 1.เมฆช้ันสูง (high clound) เปนเมฆท่ีพบท่ีระดับความสูงมากกวา 6,500 เมตรข้ึนไป มีลักษณะคลายปุยฝาย มีสี ขาว หรือสีเทาออน เกิดข้ึนจากเกล็ดน้ําแข็ง โดยเปนเมฆท่ีไมทําใหเกิดฝน เมฆในกลุมนี้ สามารถแบงยอยโดยเรียงจากระดับความสูงตามลําดับ ดังนี้ - เมฆเซอรัส มีลักษณะเบา มองดูคลายขนนกสีขาวเปนร้ิว ประกอบดวยผลึกน้ําแข็ง หรือเปนเสนบาง ๆ คลายควัน เปนทางยาว - เซอรโรคิวมูลัส มีลักษณะเปนเกล็ดบาง ๆ สีขาวหรือเปนละอองคล่ืนเล็ก ๆ อยูติดกันบางตอนจะแยกจากกันแตจะอยูเรียงกนัอยางเปนระเบียบ โปรงแสง เมฆชนิดนีจ้ะอยูรูปเต็มไมนานก็จะเปล่ียนเปนเมฆชนิดอ่ืน - เซอโรสเตรตัส มีลักษณะเปนแผนยาวบาง ๆ ครอบคลุมทองฟาเกือบท้ังหมดทําใหเกิดพระอาทิตยหรือพระจันทรทรงกลด

2. เมฆช้ันกลาง (mediumcloud) ระดับความสูงของเมฆจะอยูประมาณ 2,500 ถึง 6,500 เมตร (2-8 กิโลเมตร) สามารถแบงยอยโดยเรียงลําดับความสูงจากมากไปหานอยไดดังนี ้

- อัลโตคิวมูลัส มีรูปรางคลายคล่ืนในทะเล เปนกอนที่มีสีขาวปนเทา และทําใหเกิด เงา มักอยูในเสนขนานกันหากเมฆชนิดนี้เร่ิมเปล่ียนแปลงจนมองไมเหน็เปนรูปรางแสดงวาจะมีฝนตก

- เมฆอัลโตสเตรตัส เปน เมฆท่ีมีสีเทาปนขาวหรือสีเทาปนนํ้าเงิน มีลักษณะเปนแผน ๆ แต หนากวาและต่าํกวาเซอรโรสตราตัส บางคร้ังเราจะเหน็แสงอาทิตยสามารถสองผานกอนเมฆไดอยางมัว ๆ แตจะไมมีพระอาทิตยทรงกลด 3. เมฆช้ันตํ่า (low cloud) จะมีระดับความสูงจากพื้นไมเกิน 2,500 เมตร (2 กิโลเมตร)สวนใหญประกอบดวยน้ํา สามารถแบงยอยโดยเรียง จาก ความสูงมากไปหาความสูงนอย คือ - สตราโตคิวมูลัส มีลักษณะคอนขางกลมมากกวาแบน สีเทา เรียงตัวไมเปนระเบียบ มักอยูชิดติดกันจนเปนลูกคล่ืน ทนทานตอกระแสลมไมออนไหวงาย เมฆชนิดนี้แสดงถึงสภาวะอากาศท่ีอาจจะมีฝนตกในบริเวณน้ันแตถาเบาบางลงอากาศก็แจมใส - สเตรตัส เปนเมฆท่ีอยูต่าํสุดและอยูในแนวนอนคลายหมอกหรือคลายแผนฟลมบาง ๆ ทําใหทองฟามีลักษณะเปนฝาเกิดจากหมอกท่ีลอยข้ึนมาจากพืน้ดิน มักปรากฏในตอนเชามืดหรือสาย หรือหลังฝนตก - นิมโบสเตรตัส มีลักษณะเปนแผนหนาสีเทาแกสม่ําเสมอ ทําใหทองฟามืดคลึมแผกวางออกไปไมเปนรปราง ซ่ึงเปนเมฆท่ีกอใหเกดิฝนตกตอเน่ืองคือ เมฆฝน จึงเรียกเมฆชนิดนี้อีกช่ือหนึ่งวาเมฆฝน 4. เมฆกอตัวในแนวตั้ง (vertical development cloud) ระดับความสูงเฉล่ียของฐานเมฆอยูท่ี 500 เมตร สวนความสูงของยอดเมฆอาจสูงไดถึงระดับ 20,000 เมตร สามารถแบงออกเปน

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

- คิวมูลัส มีลักษณะคลายเมฆเซอรโรคิวมูลัสแตมีขนาดใหญกวา เปนเมฆท่ีมีขนาดหนาและกอนใหญมักกอตัวเหนือกระแสลมอยางรวดเร็วโดยกอตัวจากแนวดิ่งลอยตัวข้ึนไปเปนกลุม ๆ กลุมละ 4-5 กอน เปนแนวนอนหรือแบนกวาง - คิวมูโลนิมบัส เปนเมฆท่ีมีกอนหนาทึบท่ีสุดแผกระจายในแนวด่ิงและลอยตัวอยูสูงคลายภูเขาท่ีลองลอบยอยูบนฟากฟา บริเวณฐานจะมีสีดํา สวนยอดเปนรูปท่ังหรือแหลนเปนสีขาว อยูกระจัดกระจายหรือรวมกันอยู ทําใหฝนตก หรือเรียกวาเมฆฝนฟาคะนอง ในการพยากรณเรามักไดการบอกสภาพทองฟาซ่ึงจะใชปริมาณเมฆในทองฟาเปนเกณฑ โดยแบงพื้นที่ทองฟาออกเปน 10 สวนแลวสังเกตวาครอบคลุมพื้นท่ีทองฟากี่สวนดังนี ้

ลักษณะทองฟา ปริมาณเมฆ

1. แจมใส ไมมีเมฆ หรือมีนอยกวา 1 สวน

2. โปรง มากกวา 1 สวนแตไมเกิน 3 สวน

3. เมฆบางสวน มากกวา 3 สวนแตไมเกิน5 สวน

4. เมฆเปนสวนมาก มากกวา 5 สวนแตไมเกิน8 สวน

5. เมฆมาก มากกวา 8 สวนแตไมเกิน9 สวน

6. เมฆเต็มทองฟา 10 สวน ฝน (Rain) เปนหยาดน้ําฟาชนิดหนึ่งท่ีเกดิจากปรากฏการณทางธรรมชาติ เกิดจากอนุภาคของไอ

น้ําขนาดตางๆ ในกอนเมฆเม่ือมีขนาดใหญข้ึนจนไมสามารถลอยตัวอยูในกอนเมฆได ก็จะตกลงมาเปนฝน ดังนั้นการท่ีฝนจะตกลงมาไดจะตองมีเมฆเกิดบนทองฟากอน สภาวะที่น้ําตกลงมาจากทองฟาอาจเปนลักษณะของฝน หิมะ หรือ ลูกเห็บ ข้ึนกับอุณหภูมิของอากาศในพื้นท่ีนั้นๆ ดังตอไปนี้ เม่ืออุณหภูมิของอากาศบริเวณผิวโลกตํ่ากวาจุดเยือกแข็งผลึกท่ีตกลงมาก็จะอยูในรูปของหิมะ แตถาอากาศเหนือผิวโลกอุน ผลึกน้ําแขงจะหลอมเหลวกลายเปนน้ําฝน และถากระแสอากาศพัดข้ึนคอนขางแรง ผลึกน้ําแข็งอาจเคล่ือนท่ีข้ึนลงในกอนเมฆหลายๆรอบ ทําใหผลึกน้ําแข็งมีขนาดโตข้ึนเร่ือยๆจนในท่ีสุดก็ตกลงมาเปนลูกเห็บ - ฝนละออง (Drizzle) เปนหยดน้ําขนาดเล็กกวา 0.5 มิลลิเมตร เกดิจากเมฆสเตรตัส พบเห็นบอยบนยอดเขาสูง ตกตอเน่ืองเปนเวลานานหลายช่ัวโมง - ละอองหมอก (Mist) เปนหยดน้ําขนาด 0.005 – 0.05 มิลลิเมตร เกิดจากเมฆสเตรตัส ทําใหเรารูสึกช้ืนเม่ือเดินผาน มักพบบนยอดเขาสูง - ลูกเหบ็ (Hail) เปนเกล็ดน้ําแข็งท่ีมีรูปรางและขนาดแตกตางกนั เกิดจากเมฆ ฝน หรือ เมฆคิวมูโลนิมบัสท่ีภายในมีกระแสอากาศรอนและช้ืนไหลสูข้ึนดานบนอยางรวดเร็ว เม่ือกระทบกนักับอากาศเยน็จะกล่ัน

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

- หิมะ (snow) เปนผลึกน้ําแข็งขนาดประมาณ 1 – 20 มิลลิเมตร ซ่ึงเกิดจากผลึกน้ําแข็งตกลงมาปะทะไอนํ้าจากน้ําเยน็ท่ีอยูดานลาง ทําใหเกิดการเยือกแข็งและรวมตัวกันเปนผลึกใหญเราเรียกวาเกล็ดน้ําแข็ง หยาดนํ้าฟาตองเกิดจากเมฆ ถาไมมีเมฆก็จะไมมีหยาดน้ําฟา แตเม่ือมีเมฆก็ไมจําเปนจะตองมีหยาดน้ําฟาเสมอไปเพราะมีเมฆเพียงบางชนิดเทานั้นท่ีทําใหเกดิหยาดน้ําฟา เคร่ืองวัดปริมาณน้ําฝน เรียกวา เรนเกจ เปนถังกลมรูปทรงกระบอก 2 ใบ ซอนกัน ทําดวยถังโลหะท่ีไมเปนสนิม ขนาดมาตรฐานมีเสนผานศูนยกลาง 20 เซนติเมตร หรือ 8 นิ้ว สูงราว 50 เซนติเมตร หรือ 20 นิ้ว ดังภาพ

ภาพ : เรนเกจ กรมอุตุนิยมวทิยา วดัปริมาณนํ้าฝนท่ีตกลงมาโดยใชภาชนะรองรับปริมาณนํ้าฝน มีหนวยในการวัดเปนเมตร เกณฑในการวดัปริมาณนํ้าฝนของอุตุนิยมวิทยา

จํานวนน้ําฝนใน 24 ชั่วโมง ขนาดของฝน 0.1 – 10 มิลลิเมตร ฝนเล็กนอย

10.1 – 35.0 ฝนปานกลาง 35.1 – 90.0 ฝนหนัก 90.1 ข้ึนไป ฝนหนักมาก

ฝนกรด เกดิจากในขณะท่ีฝนตกน้ําฝนเกิดการรวมตัวกับแกสซัลเฟอรไดออกไซดและออกไซด

ของไนโตรเจน ซ่ึงแกสท้ังสองนี้สวนใหญไดจาก การผาไหมของเช้ือเพลิง จึงทําใหน้ําฝนเหลานั้นมีสภาพเปนกรด

ฝนกรดจะมีฤทธ์ิละลายส่ิงกอสรางท่ีเปนหนิปูน , จับตัวกบัหมอกทําใหเกิดหมอกควันพิษท่ีเปนอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ และอาจอันตรายถึงชีวิตไดถามีปริมาณมากพอ

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

8. กระบวนการจัดการเรียนรู รูปแบบการสอนท่ีใช : รูปแบบการเรียนการสอนแบบรวมมือ (Cooperative Learning)

9. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นท่ี 1 ขั้นนาํ

1.1 ครูนํานักเรียนเขาศึกษาเร่ือง เมฆและฝน โดยใหนกัเรียนแหงนหนาข้ึนมองบนทองฟา พรอมท้ังถามนักเรียนวา - นักเรียนคิดวามีอะไรอยูขางบนทองฟาบาง ? แนวทางการตอบ: เมฆ , ดวงอาทิตย - นักเรียนคิดวาเมฆท่ีเราพบเห็นนัน้มีลักษณะเหมือนกนัทุกกอนเลยหรือไม ? แนวทางการตอบ : ไมเหมือนกัน - นักเรียนคนใดเคยเห็นเมฆเปนรูปรางอะไรบางคะ ? แนวทางตอบ : ลักษณะของคําตอบแลวแตความคิดของนักเรียน - พูดถึงเร่ืองเมฆมานานแลว นักเรียนคิดวาเมฆคืออะไรคะ ? แนวทางการตอบ : เมฆและฝน ขั้นท่ี 2 ขั้นดําเนินการ 2.1 ใหนกัเรียนศึกษาใบความรูเร่ือง เมฆและฝน พรอมถามนักเรียนอีกคร้ังวาเมฆ คืออะไร? แนวทางการตอบ : เมฆ คือ น้ําในอากาศเบื้องสูงท่ีอยูในสถานะเปนหยดน้ํา และผลึกน้ําแข็ง และอาจมีอนุภาคของของแข็งท่ีอยูในรูปของควนัและฝุนท่ีแขวนลอยอยูในอากาศรวมอยูดวย เมฆท่ีอยูในระดับสูงประกอบดวยผลึกน้ําแข็งเกือบท้ังหมด เพราะอุณหภูมิท่ีระดับนีต้่ํากวาจุดเยือกแข็ง สวนเมฆท่ีระดับปานกลางจะประกอบดวยผลึกน้ําแข็งและอนภุาคน้ํา เนื่องจากเมฆท่ีเกดิในระดับท่ีไมสูงมาก มีอุณหภูมิต่ําไมพอท่ีจะเปนผลึกน้ําแข็ง สําหรับเมฆท่ีระดับต่ําจะประกอบดวยอนุภาคน้ําเกือบท้ังหมด นักอุตินยิมวิทยาไดแบงเมฆออกเปน 4 ประเภท คือ 1.เมฆช้ันสูง (high clound) เปนเมฆท่ีพบท่ีระดับความสูงมากกวา 6,500 เมตรข้ึนไป มีลักษณะคลายปุยฝาย มีสี ขาว หรือสีเทาออน เกิดข้ึนจากเกล็ดน้ําแข็ง โดยเปนเมฆท่ีไมทําใหเกิดฝน เมฆในกลุมนี้ สามารถแบงยอยโดยเรียงจากระดับความสูงตามลําดับ ดังนี้ - เมฆเซอรัส มีลักษณะเบา มองดูคลายขนนกสีขาวเปนร้ิว ประกอบดวยผลึกน้ําแข็ง หรือเปนเสนบาง ๆ คลายควัน เปนทางยาว

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

- เซอรโรคิวมูลัส มีลักษณะเปนเกล็ดบาง ๆ สีขาวหรือเปนละอองคล่ืนเล็ก ๆ อยูติดกันบางตอนจะแยกจากกันแตจะอยูเรียงกนัอยางเปนระเบียบ โปรงแสง เมฆชนิดนีจ้ะอยูรูปเต็มไมนานก็จะเปล่ียนเปนเมฆชนิดอ่ืน - เซอโรสเตรตัส มีลักษณะเปนแผนยาวบาง ๆ ครอบคลุมทองฟาเกือบท้ังหมดทําใหเกิดพระอาทิตยหรือพระจันทรทรงกลด

2. เมฆช้ันกลาง (mediumcloud) ระดับความสูงของเมฆจะอยูประมาณ 2,500 ถึง 6,500 เมตร (2-8 กิโลเมตร) สามารถแบงยอยโดยเรียงลําดับความสูงจากมากไปหานอยไดดังนี ้

- อัลโตคิวมูลัส มีรูปรางคลายคล่ืนในทะเล เปนกอนที่มีสีขาวปนเทา และทําใหเกิด เงา มักอยูในเสนขนานกันหากเมฆชนิดนี้เร่ิมเปล่ียนแปลงจนมองไมเหน็เปนรูปรางแสดงวาจะมีฝนตก

- เมฆอัลโตสเตรตัส เปน เมฆท่ีมีสีเทาปนขาวหรือสีเทาปนนํ้าเงิน มีลักษณะเปนแผน ๆ แต หนากวาและต่าํกวาเซอรโรสตราตัส บางคร้ังเราจะเหน็แสงอาทิตยสามารถสองผานกอนเมฆไดอยางมัว ๆ แตจะไมมีพระอาทิตยทรงกลด 3. เมฆช้ันตํ่า (low cloud) จะมีระดับความสูงจากพื้นไมเกิน 2,500 เมตร (2 กิโลเมตร)สวนใหญประกอบดวยน้ํา สามารถแบงยอยโดยเรียง จาก ความสูงมากไปหาความสูงนอย คือ - สตราโตคิวมูลัส มีลักษณะคอนขางกลมมากกวาแบน สีเทา เรียงตัวไมเปนระเบียบ มักอยูชิดติดกันจนเปนลูกคล่ืน ทนทานตอกระแสลมไมออนไหวงาย เมฆชนิดนี้แสดงถึงสภาวะอากาศท่ีอาจจะมีฝนตกในบริเวณน้ันแตถาเบาบางลงอากาศก็แจมใส - สเตรตัส เปนเมฆท่ีอยูต่าํสุดและอยูในแนวนอนคลายหมอกหรือคลายแผนฟลมบาง ๆ ทําใหทองฟามีลักษณะเปนฝาเกิดจากหมอกท่ีลอยข้ึนมาจากพืน้ดิน มักปรากฏในตอนเชามืดหรือสาย หรือหลังฝนตก - นิมโบสเตรตัส มีลักษณะเปนแผนหนาสีเทาแกสม่ําเสมอ ทําใหทองฟามืดคลึมแผกวางออกไปไมเปนรปราง ซ่ึงเปนเมฆท่ีกอใหเกดิฝนตกตอเน่ืองคือ เมฆฝน จึงเรียกเมฆชนิดนี้อีกช่ือหนึ่งวาเมฆฝน 4. เมฆกอตัวในแนวตั้ง (vertical development cloud) ระดับความสูงเฉล่ียของฐานเมฆอยูท่ี 500 เมตร สวนความสูงของยอดเมฆอาจสูงไดถึงระดับ 20,000 เมตร สามารถแบงออกเปน - คิวมูลัส มีลักษณะคลายเมฆเซอรโรคิวมูลัสแตมีขนาดใหญกวา เปนเมฆท่ีมีขนาดหนาและกอนใหญมักกอตัวเหนือกระแสลมอยางรวดเร็วโดยกอตัวจากแนวดิ่งลอยตัวข้ึนไปเปนกลุม ๆ กลุมละ 4-5 กอน เปนแนวนอนหรือแบนกวาง - คิวมูโลนิมบัส เปนเมฆท่ีมีกอนหนาทึบท่ีสุดแผกระจายในแนวด่ิงและลอยตัวอยูสูงคลายภูเขาท่ีลองลอบยอยูบนฟากฟา บริเวณฐานจะมีสีดํา สวนยอดเปนรูปท่ังหรือแหลนเปนสีขาว อยูกระจัดกระจายหรือรวมกันอยู ทําใหฝนตก หรือเรียกวาเมฆฝนฟาคะนอง 2.2นักเรียนคิดวา เราสามารถใชเมฆในการพยากรณอากาศไดหรือไม ? แนวทางการตอบ ได

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

ครูอธิบายเพิ่มเติม วา ในการพยากรณอากาศ เราสามารถใชเมฆ ในการบอกสภาพทองฟาซ่ึงจะใชปริมาณเมฆในทองฟาเปนเกณฑ โดยแบงพื้นท่ีทองฟาออกเปน 10 สวนแลวสังเกตวาครอบคลุมพื้นท่ีทองฟากี่สวนดังนี ้

ลักษณะทองฟา ปริมาณเมฆ 1. แจมใส ไมมีเมฆ หรือมีนอยกวา 1 สวน 2. โปรง มากกวา 1 สวนแตไมเกิน 3 สวน 3. เมฆบางสวน มากกวา 3 สวนแตไมเกิน5 สวน 4. เมฆเปนสวนมาก มากกวา 5 สวนแตไมเกิน8 สวน 5. เมฆมาก มากกวา 8 สวนแตไมเกิน9 สวน 6. เมฆเต็มทองฟา 10 สวน

2.3 ครูถามนักเรียนวา นกัเรียนเคยไดยนิคําวา หยาดนํ้าฟาหรือไม ? แนวทางการตอบ เคย/ ไมเคย ครูอธิบายเพิ่มเติมวา หยาดนํ้าฟาหมายถึง น้ําท่ีอยูในสถานะของแข็งหรือของเหลวท่ีตกลงมาจากบรรยากาศสูพืน้โลก ในรูปแบบตางๆกัน ไดแก น้ําฝน , หิมะ , ลูกเห็บ , น้ําคาง , น้ําคางแข็ง และหมอก ชนิดของหยาดน้ําฟาในประเทศไทย - ฝน (Rain) เปนหยาดน้ําฟาชนิดหนึง่ท่ีเกิดจากปรากฏการณทางธรรมชาติ เกิดจากอนภุาคของไอน้ําขนาดตางๆ ในกอนเมฆเม่ือมีขนาดใหญข้ึนจนไมสามารถลอยตัวอยูในกอนเมฆได กจ็ะตกลงมาเปนฝน ดังนั้นการท่ีฝนจะตกลงมาไดจะตองมีเมฆเกิดบนทองฟากอน สภาวะที่น้ําตกลงมาจากทองฟาอาจเปนลักษณะของฝน หิมะ หรือ ลูกเห็บ ข้ึนกับอุณหภูมิของอากาศในพื้นท่ีนั้นๆ ดังตอไปนี้ เม่ืออุณหภูมิของอากาศบริเวณผิวโลกตํ่ากวาจุดเยือกแข็งผลึกท่ีตกลงมาก็จะอยูในรูปของหิมะ แตถาอากาศเหนือผิวโลกอุน ผลึกน้ําแขงจะหลอมเหลวกลายเปนน้ําฝน และถากระแสอากาศพัดข้ึนคอนขางแรง ผลึกน้ําแข็งอาจเคล่ือนท่ีข้ึนลงในกอนเมฆหลายๆรอบ ทําใหผลึกน้ําแข็งมีขนาดโตข้ึนเร่ือยๆจนในท่ีสุดก็ตกลงมาเปนลูกเห็บ - ฝนละออง (Drizzle) เปนหยดน้ําขนาดเล็กกวา 0.5 มิลลิเมตร เกดิจากเมฆสเตรตัส พบเห็นบอยบนยอดเขาสูง ตกตอเน่ืองเปนเวลานานหลายช่ัวโมง - ละอองหมอก (Mist) เปนหยดน้ําขนาด 0.005 – 0.05 มิลลิเมตร เกิดจากเมฆสเตรตัส ทําใหเรารูสึกช้ืนเม่ือเดินผาน มักพบบนยอดเขาสูง - ลูกเหบ็ (Hail) เปนเกล็ดน้ําแข็งท่ีมีรูปรางและขนาดแตกตางกนั เกิดจากเมฆ ฝน หรือ เมฆคิวมูโลนิมบัสท่ีภายในมีกระแสอากาศรอนและช้ืนไหลสูข้ึนดานบนอยางรวดเร็ว เม่ือกระทบกนักับอากาศเยน็จะกล่ันตัวเปนหยดน้ํา จากนั้นหยดนํ้าจะถูกดนัใหสูงและใหญข้ึน มีน้ําหนักมากข้ึนจนไมสามารถอุมตัวไวไดจึงตกลงมา เปนลูกเห็บ

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

- หิมะ (snow) เปนผลึกน้ําแข็งขนาดประมาณ 1 – 20 มิลลิเมตร ซ่ึงเกิดจากผลึกน้ําแข็งตกลงมาปะทะไอนํ้าจากน้ําเยน็ท่ีอยูดานลาง ทําใหเกิดการเยือกแข็งและรวมตัวกันเปนผลึกใหญเราเรียกวาเกล็ดน้ําแข็ง หยาดนํ้าฟาตองเกิดจากเมฆ ถาไมมีเมฆก็จะไมมีหยาดน้ําฟา แตเม่ือมีเมฆก็ไมจําเปนจะตองมีหยาดน้ําฟาเสมอไปเพราะมีเมฆเพียงบางชนิดเทานั้นท่ีทําใหเกดิหยาดน้ําฟา 2.4 นักเรียนคิดวา ปริมาณน้าํฝน เราสามารถวัดไดอยางไร แนวทางการตอบ นักเรียนอาจตอบได/ไมได ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ปริมาณน้ําฝน หมายถึง ระดับความลึกของนํ้าฝนในภาชนะท่ีรองรับน้ําฝน โดยเราสามารถวัดปริมาณนํ้าฝนไดจากเคร่ืองวัดปริมาณน้ําฝนซ่ึงมีหลักการดังนี้ วัดความสูงของน้ําฝนท่ีตั้งฉากกับพื้นท่ีกนภาชนะท่ีรองรับน้ําฝนท่ีตกลงมาในชวงเวลาท่ีกําหนด โดยไมมีการระเหยหรือซึมลงไป ดังนั้นในการทําเคร่ืองวัดปริมาณนํ้าฝนจึงตองเลือกภาชนะรูปทรงกระบอก ปากกวาง ขนาดใหญ เปนเคร่ืองวัดปริมาณน้ําฝน เคร่ืองวัดปริมาณน้ําฝน เรียกวา เรนเกจ เปนถังกลมรูปทรงกระบอก 2 ใบ ซอนกัน ทําดวยถังโลหะท่ีไมเปนสนิม ขนาดมาตรฐานมีเสนผานศูนยกลาง 20 เซนติเมตร หรือ 8 นิ้ว สูงราว 50 เซนติเมตร หรือ 20 นิ้ว ดังภาพ

ภาพ : เรนเกจ กรมอุตุนิยมวทิยา วดัปริมาณนํ้าฝนท่ีตกลงมาโดยใชภาชนะรองรับปริมาณนํ้าฝน มีหนวยในการวัดเปนเมตร เกณฑในการวดัปริมาณนํ้าฝนของอุตุนิยมวิทยา

จํานวนน้ําฝนใน 24 ชั่วโมง ขนาดของฝน 0.1 – 10 มิลลิเมตร ฝนเล็กนอย

10.1 – 35.0 ฝนปานกลาง 35.1 – 90.0 ฝนหนัก 90.1 ข้ึนไป ฝนหนักมาก

2.5 ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับฝนกรด โดยถามนักเรียนวา ฝนกรดคืออะไร ? -

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

แนวทางการตอบ ฝนท่ีมีสภาพเปนกรดทําใหมีฤทธ์ิกัดกรอนส่ิงกอสรางตางๆมากมาย - แลวฝนกรดเกิดข้ึนไดอยางไรคะ ? แนวทางการตอบ เกิดจากในขณะท่ีฝนตกน้ําฝนเกิดการรวมตัวกับแกสซัลเฟอรไดออกไซด

และออกไซดของไนโตรเจน ซ่ึงแกสท้ังสองนี้สวนใหญไดจาก การผาไหมของเช้ือเพลิง จึงทําใหน้ําฝนเหลานั้นมีสภาพเปนกรด

- แลวฝนกรดสงผลกระทบตอการดํารงชีวติของส่ิงมีชีวิตไหมคะ ? แนวทางการตอบ สง โดยฝนกรดจะละลายส่ิงกอสรางท่ีเปนหินปูน , จบัตัวกับหมอกทําใหเกิด

หมอกควนัพิษท่ีเปนอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ และอาจอันตรายถึงชีวิตไดถามีปริมาณมากพอ 3. ขั้นสรุป

3.1 ครูทบทวนความรูท่ีนักเรียนไดรับในวนันี้ โดยถามนักเรียนวา - ในวันนีเ้ราเรียนเร่ืองอะไรกันบาง ? แนวทางการตอบ เมฆ , หยาดน้ําฟาและการวัดปริมาณน้าํฝน ครูกลาวชมเชยนักเรียน 3.2 ใหนกัเรียนทําแบบฝกหดั เร่ือง เมฆ ฝน

10. ส่ือการเรียนรู 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานโลก ดาราศาสตร และอวกาศ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุธศักราช 2544 จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ 2. ส่ือ Power Point เร่ือง เมฆและฝน 3. ใบความรูเร่ือง เมฆและฝน 4. ใบงานเร่ือง เมฆและฝน 11. การวัดและการประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงคเปนรายบุคคล ดังนี ้ - การมีสวนรวมในช้ันเรียน - ความสนใจและต้ังใจเรียน - ความตรงตอเวลา - ความรับผิดชอบตองานท่ีไดรับมอบหมาย 2. ประเมินผลจาก การตอบคําถามในช้ันเรียน

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

11.บรรณานุกรม ประดับ นาคแกว และคณะ. (2551). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการ

เรียนรูวิทยาศาสตร ชวงชัน้ท่ี 3 ม.2 . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแม็ค. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2548). หนังสือเรียนสาระการ

เรียนรูพื้นฐาน โลก ดาราศาสตรและอวกาศ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 . กรุงเทพฯ : คุรุสภา.

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

12. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................……………..

ลงช่ือ…………………………………………นิสิต (นางสาวจตุพร เจาทรัพย) วันท่ี………..เดือน…………………..พ.ศ……… ขอคิดเห็นของอาจารยนิเทศประจําโรงเรียน ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ………………………………………………………………………………………................…………….. ลงช่ือ………………………………………..อาจารยนิเทศประจาํโรงเรียน (อาจารยธวัชชัย วิจารณนิกรกิจ) วันท่ี………..เดอืน…………………..พ.ศ……..

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

ใบความรูเรือ่ง เมฆและฝน ชื่อ........................................................................................................ชั้น.........................เลขที่............. เมฆ คือ น้ําในอากาศเบ้ืองสูงท่ีอยูในสถานะเปนหยดน้ํา และผลึกน้ําแข็ง และอาจมีอนุภาคของของแข็งท่ีอยูในรูปของควันและฝุนท่ีแขวนลอยอยูในอากาศรวมอยูดวย เมฆท่ีอยูในระดับสูงประกอบดวยผลึกน้ําแข็งเกือบท้ังหมด เพราะอุณหภูมิที่ระดับนีต้่ํากวาจุดเยือกแข็ง สวนเมฆท่ีระดับปานกลางจะประกอบดวยผลึกน้ําแข็งและอนภุาคน้ํา เนื่องจากเมฆท่ีเกดิในระดับท่ีไมสูงมาก มีอุณหภูมิต่ําไมพอที่จะเปนผลึกน้ําแข็ง สําหรับเมฆท่ีระดับตํ่าจะประกอบดวยอนุภาคน้ําเกือบทั้งหมด

นักอุตินิยมวิทยาไดแบงเมฆออกเปน 4 ประเภท คือ 1.เมฆช้ันสูง (high clound) เปนเมฆท่ีพบท่ีระดับความสูงมากกวา 6,500 เมตรข้ึนไป มีลักษณะคลายปุยฝาย มีสี ขาว หรือสีเทาออน เกิดข้ึนจากเกล็ดน้ําแข็ง โดยเปนเมฆท่ีไมทาํใหเกิดฝน เมฆในกลุมนี้ สามารถแบงยอยโดยเรียงจากระดับความสูงตามลําดับ ดังน้ี - เมฆเซอรัส มีลักษณะเบา มองดูคลายขนนกสีขาวเปนร้ิว ประกอบดวยผลึกน้ําแข็ง หรือเปนเสนบาง ๆ คลายควัน เปนทางยาว - เซอรโรคิวมูลัส มีลักษณะเปนเกล็ดบาง ๆ สีขาวหรือเปนละอองคล่ืนเล็ก ๆ อยูติดกันบางตอนจะแยกจากกันแตจะอยูเรียงกนัอยางเปนระเบียบ โปรงแสง เมฆชนิดนีจ้ะอยูรูปเต็มไมนานก็จะเปล่ียนเปนเมฆชนิดอ่ืน - เซอโรสเตรตัส มีลักษณะเปนแผนยาวบาง ๆ ครอบคลุมทองฟาเกือบท้ังหมดทําใหเกิดพระอาทิตยหรือพระจันทรทรงกลด

2. เมฆช้ันกลาง (mediumcloud) ระดับความสูงของเมฆจะอยูประมาณ 2,500 ถึง 6,500 เมตร (2-8 กิโลเมตร) สามารถแบงยอยโดยเรียงลําดับความสูงจากมากไปหานอยไดดังนี ้

- อัลโตคิวมูลัส มีรูปรางคลายคล่ืนในทะเล เปนกอนท่ีมีสีขาวปนเทา และทําใหเกิด เงา มักอยูในเสนขนานกันหากเมฆชนิดนี้เร่ิมเปล่ียนแปลงจนมองไมเหน็เปนรูปรางแสดงวาจะมีฝนตก

- เมฆอัลโตสเตรตัส เปน เมฆท่ีมีสีเทาปนขาวหรือสีเทาปนนํ้าเงิน มีลักษณะเปนแผน ๆ แต หนากวาและตํ่ากวาเซอรโรสตราตัส บางคร้ังเราจะเหน็แสงอาทิตยสามารถสองผานกอนเมฆไดอยางมัว ๆ แตจะไมมีพระอาทิตยทรงกลด 3. เมฆช้ันตํ่า (low cloud) จะมีระดับความสูงจากพื้นไมเกิน 2,500 เมตร (2 กิโลเมตร)สวนใหญประกอบดวยน้ํา สามารถแบงยอยโดยเรียง จาก ความสูงมากไปหาความสูงนอย คือ

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

- สตราโตคิวมูลัส มีลักษณะคอนขางกลมมากกวาแบน สีเทา เรียงตัวไมเปนระเบียบ มักอยูชิดติดกันจนเปนลูกคล่ืน ทนทานตอกระแสลมไมออนไหวงาย เมฆชนิดนี้แสดงถึงสภาวะอากาศท่ีอาจจะมีฝนตกในบริเวณน้ันแตถาเบาบางลงอากาศก็แจมใส - สเตรตัส เปนเมฆท่ีอยูต่าํสุดและอยูในแนวนอนคลายหมอกหรือคลายแผนฟลมบาง ๆ ทําใหทองฟามีลักษณะเปนฝาเกิดจากหมอกท่ีลอยข้ึนมาจากพืน้ดิน มักปรากฏในตอนเชามืดหรือสาย หรือหลังฝนตก - นิมโบสเตรตัส มีลักษณะเปนแผนหนาสีเทาแกสม่ําเสมอ ทําใหทองฟามืดคลึมแผกวางออกไปไมเปนรปราง ซ่ึงเปนเมฆท่ีกอใหเกดิฝนตกตอเน่ืองคือ เมฆฝน จึงเรียกเมฆชนิดนี้อีกช่ือหนึ่งวาเมฆฝน 4. เมฆกอตัวในแนวตั้ง (vertical development cloud) ระดับความสูงเฉล่ียของฐานเมฆอยูท่ี 500 เมตร สวนความสูงของยอดเมฆอาจสูงไดถึงระดับ 20,000 เมตร สามารถแบงออกเปน - คิวมูลัส มีลักษณะคลายเมฆเซอรโรคิวมูลัสแตมีขนาดใหญกวา เปนเมฆท่ีมีขนาดหนาและกอนใหญมักกอตัวเหนือกระแสลมอยางรวดเร็วโดยกอตัวจากแนวดิ่งลอยตัวข้ึนไปเปนกลุม ๆ กลุมละ 4-5 กอน เปนแนวนอนหรือแบนกวาง - คิวมูโลนิมบัส เปนเมฆท่ีมีกอนหนาทึบท่ีสุดแผกระจายในแนวด่ิงและลอยตัวอยูสูงคลายภูเขาท่ีลองลอบยอยูบนฟากฟา บริเวณฐานจะมีสีดํา สวนยอดเปนรูปท่ังหรือแหลนเปนสีขาว อยูกระจัดกระจายหรือรวมกันอยู ทําใหฝนตก หรือเรียกวาเมฆฝนฟาคะนอง ในการพยากรณเรามักไดการบอกสภาพทองฟาซ่ึงจะใชปริมาณเมฆในทองฟาเปนเกณฑ โดยแบงพื้นที่ทองฟาออกเปน 10 สวนแลวสังเกตวาครอบคลุมพื้นท่ีทองฟากี่สวนดังนี ้

ลักษณะทองฟา ปริมาณเมฆ

1. แจมใส ไมมีเมฆ หรือมีนอยกวา 1 สวน

2. โปรง มากกวา 1 สวนแตไมเกิน 3 สวน

3. เมฆบางสวน มากกวา 3 สวนแตไมเกิน5 สวน

4. เมฆเปนสวนมาก มากกวา 5 สวนแตไมเกิน8 สวน

5. เมฆมาก มากกวา 8 สวนแตไมเกิน9 สวน

6. เมฆเต็มทองฟา 10 สวน

ฝน (Rain) เปนหยาดน้ําฟาชนิดหนึ่งท่ีเกดิจากปรากฏการณทางธรรมชาติ เกิดจากอนุภาคของไอ

น้ําขนาดตางๆ ในกอนเมฆเม่ือมีขนาดใหญข้ึนจนไมสามารถลอยตัวอยูในกอนเมฆได ก็จะตกลงมาเปนฝน ดังนั้นการท่ีฝนจะตกลงมาไดจะตองมีเมฆเกิดบนทองฟากอน

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

สภาวะที่น้ําตกลงมาจากทองฟาอาจเปนลักษณะของฝน หิมะ หรือ ลูกเห็บ ข้ึนกับอุณหภูมิของอากาศในพื้นท่ีนั้นๆ ดังตอไปนี้ เม่ืออุณหภูมิของอากาศบริเวณผิวโลกตํ่ากวาจุดเยือกแข็งผลึกท่ีตกลงมาก็จะอยูในรูปของหิมะ แตถาอากาศเหนือผิวโลกอุน ผลึกน้ําแขงจะหลอมเหลวกลายเปนน้ําฝน และถากระแสอากาศพัดข้ึนคอนขางแรง ผลึกน้ําแข็งอาจเคล่ือนท่ีข้ึนลงในกอนเมฆหลายๆรอบ ทําใหผลึกน้ําแข็งมีขนาดโตข้ึนเร่ือยๆจนในท่ีสุดก็ตกลงมาเปนลูกเห็บ - ฝนละออง (Drizzle) เปนหยดน้ําขนาดเล็กกวา 0.5 มิลลิเมตร เกดิจากเมฆสเตรตัส พบเห็นบอยบนยอดเขาสูง ตกตอเน่ืองเปนเวลานานหลายช่ัวโมง - ละอองหมอก (Mist) เปนหยดน้ําขนาด 0.005 – 0.05 มิลลิเมตร เกิดจากเมฆสเตรตัส ทําใหเรารูสึกช้ืนเม่ือเดินผาน มักพบบนยอดเขาสูง - ลูกเหบ็ (Hail) เปนเกล็ดน้ําแข็งท่ีมีรูปรางและขนาดแตกตางกนั เกิดจากเมฆ ฝน หรือ เมฆคิวมูโลนิมบัสท่ีภายในมีกระแสอากาศรอนและช้ืนไหลสูข้ึนดานบนอยางรวดเร็ว เม่ือกระทบกนักับอากาศเยน็จะกล่ันตัวเปนหยดน้ํา จากนั้นหยดนํ้าจะถูกดนัใหสูงและใหญข้ึน มีน้ําหนักมากข้ึนจนไมสามารถอุมตัวไวไดจึงตกลงมา เปนลูกเห็บ - หิมะ (snow) เปนผลึกน้ําแข็งขนาดประมาณ 1 – 20 มิลลิเมตร ซ่ึงเกิดจากผลึกน้ําแข็งตกลงมาปะทะไอนํ้าจากน้ําเยน็ท่ีอยูดานลาง ทําใหเกิดการเยือกแข็งและรวมตัวกันเปนผลึกใหญเราเรียกวาเกล็ดน้ําแข็ง หยาดนํ้าฟาตองเกิดจากเมฆ ถาไมมีเมฆก็จะไมมีหยาดน้ําฟา แตเม่ือมีเมฆก็ไมจําเปนจะตองมีหยาดน้ําฟาเสมอไปเพราะมีเมฆเพียงบางชนิดเทานั้นท่ีทําใหเกดิหยาดน้ําฟา เคร่ืองวัดปริมาณน้ําฝน เรียกวา เรนเกจ เปนถังกลมรูปทรงกระบอก 2 ใบ ซอนกัน ทําดวยถังโลหะท่ีไมเปนสนิม ขนาดมาตรฐานมีเสนผานศูนยกลาง 20 เซนติเมตร หรือ 8 นิ้ว สูงราว 50 เซนติเมตร หรือ 20 นิ้ว ดังภาพ

ภาพ : เรนเกจ กรมอุตุนิยมวทิยา วดัปริมาณนํ้าฝนท่ีตกลงมาโดยใชภาชนะรองรับปริมาณนํ้าฝน มีหนวยในการวัดเปนเมตร

Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th

เกณฑในการวัดปริมาณน้ําฝนของอุตุนิยมวิทยา

จํานวนน้ําฝนใน 24 ชั่วโมง ขนาดของฝน

0.1 – 10 มิลลิเมตร ฝนเล็กนอย

10.1 – 35.0 ฝนปานกลาง

35.1 – 90.0 ฝนหนัก

90.1 ขึ้นไป ฝนหนักมาก

ฝนกรด เกดิจากในขณะท่ีฝนตกน้ําฝนเกิดการรวมตัวกับแกสซัลเฟอรไดออกไซดและออกไซด ของไนโตรเจน ซ่ึงแกสท้ังสองนี้สวนใหญไดจาก การผาไหมของเช้ือเพลิง จึงทําใหน้ําฝนเหลานั้นมีสภาพเปนกรด

ฝนกรดจะมีฤทธ์ิละลายส่ิงกอสรางท่ีเปนหนิปูน , จับตัวกบัหมอกทําใหเกิดหมอกควันพิษท่ีเปนอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ และอาจอันตรายถึงชีวิตไดถามีปริมาณมากพอ