กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ...

52
ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สรุปกิจกรรมการแขงขันกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ระดับชั้น ชื่อกิจกรรม ป.1-ป.3 ป.4-ป.6 ม.1-ม.3 ม.4- ม.6 ประเภท หมายเหตุ สาระทัศนศิลป 1.การแขงขันรวม “ศิลปสรางสรรค” ทีม 3คน 2.การแขงขันวาดภาพระบายสี เดี่ยว 3.การแขงขันเขียนภาพไทยประเพณี - - เดี่ยว 4.การแขงขันเขียนภาพไทยสีเอกรงค - - เดี่ยว 5.การสรางสรรคภาพดวยการปะติด - ทีม 2 คน 6. การแขงขันวาดภาพลายเสน - - ทีม 3 คน 7. การแขงขันประติมากรรมลอยตัว ทีม 3 คน 8 13 รวม 21 สาระดนตรี 8.การแขงขันเดี่ยวดนตรีไทยและขับรอง 8.1 ระนาดเอก 8.2 ระนาดทุ 8.3 ฆองวงใหญ 8.4 ฆองวงเล็ก 8.5 ซอดวง 8.6 ซออู 8.7 จะเข 8.8 ขิม7 หยอง 8.9 ขลุยเพียงออ 8.10 ขับรองเพลงไทย บุคคล 9.การแขงขันวงดนตรีไทย 9.1 วงเครื่องสายวงเล็ก ทีม 8–9 คน 9.2 วงปพาทยไมนวมผสม เครื่องสายเครื่องเดียว ทีม 15 คน

Upload: others

Post on 29-Aug-2019

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะสรุปกิจกรรมการแขงขันกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

ระดับชั้นชื่อกิจกรรมป.1-ป.3 ป.4-ป.6 ม.1-ม.3 ม.4- ม.6

ประเภท หมายเหตุ

สาระทัศนศิลป1.การแขงขันรวม “ศิลปสรางสรรค” ทีม 3คน2.การแขงขันวาดภาพระบายสี เด่ียว3.การแขงขันเขียนภาพไทยประเพณี - - เด่ียว4.การแขงขันเขียนภาพไทยสีเอกรงค - - เด่ียว5.การสรางสรรคภาพดวยการปะติด - ทีม 2 คน6. การแขงขันวาดภาพลายเสน - - ทีม 3 คน7. การแขงขันประติมากรรมลอยตัว ทีม 3 คน

8 13รวม

21สาระดนตรี

8.การแขงขันเด่ียวดนตรีไทยและขับรอง 8.1 ระนาดเอก

8.2 ระนาดทุม

8.3 ฆองวงใหญ

8.4 ฆองวงเล็ก

8.5 ซอดวง

8.6 ซออู

8.7 จะเข

8.8 ขิม7 หยอง

8.9 ขลุยเพียงออ

8.10 ขับรองเพลงไทย

บุคคล

9.การแขงขันวงดนตรีไทย 9.1 วงเคร่ืองสายวงเล็ก ทีม 8–9 คน 9.2 วงปพาทยไมนวมผสม

เคร่ืองสายเคร่ืองเดียว ทีม 15 คน

Page 2: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

9.3 วงปพาทยไมแข็งเคร่ืองคู ทีม 12 คนระดับชั้นชื่อกิจกรรม

ป.1-ป.3 ป.4-ป.6 ม.1-ม.3 ม.4- ม.6ประเภท หมายเหตุ

9.4 วงอังกะลุง ทีมไมเกิน20คน10. การแขงขันวงดนตรีลูกทุง

11.1 ประเภททีม ก11.2 ประเภททีม ข

--

ทีมละไมเกิน40 คน

11. การแขงขันขับรองเพลงไทยลูกทุง บุคคลแยกชาย - หญิง

12. การแขงขันขับรองเพลงไทย สากลและเพลงสากล

บุคคลแยกชาย - หญิง

13.การแขงขันขับรอง เพลงพระราชนิพนธ

บุคคลแยกชาย - หญิง

14.การประกวดขับขานประสานเสียง ทีมไมเกิน40 คน

18 34รวม

52สาระนาฏศิลป

15. การแขงขันรําวงมาตรฐาน ทีม 8-10 คน16. การแขงขันระบํามาตรฐาน ทีม 6-12 คน17. การแขงขันนาฏศิลปไทยอนุรักษ ทีมไมเกิน12คน18. การแขงขันนาฏศิลปไทยสรางสรรค ทีมไมเกิน16คน19. การแขงขันการแสดงตลก - ทีม 3 – 5 คน20. การแขงขันมายากล - ทีม 2 คน

4 10รวม14

30 57รวมทั้งสิ้น 20 กิจกรรม87 รายการ

Page 3: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะสาระทัศนศิลป

1. การแขงขันรวมศิลปสรางสรรค1.คุณสมบัติผูเขาแขงขัน

- เปนนักเรียนระดับชั้น ป. 1 – ป.3- เปนนักเรียนระดับชั้น ป. 4 – ป.6- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 1 – ม.3- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 4 – ม.6

2.ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน2.1 แขงขันเปนทีม 3 คน2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน

2.2.1 ระดับชั้น ป. 1 –ป.3 จํานวน 1 ทีม2.2.2 ระดับชั้น ป. 4 – ป.6 จํานวน 1 ทีม

2.2.3 ระดับชั้น ม. 1 –ม.3 จํานวน 1 ทีม 2.2.4 ระดับชั้น ม. 4 – ม.6 จํานวน 1 ทีม

3.วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขันพรอมต้ังชื่อทีม3.2 ใหนักเรียนวางแผนรวมกันเพื่อวาดภาพตามหัวขอที่กําหนด (แจงในวันแขงขัน)หัวขอในการวาดภาพ

คณะกรรมการกําหนดใหในวันแขงขัน3.3 การวาดภาพใหใชความสามารถทั้งดานการวาดภาพระบายสี และเทคนิคการใชสี อุปกรณผูเขาแขงขัน

เตรียมมาเอง3.4 เวลาในการวาดภาพ 3 ชั่วโมง3.5 ขนาดกระดาษ 30 x 22 น้ิว3.6 ใชสีหรือวัตถุที่ทําใหเกิดสี ไมตํ่ากวา 2 ชนิด เชน สีฝุน สีผสมอาหาร ฯลฯ

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน- ความคิดสรางสรรค 20 คะแนน- ความสวยงาม ความสมบูรณของรูปภาพ 20 คะแนน- ความสอดคลองของภาพกับหัวขอที่กําหนด 20 คะแนน- ความสมบูรณและการจัดองคประกอบของภาพ 20 คะแนน- เทคนิคการใชสี 20 คะแนน

Page 4: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืนผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด

6. คณะกรรมการการแขงขัน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คนคุณสมบัติของคณะกรรมการ

- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- เปนครูที่ทําการสอนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- ผูทรงคุณวุฒิในดานศิลปะ

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน- กรรมการควรมีที่มาจาก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ่ืนอยางหลากหลาย- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ- ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันใน

ระดับชาติ- ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการให

คะแนนเชน มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะตาถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา ในระดับชาติควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานศิลปะ

2. การแขงขันวาดภาพระบายสี

1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน- นักเรียนระดับชั้น ป. 1- ป.3- นักเรียนระดับชั้น ป. 4- ป.6- นักเรียนระดับชั้น ม. 1- ม.3- นักเรียนระดับชั้น ม. 4- ม.6

Page 5: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน2.1 ประเภท เด่ียว2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน

- ระดับชั้น ป. 1- ป.3 จํานวน 1 คน- ระดับชั้น ป. 4- ป.6จํานวน 1 คน- ระดับชั้น ม. 1- ม.3จํานวน 1 คน- ระดับชั้น ม. 4- ม.6 จํานวน 1 คน

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน3.2 หลักเกณฑการแขงขัน

1) วัสดุอุปกรณในการแขงขัน ผูเขาแขงขันเตรียมมาเอง- ระดับชั้น ป. 1- ป.3 กระดาษ 100 ปอนด ขนาด 11” x 15 ”ใชสีไม- ระดับชั้น ป. 4-ป. 6 กระดาษ 100 ปอนด ขนาด 11” x 15 ”ใชสีชอลคนํ้ามัน- ระดับชั้น ม. 1- ม.3 กระดาษ 100 ปอนด ขนาด 15” x 22 ”ใชสีโปสเตอร

- ระดับชั้น ม. 4- ม.6 กระดาษ 100 ปอนด ขนาด 15” x 22 ”ใชสีนํ้า2) หัวขอในการวาดภาพ คณะกรรมการกําหนดใหในวันแขงขัน3) ไมอนุญาตใหนําตนฉบับขึ้นมาดูในวันแขงขัน4) ไมตองเคลือบภาพและไมตองใสกรอบภาพ5) ใชเวลาในการแขงขัน 3 ชั่วโมง

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน4.1 การจัดภาพ / องคประกอบ 20คะแนน4.2 ความคิดสรางสรรค 20 คะแนน4.3 การใชสี 20คะแนน4.4 ความสอดคลองของภาพตามเน้ือหาที่กําหนด 20คะแนน4.5 ความประณีต ความสมบูรณของงาน 20 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

6. คณะกรรมการการแขงขัน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คนคุณสมบัติของคณะกรรมการ

- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

Page 6: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

- เปนครูที่ทําการสอนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- ผูทรงคุณวุฒิในดานศิลปะ

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน- กรรมการควรมีที่มาจาก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ่ืนอยางหลากหลาย- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ- ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันใน

ระดับชาติ- ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการให

คะแนนเชน มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะตาถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานศิลปะ3. การแขงขันเขียนภาพไทยประเพณี1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน

- นักเรียนระดับชั้น ม .1- ม. 3- นักเรียนระดับชั้น ม. 4 - ม.6

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน2.1 ประเภทบุคคลเด่ียว2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน

- ระดับชั้น ม. 1- ม.3จํานวน 1 คน- ระดับชั้น ม. 4- ม. 6 จํานวน 1 คน

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน3.2 หลักเกณฑการแขงขัน

1) วัสดุอุปกรณในการแขงขัน ผูเขาแขงขันเตรียมมาเอง- ระดับชั้น ม.1-ม. 3 กระดาษ 100 ปอนด ขนาด 15” x 22 ”ใชสีโปสเตอร- ระดับชั้น ม.4-ม. 6 กระดาษ 100 ปอนด ขนาด 15” x 22 ”ใชสีโปสเตอร

2) หัวขอในการวาดภาพ คณะกรรมการกําหนดใหในวันแขงขัน3) ไมตองเคลือบภาพและไมตองใสกรอบภาพ4) ใชเวลาในการแขงขัน 3 ชั่วโมง

Page 7: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน4.1 ความถูกตองของลักษณะภาพไทย 10คะแนน4.2 ทักษะการใชสีพหุรงค 20 คะแนน4.3 การจัดองคประกอบของภาพ 30คะแนน4.4 ความสวยงามทางรูปแบบศิลปะ 20คะแนน4.5 ความคิดริเร่ิมสรางสรรค 20 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการในการตัดสิน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- เปนครูที่ทําการสอนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- ผูทรงคุณวุฒิในดานศิลปะ

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน- กรรมการควรมีที่มาจาก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ่ืนอยางหลากหลาย- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ- ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันใน

ระดับชาติ- ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการให

คะแนนเชน มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะตาถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานศิลปะ- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

Page 8: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

4. การแขงขันเขียนภาพจิตรกรรมไทยสีเอกรงค

1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน- นักเรียนระดับชั้น ม .1- ม. 3- นักเรียนระดับชั้น ม. 4 - ม.6

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน2.1 ประเภท เด่ียว2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน

- ระดับชั้น ม. 1- ม.3จํานวน 1 คน- ระดับชั้น ม. 4- ม. 6 จํานวน 1 คน

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน3.2 หลักเกณฑการแขงขัน

1) วัสดุอุปกรณในการแขงขัน ผูเขาแขงขันเตรียมมาเอง- ระดับชั้น ม.1-ม. 3 กระดาษ 100 ปอนด ขนาด 15” x 22 ”ใชสีนํ้า- ระดับชั้น ม. 4-ม. 6 กระดาษ 100 ปอนด ขนาด 15” x 22 ”ใชสีนํ้า

2) หัวขอในการวาดภาพ คณะกรรมการกําหนดใหในวันแขงขัน3) ไมตองเคลือบภาพและไมตองใสกรอบภาพ4) ผลงานที่แขงขันถือเปนกรรมสิทธิ์ของกรรมการจัดการแขงขัน5) ใชเวลาในการแขงขัน 3 ชั่วโมง

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน4.1 ความถูกตองของลักษณะภาพจิตรกรรมไทย 10คะแนน4.2 ทักษะการใชสีเอกรงค 20 คะแนน4.3 การจัดองคประกอบของภาพ 30คะแนน4.4 ความสวยงามทางรูปแบบจิตรกรรมไทย 20คะแนน4.5 ความคิดริเร่ิมสรางสรรค 20 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืนผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด

Page 9: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

6. คณะกรรมการการแขงขัน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คนคุณสมบัติของคณะกรรมการ

- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- เปนครูที่ทําการสอนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- ผูทรงคุณวุฒิในดานศิลปะ

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน- กรรมการควรมีที่มาจาก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ่ืนอยางหลากหลาย- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ- ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันใน

ระดับชาติ- ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการให

คะแนนเชน มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะตาถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานศิลปะ

5. การสรางภาพดวยการปะตดิ

1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน- นักเรียนระดับชั้น ป. 1- ป. 3- นักเรียนระดับชั้น ป. 4 - ป.6- นักเรียนระดับชั้น ม. 1 - ม.3

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน2.1 ประเภททีม 2 คน2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน

- ระดับชั้น ป .1- ป. 3 จํานวน 1 ทีม- ระดับชั้น ป. 4- ป.6จํานวน 1 ทีม- ระดับชั้น ม. 1-ม. 3 จํานวน 1 ทีม

Page 10: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน3.2 หลักเกณฑการแขงขัน

1) ใหนักเรียนวางแผนรวมกันเพื่อสรางภาพปะติด ตามหัวขอที่กําหนดให2) วัสดุอุปกรณในการแขงขัน ผูเขาแขงขันเตรียมมาเอง

- ขนาดภาพ 15x22 น้ิว ไมรวมกรอบ- กรอบภาพไมเกิน 1. 5 น้ิว- วัสดุที่นํามาปะติดตองเปนวัสดุจากธรรมชาติเทาน้ัน

3) ใชเวลาในการแขงขัน 3 ชั่วโมง4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน

4.1 ความสวยงาม ความสมบูรณของภาพและการตกแตงกรอบ 30คะแนน4.2 วัสดุอุปกรณที่ใช 10 คะแนน4.3 ความสอดคลองของภาพกับหัวขอที่กําหนด 20คะแนน4.4 ความสมบูรณและการจัดองคประกอบของภาพ 20คะแนน4.5 ความคิดริเร่ิมสรางสรรค 20 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- เปนครูที่ทําการสอนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- ผูทรงคุณวุฒิในดานศิลปะ

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน- กรรมการควรมีที่มาจาก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ่ืนอยางหลากหลาย- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

Page 11: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

7. การเขาแขงขันระดับชาติ- ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันใน

ระดับชาติ- ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการให

คะแนนเชน มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะตาถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานศิลปะ

6.การแขงขันวาดภาพลายเสน(Drawing)1.คุณสมบัติผูเขาแขงขัน ระดับชั้น ม.1 – 3 และ ม.4 – 62.จํานวนผูเขาแขงขัน ระดับชั้น ม.1 – 3 จํานวน 1 คน ระดับชั้น ม.4 – 6 จํานวน 1 คน3.วิธีดําเนินการ และรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน 3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน 3.2 หลักเกณฑการแขงขัน

1) วัสดุอุปกรณในการแขงขัน ผูเขาแขงขันเตรียมมาเอง- ระดับชั้น ม.1-ม. 3 กระดาษ 100 ปอนด ขนาด 15” x 22 ”ใชดินสอ EE หรือ เครยอง- ระดับชั้น ม.4-ม. 6 กระดาษ 100 ปอนด ขนาด 15” x 22 ” ใชดินสอ EE หรือ เครยอง

2) หัวขอในการวาดภาพ คณะกรรมการกําหนดใหในวันแขงขัน3) ไมตองเคลือบภาพและไมตองใสกรอบภาพ4) ใชเวลาในการแขงขัน 3 ชั่วโมง

4.เกณฑการใหคะแนน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน)4.1 ลักษณะความสมบูรณของเสน ความถูกตองของแสงเงา 25 คะแนน4.2 การจัดภาพ / องคประกอบ 20 คะแนน4.3 ความคิดสรางสรรค 20 คะแนน4.4 ความสมบูรณ ความประณีตของชิ้นงาน 20 คะแนน4.5 ความหมายสัมพันธกับหัวขอเร่ือง 15 คะแนน

Page 12: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

5.เกณฑการพิจารณาตัดสินผลรางวัลรอยละ 80 – 100 ไดรับรางวัลเหรียญทองรอยละ 70 – 79 ไดรับรางวัลเหรียญเงินรอยละ 60 – 69 ไดรับรางวัลเหรียญทองแดงรอยละ 50 – 59 ไดรับเกียรติบัตรชมเชย เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

6.ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนเด็ดขาด7. คณะกรรมการในการตัดสิน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- เปนครูที่ทําการสอนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- ผูทรงคุณวุฒิในดานศิลปะ

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน- กรรมการควรมีที่มาจาก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ่ืนอยางหลากหลาย- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

8. การเขาแขงขันระดับชาติ- ผูที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันใน

ระดับชาติ- ในกรณีที่มีผูชนะในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 คนใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการให

คะแนนเชน มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ผูใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะแตถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานศิลปะ- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การแขงขันประติมากรรมลอยตัว1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน 1.1 เปนนักเรียนระดับชั้น ป. 1- ป.3

1.2 เปนนักเรียนระดับชั้น ป. 4- ป.6 1.3 เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 1- ม.3 1.4 เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 4- ม.6

Page 13: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน2.1 ประเภททีม 3 คน2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน2.2.1 ระดับชั้น ป. 1- ป.3 จํานวน 1 ทีม2.2.2 ระดับชั้น ป. 4- ป.6 จํานวน 1 ทีม2.2.3 ระดับชั้น ม. 1- ม.3 จํานวน 1 ทีม2.2.4 ระดับชั้น ม. 4- ม.6 จํานวน 1 ทีม

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขันพรอมต้ังชื่อทีม3.2 ใหนักเรียนวางแผนรวมกันเพื่อปนรูปตามหัวขอ3.3 การปน

- ระดับชั้น ป. 1- ป.3 และระดับชั้น ป. 4- ป.6 ใชดินนํ้ามัน ขนาดพื้นที่ไมเกิน 15x22 น้ิว ไมจํากัดความสูง

- ระดับชั้น ม. 1-ม.3 และระดับชั้น ม. 4- ม.6 ใชดินเหนียวขนาดพื้นไมเกิน 25x25 น้ิวไมจํากัดความสูง3.4 เวลาในการปน 3 ชั่วโมง

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน- ความคิดสรางสรรค 30 คะแนน- ความสวยงาม ความสมบูรณของรูปทรง 30 คะแนน- ความสอดคลองของรูปทรงกับหัวขอที่กําหนด 20 คะแนน- รูปทรงและการจัดองคประกอบ 20 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- เปนครูที่ทําการสอนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ- ผูทรงคุณวุฒิในดานศิลปะ

Page 14: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน- กรรมการควรมีที่มาจาก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ่ืนอยางหลากหลาย- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ- ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันใน

ระดับชาติ- ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการให

คะแนนเชน มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะตาถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานศิลปะ

สาระดนตรี8. การแขงขันเดี่ยวดนตรีไทยและขับรอง

1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน1.1ระดับชั้น ป.1- ป. 61.2ระดับชั้น ม.1- ม.31.3 ระดับชั้น ม.4 - ม.6

2. ประเภทของการแขงขัน2.1 เด่ียวระนาดเอก2.2 เด่ียวระนาดทุม2.3 เด่ียวฆองวงใหญ2.4 เด่ียวฆองวงเล็ก2.5 เด่ียวขลุย2.6 เด่ียวซอดวง2.7 เด่ียวซออู

2.8 เด่ียวจะเข2.9 เด่ียวขิม7 หยอง2.10 ขับรองเพลงไทย

Page 15: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

3. เพลงท่ีใชในการแขงขันลําดับท่ี ประเภทเคร่ืองดนตรี ป.1-ป.6 ม.1-ม.3 ม.4-ม.6

1 เด่ียวระนาดเอก บุลงชั้นเดียว สุดสงวน 3 ชั้น พญาโศก 3 ชั้น2 เด่ียวระนาดทุม บุลงชั้นเดียว สุดสงวน 3 ชั้น พญาโศก 3 ชั้น3 เด่ียวฆองวงใหญ บุลงชั้นเดียว สุดสงวน 3 ชั้น พญาโศก 3 ชั้น4 เด่ียวฆองวงเล็ก บุลงชั้นเดียว สุดสงวน 3 ชั้น พญาโศก 3 ชั้น5 เด่ียวขลุยเพียงออ ขึ้นพลับพลา 2 ชั้น นกขมิ้น 3 ชั้น สุรินทราหู 3 ชั้น6 เด่ียวซอดวง มายอง 2 ชั้น นางครวญ 3 ชั้น หกบท 3 ชั้น7 เด่ียวซออู มายอง 2 ชั้น นางครวญ 3 ชั้น หกบท 3 ชั้น8 เด่ียวจะเข แขกสาหราย 2 ชั้น จีนขิมใหญ 2 ชั้น ลาวแพน9 เด่ียวขิม7 หยอง แขกสาหราย 2 ชั้น จีนขิมใหญ 2 ชั้น ลาวแพน

10 ขับรองเพลงไทย คลื่นกระทบฝง 2 ชั้น ลาวคําหอม 2 ชั้น การะเวกเล็ก 3 ชั้น

4.หลักเกณฑการแขงขัน4.1 การแขงขันเด่ียวเคร่ืองดนตรีไทยและขับรองเพลงไทย ตองมีฉิ่งและเคร่ืองหนังประกอบ

จังหวะ ทั้งน้ีอนุญาตใหครูหรือนักดนตรีอาชีพเลนได4.2 เพลงที่ใชในการแขงขันเด่ียวเคร่ืองดนตรีทุกประเภท ผูบรรเลงสามารถใชทางเพลงไดอยางอิสระ

ยกเวนการแขงขันเดี่ยวระนาดเอกระดับชั้น ป.1- ป. 6หามมิใหบรรเลงทางรัว หรือทางคาบลูกคาบดอก และใหใชไมนวมในการบรรเลงเทาน้ัน ไมตองมีเคร่ืองหนังประกอบการบรรเลงใหใชฉิ่งประกอบการบรรเลงเพียงอยางเดียว

4.3 การแขงขันขับรองเพลงไทย ใหใชเน้ือเพลงที่กําหนดใหเทาน้ัน4.4 แตละโรงเรียนสามารถสงนักเรียนเขาแขงขันไดประเภทละ 1 คนเทาน้ันหมายเหตุ การแขงขันเดี่ยวเคร่ืองดนตรีไทยและขับรองเพลงไทยตั้งแตระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาลง

ไปอนุโลมใหใชฉิ่งประกอบการแขงขันเพียงอยางเดียวได แตการแขงขันในระดับภาคและระดับชาติใหยึดหลักเกณฑการแขงขันตามขอ 4.15. วิธีดําเนินการแขงขัน

5.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน5.2จับสลากเพื่อเรียงลําดับการแขงขัน กอนการแขงขัน 30 นาที5.3ผูแขงขันตองแตงกายดวยชุดนักเรียน5.4 เคร่ืองดนตรีที่ใชแขงขัน ใหผูเขาแขงขันเตรียมมาเอง

Page 16: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

6. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน6.1ความแมนยําและความถูกตองของจังหวะและทํานองเพลง 20 คะแนน6.2ความไพเราะและคุณภาพของเสียงในการบรรเลงหรือการขับรอง 30คะแนน6.3 เทคนิคการบรรเลงและความสามารถของผูบรรเลงหรือผูขับรอง 30 คะแนน6.4 ความเหมาะสมของแนวทางในการบรรเลงหรือการขับรอง 10 คะแนน6.5บุคลิก ทาทางในการบรรเลงหรือการขับรอง 10 คะแนน

7. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 -79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 -69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตรผูเขารวมแขงขัน เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

กรณีเกิดความไมพรอมของเคร่ืองดนตรีในขณะบรรเลง เชน ตะกั่วหลุด สายขาด ใหอยูในดุลพินิจของคณะกรรมการตัดสิน

กรณีผูเขาแขงขันไมบรรเลงไปตามหลักเกณฑการแขงขันที่กําหนด บรรเลงลมหรือหยุดระหวางบรรเลง คณะกรรมการจะไมตัดสินผลรางวัลใหผูเขาแขงขันรายน้ัน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนที่สิ้นสุด8. คณะกรรมการการตัดสิน

8.1 จํานวนคณะกรรมการตัดสินระดับชั้นละ 3 คน หรือ 5 คน เทาน้ัน8.2 คุณสมบัติของคณะกรรมการตัดสินคณะกรรมการตัดสินควรมีคุณสมบัติตามขอใดขอหน่ึงตอไปน้ี

8.2.1 เปนครูผูสอนจากสถานศึกษาหรือสถาบันการศึกษาทุกระดับ ที่มีวุฒิทางดานดนตรีไทยหรือมีความรู ความสามารถดานดนตรีไทย เปนที่ยอมรับ

8.2.2 ผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญดานดนตรีไทย 8.3 กรรมการตัดสินแตละทาน ควรมีที่มาอยางหลากหลาย กลาวคือตางสถาบันหรือหนวยงาน เพื่อใหเกิดความยุติธรรมในการแขงขันขอควรคํานึง

กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขันหรือมีสวนเกี่ยวของกับฝกซอมใหผูแขงขัน

กรรมการตัดสินควรมีที่มาอยางหลากหลาย เพื่อใหเกิดความยุติธรรมในการแขงขัน กรรมการควรใหขอเสนอแนะกับนักเรียนที่เขาแขงขันเพื่อนําไปพัฒนาทักษะของตนเอง กรรมการตัดสินควรตะหนักวาการตัดสินตองเปนไปอยางยุติธรรมเพื่อสรางขวัญและกําลังใจ

ใหกับผูแขงขันในการที่จะเลนดนตรีไปเพื่อการอนุรักษและพัฒนาดนตรีไทยใหคงอยูอยางยั่งยืน

Page 17: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

9. การเขาแขงขันระดับเขต ผูเขาแขงขันที่ไดคะแนนสูงสุดในแตละประเภทเด่ียวเคร่ืองดนตรีทั้ง 10ประเภท จากการแขงขัน

ระดับกลุมโรงเรียนหรือระดับกลุมเครือขายโรงเรียน (แลวแตกรณี) จะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับเขตตอไป

10. การเขาแขงขันระดับภาค ผูเขาแขงขันที่ไดคะแนนสูงสุดในแตละประเภทเด่ียวเคร่ืองดนตรีทั้ง 10 ประเภทจากการแขงขัน

ระดับเขตจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับภาคตอไป11. การเขาแขงขันระดับชาติ

ผูเขาแขงขันที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 ในแตละประเภทเด่ียวเคร่ืองดนตรีจากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับชาติ

ในกรณีที่มีผูเขาแขงขันมีลําดับสูงสุดเกินกวา 3 คนใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนนเชน มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ผูที่ไดคะแนนขอที่ 2มากกวาใหถือวาเปนผูชนะ หากขอที่ 2 เทากันอีกก็ใหดูขอคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานดนตรี

9. การแขงขันวงดนตรีไทย

1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน1.1 นักเรียน ระดับชั้น ป. 1-ป.61.2 นักเรียน ระดับชั้น ม. 1-ม. 6

2. ประเภทการแขงขัน2.1 ประเภทวงเคร่ืองสายวงเล็กผสมขิม (มีรับ-รอง)2.2 ประเภทวงปพาทยไมนวมผสมเคร่ืองสายวงเล็ก (มีรับ-รอง)2.3 ประเภทวงปพาทยไมแข็งเคร่ืองคู (มีรับ-รอง)2.4 ประเภทวงอังกะลุง

3. เพลงท่ีใชในการแขงขันลําดับท่ี ประเภทวงดนตรี ป1-ป.6 ม.1-ม.6

1 วงเคร่ืองสายวงเล็กผสมขิม เขมรพายเรือ 2 ชั้น ราตรีประดับดาว เถา2 วงปพาทยไมนวมผสมเคร่ืองสายวงเล็ก แขกสาหราย 2 ชั้น เขมรลออองค เถา3 วงปพาทยไมแข็งเคร่ืองคู จระเขหางยาว 3 ชั้น ชางประสานงาเถา4 วงอังกะลุง โหมโรงปฐมดุสิต เพลงญวนเคลา เถา

(ไมมีขับรอง)

Page 18: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

4. รายละเอียดเคร่ืองดนตรีท่ีใชในการแขงขัน4.1 วงเคร่ืองสายวงเล็กผสมขิม ประกอบดวยเคร่ืองดนตรีดังตอไปน้ี

1. ขิม 7 หยอง 1 ตัว2. จะเข 1 ตัว3. ซอดวง 1 คัน4. ซออู 1 คัน5. ขลุยเพียงออ 1 เลา6. โทน- รํามะนา 1 คู (ใชผูเลน1 คน) หรือ กลองแขก 1 คู (ใชผูเลน2 คน)7. ฉิ่ง 1 คู8. นักรอง 1 คน

4.2 วงปพาทยไมนวมผสมเคร่ืองสายวงเล็ก ประกอบดวยเคร่ืองดนตรีดังตอไปน้ี1. จะเข 1 ตัว2. ซอดวง 1 คัน3. ซออู 1 คัน4. ระนาดเอก 1 ราง5. ระนาดทุม 1 ราง6. ฆองวงใหญ 1 วง7. ฆองวงเล็ก 1 วง8. ขลุยเพียงออ 1 เลา9. กลองแขก 1 คู (ใชผูเลน 2 คน)10. ฉิ่ง 1 คู11. ฉาบเล็ก 1 คู12. กรับ 1 คู13. โหมง 1 ใบ14. นักรอง 1 คน

4.3 วงปพาทยไมแข็งเคร่ืองคู ประกอบดวยเคร่ืองดนตรีดังตอไปน้ี1. ปใน 1 เลา (อนุโลมใหครูหรือนักดนตรีมืออาชีพเปาได)2. ระนาดเอก 1 ราง3. ระนาดทุม 1ราง4. ฆองวงใหญ 1 วง5. ฆองวงเล็ก 1 วง6. กลองแขก 1 คู (ใชผูเลน 2 คน)

Page 19: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

7. ฉิ่ง 1 คู8. ฉาบเล็ก 1 คู9. กรับ 1 คู10. โหมง 1 ใบ11. นักรอง 1 คน

4.4 วงอังกะลุง ประกอบดวยเคร่ืองดนตรีดังตอไปน้ี1. ผูบรรเลงอังกะลุง ไมเกิน 14 คน2. กลองแขก 1 คู (ใชผูเลน 2 คน)3. ฉิ่ง 1 คู4. ฉาบเล็ก 1 คู5. กรับ 1 คู6. โหมง 1 ใบ หรือ โหมงชุด 3 ใบ

5.หลักเกณฑการแขงขัน5.1 สมาชิกในวงตองเปนนักเรียนในโรงเรียนเดียวกันเทาน้ัน5.2 การแขงขันวงดนตรีไทยทุกประเภทที่มีรับ-รอง ใหใชเน้ือรองที่กําหนดใหเทาน้ัน

5.3 การแขงขันวงเคร่ืองสายวงเล็กผสมขิม วงปพาทยไมนวมผสมเคร่ืองสายวงเล็ก และ วงปพาทยไมแข็งเคร่ืองคูไมใหมีเด่ียวในเพลงหรือหางเพลงตอทาย และใหลงดวยลูกหมด ยกเวนการแขงขันวงเคร่ืองสายวงเล็กผสมขิมและวงปพาทยไมนวมผสมเคร่ืองสายวงเล็กในระดับประถมศึกษาไมตองลงดวยลูกหมด

5.4 การแขงขันวงดนตรีทุกประเภทอนุญาตใหบรรเลงเพลงเพื่อทดสอบเสียงเคร่ืองดนตรีไดตามความเหมาะสม ตามที่คณะกรรมการกําหนด

5.5 แตละโรงเรียนสามารถสงวงเขาแขงขันไดประเภทละ 1 วงเทาน้ันหมายเหตุ การแขงขันวงดนตรีไทยแตละประเภท ใหใชแนวทางการบรรเลงตามโนตกลางท่ี

กําหนดให หรืออาจปรับไดตามความเหมาะสมตามลักษณะของทางเคร่ืองดนตรีหรือการบรรเลงของวงในแตละประเภท

6. วิธีดําเนินการแขงขัน6.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน6.2 จับสลากเพื่อเรียงลําดับการแขงขัน กอนการแขงขัน 30 นาที6.3 ผูแขงขันตองแตงกายดวยชุดนักเรียน6.4 ใชเวลาในการจัดเตรียมวงดนตรี ตามที่คณะกรรมการกําหนด6.5 เคร่ืองดนตรีที่ใชแขงขัน ใหผูเขาแขงขันเตรียมมาเอง

Page 20: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

7. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน7.1 ประเภทวงดนตรีไทย7.1.1 ความถูกตองของทํานองเพลงและจังหวะ 20 คะแนน7.1.2 ความไพเราะกลมกลืนของการบรรเลงและการขับรอง 20 คะแนน7.1.3 เทคนิคและความสามารถเฉพาะทางในการบรรเลงเคร่ืองดนตรี 20 คะแนน7.1.4 ความถูกตองและความไพเราะของการขับรอง 20 คะแนน7.1.5 บุคลิกทาทางของผูบรรเลงและผูขับรอง 10 คะแนน7.1.6 แนวทางการปรับวงในการบรรเลง 10 คะแนน7.2 ประเภทวงอังกะลุง7.2.1 ความถูกตองของทํานองเพลงและจังหวะ 30 คะแนน7.2.2 ความไพเราะกลมกลืนและความพรอมเพรียงในการบรรเลง 30 คะแนน7.2.3 เทคนิคและความสามารถเฉพาะทางในการบรรเลง 20 คะแนน7.2.5 บุคลิกทาทางของผูบรรเลง 10 คะแนน7.2.6 แนวทางการปรับวงในการบรรเลง 10 คะแนน

8. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 -79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 -69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตรผูเขารวมแขงขัน เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

โดยมีแนวทางดังน้ี กรณีเกิดความไมพรอมของเคร่ืองดนตรีในขณะบรรเลง เชน ตะกั่วหลุด สายขาด ใหอยูในดุลพินิจ

ของคณะกรรมการตัดสิน กรณีวงที่เขาแขงขันไมบรรเลงไปตามหลักเกณฑการแขงขันที่กําหนด บรรเลงลมหรือหยุดระหวาง

บรรเลง คณะกรรมการจะไมตัดสินผลรางวัลใหผูเขาแขงขันรายน้ัน ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนที่สิ้นสุด

9.คณะกรรมการการตัดสิน9.1 จํานวนคณะกรรมการตัดสินระดับชั้นละ 3 คน หรือ 5 คน เทาน้ัน9.2 คุณสมบัติของคณะกรรมการตัดสินคณะกรรมการตัดสินควรมีคุณสมบัติตามขอใดขอหน่ึง ตอไปน้ี

9.2.1 เปนครูผูสอนจากสถานศึกษาหรือสถาบันการศึกษาทุกระดับ ที่มีวุฒิทางดานดนตรีไทยหรือมีความรู ความสามารถดานดนตรีไทย เปนที่ยอมรับ

9.2.2 เปนผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญดานดนตรีไทย

Page 21: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

9.3 กรรมการตัดสินแตละทาน ควรมีที่มาอยางหลากหลาย กลาวคือตางสถาบันหรือหนวยงาน เพื่อใหเกิดความยุติธรรมในการแขงขันขอควรคํานึง

กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขันหรือมีสวนเกี่ยวของกับการฝกซอมหรือปรับวง

กรรมการตัดสินควรมีที่มาอยางหลากหลาย เพื่อใหเกิดความยุติธรรมในการแขงขัน กรรมการตัดสินควรใหขอเสนอแนะกับนักเรียนที่เขาแขงขันเพื่อนําไปพัฒนาทักษะของตนเอง กรรมการตัดสินควรตะหนักวาการตัดสินตองเปนไปอยางยุติธรรมเพื่อสรางขวัญและกําลังใจ

ใหกับผูแขงขันในการที่จะเลนดนตรีไปเพื่อการอนุรักษและพัฒนาดนตรีไทยใหคงอยูอยางยั่งยืน10. การเขาแขงขันระดับชาติ

วงที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับชาติ

ในกรณีที่มีวงเขาแขงขันมีลําดับสูงสุดเกินกวา 3 วง ใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนนเชน มีวงที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2วงที่ไดคะแนนขอที่ 2มากกวา ใหถือวาเปนผูชนะ หากขอที่ 2 เทากันอีก ก็ใหดูขอคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานดนตรี10. การแขงขันวงดนตรีลูกทุง1. คุณสมบัติของผูเขาแขงขัน

นักเรียนระดับชั้น ม.1- ม.62. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน

2.1 ประเภท ก ทั่วไป (เคยไดรับรางวัล หรือเขาแขงขันตางๆ เชน ชิงชาสวรรค ยามาฮาคอนเทส ลูกทุงตอตานยาเสพติด ฯลฯ)2.2 ประเภท ข มือใหม (ไมเคยไดรับรางวัลและไมเคยเขารวมการแขงขันรายการตางๆ เชน ชิงชาสวรรค ยามาฮาคอนเทส ลูกทุงตอตานยาเสพติด ฯลฯ)2.3 จํานวนสมาชิกในวงไมเกิน 40 คน (รวมนักแสดงประกอบ) ประกอบดวย

2.3.1 นักรอง 1 คน2.3.2 พิธีกร 1 คน2.3.3 นักดนตรีรวมทุกชิ้นไมเกิน 20 คน2.3.4 หางเคร่ือง 8-10 คน (อนุโลมใหใช 2 ชุดได)

2.4 ตัวแทนระดับภาคละ 3 ทีม ตอประเภทเทาน้ัน

Page 22: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 สงรายชื่อเขาแขงขัน3.2 หลักเกณฑการแขงขัน

3.2.1 เวลาที่ใชแขงขัน ไมเกิน 20 นาที (รวมการติดต้ังฉาก,เคร่ืองดนตรีและทดสอบเสียง)3.2.2 เพลงที่ใชแขงขัน เพลงชา 1 เพลง และเพลงเร็ว 1 เพลง3.2.3 ตองแสดงสดหามใชโปรแกรม หรือเคร่ืองดนตรีอัตโนมัติ3.2.4 สมาชิกในวงตองเปนนักเรียนในสถานศึกษาเดียวกัน โดยผูอํานวยการ เปนผูลงนามรับรอง3.2.5 เลนเคร่ืองดนตรีที่จัดไวไดแก กลองชุด,ตูแอมปกีตาร, ตูแอมปเบส, ตูแอมปคียบอรด ยกเวน คียบอรดสามารถนํามาเองได3.2.6 ผูแขงขันจะตองจับฉลาก เพื่อเรียงลําดับการแขงขันกอนเวลาการแขงขัน 30 นาที

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน4.1 เทคนิคและความสามารถเฉพาะตัว 30 คะแนน4.2 การทํางานเปนทีมและการปรับวง 40 คะแนน4.3 ภาพรวมในการแสดงบนเวที 30 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน 3 หรือ 5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี)- เปนครูที่ทําการสอนดนตรี- ผูทรงคุณวุฒิในดานดนตรี

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

Page 23: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

7. การเขาแขงขันระดับชาติ- ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทน

เขาแขงขันในระดับชาติ- ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีม ใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการให

คะแนน เชน ทีมที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะ แตถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลากขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรจัดคายพัฒนาทักษะดานดนตรี11. การแขงขันขับรองเพลงไทยลูกทุง

1. คุณสมบัติของผูเขาแขงขัน- นักเรียนระดับชั้น ป.1 – ป.6- นักเรียนระดับชั้น ม.1- ม.3- นักเรียนระดับชั้น ม.4 - ม.6

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน- ประเภทเด่ียว แยกชาย หญิง ทุกระดับชั้น

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน3.2 หลักเกณฑการแขงขัน

- เพลงที่ใชประกวด 1 เพลง โดยผูรองเลือกมาเอง เปนเพลงลูกทุงตามตนฉบับเทาน้ัน- ไมมีรีวิว/หางเคร่ือง/แดนเซอร ประกอบเพลง

- ตองนําแถบบันทึกเสียง/ซีดี/เสียงดนตรี สําหรับประกอบการรองเพลงมาเอง และ สามารถ ตัด Guide Melody ออกได (หากไมสามารถตัดไดกรรมการจะไมพิจารณาคะแนนให)

- จับฉลาก เพื่อเรียงลําดับกอนการแขงขัน 30 นาที- สงเน้ือรองใหคณะกรรมการในวันประกวด จํานวน 3 ชุด- แตงกายดวยชุดนักเรียน- กรณีที่เกิดการผิดพลาดอนุญาตใหเร่ิมตนใหมได ทั้งน้ีไมเกินวรรคที่ 2 ของเน้ือรอง

ทอนที่ 1 หากเกินจากน้ีถือวาผิดพลาด กรรมการจะหักคะแนนตามกรณีที่ผิด4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน

4.1 นํ้าเสียง ความไพเราะของเสียง 30 คะแนน4.2 เทคนิคการขับรอง 20 คะแนน4.3 จังหวะ ทํานอง ถูกตอง 20 คะแนน4.4 อักขระวิธีถูกตอง 10 คะแนน4.5 บุคลิก ลีลา อารมณ 10 คะแนน

Page 24: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

4.6 ความยากงายของเพลง 10 คะแนน5. เกณฑการตัดสิน

รอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืนผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด

6. คณะกรรมการการแขงขัน 3 หรือ 5 คน เทาน้ันคุณสมบัติของคณะกรรมการ

- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี)- เปนครูที่ทําการสอนดนตรีสากล หรือขับรองสากล- ผูทรงคุณวุฒิเปนที่ยอมรับในดานดนตรีสากล หรือขับรองสากล

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ7.1 ตัวแทนที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทน

เขาแขงขันในระดับชาติ7.2 ในกรณีที่มีตัวแทนในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 คน ใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนน

เชน ผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากัน ใหตัดสินโดยพิจารณาคะแนนขอที่ 2 หากผูไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะถาไดคะแนนขอที่ 2 เทากัน ใหดูคะแนนในขอลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานการขับรอง

12. การแขงขันขับรองเพลงไทยสากล และเพลงสากล1. คุณสมบัติของผูเขาแขงขัน

- นักเรียนระดับชั้น ป.1 – ป.6- นักเรียนระดับชั้น ม.1- ม.3- นักเรียนระดับชั้น ม.4 - ม.6

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน- ประเภทบุคคล แยก ชาย-หญิง ทุกระดับชั้น

Page 25: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน3.2 หลักเกณฑการแขงขัน

- เพลงที่ใชประกวด จํานวน 2 เพลง- เปนเพลงไทยสากล(เพลงลูกกรุง) 1 เพลง และเปนเพลงสากลที่มีเน้ือเพลงเปนภาษาอังกฤษเทาน้ัน 1เพลง โดยผูประกวดเลือกมาเอง โดยเพลงที่นํามาตองสามารถตัด Guide Melody ออกได (หากไมสามารถตัดได กรรมการจะไมพิจารณาคะแนนให )- ไมมีรีวิว/หางเคร่ือง/แดนซเซอร ประกอบเพลง- ตองนําแถบบันทึกเสียง/ซีดี/เสียงดนตรี สําหรับประกอบการรองเพลงมาเอง- จับฉลาก เพื่อเรียงลําดับกอนการแขงขัน 30 นาที- สงเน้ือรองใหคณะกรรมการในวันประกวดเพลงละ 3 ชุด- แตงกายดวยชุดนักเรียน- กรณีที่เกิดการผิดพลาดอนุญาตใหเร่ิมตนใหมได ทั้งน้ีไมเกินวรรคที่ 2 ของเน้ือรองทอนที่ 1 หาก

เกินจากน้ีถือวาผิดพลาด กรรมการจะหักคะแนนตามกรณีที่ผิด4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน

4.1 นํ้าเสียง ความไพเราะของเสียง 30 คะแนน4.2 เทคนิคการขับรอง 20 คะแนน4.3 อักขระวิธีถูกตอง 10 คะแนน4.4 จังหวะ ทํานอง ถูกตอง 20 คะแนน4.5 บุคลิก ลีลา อารมณ 10 คะแนน4.6 ความยากงายของเพลง 10 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน 3 หรือ 5 คนเทาน้ัน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี)- เปนครูที่ทําการสอนดนตรีสากล หรือขับรองสากล- ผูทรงคุณวุฒิเปนที่ยอมรับในดานดนตรีสากล หรือขับรองสากล

Page 26: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน

- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-37. การเขาแขงขันระดับชาติ

- ตัวแทนที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับชาติ- ในกรณีที่มีตัวแทนในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 คน ใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนน

เชน ผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากัน ใหตัดสินโดยพิจารณาคะแนนขอที่ 2 หากผูไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะถาไดคะแนนขอที่ 2 เทากัน ใหดูคะแนนในขอลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานการขับรอง

13. การแขงขันขับรองเพลงพระราชนิพนธ1. คุณสมบัติของผูเขาแขงขัน

- นักเรียนระดับชั้น ป.1 – ป.6- นักเรียนระดับชั้น ม.1- ม.3- นักเรียนระดับชั้น ม.4 - ม.6

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน- ประเภทบุคคล แยก ชาย-หญิง ทุกระดับชั้น

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน3.2 หลักเกณฑการแขงขัน

- เพลงที่ใชประกวด 1 เพลง- เปนเพลงพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 โดย

ผูประกวดเลือกมาเอง และสามารถ ( ตัด Guide Melody ออกได ( หากไมสามารถตัดได กรรมการจะไมพิจารณาคะแนนให )

- ไมมีรีวิว/หางเคร่ือง/แดนซเซอร ประกอบเพลง- ตองนําแถบบันทึกเสียง/ซีดี/เสียงดนตรี สําหรับประกอบการรองเพลงมาเอง- จับฉลาก เพื่อเรียงลําดับกอนการแขงขัน 30 นาที- สงเน้ือรองใหคณะกรรมการในวันประกวด จํานวน 3 ชุด- แตงกายดวยชุดนักเรียน

Page 27: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

- กรณีที่เกิดการผิดพลาดอนุญาตใหเร่ิมตนใหมได ทั้งน้ีไมเกินวรรคที่ 2 ของ เน้ือรองทอนที่ 1 หากเกินจากน้ีถือวาผิดพลาด กรรมการจะหักคะแนนตามกรณีที่ผิด

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน4.1 นํ้าเสียง ความไพเราะของเสียง 30 คะแนน4.2 เทคนิคการขับรอง 20 คะแนน4.3 จังหวะ ทํานอง ถูกตอง 20 คะแนน4.4 อักขระวิธีถูกตอง 10 คะแนน4.5 บุคลิก ลีลา อารมณ 10 คะแนน4.6 ความยากงายของเพลง 10 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน 3 หรือ 5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี)- เปนครูที่ทําการสอนดนตรีสากล หรือขับรองสากล- ผูทรงคุณวุฒิเปนที่ยอมรับในดานดนตรีสากล หรือขับรองสากล

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน

- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-37. การเขาแขงขันระดับชาติ

- ตัวแทนที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับชาติ

- ในกรณีที่มีตัวแทนในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 คน ใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนน เชน ผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากัน ใหตัดสินโดยพิจารณาคะแนนขอที่ 2 หากผูไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะ ถาไดคะแนนขอที่ 2 เทากัน ใหดูคะแนนในขอลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลากขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานการขับรอง

Page 28: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

14. การประกวดขับขานประสานเสียง1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน

- เปนนักเรียนระดับชั้น ป. 1- ป.6- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 1- ม.3- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 4- ม.6

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน2.1 แขงขันเปนทีมไมเกิน 40 คน2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน

2.2.1 เปนนักเรียนระดับชั้น ป. 1- ป.6 โรงเรียนละจํานวน 1 ทีม 2.2.2 เปนนักเรียนระดับชั้น ม.1- ม.3 โรงเรียนละจํานวน 1 ทีม

2.2.3 เปนนักเรียนระดับชั้น ม.4 - ม.6 โรงเรียนละจํานวน 1 ทีม3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน

3.1 สงรายชื่อผูเขาแขงขัน3.2 หลักเกณฑการแขงขัน 1) เพลงบังคับ 1 เพลง คือเพลงพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9

2) เพลงอิสระ เพลงชา 1 เพลง จะเปนเพลงไทยหรือเพลงตางประเทศ เพลงเร็ว 1 เพลง จะเปนเพลงไทยหรือเพลงตางประเทศ

ใน 3 เพลงน้ีจะตองรองโดยไมใชเคร่ืองดนตรี 1 เพลง3.3 ผูเขาแขงขันทุกชวงชั้นจับฉลาก เพื่อเรียงลําดับการแขงขัน3.4 ใหนักเรียนแตงกายดวยชุดนักเรียนเทาน้ัน3.5 หากมีเคร่ืองดนตรีประกอบ ตองเปนเคร่ืองอคูสติกไมเกิน 2 ชิ้น3.6 ไมใชซาวดดนตรีประกอบ3.7 ใชเวลาในการขึ้นเวที ทดสอบเสียง และความพรอมไมเกิน 5 นาที เกินตัดนาทีละ 2 คะแนนแลวจึงเร่ิมขับรองเพลงที่ใชประกวด

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน- เสียงรอง นํ้าเสียง การประสานเสียง ถูกตองกลมกลืน 30 คะแนน- จังหวะทํานองถูกตอง 20 คะแนน- ภาษาอักขระถูกตอง 10 คะแนน- ความพรอมเพรียง 20 คะแนน- บุคลิกภาพ การถายทอดอารมณเพลงตอผูฟง 20 คะแนน- เวลา ตามตนฉบับของเพลงที่ใชในการแขงขัน

Page 29: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน 3 หรือ 5 คนเทาน้ัน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี)- เปนครูที่ทําการสอนดนตรีสากล หรือขับรองสากล- ผูทรงคุณวุฒิในดานดนตรีสากล หรือขับรองสากล

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้น ที่ทําการสอน- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ7.1 ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับชาติ7.2 ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีม ใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนน

เชน ทีมที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากัน ใหตัดสินโดยพิจารณาคะแนนขอที่ 2 หากทีมไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะ ถาไดคะแนนขอที่ 2 เทากัน ใหดูคะแนนในขอลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานการขับรองประสานเสียง

สาระนาฏศิลป16. การแขงขันรําวงมาตรฐาน

1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน- เปนนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษา ( ป.1 – ป. 6 )- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 1- ม.3- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 4- ม.6

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน

Page 30: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

2.1 แขงขันเปนทีม 8 - 10 คน (4-5 คู)2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน

2.2.1 ระดับชั้น ประถมศึกษา ( ป.1 – ป. 6 ) จํานวน 1 ทีม2.2.2 ระดับชั้น ม. 1- ม.3 จํานวน 1 ทีม2.2.3 ระดับชั้น ม. 4- ม.6 จํานวน 1 ทีม

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 เพลงบังคับ 1 เพลง ระดับชั้น ประถมศึกษา ( ป.1 – ป. 6 ) คือเพลงคืนเดือนหงาย

ระดับชั้น ม.1- ม.3 คือ เพลงรําซิมารําระดับชั้น ม.4 - ม.6 คือ เพลงหญิงไทยใจงาม

3.2 เพลงเลือกเสรี 1 เพลง3.3 จับฉลากเลือกเพลง 1 เพลง ถาซ้ํากับเพลงเลือกเสรี ใหจับฉลากใหม3.4 ทีมผูเขาแขงขันสงแผนซีดีเพลง พรอมรายชื่อผูเขาแขงขันในวันรายงานตัว3.5 แตงกายตามแบบรําวงมาตรฐาน

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน4.1 การแตงกาย 20 คะแนน4.2 ความถูกตองทารํา 20 คะแนน4.3 จังหวะการรํา 20 คะแนน4.4 ความพรอมเพรียง 20 คะแนน4.5 ลีลาความสวยงาม 20 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ( สาระนาฏศิลป )- เปนครูที่ทําการสอนสาระนาฏศิลป- ผูทรงคุณวุฒิในดานนาฏศิลปหรือดานศิลปะการแสดง

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรเปนครูที่มีความรูและประสบการณเฉพาะดาน

Page 31: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-37. การเขาแขงขันระดับชาติ

7.1 ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับตอไป7.2 ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนนเชน

มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะ แตถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลากขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรจัดคายพัฒนาทักษะดานนาฏศิลป

16. การแขงขันระบํามาตรฐาน1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน

- เปนนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษา ( ป.1 – ป. 6 )- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 1- ม.3- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 4- ม.6

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน2.1 แขงขันเปนทีม 6 - 12 คน2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน

2.2.1 ระดับชั้น ประถมศึกษา ( ป.1 – ป. 6 ) จํานวน 1 ทีม2.2.2 ระดับชั้น ม. 1- ม.3 จํานวน 1 ทีม2.2.3 ระดับชั้น ม. 4- ม.6 จํานวน 1 ทีม

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 การแตงกายมาตรฐานยืนเคร่ืองพระ - นาง3.2 รําตามทํานองและเน้ือรองเดิม3.3 ผูแสดงจะเปนหญิงลวน ชายลวน หรือชายหญิงก็ได3.4 ใชแผนซีดีหรือเทปบันทึกเสียง

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน4.1 การแตงกายถูกตองตามแบบมาตรฐานยืนเคร่ืองพระนาง 20 คะแนน4.2 ความถูกตองทารํา 20 คะแนน4.3 จังหวะ และการเชื่อมทา 10 คะแนน4.4 การวางรูปแบบแถว และความพรอมเพรียง 20 คะแนน4.5 ลีลาความสวยงาม 30 คะแนน

Page 32: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ( สาระนาฏศิลป )- เปนครูที่ทําการสอนสาระนาฏศิลป- ผูทรงคุณวุฒิในดานนาฏศิลปหรือดานศิลปะการแสดง

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรเปนครูที่มีความรูและประสบการณเฉพาะดาน- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ7.1 ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับตอไป7.2 ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนนเชน

มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะ แตถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลากขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรจัดคายพัฒนาทักษะดานนาฏศิลป

17. การแขงขันนาฏศิลปไทยอนุรักษ1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน

- เปนนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษา ( ป.1 – ป. 6 )- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 1 - ม.3- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 4 - ม.6

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน2.1 แขงขันเปนทีม ไมเกิน 12 คน2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน

2.2.1 ระดับชั้น ประถมศึกษา ( ป.1 – ป. 6 ) จํานวน 1 ทีม2.2.2 ระดับชั้น ม. 1- ม.3 จํานวน 1 ทีม

Page 33: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

2.2.3 ระดับชั้น ม. 4- ม.6 จํานวน 1 ทีม3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน

3.1 รําตามทํานองและเน้ือรองเดิม3.2 แตงกายตามแบบมาตรฐานของการแสดงนาฏศิลปไทยชุดน้ันๆ โดยไมใชชุดยืนเคร่ือง พระ - นาง3.3 ผูแสดงจะเปนหญิงลวน ชายลวน หรือชายหญิงก็ได3.4 ใชแผนซีดีหรือเทปบันทึกเสียง

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน4.1 การแตงกายถูกตอง 20 คะแนน4.2 ความถูกตองทารํา 20 คะแนน4.3 จังหวะ และการเชื่อมทา 10 คะแนน4.4 ความพรอมเพรียง 20 คะแนน4.5 ลีลาความสวยงาม 30 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ( สาระนาฏศิลป )- เปนครูที่ทําการสอนสาระนาฏศิลป- ผูทรงคุณวุฒิในดานนาฏศิลปหรือดานศิลปะการแสดง

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรเปนครูที่มีความรูและประสบการณเฉพาะดาน- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ7.1 ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับตอไป7.2 ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนนเชน

มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะ แตถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลาก

Page 34: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรจัดคายพัฒนาทักษะนาฏศิลป18. การแขงขันนาฏศิลปไทยสรางสรรค1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน

- เปนนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษา ( ป.1 – ป. 6 )- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 1 - ม.3- เปนนักเรียนระดับชั้น ม. 4 - ม.6

2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน2.1 แขงขันเปนทีม ไมเกิน 16 คน2.2 จํานวนผูเขาแขงขัน

2.2.1 ระดับชั้น ประถมศึกษา ( ป.1 – ป. 6 ) จํานวน 1 ทีม2.2.2 ระดับชั้น ม. 1- ม.3 จํานวน 1 ทีม2.2.3 ระดับชั้น ม. 4- ม.6 จํานวน 1 ทีม

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 เพลงที่ใชประกอบทารํา มีหรือไมมีเน้ือรองก็ได โดยยึดหลักเกณฑใหมีความหมายในการสงเสริม

ศิลปวัฒนธรรมไทย3.2 การแตงกาย แตงตามความเหมาะสมของเพลงที่นําเสนอ โดยไมใชชุดยืนเคร่ืองพระ-นาง3.3 จัดทําขอมูลรายละเอียดของการแสดงอยางนอย 5 ฉบับ สงคณะกรรมการพรอมกับ

รายงานตัวเขาแขงขัน3.4 ผูแสดงจะเปนหญิงลวน ชายลวน หรือชายหญิงก็ได3.5 ใชแผนซีดีหรือเทปบันทึกเสียง

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน4.1 ความคิดสรางสรรคในการออกแบบการแสดง 30 คะแนน4.2 ลีลาทารํา 20 คะแนน4.3 จังหวะการผสมกลมกลืนระหวางการรําและดนตรี 10 คะแนน4.4 การวางรูปแบบแถวและความพรอมเพรียง 20 คะแนน4.5 การแตงกายเหมาะสมกับชุดการแสดง 20 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด

Page 35: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

6. คณะกรรมการการแขงขัน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คนคุณสมบัติของคณะกรรมการ

- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(นาฏศิลป)- เปนครูที่ทําการสอนสาระนาฏศิลป- ผูทรงคุณวุฒิในดานนาฏศิลปหรือดานศิลปะการแสดง

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรเปนครูที่มีความรูและประสบการณเฉพาะดาน- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ7.1 ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับตอไป7.2 ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนนเชน

มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะ แตถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลากขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรจัดคายพัฒนาทักษะดานนาฏศิลป19. การแขงขันการแสดงตลก1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน

- เปนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา2. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน

แขงขันเปนทีม 3 - 5 คน (ไมรวมคนเลนดนตรีประกอบการแสดง )3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน

3.1 เน้ือหาที่แสดงไมเสียดสี ลอเลียนและกระทบสิทธิ์ผูอ่ืน3.2 ไมแยกชาย-หญิง3.3 เวลาในการแสดงไมเกิน 10 นาที เกินเวลา หัก 1 คะแนน/นาที3.4 อนุญาตใหใชเคร่ืองเสียงและเคร่ืองดนตรีประกอบได3.5 สื่อ วัสดุ อุปกรณการแขงขัน ผูเขาแขงขันนํามาเอง3.6 สมาชิกที่แสดงจะตองเรียนในสถาบัน/สถานศึกษาเดียวกันโดยเขาประกวดในนามสถาบัน/สถานศึกษา ซึ่ง

ตองรับรองโดยผูอํานวยการสถาบัน/สถานศึกษา4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน

4.1 ภาษาที่ใชในการแสดงเหมาะสม 15 คะแนน4.2 ปฏิภาณไหวพริบ 20 คะแนน4.3 ลีลา - ทาทาง 20 คะแนน

Page 36: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

4.4 ความคิดสรางสรรค 25 คะแนน4.5 การแตงกายและอุปกรณ 10 คะแนน4.5 เวลาที่ใชในการแสดง 10 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ 70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน 3 หรือ 5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(นาฏศิลป)- เปนครูที่ทําการสอนสาระนาฏศิลป- ผูทรงคุณวุฒิในดานนาฏศิลปหรือดานศิลปะการแสดง

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรเปนครูที่มีความรูและประสบการณเฉพาะดาน- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ7.1 ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับตอไป7.2 ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนนเชน

มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะ แตถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลากขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรจัดคายพัฒนาทักษะดานการแสดง

20. การแขงขันการแสดงมายากล1. คุณสมบัติผูเขาแขงขัน

นักเรียนระดับชั้น ม.1 – ม.62. ประเภทและจํานวนผูเขาแขงขัน

แขงขันเปนทีมๆ ละ 2 คน (ผูแสดง 1 คน ผูชวย 1 คน) ทั้งระดับภาคและระดับประเทศ

Page 37: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

3. วิธีดําเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขัน3.1 เวลาในการแสดงไมเกิน 15 นาที3.2 ไมแยก ชาย-หญิง3.3 การแสดงจะตองไมเปนอันตรายตอตนเองและผูอ่ืนและสิ่งแวดลอม3.4 อนุญาตใหใชเสียงดนตรีประกอบการแสดงได

4. เกณฑการใหคะแนน 100 คะแนน4.1 ความสามารถ 20 คะแนน4.2 ลีลา-ทาทาง 20 คะแนน4.3 ความคิดสรางสรรค 20 คะแนน4.4 การแตงกายการใชอุปกรณ 20 คะแนน4.5 องคประกอบการแสดง 20 คะแนน

5. เกณฑการตัดสินรอยละ 80 - 100 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองรอยละ70 - 79 ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงินรอยละ 60 - 69 ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดงตํ่ากวารอยละ 60 ไดรับเกียรติบัตร เวนแตกรรมการจะเห็นเปนอยางอ่ืน

ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด6. คณะกรรมการการแขงขัน ระดับชั้นละ 3-5 คน

คุณสมบัติของคณะกรรมการ- เปนศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี)- เปนครูที่ทําการสอนดนตรีไทย- ผูทรงคุณวุฒิในดานดนตรีไทย

ขอควรคํานึง- กรรมการตองไมตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขาแขงขัน- กรรมการที่มาจากครูผูสอนควรแตงต้ังใหตัดสินในระดับชั้นที่ทําการสอน- กรรมการควรใหขอเสนอแนะเติมเต็มใหกับนักเรียนที่ชนะในลําดับที่ 1-3

7. การเขาแขงขันระดับชาติ7.1 ทีมที่ไดคะแนนสูงสุด ลําดับที่ 1 - 3 จากการแขงขันระดับภาคจะไดเปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับชาติ7.2 ในกรณีที่มีทีมในลําดับสูงสุดเกินกวา 3 ทีมใหพิจารณาลําดับที่ตามลําดับขอของเกณฑการใหคะแนนเชน

มีผูที่ไดคะแนนขอที่ 1 เทากันใหดูคะแนนขอที่ 2 ทีมใดไดคะแนนขอที่ 2 มากกวาถือเปนผูชนะ ตาถาขอที่ 2 เทากันใหดูคะแนนในลําดับถัดไป กรณีคะแนนเทากันทุกขอใหใชวิธีจับฉลากขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา การตอยอดในระดับชาติ ควรตอยอดโดยการจัดคายพัฒนาทักษะดานศิลปะการแสดง

Page 38: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

ภาคผนวก

๑.วงเครื่องสายวงเล็กผสมขิมบทรองการแขงขันระดับประถม

เพลงเขมรพายเรือ 2 ชั้น พอมาถึงทองพระโรงตรงเขาเฝา แลวนอมเกลาทูลความตามภาษาขอเดชะพระมิ่งย่ิงภารา ขาพระศรีอนุชามากราบทูลดวยพระยากัมพูชาธิบดี รําลึกถึงไมตรีนเรนทรสูรใหขานําโยธามาเพิ่มพูน หวังไพบูลยกรุงศรีอยุธยา ฯ

(จากเพลงตบัพระยาละแวก, ถีร ปเพราะ)บทรองการแขงขันระดับมัธยม

เพลงราตรีประดับดาว เถาวันนี้ แสนสุดยินดีพระจันทรวันเพ็ญ

ขอเชิญสายใจเจาไปนั่งเลน ลมพัดเย็นๆหอมกล่ินมาลีหอมดอกราตรี แมไมสดสีหอมดีนาดมเหมือนงามน้ําใจแมไมขําคม กิริยานาชมสมใจจริงเอย

ชมแตดวงเดือน ท่ีไหนจะเหมือนไดชมหนานองพี่อยูแดเดียวเปล่ียวใจหมนหมอง เจาอยาขุนของจงไดเมตตาหอมดอกชํามะนาด กล่ินไมฉูดฉาดแตหอมยวนใจเหมือนน้ําใจดีปราณีปราศรัย ผูกจิตสนิทไดใหรักจริงเอย

ขอเชิญเจาฟงเพลงวังเวงใจ เพลงของทานแตงใหมในวังหลวงหอมดอกแกวยามเย็น ไมเห็นใจพี่เสียเลยเอย

ดวงจันทรหล่ันลดเกือบหมดดวง โอหนาวทรวงยอดชีวาไมปราณีหอมมะลิกลีบซอน ออนวอนเจาไมฟงเอย

เนื้อรองการแขงขันดนตรีไทย

Page 39: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

จวนจะรุงแลวนะเจาพี่ขอลา แสงทองสองฟาสงาศรีหอมดอกกระดังงา ชิชะชางนาเจ็บใจจริงเอย

หมูภมรรอนหาชอมาลี แตตัวพี่จําจากพรากไปไกลหอมดอกจําป นี่แนะพรุงนี้จะกลับมาเอย

(พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๗)

๒.วงปพาทยไมนวมผสมเครื่องสายวงเล็กบทรองการแขงขันระดับประถม

เพลงแขกสาหราย 2 ชั้นอันเพลงไทยใชจะไรในคุณคา หรือดอยกวาเขาอื่นนั้นหาไม

เพลงของเราก็เสนาะเพราะจับใจ ท้ังยังเปนสมบัติไทยสืบเนื่องมาโอเจาดอกจําปาของขาเอย สีสวยกระไรเลย กล่ินหอมชวนเชยนาสาตามสายพระพายพัดมา หอมกล่ินจําปา ไมแพบุบผาของใครเอยเรามีชาติถาขาดวัฒนธรรม สิ่งประจําสําหรับชาติเสียแลวหนา

ใชวาไทยจะอยูไดในโลกา อยาลืมคิดพิจารณาดูใหดีอันชาติไทยตองไมกลายไปเปนอื่น ไทยตองย่ังยืน ไทยตองชมชื่นนิยมไทย

รวมชีวิตรวมจิตใจ รวมกันใชของไทย อยาเห็นของใครดีกวาเอย ฯ(นายถนอม นาควัชระ แตง)

บทรองการแขงขันระดับมัธยมเพลงเขมรลออองค

เมื่อนั้น ทาวพันธุมทรงฟงแลวนั่งนิ่งไทยคนนี้มีปญญากลาจริงจริง จะละท้ิงชาไวไมเปนการจึงมีพระราชบัญชา แดพญาเดโชยอดทหารตัวเรานี้มีบุญญาธิการ ไมมีใครเปรียบปานแตเดิมมาบัดนี้พระรวงเมืองละโว มีปญญาอักโขท้ังใจกลาไมเกรงซึ่งราชอาชญา ท้ิงไวชาจะทํารําคาญใจจะตั้งตนขึ้นเปนผูวิเศษ กอเหตุกําเริบเติบใหญแนะพญาเดโชชาญชัย จงรีบไปกุมจับคนสําคัญ ฯ

(พระรวง พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๖)

Page 40: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

๓.วงปพาทยไมแข็งบทรองการแขงขันระดับประถม

เพลงจระเขหางยาว 3 ชั้นเจารางนอยนอนนิ่งบนเตียงต่ํา คมขํางามแฉลมแจมใส

คิ้วคางบางงอนออนละไม รอยไรเรียบรับระดับดีผมเปลือยเล้ือยประลงจนบา งอนปลายเกศาดูสมศรีท่ีนอนนอยนานอนออนดี มีหมอนขางคูประคองเคียง

(เสภาเรื่องขนุชางขุนแผน, จากสารานุกรมศัพทดนตรีไทย ฉบบัราชบัณฑิตยสถาน)บทรองการแขงขันระดับมัธยม

เพลงชางประสานงา เถาเมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกูชาติกระทํายุธหัตถี

ขับคชาชะลาไลหมูไพรี ท้ิงโยธีทวยหาญชาญฉกรรจพระทรงศักดิ์ชักคเชนทรเบนเขารบ พัทธะกอลอตลบแลวแหหันสองชางประสานงาสงายัน พลายทรงธรรมแบกถนัดงัดกลางทรวงพระนเรศวรทรงสังเกตสบโอกาส ก็โถมฟาดฟนตะแบงพระแสงจวงเต็มพระหัตถถนัดแรงแลงตัดทรวง อุปราชารวงพิราลัย

(พันโทสราวุธ เสนีวงศ ณ อยุธยา แตง, จากสารานุกรมศัพทดนตรีไทย ฉบับบัณฑิตยสถาน )

๔.การแขงขันขับรองไทยบทรองการแขงขันระดับประถม

เพลงคล่ืนกระทบฝง 2 ชั้นอันโดรเมดาสุดาสวรรค ย่ิงกวาชีวันเสนหา

ขอเชิญสาวสวรรคขวัญฟา เปดวิมานมองมาใหชื่นใจถึงกลางวันสุริยันแจมประจักษ ไมเห็นหนานงลักษณย่ิงมืดใหญถึงราตรีมีจันทรอันอําไพ ไมเห็นโฉมประโลมใจก็มืดมนอาดวงสุริยศรีของพี่เอย ขอเชิญเผยหนาตางนางอีกหนขอเชิญจันทรสองสวางกลางสกล เย่ียมมาใหพี่ยลเยือกอุรา ฯ

(พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๖)

Page 41: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

บทรองการแขงขันระดับมัธยมตนเพลง ลาวคําหอม

ยามเมื่อลมพัดหวน ลมก็อวลแตกล่ินมณฑาทองไมเอยไมสุดสูง อยาสูปอง ไผเอยบไดตอง แตยินนามดวงเอย

โอเจาดวงดอกโกมล กล่ินหอม พึ่งผุดพนพุมในสวนดุสิตา แขงแขอยูแตนภาฝูงภุมรา สุดปญญาเรียมเอย

โออกคิดถึง คะนึงนอนวัน นอนใหใฝฝนเห็นจันทรแจมฟาทรงกลด สวยสดโสภา แสงทองสองหลา ขวัญตานองเอย ฯ

(ไมทราบนามผูแตง, จากหนังสือฟงและเขาใจเพลงไทย)บทรองการแขงขันระดับมัธยมปลาย

เพลงการะเวกเล็ก 3 ชั้นการะเวกโผผินแลวบินรอน อยูในกลางอัมพรเวหน

ลอยละลิบอยูในทิพยโพยมบน เหลือจะยลแลไปสุดสายตา(จากสารานุกรมศัพทดนตรีไทย ฉบบัราชบัณฑิตยสถาน)

๑วงเครื่องสายวงเล็กผสมขิมโนตเพลงการแขงขันระดับประถม

เพลงเขมรพายเรือ (2ช้ัน)ทอน ๑

- - -ร -รรร ดรดฟ -ซ-ล - - - - -ด-ร มดมร -ด-ล- - -ล -ลลล ดรดฟ -ซ-ล - - - - -ด-ร มดมร -ด-ล- รดล ดซลด - - -ล ดลซฟ - - - - ดรฟซ ลฟลซ -ฟ-ร- รดล ดซลด - - -ล ดลซฟ - - - - ดรฟซ ลฟลซ -ฟ-ร

ทอน ๒(ซฟรซ -ฟ-ร) ซฟรซ -ฟ-ร (ลฟลซ -ฟ-ร) ลฟลซ -ฟ-ร- รดล ดซลด - - -ล ดลซฟ - - - - ดรฟซ ลฟลซ -ฟ-ร- รดล ดซลด - - -ล ดลซฟ - - - - ดรฟซ ลฟลซ -ฟ-ร

โนตเพลงการแขงขันดนตรีไทย

Page 42: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

โนตเพลงการแขงขันระดับมัธยมเพลงราตรีประดับดาว เถา

สามช้ัน ทอน ๑---ซ -ซซซ -ฟ-ล -ซซซ -ท-ดํ -รํ-ดํ รํดํรํฟ -รํรํรํ-ซซซ ฟลซฟ -รฟซ ฟรฟด -รํ-ซ -รํ-ดํ ทดํซล ทรํดํท---ซ -ซซซ -ฟ-ล -ซซซ -ท-ดํ -รํ-ดํ รํดํรํฟ -รํรํรํ-ซซซ ฟลซฟ -รฟซ ฟรฟด -รํ-ซ -รํ-ดํ ทดํซล ทรํดํท---ท -ดํดดํํ -ท-รํ -ดํดดํํ -รํ-ดํ -ท-ดํ -ท-รํ -ดํดดํํ-ท-ดํ รํดํทล ซฟซล -ท-ดํ -รํ-ดํ -ท-ดํ -รํ-ซํ -ฟ-รํ---- -ฟ-รํ ---- -ด-ํท --ดํซ --ดํท -ซ-ท ------ดํซ --ดํท --ดํรํ ฟรํดํท --ดํซ --ดํท -ซ-ท ซท-ดํ---- ---ดํ -ดํดดํํ -ด-ํดํ ซลทดํ รํดํทล ซฟซล -ท-ดํ-รํ-ฟ -รํ-ดํ -ท-ดํ ---- รํดํทล ซลทดํ รํดํรํท -ด-ํรํ-ซ-ซ ---ล --ซดํ --ซล ดํลซฟ -ซ-ล --ซฟ ----

ลซลฟ -ซ-ล --ซดํ --ซล ดํลซฟ -ซ-ล ซฟ-ซ -ซซซสามช้ัน ทอน ๒

---ซ -ซซซ -ฟ-ล -ซซซ -ท-ดํ -รํ-ดํ รํดํรํฟ -รํรํรํ*-ซซซ ฟลซฟ -รฟซ ฟรฟด -รํ-ซ -รํ-ดํ ทดํซล ทดํ-ท--ฟซ --ฟล --ดร ฟซฟซ --ฟล --ฟซ --ฟซ ลซฟร-ซซซ ฟลซฟ -รฟซ ฟรฟด -รํ-ซ -รํ-ดํ ทดํซล ทดํ-ท---- ฟซทดํ ---- รํซทดํ ---- ฟซทดํ ---- รํซทดํ

ฟซทดํ รํซทดํ ฟซทดํ รํซทดํ รํดํทล ซลทดํ รํดํรํท -ด-ํรํ--ฟรํ --ดํท -ซ-ท ---- --ดํซ --ดํท -ซ-ท ----

ดํซดํท ดํรํดํท ดํซดํท ดํรํดํท ดํรํดํท ดํรํดํท รํดํทซ -ท-ดํฟรซฟ รฟรด ---- ---- ฟรซฟ รฟรด ---- ----

---- รฟรด ---- รฟรด รํดํทล ซลทดํ รํดํรํท -ด-ํรํ-ซ-ซ ---ล ---- ---- --ซดํ --ซล ดํลซฟ -ซ-ฟ

Page 43: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

ลซลฟ -ซ-ล --ซดํ ซล-- ดํลซฟ -ซ-ล -ฟ-ซ -ซซซทอน ๒เท่ียวกลับเปลี่ยนบรรทัดแรก

--ฟล --ฟซ --ดร ฟซฟซ --ลดํ --ฟซ --ฟซ ลซฟรสองช้ัน

---ซ -ซซซ -ฟ-ร -รรร ดรฟด -ร-ด ทดํซล ทดํ-ท---ซ -ซซซ -ฟ-ร -รรร ดรฟด -ร-ด ทดํซล ทดํ-ท---ท -ดํดดํํ -ท-รํ -ดํดดํํ -ซํฟรํ -ด-ํท --รํดํ ทดํ-รํ---- -ฟ-รํ ---- -ด-ํท ---ดํ -รํ-ท ---ซ -ท-ดํ---- ---ดํ -ดํดดํํ -ด-ํดํ -ซํฟรํ -ด-ํท --รํดํ ทํดํ-รํ---- ---- -ซ-ซ ---ล ---- -ซ-ล -ด-ํซ -ซซซ

ช้ันเดียว-ซซซ -รํรํรํ -ดํดดํํ -ททท ซลซซ รํฟรํรํ ดํรํดํดํ ทดํททรํดํทดํ รํดํทดํ รํดํทดํ รํฟ-รํ --ฟรํ -ด-ํท ซท-ดํ ------- -ท-ดํ รํดํรํท -ด-ํรํ ---- -ซ-ล ซฟซล -ซซซ

๒วงปพาทยไมนวมผสมเครื่องสายวงเล็กโนตเพลงการแขงขันระดับประถม

แขกสาหราย (2ช้ัน)ทอน ๑

- - - ด - ดดด - ม - ร - ดดด - ดรม ซมรด รมรด -ท-ล- ทรล ทลซฟ มรมฟ -ซ-ล -ท-ล -ซ-ด - -มร ดร-ม-ด-ร -ม-ซ ลทลซ -ม-ร -ล-ล - - -ท - -มร ทร-ม

ซลซม -ร-ท ลซลท -ร-ม รท- ร - ม - ซ ลทลซ - ม - ร

Page 44: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

ทอน๒- - - ม - มมม ซลซม -ร-ท -ล-ล - - - ท - - มร ทร-ม- - -ร -รรร - ม-ร -ล-ท -ทรล ทลซม - -ลซ มซ-ล-ล-ล - - -ท - - มร ทร-ม -ซ-ล ทลซม - - -ร - - -ท- - -ร -รรร -ม-ร -ท - ล -ทรล ทลซม - - ลซ มซ -ล

ทอน๓- - - ท - รรร - ท - ม รรรร มรซม รท-ร - - -ม - - - ซ-ร-ซ - ล-ท รมรท -ล-ซ - - ม ร ม ร - - มรมร - ม - ร

- - ม ร ม ร - - มรมซ - ล - ท - - - - - - - - - ลซล -ซซซ- ลซล -ททท - ลซล - ท - ร - - - - - - - - - ซ -ล - ททท- - - - - - - ท - - -ร -ม -ซ - - - ซ - - - ม ซมรท -ล-ร-ท-ท - - -ล - - -ซ ทลซม -ร-ซ - ล - ท รมรท - ล - ซ

โนตเพลงการแขงขันระดับมัธยมโนตเพลงเขมรละออองค เถา

สามช้ัน ทอน ๑---- ---ร -รรร -ร-ร ดรฟซ ฟรฟด รดลด รดฟร

-ฟ-ฟ ---ร ---ด ---ฟ -ลซฟ -ด-ฟ --ลซ ฟซ-ล---ล -ดํดดํํ ---รํ -ดํดดํํ -รํ-ดํ -ล-ดํ -ฟซล -ด-ํรํ--ซซ ลซฟด รดลด รดฟร --ฟด ฟร-- ฟดฟร -ด-ล---- ---ล -ลลล -ล-ล (ดํรํดํล ดํซลดํ) ดํรํดํล ดํซลดํ

(ดํรํดํล ดํลซฟ) ดํรํดํล ดํลซฟ ลซฟร -ด-ฟ -ซ-ล ----(ดํซลดํ -ล-ดํ) ดํซลดํ -ล-ดํ (ดํซลดํ -ซ-ล) ดํซลดํ -ซ-ล(-ซ-ดํ) -ซ-ดํ (-ซ-ล) -ซ-ล ดํลซฟ ซล-ซ ลซฟร ฟด-ร

เทียวกลับสามช้ัน ทอน ๑---- ---ร -รรร -ร-ร ดรฟซ ฟรฟด รดลด รดฟร

-ฟ-ฟ ---ร ---ด ---ฟ -ลซฟ -ด-ฟ --ลซ ฟซ-ล---ล -ดํดดํํ ---รํ -ดํดดํํ -ฟฟฟ รซฟร ดรฟร ดล-ด

Page 45: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

-ล-ร ดล-ด รดลด รฟ-ร --ฟด ฟร-- ฟดฟร -ด-ล---- ---ล -ลลล -ล-ล (ดํรํดํล ดํซลดํ) ดํรํดํล ดํซลดํ

(ดํรํดํล ดํลซฟ) ดํรํดํล ดํลซฟ ลซฟร -ด-ฟ -ซ-ล ----(ดํซลดํ -ล-ดํ) ดํซลดํ -ล-ดํ (ดํซลดํ -ซ-ล) ดํซลดํ -ซ-ล(-ซ-ดํ) -ซ-ดํ (-ซ-ล) -ซ-ล ดํลซฟ ซล-ซ ลซฟร ฟด-ร

สามช้ัน ทอน ๒---- ---ดํ ---รํ -ดํดดํํ -รํ-ดํ -ล-รํ -ฟ-รํ ดํล-ดํ---- -รํรํรํ -ฟ-รํ ดํล-ดํ -ล-รํ ดํล-ดํ -ล-ดํ รํฟ-รํ--ลล --ดํดํ --ฟฟ --รํรํ -ฟ-ซํ -ฟ-รํ ---ดํ ฟรํดํล---ดํ -ซ-ล -ลดํรํ ดํลดํซ -ล-ซ -ฟ-ซ ลซดํล ----

(ดํรํดํล ซลดํซ) ลซฟซ ลซดํล (ดํรํดํล ซลดํซ) ลซฟล ซฟซฟ--ลฺลฺ --ดฺดฺ --รร --ฟฟ มรดร มฟซล ---- ----

(ดํซลดํ -ล-ดํ) ดํซลดํ -ซ-ล (ดํซลดํ -ล-ดํ) ดํซลดํ -ซ-ล(-ล-รํ) -ล-ดํ (-ล-ดํ) -ซ-ล ดํลซฟ ซล-ซ ลซฟร ฟด-ร

สองช้ัน ทอน ๑---- ---ร -รรร -ร-ร -ซฟร -ด-ฟ --ลซ ฟซ-ล---ดํ ---- -ฟซล -ด-ํรํ -ฟ-ดํ รํฟ-รํ ---ดํ ฟรํดํล---ล -ลลล -ด-ํล -ซ-ฟ -ซฟร -ด-ฟ ---ซ ---ล

(-ซ-ดํ) -ซ-ด (-ซ-ล) -ซ-ล ดํลซฟ ซล-ซ ลซฟร ฟด-รสองช้ัน ทอน ๒

---- ---ดํ ---รํ -ดํดดํํ -รํ-ดํ -ล-ดํ -รํ-ซํ -ฟ-รํ---- ดํดํดดํํ รํดํลดํ รํฟ-รํ --ดํล ดํฟ-- -ดํดดํํ ฟรํดํล---ล -ลลล -ด-ํล -ซ-ฟ -ซฟร -ด-ฟ -ซ-ล ----

(-ซ-ดํ) -ซ-ดํ (-ซ-ล) -ซ-ล ดํลซฟ ซล-ซ ลซฟร ฟด-ร

Page 46: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

ช้ันเดียว ทอน ๑--รร -ร-- ดรดฟ -ซ-ล --ซล ดํรํดํซ ลซฟซ ลซดํล--ซล ดํลซฟ ซฟดฟ -ซ-ล --ซดํ --ซล ดํลซฟ ซด-ร

ช้ันเดียว ทอน ๒--ดํดํ -ด-ํ- -ลดํซ ลซฟร --ดฟ ซฟมร มรดฟ -ซ-ล--ซล ดํลซฟ ซฟดฟ -ซ-ล --ซดํ --ซล ดํลซฟ ซด-ร

๓วงปพาทยไมแข็งโนตเพลงการแขงขันระดับประถม

เพลงจระเขหางยาว (3ช้ัน) ทํานองทางฆองทอน ๑

- - - ล ด ด - - -ร ด ด ซ ล - ด-ร - ด ร ร- ด- ม - ด -ร - ด - ฟ - ด-ร - ด -ร - ด

ม ม - ม ร ร ด ด - ล - ล ซ ซ ล ล ด ด - ร- ม - ซ - ร - ด - ม - ม - ซ - ล - ด -ร

ร ม ฟ ซ ล ซ ฟ - ล ล ซ ซ ม ม ร- ด ร ม ฟ ซ ฟ ม ร ซ ม ม ร ร ด ด ล

- ล ซ ม ด ด ร ร - ม - ม - ม - ม ม ม ร ร - ด ซ ม ร ด -ร - ม - ซ - ล - ซ - ม - ร - ด

ทอน ๒- - - ล ด ด - - - ร ด ด ซ ล - ด - ร - ด ร ร - ด

- ม - ด - ร - ด - ฟ - ด - ร - ด - ร - ด

ร ร - ด ล ล ซ ซ - ฟ - ร ด ด ฟ ฟ ซ ซ - ล- ร - ด - ล - ซ - ฟ - ล - ซ - ฟ - ซ - ล

ซ ล - ด - ร - ม - ร - ด - ล - ด - ร - ด ล ล ซ ซ - ฟ

Page 47: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

- ฟ - ด - ร - ม - ร - ด - ล - ด - ร - ด - ล - ซ - ฟ

- ร ด ด - ฟ ฟ - ซ ซ - ล - ฟ ซ ล - ด - ร - ด - ล - ซ- ล - ด ฟ ซ - ล - ด - ฟ - ด - ร - ด - ล - ซ

เท่ียวกลับทอน2 ใชแทนบรรทัดแรก

- ซ - ม ร ม ฟ ซ ล ซ ล ท ด ร ด ท- ด ร ด - ซ - ด ร ม ฟ ซ ล ท ด ท ล ซ

ทอน ๓- ร ด ด ร ร ฟ ฟ - ซ - ล - ด - ล ซ ซ ฟ ฟ - ร

ล - ซ - ล - ฟ - ซ - ล - ด - ล - ซ - ฟ - ล

- ซ ฟ ร - ด - ร - ร ด ด ร ร ฟ ฟ - ซ ฟ ร ด ล - ซ- ล - ซ - ล ล - ซ - ล - ฟ - ซ

ซ ล ท ด ร ด ท - ล ล ซ ซ ม ม ร- ฟ ซ ล ท ด ท ล ซ ซ ม ม ร ร ด ด ล

- ด - ล - ซ ฟ ฟ ซ ซ - ล - ด - ร - ด ล ล ซ ซ - ฟ- ด - ล - ซ - ฟ - ซ - ล - ด - ร - ด - ล - ซ - ฟ

Page 48: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

โนตเพลงการแขงขันระดับมัธยมเพลงชางประสานงา เถา

สามช้ัน เท่ียวแรก---ดํ ---รํ ---มํ ---รํ มํรํดํท ลทดํรํ มํรํดํรํ ดํทลซ---- ---- ลลซล ทลซม -ลซล ทลซม รดรม -ซ-ล---มํ ---รํ ---ดํ ---ล ---ซ ---มํ -รํ-ดํ -----ลซม ซมรด ทลซล ทดรม -ด-ํรํ -ม-ํซํ -ลํ-ซํ -ม-ํรํ-ซซซ -ล-ท -รํ-ท -ล-ซ ลซดํล ซม-ซ รมซล ดํซลดํรมซล -ด-ํรํ -ม-ํรํ -ด-ํล -ด-ํรํ มํรํดํล รํดํลซ ดํลซฟ--ซซ --ฟฟ --มม --รร --ดด --ลล -ซ-ฟ -----ลซม ซมรด ทลซล ทดรม -ด-ํรํ -ม-ํซํ -ลํ-ซํ -ม-ํรํ

สามช้ัน เท่ียวเปลี่ยน(ซดรม รดรม รดรม ดรรร) มดรม รซรม รดรม ฟซซซ(ซดรม รซรม รดรม ฟซซซ) รมซล ซดํซล ซมซล ซดํดํดํ--ซซ --ลล --ทท --ดํดํ --ซซ --ดํดํ --รํรํ --มํมํ-ดรม รซรม รดรม รมฟซ ลฟซล ดลซฟ ซลซฟ ซฟมร(รมซซ ซลซซ ซดํซซ ซลซซ) -ดรม ซรมซ รมซล ดํซลดํ(รํรํดํรํ มํรํดํรํ มํรํดํรํ มํรํดํล) ลลซล ดํลซล ดํลซล ดํลซฟ--ซซ --ฟฟ --มม --รร --ดด --ลล -ซ-ฟ -----ลซม ซมรด ทลซล ทดรม -ด-ํรํ -ม-ํซํ -ลํ-ซํ -ม-ํรํ

สองช้ัน เท่ียวแรก---รํ -รํ-รํ -มํรํท -ล-ซ ---ซ -ซซซ -ดรม -ซ-ล---- -ซ-ล -ซ-ดํ -ด-ํดํ -ซ-ดํ -รํ-มํ -รํ-มํ มํม-ํรํ---รํ -รํรํรํ -ม-ซ -ล-ดํ -ด-ํรํ มํรํดํล รํดํลซ ดํลซฟ

-ซซซ -ร-ม -ฟ-ล -ซ-ฟ -ด-ร -ม-ฟ -ลซฟ -ม-ร

Page 49: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

สองช้ัน เท่ียวเปลี่ยน---- ---- -ม-ม ---ซ ---- -ม-ซ -ม-ซ ลด-ํล---- ---- ดํรํดํล -ซ-ม ---- ซมรด รดลด รม-ร---- ดํดํดดํํ --รํรํ มํรํดํล --ดํซ --ดํล ดํลซฟ ----

-ซซซ -ร-ม -ฟ-ล -ซ-ฟ -ด-ร -ม-ฟ -ลซฟ -ม-รช้ันเดียว เท่ียวแรก

--ซล ซซ-ซ --ลดํ ลล-ล --ดํรํ ดํด-ํดํ -ม-ํซํ -ม-ํรํ-ซซซ -ล-ดํ -รํดํล -ซ-ฟ -ซรม ฟซ-ฟ มดรม -รรร

ช้ันเดียว เท่ียวเปลี่ยน--ซล ลซมซ --ลล ดํลซล --ดํดํ รํดํลดํ --รํรํ มํรํดํรํ-ดํรํดํ -ลดํล -ซลซ -ฟซฟ -ซรม ฟซ-ฟ มดรม -รรร

Page 50: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

๔วงอังกะลงุโนตเพลงการแขงขันระดับประถม

เพลงโหมโรงปฐมดุสิตทอน ๑

--ลล ดลซม -ร-ซ -มมม -ร-ร ---ม -ซลด -ล-ซ---- ---ซ -ซซซ -ซ-ซ -ร-ร ---ม --ลซ มซ-ล---- มซลด --รร มรดล ---- ---ซ ดชดล -ซ-ม---- ---- -ซ-ซ ---ด ---- ---ล ดรดล -ซ-ม---- รมซล ดรดล -ซ-ม -ซ-ล -ซ-ม ---ร ---ด---- ---- -ซ-ซ ---ม ---- รดรม ชลชม -ร-ด---- ---- -ซ-ซ ---ล --รร มรดล ซมซล -ด-ร---- ---- ซมซล -ด-ร -ซ-ล -ซ-ม ---ร ---ด

ทอน ๒---- ---ด -ดดด -ด-ด รมรด -ซ-ด -รมซ -ฟ-ม---- ---ม -มมม -ม-ม ซลซม -ร-ด --มร ดร-ม---- ---- -ซ-ซ ---ล ดรดล -ซ-ม --ลซ มซ-ล---- ---- -ด-ด ---ร -ม-ร -ด-ซ -ล-ร -ด-ล---- ---- -ซ-ซ ---ล --รร มรดล ซมซล -ด-ร---- ---- -ซ-ม ซลซล -ด-ล ดรดร มรซม -ร-ด---- ---- -ซ-ซ ---ล --รร มรดล ซมซล -ด-ร

-ซ-ม ซลซล -ด-ล ดรดร -ซ-ล -ซ-ม ---ร ---ดเที่ยวกลับทอน 2 ใชแทนบรรทัดสุดทาย

ดลซม -ร-ซ ---ม ---ร ---ด ---ท ---ล ---ซ

Page 51: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

โนตเพลงการแขงขันระดับมัธยมเพลงญวนเคลา (ถา)

สามชั้นทอน๑---- ---- -ด-ด ----ล ---- รมซล -ด-ร มดรม---ซ ---- รมซล ดลซม ซมรด -ร-- ดล-ด รมซล---- ---- -ด-ร -ม-ล --ดล ซมซล -ด-ร มดรม---ซ ---- รมซล ดลซม ---ซ -ม-- รมซม รด-ร---- ---- -ซ-ล -ด-ร ซมรด -ร-- ดล-ด ลซ-ล---ซ ---- -มซร มรดล ---- รมซล ดรดล -ซ-ม---- ---- -ร-ร ---ม --ซม รดรม -ซ-ล ดชลด--รร มรดล --ลล ดลซม --ซม รดรม -ซ-ล ดซ-ล

สามชั้นทอน๒---- -ซ-ม ---- -ซ-ม ---- -ซ-ม รมซม รด-ร---ซ ---- รมซล ดลซม ซมรด -ร-- -ล-ด -มซล---- -ด-ล ---- -ด-ล ---- -ด-ล -ด-ร มดรม---ช ---- รมซล ดลซม ---ช -ม-- รมซม รด-ร---- ---- -ด-ร -ม-ล ดลซม -ช-- มซดร มรดล---- ---- ดลดช -ล-ด ลรดล -ด-- รมซล ดลซม---- ---- -ร-ร ---ม --ซม รดรม -ซ-ล ดซลด--รร มรดล --ลล ดลซม --ซม รดรม -ซ-ล ซมซล

สองชั้นทอน๑---- -ซ-ม ---ร -ด-ม ---ร -ซ-ม ---ร -ด-ล---- -ซ-ล -ด-ร มดรม ---ม -มมม รมซล -ด-ร

-ดรม -ลดร -ซลด -มซล --ล- -ลลล ดรดล -ซ-ม--ซม รดรม -ซ-ล ดซลด -ด-ล ซมซด -ด-ล ซมซล

Page 52: กลุ มสาระการเรียนรู ศิลปะ สรุปกิจกรรมการแข งขันกลุ มสาระ ... · 2.2.3 ระดับชั้น

ÈÔÅ»Ëѵ¶¡ÃÃÁ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÃÑ駷Õè öñ »�¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõõô

สองชั้นทอน๒---- รมซล ซมซล ดลซม ---- ซดรม ซมรด ลดรล---- รมซล ดลซล ดรดม --รม ซลซล ดลซล ดรดร---- มดรม ซมรด ลดรล --รม ซลซล --ดล ซมซม

--ซด รมรม --รม ซลซด -ด-ล ซมซด -ด-ล ซมซลชั้นเดียวทอน๑

---- -ซ-ม -ซดร มรดล ---- รมซล -ด-ร มดรม---- รมซล --ซล ดรดม --รม ซลซด -ด-ล ซมซล

ชั้นเดียวทอน๒---- -ซ-ม -ซดร มรดล ---- รมซล -ด-ร มดรม---- รมซล --ซล ดรดม --รม ซลซด -ด-ล ซมซล

ลูกหมด---- ซลซม -ซดร มรดล -มซล ดซ-ล ซลดร มด-ร--มร ดลดซ --ดล ซมซร -รมซ -มซล -ซลด -ลดร

รายชื่อคณะกรรมการพิจารณาเกณฑการแขงขันกิจกรรมกลุมสาระศิลปะ-ดนตรีที่ ชื่อ – สกุล ตําแหนง สังกัด เบอรโทรติดตอ1 นายอนุสิทธิ์ ศรีอนันต รอง ผอ. รร. สพม. เขต 4 081-19387262 นายมนพ จักษา ครู สพม. เขต 4 089-44707103 นางเสาวณีย เพียซาย ครู สพม. เขต 4 081-80268594 นายวินัย อสุณี ณ อยุธยา ศึกษานิเทศก สพป. อุดรธานี เขต 1 087-95151065 นายสุรเดช รุงศรีกนก ศึกษานิเทศก สพป. กาญจนบุรี เขต 1 081-29024306 นายฉลอง ขํามาก ศึกษานิเทศก สพป. กาญจนบุรี เขต 1 081-93591027 นางกนกอร ทองศรี ศึกษานิเทศก สพม. เขต 20 089-27536228 นางศุภร เสาวัง ศึกษานิเทศก สพม. เขต 8 089-83694099 นางจารุรัตน เข็มลาย ศึกษานิเทศก สพป. ปทุมธานี เขต 2 081-5813537

10 นางนวลจันทร กระจางเนตร ศึกษานิเทศก สพม. เขต 2 086-838138111 วาที่ รต. พินิจ นามบํารุง ศึกษานิเทศก สพม. เขต 20 089-863879412 นางพนอ อ้ีรักษา นักวิชาการศึกษา สกก. สพฐ. 081-6361658