คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร...

52
คูมือ มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ จัดทําโดย กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2549

Upload: others

Post on 29-Dec-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

คูมือ มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ

จัดทําโดย กรมโรงงานอุตสาหกรรม

2549

Page 2: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

คํานํา ดวยปจจุบันมีโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จเกิดขึ้นจํานวนมาก เพื่อรองรับภาคธุรกิจการกอสรางที่ขยายตัว และการประกอบกิจการของโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จนั้นอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชน และสภาพแวดลอม โดยเฉพาะโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จที่อยูใกลกับชุมชนหรือแหลงที่อยูอาศัยของประชาชน กรมโรงงานอุตสาหกรรมจึงไดจัดทําคูมือมาตรฐานการตรวจสอบโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ ฉบับนี้ขึ้นสําหรับเจาหนาที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม และเจาหนาที่หนวยงานที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบโรงงาน ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ใชเปนแนวทางในการพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จหรือหนังสือรับรอง รวมทั้งเปนแนวทางในการตรวจสอบโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ ใหมีการรักษาสภาพแวดลอมที่ดี มีความปลอดภัย ไมสรางความเดือดรอนรําคาญตอชุมชนหรือประชาชนที่อยูอาศัยใกลเคียง

ทั้งนี้ ในการจัดทําไดรับความรวมมือจาก โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จตางๆ และเจาหนาที่ผูตรวจสอบโรงงาน รวมทั้งไดผานการรับฟงความคิดเห็นจากผูมีสวนไดเสียดังกลาวนี้แลว หวังวาโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จที่ไดมาตรฐานตามคูมือฉบบันี้จะไดรับการยอมรับจากชุมชนมากขึ้น และคูมือฉบบันี้จะเปนประโยชนตอเจาหนาที่และผูเกี่ยวของ ในการตรวจสอบกํากับดูแลโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ หากจะมีขอเสนอแนะประการใด คณะผูจัดทํายินดีนอมรับและจะไดนําไปประกอบการพิจารณาปรับปรุงแกไขในโอกาสตอไป สํานักโรงงานอุตสาหกรรมรายสาขา 3 กรมโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2549

Page 3: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

สารบัญ

บทนํา 1 บทที่ 1. ลักษณะของการประกอบกิจการ 4 1.1 คอนกรีตผสมเสร็จคืออะไร 4 1.2 กระบวนการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ 4 1.3 โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ 5 1.4 รถผสมคอนกรีต 9 บทที่ 2. การพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน 10 2.1 โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จเฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง 10 2.2 โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จเพื่อใหบริการทั่วไป 12 บทที่ 3. การตรวจติดตาม กาํกับ ดูแลโรงงาน 15 3.1 มาตรการควบคุมมลพษิ 15 3.2 มาตรการสงเสริมความปลอดภัย 20 บทที่ 4. ปญหาที่เกิดข้ึนบอยๆ และแนวทางแกไข 23 ภาคผนวก 25

- ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ 26 - ภาพแสดงมาตรการควบคุมมลพิษ 32 - ภาพแสดงมาตรการสงเสริมความปลอดภยั 36 - แบบตรวจสอบโรงงาน 44

เอกสารอางอิง 49

Page 4: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 1 -

บทนํา

1. ความจําเปนของโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ

ปจจุบันมีการใชคอนกรีตผสมเสร็จในการกอสรางโดยทั่วไป ทัง้นี้เพราะคอนกรีตผสมเสร็จที่มีคุณภาพจะมีสวนผสมและใชวัตถุดิบที่มีคุณภาพแนนอน ทั้งยังสะดวกและรวดเร็วเปนอยางมาก สงผลใหอุตสาหกรรมคอนกรีตผสมเสร็จมีความเจริญเติบโตและมีโรงงานเกิดขึ้นจํานวนมาก โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และจังหวัดใหญ ๆ หรือทองที่ที่มีการขยายตัวของชุมชนสูง จะมีการตั้งและประกอบกิจการโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ เพื่อสนองตอบตอธุรกิจกอสรางปรากฏอยูทั่วไป ทั้งในและนอกบริเวณสถานที่กอสราง

โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จดังกลาว สามารถแบงตามวตัถุประสงคการประกอบธุรกิจเปน 2 ประเภท คือ ประเภทโรงงานเฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง ไมมีจุดประสงคที่จะประกอบกิจการในเชิงการผลิตอันเปนลักษณะของโรงงานอยางถาวร เมือ่โครงการกอสรางแลวเสร็จจะรื้อถอนออกไป เปรียบโรงงานประเภทนี้เปนเพียงกิจการสวนหนึ่งของโครงการกอสรางเทานั้น และอีกประเภทหนึ่ง คือ โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จเพื่อใหบริการทั่วไป ในลักษณะประกอบกิจการโรงงาน อยางถาวร ทั้งนี้ โรงงานทั้งสองประเภทมีความจําเปนจะตองตั้งอยูใกลสถานที่กอสรางหรือชุมชน เพื่อความสะดวกในการคมนาคมขนสง หากอยูหางไกลจะเกิดปญหาสิ้นเปลืองพลังงานน้ํามันเชื้อเพลิงในการขนสงผลิตภัณฑ ปญหาจราจรติดขัด ปญหางานกอสรางลาชา และปญหาการควบคุมคณุภาพผลิตภัณฑ เปนตนดังนั้น โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ โดยเฉพาะประเภทโรงงานเฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง จึงมีความจําเปนที่จะตองใหตั้งไดในพื้นที่ที่มีโครงการกอสราง แตก็ตองมีมาตรการควบคุม ปองกันและแกไขปญหาเหตุเดือดรอนรําคาญใหเหมาะสมกับสภาพการณ

Page 5: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 2 -

2. เหตุเดือดรอนรําคาญที่มีผลกระทบตอประชาชนและสภาพแวดลอม

เนื่องจากการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เปนการนําปูนซิเมนต หิน ทราย น้ํา และสารผสมเพิ่มอ่ืนๆมาผสมเปนคอนกรีตผสมเสร็จในโรงงาน ซ่ึงอาจจะกอปญหามลภาวะ สรางความเดือดรอนรําคาญตอผูอยูอาศัยใกลเคียง และมีผลกระทบตอสภาพแวดลอม เกี่ยวกับฝุนละออง และเสียงดัง จากการขนสงและลําเลียงปูนซิเมนต หิน ทราย และจากการผสมคอนกรีต รวมทั้งปญหาน้ําเสียและกากคอนกรีตจากการลางเศษคอนกรีต เปนตน

โรงงานจึงจําเปนตองมีมาตรการควบคุมปองกันและแกไขปญหาดังกลาว เพื่อมิใหเกิดเหตุเดือดรอนรําคาญตอประชาชนและสภาพแวดลอม

3. การควบคุมดูแลโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ

3.1 โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จเฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดออกประกาศ กําหนดหลักเกณฑการพิจารณา

หนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 วาดวยสถานที่ตั้งหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง การยกเลิกหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จเมื่อ โครงการกอสรางแลวเสร็จ มาตรการดานการรักษาสิ่งแวดลอม การขอหนังสือรับรองและการออกหนังสือรับรองการตั้งหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง

ดังนั้น การตั้งโรงงานเฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง ตามหลักเกณฑการพิจารณาหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสรางดังกลาว จึงไมตองขอรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แตจะตองขอหนังสือรับรองการตั้งหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง

Page 6: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 3 -

3.2 โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เพื่อใหบริการทั่วไป

กรมโรงงานอุตสาหกรรม ไดออกประกาศกําหนดหลักเกณฑการปฏิบัติในการประกอบกิจการโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จในเขตกรุงเทพมหานคร ประกาศ ณ วันที่ 13 กันยายน 2544 วาดวยการควบคุมปองกัน ฝุนละออง เสียงดัง น้ําทิ้ง และกากคอนกรีต เปนตน เพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาตและการปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ ไมใหมีผลกระทบตอประชาชน และสภาพแวดลอมจากการประกอบกิจการโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ

โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เพื่อใหบริการทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานคร จึงตองดําเนินการตามหลักเกณฑการปฏิบัติในการประกอบกิจการโรงงานดังกลาวอยางเครงครัด

4. มาตรฐานการตรวจสอบโรงงาน

คูมือฉบับนี้ไดกําหนดมาตรฐานการตรวจสอบ ไดแก มาตรการควบคุมมลพิษ และมาตรการสงเสริมความปลอดภัยของโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ ที่สอดคลองกับกฎระเบียบตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม รวมทัง้ไดจัดทําแบบรายงานการตรวจสอบโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เพื่อเปนแนวทางในการตรวจสอบโรงงานของเจาหนาที่ดวย กรณีโรงงานมีมาตรการตางจากคูมือฉบับนี ้ แตมาตรฐานเทียบเทาหรือสูงกวา ใหถือวาปฏิบัติตามมาตรการในคูมือ

Page 7: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 4 -

บทที่ 1. ลักษณะของการประกอบกิจการ

1.1 คอนกรีตผสมเสร็จคืออะไร

คอนกรีตผสมเสร็จ คือ สวนผสมของปูนซีเมนต หิน ทราย น้ํา และสารผสมเพิ่มอ่ืนๆ ที่ผสมกันเบ็ดเสร็จจากโรงงาน ซ่ึงตั้งอยูนอกหรือในหนวยงานกอสราง รวมถึงบริการจัดสงไป ณ หนวยงานกอสรางโดยรถผสมคอนกรีต ดังนั้นสามารถสรุปไดวา ธุรกิจคอนกรีตผสมเสร็จเปนทั้งการขายผลิตภัณฑ และการขายบริการ

1.2 กระบวนการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ

การผลิตคอนกรีตผสมเสร็จที่ไดมาตรฐาน จะเริ่มจากการตรวจสอบคุณสมบัติของสวนผสมตางๆ อันไดแก หิน ทราย ที่ไดเลือกจากแหลงที่มีคุณภาพดี มีสวนคละถูกตองตามมาตรฐาน มาจัดกองเก็บ ไมใหผสมกัน สวนปูนซเีมนตจะถูกบรรจุไวในไซโลอยางมิดชิด และน้ํายาผสมคอนกรีตจะถูกบรรจุในภาชนะเฉพาะอยางมิดชิดเชนกัน วัตถุดิบดังกลาวจะถูกลําเลียงสูขบวนการผลิตตอไป

กระบวนการผลิตเริ่มจาก การลําเลียงหิน ทราย ปูนซิเมนต และสารผสมอื่นๆ(ถาม)ี เชน เถาลอย ผานเครื่องชั่งใหมีน้ําหนักถูกตองตามที่ออกแบบไว โดยในขั้นตอนนี้จะตองคํานึงถึงสภาพความชื้นของหินทรายดวย เพราะหินทรายอาจจะไมอยูในสภาพที่ออกแบบ หรือสภาพอิ่มตัว ผิวแหง ซ่ึงจะตองปรับน้ําหนกัหินทราย และน้ําใหถูกตอง สวนน้ําและน้ํายาผสมคอนกรีตจะผานเครื่องชั่งหรือวัดปริมาตร แลวนําเขามาผสมกันในเครื่องผสมคอนกรีต ซ่ึงจะตองผสมคอนกรีตตามเวลาที่กําหนด ใหมีความเที่ยงตรง สม่ําเสมอ และรวดเร็ว คอนกรีตที่ผสมเสร็จเรียบรอยแลว จะถูกลําเลียงลงสูรถผสมคอนกรีตเพื่อนําไปสงยังหนวยงานกอสราง

Page 8: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 5 -

กระบวนการผลิตสามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้

1.3 โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ

รูปแบบโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จทั่วๆไป สามารถแบงได 2 ลักษณะ คือ 1.3.1 โรงงานแนวตั้ง (Vertical Production Plant) วัตถุดิบถูกบรรจุไวในไซโล เมื่อตองการใชงาน วัตถุดิบเหลานี้จะถูกปลอยลงสู

กะบะชั่งน้ําหนักดวยน้ําหนักของตัวมันเอง จากนั้นจะถูกลําเลียงสูเครื่องผสมหรือรถผสมคอนกรีต

รูปที่ 1 กระบวนการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ

Page 9: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 6 -

โรงงานลักษณะนี้ ไดแกโรงงานแบบ Tall silo และ Tower Plant

รูปที่ 3 โรงงานแบบ Tall silo

รูปที่ 2 โรงงานแนวตั้ง

ตัวกระจายหิน-ทราย

ไซโล หิน-ทราย

ไซโล ซิเมนต

เครื่องผสม

ภายในไซโลถูกแบงเพื่อใสหิน-ทราย

กะบะลําเลียงหิน-ทราย

Page 10: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 7 -

รูปที่ 4 โรงงานแบบ Tower plant

1.3.2 โรงงานแนวนอน (Horizontal Production Plant) โรงงานลักษณะนี้วัตถุดิบจะถูกเก็บ และลําเลียงมาชั่งน้ําหนักและผสมโดยใช

สายพาน หรือสกรู

รูปที่ 5 หนิทรายอยูในลักษณะ Star-Pattern

รูปที่ 6 หนิทรายถูกลําเลียงเก็บไวใน Pocket ไซโล

Page 11: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 8 -

รูปที่ 7 หินทรายถูกลําเลียงเก็บไวใน In-line ไซโล

โรงงานลักษณะนี้ไดแก โรงงานแบบ Star และโรงงานแบบ In-line silo (Mobile) เปนตน

รูปที่ 8 โรงงานแบบ Star

รูปที่ 9 โรงงานแบบ Inline silo (Mobile)

Page 12: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 9 -

1.4 รถผสมคอนกรีต รถผสมคอนกรีตโดยทั่วไปมีอยู 2 ประเภท คอื 1.4.1 รถกวนคอนกรีต (Truck Agitator) ใชสําหรับบรรทุกคอนกรีตที่ผสมเสร็จ

เรียบรอยจากโรงงานไปยังหนวยงานกอสราง ซ่ึงโมจะหมุนระหวางการเดินทางดวย มีใบปาดทาํหนาที่ เพื่อปองกันไมใหคอนกรีตเกิดการแยกตัว

1.4.2 รถผสมคอนกรีต (Truck Mixer) ใชงานเชนเดียวกับ รถกวนคอนกรีต แตรถประเภทนี้ภายในจะมีใบผสมซ่ึงสามารถใชผสมคอนกรีตได

ขนาดของรถผสมคอนกรีตสวนใหญที่ใชทั่วไปในประเทศไทย จะมีความจ ุ 5-7 ลบ.ม.

รูปที่ 11 รถผสมคอนกรีต

Page 13: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 10 -

บทที่ 2. การพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

2.1 โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จเฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง

โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จประเภทนี้ ไมถือวาอยูในเจตนารมยของพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ออกตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง จึงไมตองขอรับใบอนญุาตประกอบกิจการโรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แตโรงงานตองอยูในบริเวณหนวยงานกอสรางหรือในกรณีหนวยงานกอสรางมีพื้นที่ไมเพียงพอ ตองตั้งอยูภายในระยะหนึ่งกิโลเมตรจากหนวยงานกอสราง และจะตองขอหนังสือรับรองการจัดตัง้หนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง ตอกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู

ทั้งนี ้ กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดออกประกาศเรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2546 มีขอกําหนด ดังนี้ คือ

2.1.1 สถานที่ตั้งหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง

(1) โครงการกอสรางที่มีพื้นที่เพียงพอในการจัดตั้งหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง

- หนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จตองตั้งภายในบริเวณโครงการกอสราง - ใหผูรับเหมาโครงการกอสรางมีหนังสือรับรองการตั้งหนวยงาน

คอนกรีตผสมเสร็จในบริเวณกอสราง และแสดงระยะเวลาดําเนินการแลวเสร็จของโครงการ หรือเอกสารอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน

(2) โครงการกอสรางที่มีพืน้ที่ไมเพียงพอในการตัง้หนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในบริเวณโครงการกอสรางนั้น

Page 14: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 11 -

- หนวยงานกอสรางคอนกรีตผสมเสร็จ จะตองตั้งอยูหางจากโครงการกอสรางเปนระยะทางไมเกินหนึ่งกิโลเมตร

- ใหผูรับเหมาโครงการกอสรางมีหนังสือรับรองการตั้งหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จเพือ่ประโยชนของการกอสรางในโครงการ และแสดงระยะเวลาดําเนินการแลวเสร็จของโครงการ หรือเอกสารอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน

2.1.2 ระยะเวลาดําเนินการ

เมื่อโครงการกอสรางดําเนินการแลวเสร็จ หรือโครงการกอสรางตองยุติลงไมวาดวยเหตุใดก็ตาม หนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จจะตองยกเลิกและรื้อถอนออกไป

2.1.3 มาตรการดานการรักษาสิ่งแวดลอม (1) จะตองจัดทําแผงกั้นปองกันการฟุงกระจายของฝุนละออง ที่มี

ประสิทธิภาพ เชนวัสดุจําพวกพลาสติกบังแดดรอบโรงงาน มีความสูงทั้งหมดนับจากพื้น ไมนอยกวา 4 เมตร โดยสวนลางตองเปนผนังทึบสูงไมนอยกวา 2 เมตร

(2) ตองจัดใหมีระบบฉีดน้าํวัตถุดิบบนรถบรรทุก เพื่อปองกันการฟุงกระจายของฝุนละอองขณะเทวัตถุดิบลงในบริเวณที่เก็บ หรือมาตรการอื่นที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

(3) ตองมีมาตรการปองกันการฟุงกระจายของฝุนละอองจากกองวัตถุดิบในขณะปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ

(4) ตองจัดใหมีบริเวณสําหรับลางทําความสะอาดรถบรรทุกกอนออกจากโรงงาน

(5) ตองจัดใหมีเครื่องผสมคอนกรีตอยูภายในหองที่ทําดวยวัสดุ ที่สามารถปองกันเสียงดังจากการทํางานของเครื่องจักร

(6) ตองจัดใหมีบอคายกากคอนกรีตที่มีความจุไมนอยกวา 10 ลูกบาศกเมตร

Page 15: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 12 -

2.1.4 การขอหนังสือรับรองและการออกหนังสือรับรองการตั้งหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง

(1) ผูประกอบการที่ประสงคตั้งหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จ ในหนวยงานกอสรางใหยื่นคําขอโดยทําหนังสือ พรอมเอกสารหลักฐานตามที่กําหนด ในเขตกรุงเทพมหานครใหยื่นตอกรมโรงงานอตุสาหกรรม ในจังหวัดอืน่ใหยื่นตอสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่ที่โครงการกอสรางตั้งอยู

(2) เมื่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดแลวแตกรณี พิจารณาแลวเห็นวาเปนการตั้งหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง ก็ใหออกหนังสือรับรองใหเพื่อแสดงใหทราบวา เปนหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จเฉพาะกิจการในหนวยงานกอสรางเทานั้น มิใชโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จโดยทั่วไป หากเหน็วาไมเขาขายเปนการตั้งหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสราง ก็ใหออกหนังสือแจงผูประกอบกิจการเพื่อใหยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานตอไป

(3) หนังสือรับรองเพื่อแสดงวาเปนหนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จในหนวยงานกอสรางใหจัดทําเปนหนังสือราชการภายนอกแจงตอผูประกอบกิจการที่ยื่นคําขอ ทั้งนีก้ารออกหนังสือรับรองสําหรับโครงการในเขตกรุงเทพมหานครจะตองพิจารณาตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ดังนี้คือ - หนวยงานคอนกรีตผสมเสร็จ(ช่ัวคราว) ตามเงื่อนไขขอ 10 กําหนดใหตั้งชั่วคราวในหนวยสถานที่กอสรางหรือบริเวณใกลเคียง - ไมอนุญาตใหตั้งในที่ดินประเภท ย.1 ศ.1 และ ศ. 2

2.2 โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จเพื่อใหบริการทั่วไป

การประกอบกิจการโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จเพื่อใหบริการทั่วไป เปนโรงงานที่จัดอยูในประเภทหรือชนิดของโรงงานลําดับที่ 58(1) แหงกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ซ่ึงกรณีที่ใช

Page 16: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 13 -

เครื่องจักรมีขนาดไมเกิน 50 แรงมา เปนโรงงานจําพวกที่ 2 และกรณีโรงงานที่ใชเครื่องจักรมีขนาดเกินกวา 50 แรงมา เปนโรงงานจําพวกที่ 3 ที่การตั้งและประกอบกิจการตองไดรับใบอนญุาตประกอบกิจการโรงงานกอนจึงจะดําเนินการได

การออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน มีหลกัเกณฑการพิจารณา ดังตอไปนี้

2.2.1 หลักเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวง และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมที่ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

(1) หลักเกณฑเกี่ยวกับที่ตั้งและสภาพแวดลอมของโรงงาน ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

(2) หลักเกณฑเกี่ยวกับระยะทางระหวางโรงงาน และเขตติดตอสาธารณะสถานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องใหรนหรือไมใหใชขอกําหนดเกี่ยวกับระยะทางระหวางโรงงานและเขตสาธารณสถาน พ.ศ. 2545

- ไมบังคับการหามตั้งโรงงานภายในระยะดังกลาว สําหรับโรงงาน จําพวกที่ 2

- ใหรนระยะทางดังกลาวจากไมนอยกวา 100 เมตร เปนไมนอยกวา 50 เมตร สาํหรับโรงงานจําพวกที่ 3 ภายใตเงื่อนไข ตองมีไมยืนตนตลอดแนวพื้นที่กันชน

(3) หลักเกณฑเกี่ยวกับการกําจัดกากคอนกรีตตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไมใชแลว พ.ศ. 2548

- กากคอนกรีตเปนสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไมใชแลวจากการกอสราง และการรื้อทําลายสิ่งกอสราง รวมถึงดินที่ปนเปอนตามชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตามรหัส 17 01 01 : คอนกรีต (concrete)

- วิธีการกาํจัดกากคอนกรีต คือ การถมทะเลหรือที่ลุม (Land Reclamation) ตามรหสั 082

Page 17: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 14 -

2.2.2 หลักเกณฑทําเลสถานที่ตั้งโรงงานตามกฎกระทรวง วาดวยการบังคับใชผังเมืองรวม ตามกฎหมายวาดวยการผังเมืองในทองที่ตั้งโรงงาน เชน ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2549 จะไมอนุญาตใหตั้งโรงงานประเภทนี้

2.2.3 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่องหลักเกณฑการปฏิบัติในการประกอบกิจการโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ ประกาศ ณ วันที่ 13 กันยายน 2544

เพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาตและการปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ สําหรับโรงงานในเขตกรุงเทพมหานคร

(1) จะตองจัดทําแผงกั้นปองกันการฟุงกระจายของฝุนละอองที่มีประสิทธิภาพ เชน วัสดุจําพวกพลาสติกบังแดดรอบโรงงาน มีความสูงทั้งหมดจากพื้น ไมนอยกวา 6 เมตร โดยสวนลางตองเปนผนังทึบสูงไมนอยกวา 2 เมตร

(2) ตองจัดใหมีระบบฉีดน้ําวัตถุดิบบนรถบรรทุก เพื่อปองกันการฟุงกระจายของฝุนละอองขณะเทวัตถุดิบลงในบริเวณที่เก็บ หรือมาตรการอื่นที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ

(3) ตองมีมาตรการปองกันการฟุงกระจายของฝุนละอองจากกองวัตถุดิบในขณะปฏิบัติงาน ที่มีประสิทธิภาพ

(4) ตองจัดใหมีบริเวณสําหรับลางทําความสะอาดรถบรรทุกกอนออกจากโรงงาน

(5) ตองจัดใหเครื่องผสมคอนกรีตอยูภายในหองที่ทําดวยวัสดุที่สามารถปองกันเสียงดังจากการทํางานของเครื่องจักร

(6) พื้นที่บริเวณที่ใชสําหรับประกอบกิจการโรงงาน ตองเปนคอนกรีตหรอืแอสฟลตผิวเรียบ มีระดบัความลาดเอียงงายตอการทําความสะอาดดวยน้ํา และใหมีรางระบายน้ําโดยรอบ เพื่อรวบรวมน้ําลงสูบอบําบัด

(7) ตองจัดใหมบีอคายกากคอนกรีตที่มีความจุไมนอยกวา 20 ลูกบาศกเมตร

Page 18: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 15 -

บทที่ 3. การตรวจติดตาม กํากับ ดูแลโรงงาน

การตรวจสอบ กํากับ ดูแลโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ โดยทั่วไปจะเปนการ

ควบคุมดูแลโรงงานเพื่อมุงเนนการปองกันและแกไขปญหาจากการประกอบกิจการของโรงงาน ที่จะมีผลกระทบตอชุมชนหรือแหลงที่อยูอาศัยของประชาชนเปนสําคัญ

ดังนั้น การตรวจสอบโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ จะตองมุงเนนใหโรงงานมีมาตรการควบคุมมลพษิ และมาตรการสงเสริมความปลอดภัยเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดอยางเครงครัด เวนแตโรงงานในสวนภูมิภาคที่ตัง้อยูนอกเขตเทศบาล หรือนอกเขตชุมชนอาจพิจารณาผอนคลายมาตรการควบคุมมลพิษตามความจําเปนตอการปองกันและแกไขปญหาเหตุเดือดรอนรําคาญใหเหมาะสมกับที่ตัง้ และสภาพแวดลอมของโรงงานนั้นๆ

คูมือฉบับนีไ้ดกําหนดมาตรฐานการตรวจสอบโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ ใหโรงงานมีมาตรการควบคุมมลพษิ และมาตรการสงเสริมความปลอดภัย ดังนี้

3.1 มาตรการควบคุมมลพิษ

3.1.1 ฝุนละออง

แหลงกําเนิด มาตรการ

1) การสัญจรในบริเวณโรงงานของรถบรรทุก และรถโม ซ่ึงแลนผานถนนที่มีปริมาณฝุนละอองสะสมตัวอยูมากทําใหเกิดการฟุงกระจายขึ้น

- ทําพื้นคอนกรีตหรือแอสฟลสผิวเรียบที่มีระดับความลาดเอียงเหมาะสมกบัการทํา ความสะอาดดวยน้ํา (เฉพาะโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จเพื่อใหบริการทั่วไป)

Page 19: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 16 -

แหลงกําเนิด มาตรการ

2) การเท (Upload) หิน ลงบนกอง Stock 3) การโกยและลากหิน ทรายดวยระบบกะบะ (Scrapper Bucket) ในโรงงานแบบ Star type 4) ฝุนละอองจากลมพัดผานกองหินทราย หรือถนนภายในโรงงานที่มีฝุนละอองสะสม

- ทําความสะอาดกําจัดฝุนละอองตามพื้น อยางสม่ําเสมอ ไมมฝีุนละอองสะสม (เฉพาะโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จเพื่อใหบริการทั่วไป)

- มีแผงกั้นปองกันการฟุงกระจายของฝุนละอองที่มีประสิทธิภาพ เชน วสัดุบังแดดรอบโรงงาน มีความสูงทั้งหมดจากพื้น ไมนอยกวา 6 เมตร (ไมนอยกวา 4 เมตร กรณีโรงงานเฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง) โดยสวนลางตองเปนผนังทึบสูงไมนอยกวา 2 เมตร

- จัดใหมีระบบ Spray น้ํารถบรรทุกหินให เปยกกอนเทลงบนกองวัตถุดิบ - มีระบบ Sprinkler ฉีดน้ําใหครอบคลุมกอง หิน ทราย ในแผง Stock วัตถุดิบ

- ตามขอ 1) และขอ 2)

Page 20: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 17 -

แหลงกําเนิด มาตรการ

5) ฝุนละอองที่ติดอยูตามลอรถบรรทุกหิน ทราย และรถโมผสมคอนกรีต 6) ฝุนจากเครื่องผสมคอนกรีต (Mixer) 7) การลําเลียงปูนซิเมนตผงหรือเถาลอยเขาสูไซโล

- จัดใหมีระบบลางทําความสะอาดลอรถบรรทุก และรถโมผสมคอนกรีต กอนออกจากโรงงาน

- เปนระบบปดที่สามารถปองกันฝุนได - ติดตั้งเครื่องกรองฝุนแบบถุงกรอง (Bag

filter) - ตรวจสอบถุงกรองใหอยูในสภาพดีสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธภิาพ

- มีกฎใหพนักงานปฏิบัติอยางเครงครัดในการลําเลียง(เปาปูนผง) เขาสูไซโลเพื่อปองกันฝาไซโลระเบิด หรือขอตอร่ัว

3.1.2 น้ําเสีย

แหลงกําเนิด มาตรการ

1) การลางเศษคอนกรีตของรถโมผสมคอนกรีต

- มีบอคายกากคอนกรีตที่มีความจุไมนอยกวา 20 ลูกบาศกเมตร (ไมนอยกวา 10 ลูกบาศกเมตร กรณีโรงงานเฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง) และบอพักน้ําโดยมีคันคอนกรีต (Bund) ลอมรอบบอ

Page 21: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 18 -

แหลงกําเนิด มาตรการ

2) การลางเศษคอนกรีตจากเครื่องผสมคอนกรีต 3) การลางทําความสะอาดรถบรรทุกและรถโมผสมคอนกรีต หรือบอลางลอรถ

- มีรางระบายน้ําเพื่อรวบรวมน้ําเสียทั้งหมดลงสูบอคายกากคอนกรีต (มีรางระบายน้ําโดยรอบพื้นที่โรงงาน กรณีโรงงานผลิตคอนกรีตเพื่อใหบริการทั่วไป)

- มีรางระบายน้ําเพื่อรวบรวมน้ําเสียทั้งหมดลงสูบอคายกากคอนกรีต (มีรางระบายน้ําโดยรอบพื้นที่โรงงาน กรณีโรงงานผลิตคอนกรีตเพื่อใหบริการทั่วไป)

3.1.3 กากคอนกรีต

แหลงกําเนิด มาตรการ

1) การลางเศษคอนกรีตของรถโมผสมคอนกรีต และเครื่องผสมคอนกรีต

- มีบอคายกากคอนกรีตที่มีความจุไมนอยกวา 20 ลูกบาศกเมตร (ไมนอยกวา 10 ลูกบาศกเมตร กรณีโรงงานเฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง) และบอพักน้ําโดยมีคัน คอนกรีต (Bund) ลอมรอบบอ

Page 22: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 19 -

แหลงกําเนิด มาตรการ

- มีการนําไปใชประโยชน ถมทะเลหรือที่ลุม (Land Reclamation) โดยไดรับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม

3.1.4 เสียงดัง

แหลงกําเนิด มาตรการ

1) รถบรรทุก และรถโมผสมคอนกรีต

2) เครื่องผสมคอนกรีต

- มีกฎใหพนักงานขับรถปฏิบัติอยางเครงครัดเพื่อปองกันเสียงดัง

- หลีกเลี่ยงการทํางานในเวลากลางคืน - เครื่องผสมคอนกรีตอยูภายในหองที่ทําดวยวัสดุที่สามารถปองกันเสียงดังได

Page 23: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 20 -

3.2 มาตรการสงเสริมความปลอดภัย 3.2.1 เครื่องจักรอุปกรณ

พ้ืนที่ มาตรการ

1) เครื่องยกวัตถุดิบ (Skip hoist)

2) เครื่องลําเลียงวัตถุดิบ (Conveyor) 3) เครื่องโกยและลากวัตถุดิบ (Scrapper) 4) เครื่องผสมคอนกรีต (Mixer) 5) เครื่องปมลม (Air Compressor)

- มีการดทําดวยตะแกรงเหล็กครอบ ปองกันอันตราย

- มีปาย “ อันตรายหามเขา ” - มีขอปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย - มีการดทําดวยตะแกรงเหล็กครอบสวนที่หมุนได และสวนที่สงกําลัง

- มีฝาครอบปองกันวัสดุตกหลน - มีสวิทซฉุกเฉินบังคับหยุดทํางาน - สภาพกะบะ (Bucket) มีหูมั่นคงแข็งแรง - มีการดครอบปองกันสวนที่เปนอันตราย - มีผาใบปองกันวัสดุตก

- มีการดครอบปองกันสายพานหรือพัดลม

Page 24: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 21 -

3.2.2 ภาชนะบรรจ ุ

พ้ืนที่ มาตรการ

1) ไซโลเก็บปูนซิเมนต(Silo)

2) ถังเก็บน้ํายาผสมคอนกรีต

- มีสายลอฟา - ทางเดินหรือทางขึ้นไซโลตองมีราวกันตกที่ความสูงตั้งแต 4 เมตรขึ้นไป

- มีเขื่อนกั้นหรือวิธีการปองกันการหกร่ัวไหล

- มีปายระบุช่ือสารเคมี - มีเอกสารขอมูลความปลอดภัย (MSDS.)

3.2.3 ระบบไฟฟา

พ้ืนที่ มาตรการ

1) หมอแปลง และตูจายกระแสไฟฟา

(MDB.)

- มีร้ัวกั้นบริเวณชัดเจน - มีการตอสายดินอยางถูกตอง - มีปายความปลอดภยั “ระวังอันตรายจากไฟฟา ” และ “อันตรายหามเขา ”

- มีขอปฏิบตัิตามกฎความปลอดภัย

Page 25: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 22 -

3.2.4 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

อุปกรณ มาตรการ 1) หมวกนิรภยั เข็มขัดนิรภัย แวนตานิรภัย หนากากกันฝุน ที่อุดห/ูที่ครอบหู รองเทานิรภัย

- มีอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ตามความจําเปนและเหมาะสม

- มีแนวปฏิบตัิสําหรับพนักงานในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- พนักงานสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลขณะปฏิบัติงาน

Page 26: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 23 -

บทที่ 4 ปญหาที่มักจะเกิดข้ึน และแนวทางแกไข

ปญหาที่มักจะเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จบอยๆ

ไดแก เหตุเดือดรอนรําคาญซึ่งมีผลกระทบตอประชาชนและสภาพแวดลอม จากฝุนละอองที่เกิดขึ้นในการขนสงและลําเลียงวัตถุดิบ ปูนซีเมนต หิน ทราย ทั้งนี้สามารถจําแนกแหลงกําเนิดและสาเหตุของการเกิดฝุนละออง รวมทั้งแนวทางแกไข ตามลําดับความสําคญัของปญหา ไดดังนี ้

แหลงกําเนิดและสาเหตุ แนวทางแกไข

1) การลําเลียงปูนซิเมนตผงหรือเถาลอยเขาสูไซโล

- จัดใหมีเครื่องกรองฝุนแบบถุงกรอง (Bag filter)

- ตรวจสอบถุงกรองใหอยูในสภาพดีสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธภิาพ

- มีขั้นตอนปฏิบัติในการลําเลียง(เปาปูนผง) เขาสูไซโลเพื่อปองกันฝาไซโลระเบิด หรือขอตอร่ัว ดังนี้

1. ตรวจสอบฝาเตาปนู ใหปดแนนสนิทกอนทําการเปา

2. ใชแรงดันเปาไมเกิน 2 บาร 3. หลังเปาหมดใหเปาตออีก 3 นาที จึงดับเครื่องยนตอยางนอย 5 นาที กอนเปดฝาเตาปูนตรวจสอบปริมาณ

Page 27: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 24 -

แหลงกําเนิดและสาเหตุ แนวทางแกไข

2) การเท (Upload) หิน ลงบนกอง Stock 3) การสัญจรในบริเวณโรงงานของรถบรรทุก และรถโม ซ่ึงแลนผานถนนที่มีปริมาณฝุนละอองสะสมตัวอยูมาก และลมพัดผานกองหินทราย ถนน ทําใหเกิดการฟุงกระจายขึ้น 4) การโกยและลากหิน ทรายดวยระบบกะบะ (Scrapper Bucket) ในโรงงานแบบ Star type

- จัดใหมีระบบ Spray น้ํารถบรรทุกหินให เปยกกอนเทลงบนกองวัตถุดิบ - ทําความสะอาดกําจัดฝุนละอองตามพื้น อยางสม่ําเสมอ ไมมฝีุนละอองสะสม

- มีแผงกั้นปองกันการฟุงกระจายของฝุน ละอองที่มีประสิทธภิาพ เชน วัสดุบังแดด รอบโรงงาน - จัดใหมีระบบ Sprinkler ฉีดน้ําใหครอบคลุมกอง หิน ทราย ในแผง Stock วัตถุดิบ

Page 28: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 25 -

ภาคผนวก

ภาคผนวกประกอบดวย - ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ - ภาพแสดงมาตรการควบคุมมลพิษ - ภาพแสดงมาตรการสงเสริมความปลอดภัย - แบบตรวจสอบโรงงาน

Page 29: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 26 -

ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ

Page 30: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 27 -

Page 31: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 28 -

Page 32: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 29 -

Page 33: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 30 -

Page 34: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 31 -

Page 35: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 32 -

ภาพแสดงมาตรการควบคุมมลพิษ

Page 36: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 33 -

ภาพ แสดงพื้นคอนกรีตหรือแอสฟลสผิวเรียบที่มีระดับความลาดเอียง

และรางระบายน้ํา

ภาพ แสดงแผงกั้นปองกันการฟุงกระจายของฝุนละออง

พื้นคอนกรีตหรือแอสฟสดผิวเรียบ

แผงกันฝุน สวนลางเปนผนงัทึบ

รางระบายน้าํ

Page 37: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 34 -

ภาพ แสดงระบบฉีดน้าํรถบรรทุกหิน

ภาพ แสดงระบบสเปรยน้ําปองกันการฟุงกระจายของฝุนละออง จากกองวัตถุดิบ

ภาพ แสดงบริเวณลางทําความสะอาดรถบรรทุก กอนออกจากโรงงาน

ตําแหนงจุดฉดีน้ําวัตถุดิบบนรถบรรทุกหนิ

ตําแหนงจุดฉดีน้ําวัตถุดิบบริเวณพื้นที่สตอค

ตําแหนงจุดฉดีน้ําลางทําความสะอาดกอนออกจากโรงงาน

Page 38: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 35 -

ภาพ แสดงเครื่องผสมที่เปนระบบปดปองกันฝุนฟุงกระจาย

ภาพ แสดงเครื่องกรองฝุนแบบถุงกรองในการลําเลียงปูนซีเมนตเขาสูไซโล

ภาพ แสดงบอคายกากคอนกรีตและบอพักน้ํา

เครื่องผสมที่มีฝาปดมิดชิด

เครื่องกรองฝุนแบบถุงกรอง

บอคายกากคอนกรีตและบอพักน้ํา

Page 39: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 36 -

ภาพแสดงมาตรการสงเสริมความปลอดภัย

Page 40: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 37 -

เครื่องยกวัตถุดิบ (Skip Hoist)

เครื่องลําเลียงวัตถุดิบ

- มีการดเครื่องจักรทําดวยตะแกรงเหลก็ครอบสวนทีห่มุนได และสวนทีส่งกําลัง

- มีฝาครอบปองกันวัสดุตกหลน - มีสวิทชฉุกเฉนิบังคับหยุดการทํางาน

- มีการดทําดวยตะแกรงเหล็กครอบ ปองกันอันตราย

- มีปาย ”อันตรายหามเขา” - มีขอปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย

เครื่องโกยและลากวัตถุดิบ (Scrapper)

- สภาพกะบะ (Bucket) มีหูยึดที่ม่ันคงแข็งแรง

Page 41: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 38 -

เครื่องผสมคอนกรีต (Mixer)

- มีการดครอบปองกันสวนที่เปนอันตราย

เครื่องปมลม (Air Compressor)

- มีการดครอบปองกันสายพานหรือพัดลม

- มีผาใบปองกันวัสดุตก

Page 42: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 39 -

หมอแปลงและตูจายกระแสไฟฟา (MDB)

- มีสายลอฟา - ทางเดินหรือทางขึ้นไซโลตองมีราวกันตกที่ความสูงตั้งแต 4 เมตรขึ้นไป

ไซโลเก็บปูนซิเมนต (Silo)

- มีร้ัวกั้นบริเวณชัดเจน - มีการตอสายดินอยางถูกตอง - มีปายความปลอดภัย “ระวังอันตรายจากไฟฟา” และ “อันตรายหามเขา”

ถังเก็บน้ํายาผสมคอนกรีต - มีเขื่อนกั้นปองกันการหกรั่วไหล - มีปายระบุชื่อสารเคมี - มีเอกสาร MSDS

Page 43: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 40 -

รองเทานิรภัยรองเทานิรภัย หมวกหมวกนิรภัยนิรภัย

เข็มขัดนิรภัยเข็มขัดนิรภัย

อุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล

แวนตานิรภัยแวนตานิรภัย

หนากากกันฝุนหนากากกันฝุน ท่ีอุดหู ท่ีอุดหู / / ครอบหูครอบหู

Page 44: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 41 -

ปายความปลอดภัย

Page 45: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 42 -

Page 46: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 43 -

Page 47: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 44 -

แบบตรวจสอบโรงงาน

Page 48: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 45 -

แบบตรวจสอบโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง เพื่อใหบริการทั่วไป ทะเบียนโรงงานเลขที่.................................

ขอมูลท่ัวไป 1. ขอมูลผูประกอบการ สถานภาพโรงงาน ยังไมแจงเร่ิม ประกอบกิจการ หยุดประกอบชั่วคราว เลิกกิจการ วันที่เร่ิมดําเนนิการ …………………….....

1.1 ช่ือ (ไทย) ………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... (อังกฤษ) .............…………………………………….……………………………………………………………………………....................................... บุคคลธรรมดา เลขที่บัตรประชาชน นิติบุคคล เลขประจําตัวผูเสียภาษี

1.2 สํานักงานเลขที…่…………………………………… หมูที…่….. ตรอก/ซอย…………..……………… ถนน …………………………………............... ตําบล/แขวง……………….……… อําเภอ/เขต………………………… จังหวัด…………………………….... รหัสไปรษณีย…………….................

โทรศัพท………………….………………… โทรสาร…..........…………..……E-mail……........…………………………………………………….. 2. ขอมูลโรงงาน

2.1 ช่ือโรงงาน (ไทย) ……………………………....................………………………………………………………………………………………………………. (อังกฤษ) ……......................................…………..………………………….……………………………………………………………………………

2.2 ที่ตั้งโรงงาน ที่เดียวกับทีอ่ยูสํานักงาน (ใหขามขอ 2.1, 2.2 ไปกรอกขอ 2.3- 2.13) เลขที ่………………………….…………………..…หมูที…่.……….ตรอก/ซอย……………………ถนน…............……………………..………… แมน้ํา/คลอง………………………………………….ตําบล/แขวง…………………………………… อําเภอ/เขต......................................................... จังหวัด……………….……… ..............รหสัไปรษณยี…………...……… โทรศัพท………….....……………… โทรสาร.....................………………

2.3 E-mail………...................……………………………………………… Website …………………………………………………………………………. 2.4 เลขบัญชีข้ึนทะเบียนประกันสังคม 2.5 ช่ือเขตประกอบการอุตสาหกรรม / ช่ือนิคมอุตสาหกรรม ….........................................................................……………………………………………………. 2.6 ประเภทหรือชนิดของโรงงานลําดับที ่58(1)

2.7 รูปแบบโรงงาน Tall Silo Tower Plant Star In-line ………………………. วัตถุดิบหลัก ผลิตภัณฑหลกั

ช่ือ ปริมาณ/ป หนวย ช่ือ/เคร่ืองหมายการคา ปริมาณ/ป หนวย 1. ปูนซิเมนต เมตริกตนั 1. คอนกรีตผสมเสร็จ / ลบ.ม. 2. เถาลอย ,, 3. หิน ลบ.ม. 4. ทราย ,, 5. น้ํายาผสมคอนกรีต ลิตร 6.

2.8 แรงมาตามสิทธิ์ ….……….….……………แรงมา แรงมาตรวจพบ….……….….……….….……….แรงมา 2.9 จํานวนคนงาน รวม ….……….…. คน (ชาย ….……….คน หญิง ….……….คน) 2.10 จําพวกโรงงาน โรงงานจําพวกที่ 2 โรงงานจําพวกที่ 3 สิ้นอายุ พ.ศ. ..................................... 2.11 มูลคาสินทรัพย ณ ป พ.ศ. …………… เงินทุนหมุนเวียน……….……….………บาท คาที่ดิน……….……….……….บาท สิ่งปลูกสราง ………………………..บาท เคร่ืองมือเคร่ืองจักร ……….……….……….บาท

2.12 พิกัดตําแหนงที่ตัง้โรงงาน LONGITUDE (X)…………………. LATITUDE (Y) …………………………… 2.13 พ้ืนที่โรงงาน ……….……….……….ตร.ม.

3. อื่นๆ …….…………….…………….…………….…………….…………….…………….…………….…………….…………….…………….….

ลงชือ่ ………………………………....................…………ผูใหขอมูล (ตัวบรรจง) เบอรโทรศัพท ………………………….

ลงชือ่ …………………………………………................... ผูสํารวจ (ตัวบรรจง) วันที่สํารวจ ………/…………/……….

Page 49: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 46 -

ลงชื่อ…………………………………………………………….ผูตรวจ วันที่..................................................

มาตรการควบคุมมลพิษ

1. ฝุนละออง ใช ไมใช ขอเสนอปรับปรุงแกไข 1.1 มีพื้นคอนกรีตหรือแอสฟลสผิวเรียบที่มีระดับความ ..............................................................................................

ความลาดเอยีงเหมาะกับการทําความสะอาดดวยน้าํ .............................................................................................. (เฉพาะโรงงานประเภทเพื่อใหบริการทั่วไป) ..............................................................................................

1.2 มีการทําความสะอาดกําจัดฝุนละอองตามพื้นอยาง .............................................................................................. สม่ําเสมอ ไมมีฝุนละอองสะสมและฟุงกระจาย .............................................................................................. (เฉพาะโรงงานประเภทเพื่อใหบริการทั่วไป) .............................................................................................. 1.3 มีแผงกั้นปองกันการฟุงกระจายของฝุนละอองที่มี .............................................................................................. ประสิทธิภาพ เชนวัสดุบังแดดรอบโรงงาน มีความ .............................................................................................. สูงทั้งหมดจากพื้นไมนอยกวา 6 เมตร (ไมนอยกวา .............................................................................................. 4 เมตรกรณีเปนโรงงานเฉพาะกิจสําหรับโครงการ .............................................................................................. กอสราง)โดยสวนลางตองเปนผนังทึบสูงไมนอย ............................................................................................. กวา 2 เมตร .............................................................................................

1.4 มีระบบ Spray น้ํารถบรรทุกหินใหเปยกกอนเทลง ............................................................................................. บนกองวัตถุดิบ ............................................................................................. 1.5 มีระบบ Sprinkler ฉีดน้ําใหครอบคลุมกอง Stock หิน ............................................................................................ กอง Stock หิน ............................................................................................. 1.6 มีระบบลางทําความสะอาดลอรถบรรทุกและรถโม ............................................................................................ ผสมคอนกรีตกอนออกจากโรงงาน ............................................................................................ 1.7 เคร่ืองผสมคอนกรีต (Mixer) เปนระบบปดที่สามารถ ............................................................................................ ปองกันฝุนได ............................................................................................ 1.8 มีเคร่ืองกรองฝุนจากการลําเลียงปูนซิเมนตหรือ ............................................................................................ เถาลอยแบบถุงกรอง(Bag filter) ที่มีประสิทธิภาพ ............................................................................................. และมีขั้นตอนใหพนักงานปฏิบัติอยางเครงครัด ............................................................................................ 2. น้ําเสีย 2.1 มีบอคายกากคอนกรีตที่มีความจุไมนอยกวา 20 .............................................................................................. ลบ.ม. (ไมนอยกวา 10 ลบ.ม. กรณีเปนโรงงาน .............................................................................................. เฉพาะกิจสําหรับโครงการกอสราง) และมีบอพัก .............................................................................................. น้ําโดยมีคันคอนกรีต (Bund)ลอมรอบบอ .............................................................................................. 2.2 มีรางระบายน้ําเพื่อรวบรวมน้ําเสียทั้งหมด ............................................................................................. ลงสูบอคายกากคอนกรีต ............................................................................................. 3. กากคอนกรตี 3.1 มีการนําไปใชประโยชน ถมทะเลหรือที่ลุม ............................................................................................. (Land Reclaimation โดยไดรับอนุญาตจาก ............................................................................................. กรมโรงงานอุตสาหกรรม ............................................................................................. 4. เสียงดัง

4.1 เคร่ืองผสมคอนกรีต (Mixer) อยูภายในหองที่ …………………………………………………………….. ทําดวยวัสดุที่สามารถปองกันเสียงดังได …..........................................................................................

5. อื่นๆ (ระบุ)………………………………………… …… …………………………………………………………

Page 50: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 47 -

ลงชื่อ…………………………………………………………….ผูตรวจ วันที่..................................................

มาตรการสงเสริมความปลอดภัย

1. เครื่องยกวัตถดุิบ(Skip hoist) ใช ไมใช ขอเสนอปรับปรุงแกไข 1.1 มีการดทําดวยตะแกรงเหล็กครอบปองกัน ............................................................................................... อันตราย .............................................................................................. 1.2 มีปาย “ อันตรายหามเขา” ............................................................................................... 1.3 มีขอปฏิบตัิตามกฎความปลอดภัย ............................................................................................... 2. เครื่องลําเลียงวตัถุดิบ(Conveyor)

2.1 มีการดเครื่องจักรทําดวยตะแกรงเหล็ก ............................................................................................ ครอบสวนที่หมุนไดและสวนที่สงกําลัง ............................................................................................. 2.2 มีฝาครอบปองกันวัสดุตกหลน ...................................... …………………………………. 2.3 มีสวิทซฉุกเฉินบังคับหยุดทํางาน ............................................................................................

3. เครื่องโกยและลากวัตถุดิบ(Scrapper)

3.1 สภาพกระบะ (Bucket) มีหูมั่นคงแข็งแรง ............................................................................................. 4. เครื่องผสมคอนกรีต(Mixer) 4.1 มีการดครอบปองกันสวนที่เปนอันตราย .............................................................................................. 4.4 มีผาใบปองกันวัสดุตก ............................................................................................. 5. เครื่องปมลม 5.1 มีการดครอบปองกันสายพานหรือพัดลม …………………………………………………………… 6. ไซโลเก็บปูนซิเมนต หรือเถาลอย 6.1 มีสายลอฟา ............................................................................................ 6.2 มีราวกันตกที่ความสูงตั้งแต 4 เมตรขึ้นไป ............................................................................................

7. ถังเก็บน้ํายาผสมคอนกรตี

7.1 มีเขื่อนกั้นปองกันการหกรั่วไหล ............................................................................................. 7.2 มีปายระบุชื่อสารเคมี .............................................................................................

7.3 มีเอกสาร MSDS. ............................................................................................. 8. หมอแปลง และตูจายกระแสไฟฟา(MDB) 8.1 มีร้ัวกั้นบริเวณชัดเจน ……………………………………………………………. 8.2 มีการตอสายดินอยางถูกตอง ……………………………………………………………..

8.3 มีปายความปลอดภัย “ ระวังอันตรายจากไฟฟา” ……………………………………………………………. และ “ อันตรายหามเขา” ……………………………………………………………. 8.4 มีขอปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย ..……………………………………………………………

Page 51: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 48 -

ลงชื่อ…………………………………………………………….ผูตรวจ วันที่..................................................

9. อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใช ไมใช ขอเสนอปรับปรุงแกไข 9.1 มีอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ……………………………………………………………. ตามความจําเปนและเหมาะสม ……………………………………………………………. 9.2 มีแนวปฏิบัติสําหรับพนักงานในการใช ……………………………………………………………. อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ……………………………………………………………. 9.3 พนักงานสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ……………………………………………………………. สวนบุคคลขณะปฏิบัติงาน …………………………………………………………….

การปฏิบตัิตามเงื่อนไขตามใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

ปฏิบัติตามเงือ่นไขครบถวน ใช ไมใช (ขอเสนอแนะการปรับปรุงแกไข)............................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ................…………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปขอเสนอแนะการปรับปรุงแกไข

1. มาตรการควบคุมมลพิษ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................................……................................…

2. มาตรการสงเสริมความปลอดภัย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...................................................................................

3. การปฏิบัตติามเงือ่นไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...................................................................................................

Page 52: คู มือ¸ªข4/คอนกรีต.pdf1.3 โรงงานผล ตคอนกร ตผสมเสร จ 5 1.4 รถผสมคอนกร ต 9 บทท 2

- 49 -

เอกสารอางอิง

1. คอนกรีตผสมเสร็จซีแพค. คอนกรีตเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ, 2537. 2. กรมโรงงานอุตสาหกรรม. รายงานผลการศึกษาเพื่อทบทวนมาตรการ

ปองกันฝุนละอองจากโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ. กรุงเทพฯ, 2544.