ณฑ 2555 - silpakorn university · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม...

64
จินตนาการจากความทรงจํา โดย นางสาวหนึ่งฤทัย เผือกเพี้ยน วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2555 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หอ

Upload: others

Post on 15-Jul-2020

11 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

จินตนาการจากความทรงจํา

โดย นางสาวหน่ึงฤทัย เผือกเพี้ยน

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2555

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 2: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

จินตนาการจากความทรงจํา

โดย นางสาวหน่ึงฤทัย เผือกเพี้ยน

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2555

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 3: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

IMAGINATION FROM MEMORY

By Miss Neungruthai Puekpean

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Fine Arts Program in Visual Arts

Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2012

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 4: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนมัุติใหวิทยานพินธเร่ือง “ จินตนาการจากความทรงจํา ” เสนอโดย นางสาวหนึ่งฤทัย เผือกเพี้ยน เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป

……........................................................... (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

คณบดีบัณฑติวิทยาลัย วันท่ี..........เดอืน.................... พ.ศ...........

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ 1. อาจารยธงชัย ศรีสุขประเสริฐ 2. ศาสตราจารยเกยีรติคุณชลูด นิ่มเสมอ คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (ศาสตราจารยปรีชา เถาทอง) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารยเข็มรัตน กองสุข) (ผูชวยศาสตราจารยอภิชัย ภิรมยรักษ) ............/......................../.............. ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (อาจารยธงชัย ศรีสุขประเสริฐ) (ศาสตราจารยเกียรติคุณชลูด นิม่เสมอ) ............/......................../.............. ............/......................../..............

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 5: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

53004214: สาขาวิชาทัศนศิลป คําสําคัญ: งานสรางสรรคเทคนิคผสม / จินตนาการจากความทรงจํา หนึ่งฤทัย เผือกเพี้ยน: จนิตนาการจากความทรงจํา. อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานพินธ: อ.ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ และ ศ.เกยีรติคุณชลูด นิ่มเสมอ. 54 หนา. ความทรงจําท่ีถูกกักเก็บไวเม่ือนํามารวมเขากับ จินตนาการจากความประทับใจในวัยเยาวท่ีถูกกลอมเกลาจากครอบครัว กอเกิดเปนการสรางสรรคผลงานศิลปะท่ีพรรณนาเร่ืองราวตางๆ โดยใชรองรอยของเสนจากการแกะ การขูด บนพื้นไมท่ีเตรียมไวเปนรูปทรงสวนประกอบของบานเร่ือนเกาๆและรูปบุคคล ใหเปนรองรอยท่ีสรางข้ึนเพื่อกระตุนเตือนส่ิงท่ีอยูในความทรงจํา โดยสรางเปนลวดลายเช่ือมโยงเร่ืองราวกับความรูสึกภายใน ใหเกิดความซาบซ้ึงและอ่ิมเอมใจ ไปกับจินตนาการที่ผสมผสานเสนหของวิถีชีวิตท่ีเรียบงายแบบไทย ทัศนศิลป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือช่ือนักศึกษา........................................ ปการศึกษา 2555 ลายมือช่ืออาจารยท่ีปรึกษาวทิยานิพนธ 1. ........................... 2. .............................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 6: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

53004214: MAJOR: VISUAL ARTS

KEY WORD: MIXED TECHNIQUE / IMAGINATION FROM MEMORY

NEUNGRUTHAI PUEKPEAN: IMAGINATION FROM MEMORY. THESIS ADVISORS:

THONGCHAI SRISUKPRASERT AND EMRIRUS PROF. CHALOOD NIMSAMER. 54 pp.

Memory merging with imagination from childhood impression inspires the creativity of this artwork that illustrates various stories. Wood piece cut into forms of childhood house structures and beloved people is engraved in different patterns, in order to arouse what has been kept inside memory. These engraved traces connect the story to inner feelings, which enhance appreciation and pleasure of the imagination and the charm of simple Thai living ways.

Program of Visual Arts Graduate School, Silpakorn University Student's signature ........................................ Academic Year 2012 Thesis Advisors' signature 1. ........................... 2. ...........................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 7: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

ฉ  

กิตติกรรมประกาศ

ขาพเจาขอนอมรําลึกถึงพระคุณบิดา มารดา ครอบครัวของขาพเจาท่ีเปนจุดเร่ิมตนแหงความบันดาลใจในการสรางสรรค อีกท้ังทานศาสตราจารยชลูด นิ่มเสมอ และอาจารยธงชัย ศรีสุขประเสริฐ อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ สถาบันการศึกษาและคณาจารยทุกทานท่ีประสิทธ์ิประสาทวิชา อบรมส่ังสอน รวมท้ังผูมีสวนชวยเหลือและเปนกําลังใจในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

ขาพเจาขอขอบพระคุณอยางยิ่งสําหรับทานศาสตราจารยชลูด นิ่มเสมอ ท่ีเมตตามอบเคร่ืองมือแกะไมใหใชในการสรางสรรคงานผลงานศิลปะ นับเปนเกียรติแกขาพเจาและครอบครัวเปนอยางยิ่ง ถือเปนแรงผลักดันในการสรางสรรคผลงาน ใหไดทํางานตามอยางปณิธานของศิลปนช้ันครูท่ีสรางแบบอยางท่ีดีงามไวใหกับศิลปนรุนหลังตอไป

 

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 8: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

ช  

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ จ กิตติกรรมประกาศ ฉ สารบัญภาพ ฌ บทท่ี

1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 2 ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา 2 สมมติฐานของการศึกษา 2 ขอบเขตการศึกษา 3 ข้ันตอนการศกึษา 3 วิธีการศึกษา 3 อุปกรณท่ีใชในการคนควา 4 การนําเสนอผลงาน 4

2 ขอมูลท่ีเกี่ยวกบัการสรางสรรค 4 ทัศนคติท่ีเกีย่วของกับการสรางสรรค 5

อิทธิพลและแรงบันดาลใจจากครอบครัว 6 อิทธิพลท่ีไดแนวคิดท่ีเกี่ยวกบัศาสนา 7 อิทธิพลจากลวดลายพ้ืนบาน 7 อิทธิพลจากภาพพิมพแกะไม 8

3 การกําหนดรูปแบบและวิธีการสรางสรรค 13 วิธีการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ 13 ข้ันตอนและวธีิการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ 14 ทัศนธาตุท่ีใชในการสรางสรรค 15 เทคนิคและวิธีการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ 16

4 การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ 27 การสรางสรรคและพัฒนากอนผลงานวิทยานิพนธในระยะแรก 27

การสรางสรรคและพัฒนากอนผลงานวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 31

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 9: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

ซ  

บทท่ี หนา การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ 37

5 สรุปการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ 49 รายการอางอิง 50 ภาคผนวก 51 ประวัติผูวจิัย 54

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 10: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา

1 ภาพถายครอบครัวท่ีบานเกาในวยัเดก็ 10 2 ภาพถายคูกับคุณแม 10 3 ภาพครอบครัวกับอิทธิพลทางศาสนา 11 4 อิทธิพลทางพุทธศาสนา ภาพถายพระพุทธรูปวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร 11 5 อิทธิพลทางพุทธศาสนา ภาพถายพระพุทธรูปวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร 12 6 อิทธิพลจากเทคนิคการแกะไม ของประพันธ ศรีสุตา 12 7 ภาพอุปกรณท่ีใชในการสรางสรรค 19 8 ภาพรางบนกระดาษ 20 9 ภาพรางท่ีขยายลงบนกระดาษลอกลาย 20 10 ภาพการลอกลายลงบนไมอัด 21 11 ภาพข้ันตอนการตัดไม 21 12 ภาพไมอัดท่ีตดัเสร็จแลวถูกนํามาจัดวางเพ่ือหาความลงตัว 22 13 ภาพข้ันตอนการลงสีลงบนผลงาน 22 14 ภาพข้ันตอนการผสมชันยาเรือและสีฝุน 23 15 ภาพข้ันตอนการลงชันยาเรือบนผลงาน 24 16 ภาพข้ันตอนการแกะไมและขูดชันยาเรือ 25 17 ภาพการวางองคประกอบแตละช้ินสวนเพื่อดูภาพรวมของงาน 25 18 ภาพการลงสีและการแกะไมผลงานท่ีเสร็จสมบูรณ 26 19 ภาพการลงสีและการแกะไมผลงานท่ีเสร็จสมบูรณ 26 20 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะแรกช้ินท่ี 1 28 21 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะแรกช้ินท่ี 2 29 22 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะแรกช้ินท่ี 3 30 23 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 1 32 24 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 2 33 25 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 3 34 26 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 4 35 27 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 5 36 28 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟา 38

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 11: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

ภาพที ่ หนา 29 ภาพและรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟาช้ินท่ี 1 39 30 ภาพและรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟาช้ินท่ี 2 40 31 ภาพและรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟาช้ินท่ี 3 41 32 ภาพและรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟาช้ินท่ี 4 42 33 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน 44 34 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน 44 35 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 1 และ ช้ินท่ี 2 45 36 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 3 และ ช้ินท่ี 4 45 37 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 5 และ ช้ินท่ี 6 46 38 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 7 และ ช้ินท่ี 8 46 39 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 9 47 40 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 10 47 41 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 11 48 42 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 12 และช้ินท่ี 13 48

 

                     

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 12: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

1

บทท่ี 1

บทนํา

จินตนาการหมายถึง การคิดสรางภาพในจิตใจหรือพลังของจิตท่ีสรางภาพขันใหมภายในใจ ใหนาพอใจกวา สวยกวา เปนระเบียบกวาหรือรายกาจกวาส่ิงท่ีมีอยูในธรรมชาติท่ัวไป จินตนาการทําใหเกิดภาพข้ึนในสํานึกเรียนวา “จินตภาพ” จินตภาพเหลานี้เช่ือมโยงกับประสบการณท่ีไดสะสมอยูภายในจินตนาการเปนผลมาจากอวัยวะสัมผัสของมนุษยปะทะกับส่ิงแวดลอมรอบตัว เกิดเปนประสบการณส่ังสมแลวจึงประยุกตโดยการเพิ่มเติม ตัดทอนหรือผสมผสานประสบการณๆถายทอดออกมาเปนผลงานศิลปะหรือเกิดจินตภาพนึกคิดไปเอง อาจจะมีหรือไมมีในโลกน้ีก็ได เชน บทกวี นวนิยาย ใตทองทะเลลึก ใตดินคนปา โลกในอนาคต ความฝนหรือการเขียนภาพ หลักการเขียนภาพตามจินตนาการ จะทําไดดีก็ตอเม่ือผูเขียนภาพนั้นเปนคนชางสังเกต รูจักวิเคราะห แยกแยะส่ิงตางๆที่ตองการนําเสนอ โดยนํามาเช่ือมโยงกับประสบการณทางศิลปะซ่ึงหมายถึงประสบการณในทางฝกปฏิบัติและประสบการณจากการไดศึกษาผลงานศิลปะท่ัวๆไป ซ่ึงจะสามารถสรางผลงานศิลปะ ใหแปลกแตกตางไปจากท่ีเคยพบเห็นได ดังนั้นการสรางสรรคผลงานศิลปะเกิดจากพื้นฐานประสบการณ ท่ีเช่ือมโยงกับความนึกคิดและจินตนาการใหเกิดผงงานในรูปแบบใหมๆ ท่ีทําใหผูพบเห็นไดรับรูกับความคิดฝนจินตนาการของผูปฏิบัติงานท่ีตองการถายทอดออกมาเปนภาพอยางอิสระ ผูปฏิบัติงานศิลปะท่ีถายทอดจินตนาการไดดีนั้นจะตองมีพื้นฐานมาจากการไดสัมผัสรับรูธรรมชาติและส่ิงแวดลอม จนเกิดแรงบันดาลใจในการสรางสรรคส่ังสมเปนประสบการณและความชํานาญ สูการสรางสรรคงานดวยจินตนาการ เปนการแสดงออกจากจินตนาการภายในสูภายนอก ผลงานศิลปะยอมยอมแสดงจินตนาการไวดวยเสมอ ไมวาจะเปนเร่ืองราว รูปทรง เสน สี บรรยากาศในภาพจินตนาการอาจจะเปนเร่ืองของความเพอฝน คาดหวังในอนาคต จินตนาการไปสูอดีต หรือไปสูดินแดนท่ีมองไมเห็น จินตนาการที่เราใหความสําคัญมากท่ีสุดคือส่ิงท่ีอยูภายในใจของเราเอง บนโลกท่ีเคล่ือนตัวไปขางหนา ส่ิงท่ีจะพอเก็บรักษาเอาไวไดคือ ความทรงจําความทรงจําอันมีคามิตองอาศัยความต้ังใจท่ีจะจดจํา หากแตเปนกระบวนการท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติไมตางจากการท่ีน้ําตองไหลจากท่ีสูงลงสูท่ีต่ําแมความทรงจําจะเกิดข้ึนกับความจริง แตวาความทรงจําหาใชความจริงไม เรา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 13: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

2  คัดเลือกบางสวนจากความจริง คลุกเคลาเขากับความรูสึก บางสุข บางเศรา ทุกความทรงจํามีการเสกสรรปนแตงของเจาของความทรงจําอยูในนั้นเสมอ มันท้ังโหดรายและสวยงามกวาความจริงใชหรือไม คนเรามักเก็บสะสมความทรงจําดี ๆ เอาไวมากกวาความทรงจําแย ๆ กระน้ันก็ใชวามันจะทําใหเรามีความสุขเสมอไป เม่ือหวนคิดถึงความทรงจําดี ๆ ท่ีมิอาจยอนคืนกลับมา กรอเทปดูภาพอดีตท่ีไมสามารถเกิดข้ึนไดอีกแลว ความเศราก็บังเกิด ความทรงจํามีคุณคาเพราะอยูทามกลางความเปล่ียนแปลง หากทุกอยางไมแปรเปล่ียน ทุกความสัมพันธยังอยูคงเดิม ความทรงจําไมมีคาอะไร เราไมตองจดจําอะไรก็ได ในเม่ือพรุงนี้ก็จะดีดังเดิม ชีวิตคือการเดินทางเพื่อสะสมความทรงจําทุก ๆ วัน มีเร่ืองราวใหจดใสหนากระดาษเปลาของชีวิต เพราะจดทุกเร่ืองไมได เราจึงจดเฉพาะส่ิงสําคัญไวในใจ เม่ือยอนกลับมาดูสมุดบันทึกเลมนี้ ความทรงจําบางอยางซีดจางไปตามกาลเวลา แตรองรอยของมันก็ชวยยืนยันกับเราวา ส่ิงสวยงามเหลานั้นเคยเกิดข้ึนจริง ความเปนมาและความสําคญัของปญหา ครอบครัว ถือเปนสถาบันแรกของมนุษยในการเร่ิมสะสมความทรงจํา การไดรับการอบรมส่ังสอน ประสบการณ ความรัก ความอบอุน ส่ิงแวดลอมตางๆ ถูกนํามาใชเปนจินตนาการผลักดันในการสรางสรรคงานศิลปะของขาพเจา โดยสอดแทรกวิถีชีวิตพื้นบาน ประเพณี วัฒนธรรม อันเกิดจากการถายทอดจากคนรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่ง สะทอนใหเห็นถึงการเปล่ียนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมและความผูกพันของคนในครอบครัวท่ีนับวันจะจางหายไป การกักเก็บความทรงจําเหลานี้เองไดนํามาสูการดําเนินชีวิตท่ีมีความสุขและเปนวิถีชีวิตท่ีเรียบงายแบบไทย ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา

เพื่อนําความทรงจําในอดีตมาสรางสรรคงานดวยกระบวนการแสดงออกทางศิลปะ อันเปนเร่ืองราวท่ีเกิดจากความประทับใจจากการเก็บเกี่ยวประสบการณในวัยเยาวท่ีมีความสุข แมเหตุการณเหลานั้นไดผานเลยไปและมิอาจกลับไปกระทําไดดังเดิม แตความทรงจําและความรูสึกนั้นยังคงระลึกถึงในทุกคร้ังท่ีไดพบกับผูคนท่ีคุนเคย สถานท่ีเดิม ขาพเจาจึงนํามาเปนส่ือแสดงออกทางศิลปะ โดยสรางจินตนาการจากความทรงจําเหลานั้นดวยกระบวนการทางทัศนศิลป

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 14: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

3  สมมติฐานของการศึกษา

ความทรงจําจากความสุขในวัยเยาวเปนแรงบันดาลท่ีกอใหเกิดจินตนาการในการสรางสรรคงานศิลปะโดยนํามาซ่ึงเทคนิคท่ีเกิดจากการทดลองจนเกิดเปนการสรางสรรคลักษณะเฉพาะตน เพื่อใหสอดคลองกับเร่ืองราวและอารมณความความรูสึกภายในงานโดยผสมผสานเขากับวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตพ้ืนบานแบบไทย

ขอบเขตการศึกษา

การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ ขาพเจาไดกําหนดขอบเขตของงาน ไว ดังนี้ งดานเน้ือหา สรางสรรคงานภายใตแนวคิดและการแสดงออกท่ีบงบอกถึขอบเขต ผาน

เร่ืองราวความผูกพันระหวางบุคคลในครอบครัวท่ีเกิดจากความทรงจําของผูศึกษา โดยเนนความประทับใจท่ีเกิดข้ึนจากกิจกรรมตางๆ

ขอบเขตทางดานรูปแบบ เปนการสรางสรรคงานท่ีถูกจัดวางโดยมีการทับซอนกันอยูในแนวระนาบ 2 มิติ ดวยเทคนิคผสม เชนการแกะไม ,การระบายสี, การเล่ือยฉลุไม, การขูดขีด

ขั้นตอนการศึกษา วิธีการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ ไดแบงงานอยางเปนข้ันตอน สรุปโดยสังเขป ดังนี ้ 1. รางภาพความทรงจําในวัยเยาว ท้ังจากประสบการณตรง คําบอกเลา และการสอบถามจากบุคคลตางๆ 2. หาขอมูลจากรูปถายของบุคคลในครอบครัวสถานท่ีท่ีคุนเคยในอดีต 3. นําขอมูลท่ีไดมาประมวลความคิดและแสดงออกโดยการรางภาพ สําหรับการสรางเปนผลงานดวยจินตนาการสวนตัว 4. วิเคราะหการแสดงออกทางศิลปะและนํามาสรางสรรคในการทํางานตอไป

วิธีการศึกษา

1. รวบรวมขอมูลจากความทรงจํา ความคิด ความรูสึกในวัยเยาวซ่ึงเปนท่ีมาของแรงบันดาลในการสรางสรรค 2. พัฒนาแนวความคิดและจินตนาการในการสรางสรรคผลงาน 3. กําหนดขอบเขตในการทํางานและการนําเสนอ ท้ังรูปแบบองคประกอบและเทคนิค ใหสามารถแสดงออกไดตรงตามแนวความคิดไดมากท่ีสุด

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 15: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

4  

4. สรางสรรคผลงานจริงท่ีไดจากการกําหนดขอบเขต โดยมีการเพิ่มและลดในบางสวนเพื่อใหงานเกิดความลงตัว 5. วิเคราะหถึงขอดีและขอบกพรองนํามาปรับปรุงแกไขพัฒนาผลงานใหมีความสมบูรณท่ีสุด

อุปกรณท่ีใชในการคนควา 1. อุปกรณท่ีใชในการบันทึกขอมูล เชน สมุด ดินสอ ปากกา สี กลองถายรูป โทรศัพท คอมพิวเตอร หนังสือ เปนตน 2. อุปกรณท่ีใชในการสรางผลงาน เชน ไมอัด กระดาษอัด พูกัน สีอะคริลิก สีฝุน กาวลาเท็คซ ยางมะเดื่อ ทองคําเปลว ทองผง เคร่ืองมือแกะไม เล่ือยฉลุ เล่ือยจิ๊กซอว ชันยาเรือ ไมปลายแหลม น้ํายาเคลือบ เปนตน การนําเสนอผลงาน

ในการทําวิทยานิพนธคร้ังนี้จะนําเสนอในหัวขอ “ จินตนาการจากความทรงจํา ” เปนรูปแบบของจิตรกรรมไทยรวมสมัย ท่ีใชเทคนิคผสม ของการแกะไม การระบายสี การประทับพิมพเขาดวยกัน มีการทับซอนและประกอบกันของไม นําเสนอผลงานดวยการประกอบติดต้ังบนผนัง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 16: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

5

บทท่ี 2

ขอมูลท่ีเก่ียวของกับการสรางสรรค

แรงผลักดันจากประสบการณในวัยเยาวของขาพเจา ท่ีมาจากโมนคติถูกนํามาสรางสรรคเปนรูปธรรม ภายใตงานศิลปกรรมที่สอดแทรกจินตนาการจากวิถีชีวิตความเปนอยูและสัญลักษณทางความคิด ผานกระบวนการสรางสรรคดวยเทคนิคการแกะใหเกิดเปนรองรอยอันมีท่ีมาจากความทรงจํา

ทัศนคติท่ีเก่ียวของกับการสรางสรรค

การสรางสรรคผลงานทางศิลปะถือเปนการส่ือสารอยางหน่ึง เราอาจเรียกไดวาเปน “ การส่ือสารตางวัฒนธรรม ” การส่ือสารของมนุษยลวนถูกเช่ือมโยงดวยวัฒนธรรม แมแตการส่ือสารภายในตนเอง (Intrapersonal Communication) ท่ีเกิดขึ้นเม่ือเรารูตัวหรือไมรูตัวก็ตาม พื้นฐานทางวัฒนธรรมจะสงผลตอพฤติกรรมของมนุษยเสมอ ลักษณะสําคัญๆของมนุษยคือการสรางสัญลักษณอยางชํานาญและพัฒนาระบบการใชสัญลักษณซ่ึงมีผูคนในสังคมยอมใชรวมกันถึงแมวาเรามักจะไมไดตั้งใจใหการส่ือสารนั้นไดรับผลจากวัฒนธรรม แตบอยคร้ังท่ีเรามักเลือกส่ือสารในรูปแบบที่เปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมของเราเอง ดวยเหตุนี้ทําใหเราลวนเปน “ นักส่ือสารทางวัฒนธรรม ” ท้ังส้ิน (Cultural Communnicator)1

วัฒนธรรมท่ีแตกตางกันนําไปสูกระบวนการสรางสรรคท่ีหลากหลายท้ังรูปแบบ,เทคนิคและแนวความคิดของศิลปน การดึงเอารากเหงาวัฒนธรรมของตนเองไปรวมอยูในงานศิลปกรรมถือเปนธรรมชาติท่ีมีอยูในตัวศิลปนแทบทุกคน ความซาบซ้ึงจากส่ิงท่ีมากระทบตอจิตใจถูกใชเปนแรงขับเคล่ือนสูการสรางสรรค การทดลอง ใหเหมาะสมและตรงใจศิลปนเพื่อถายทอดใหตรงกับสาระทางความคิดและอารมณความรูสึกท่ีศิลปนต้ังใจท่ีจะนําเสนอ

แรงผลักดันจากส่ิงรอบตัวท้ังภายนอก และภายในภายใตวัฒนธรรมสวนตัวของศิลปนนี้เองจึงปนตัวแปรสําคัญในการแสดงออก โดยเฉพาะการแสวงหาความจริงภายในท่ีถูกซอนเรน เปนส่ิงท่ีศิลปนพยายามขุดคนและรวบรวมเอาขอมูลเหลานั้น ถายทอดออกมาเปนผลงานอันแฝงดวย 1 เมตา วิวฒันานุกูล, การส่ือสารตางวัฒนธรรม (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548), 46.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 17: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

6

จินตนาการและอารมณสวนตน โดยแรงผลักดันท่ีขาพเจาไดนํามาใชในการแสดงออกผานงานศิลปกรรมน้ัน เปนอิทธิพลท่ีใกลตัวของมนุษยมากท่ีสุดและเปนจุดเร่ิมตนของการสรางรากฐานทางวัฒนธรรมนั่นคือ “ ครอบครัว ”

อิทธิพลและแรงบันดาลใจจากครอบครัว

ครอบครัว ถือเปนกลไกสําคัญในการกําหนดบุคคลิกภาพเฉพาะของแตละคน การอบรมส่ังสอน เล้ียงดู ถายทอด และปลูกฝงส่ิงตางๆ ผานกระบวนการรับรู (Process) ซ่ึงเปนกระบวนการที่คาบเกี่ยวกันระหวางความเขาใจ ความคิด ความรูสึก (Sensing) ความจํา (Memory) การเรียนรู (Learning) และการตัดสินใจ ( Decision making) กระบวนการของการรับรู มีจุดเร่ิมตนจากส่ิงเรา (Stimulus ) ทําใหเกิดการสัมผัส (Sensation) เกิดการแปลสัมผัสโดยสมอง และส่ังการใหวิเคราะหเปรียบเทียบกับประสบการณการรับรูท่ีผานมา

กลาวคือการแปลความหมายของส่ิงท่ีเราสัมผัส ส่ิงท่ีเคยพบเห็นมาแลวยอมจะอยูในความทรงจําของสมอง เม่ือบุคคลไดรับส่ิงเรา สมองก็จะทําหนาท่ีทบทวนกับความรูท่ีมีอยูเดิมวา สิ่งเรานั้นคืออะไร การท่ีครอบครัวถายทอดรูปแบบวิถีชีวิต ความคิด ความรักความอบอุนผานการสัมผัส (Sensation) โดยอาศัยอวัยวะสัมผัสท้ัง 5 คือ ตา หู จมูก ล้ิน ผิวกาย ณ เวลาขณะหนึ่งของการปฏิสัมพันธกันภายในครอบครัว ทําใหเกิดการจดจําท้ังส่ิงท่ีดีและไมดี ส่ิงท่ีสะเทือนกับจิตใจมากจะถูกกระตุนใหขับออกมาทางพฤติกรรมการแสดงออกหรืออาจแฝงตัวอยูในรูปเชิงสัญลักษณ

วิทยานิพนธชุดนี้ ขาพตองการถายทอดอารมณความรูสึกท่ีไดรับจากประสบการณการรับรูในวัยเยาว เปนการดึง ความจับใจ (Rapt,Rapture) เม่ือเกิดความรูสึกสะเทือนใจอะไรข้ึนจะทําใหเรารูสึกเบิกบานจนลืมตัว สถานการณท่ีทําใหจับใจอาจเปนอยูในความรูสึกชั่วขณะหนึ่ง แตก็พอท่ีจะเปนอิทธิพลใหความจําไดตลอดไปในชีวิตของบุคคล2 ความสุขท่ีไดรับคือส่ิงเราท่ีกระตุนใหเกิดการแสดงออก ความสนุกสนาน ความรัก ความอบอุน ณ ชวงเวลานั้นท่ียังคงอยูในความทรงจําและเปนกําลังใจท่ีสําคัญในการดําเนินชีวิตของขาพเจาในปจจุบัน หากพบเจอเร่ืองทอใจเม่ือหวนคิดถึงความสุขเหลานั้น มันจะชวยเติมเต็มความรูสึกใหสมบูรณอีกคร้ัง เปรียบไดกับรองรอยจากการแกะท่ีเกิดข้ึนในงานแมจะเปนเร่ืองของความทรงจําท่ีเลือนลางในอดีตแตเม่ือใดที่สรางสรรคงานก็ทําใหรองรอยของความทรงจํานั้นกลับชัดเจนข้ึนมาอีกคร้ัง

2 พระยาอนุมานราชธน, ศิลปสงเคราะห (กรุงเทพฯ : วสิคอมเซนเตอร, 2553), 244.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 18: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

7

อิทธิพลท่ีไดแนวคิดท่ีเก่ียวกับศาสนา พุทธศาสนา ถูกปลูกฝงใหกับขาพเจามาต้ังแตเยาววัย อันเกิดจากกิจวัตรท่ีครอบครัวของ

ขาพเจามีความเล่ือมใสศรัทธา เชน การทําบุญตักบาตร ปลอยนกปลอยปลา ทําทาน สวดมนตไหวพระและพิธีกรรมตางๆ กิจกรรมเหลานี้เองเปนจุดเร่ิมตนใหพบกับแรงบันดาลใจในสวนอ่ืนตอมา

ความสวยงามทางพุทธศิลป ถือเปนส่ิงหนึ่งท่ีขาพเจามีความสนใจ ภายใตการสรางสรรคงานจึงมีการสอดแทรก ไวดวยรูปทรงท่ีเปนพระพุทธรูปปางตางๆ ศาสนสถานตางๆ เชน อุโบสถ ศาลา กุฏิพระ เจดีย ฯลฯ รวมท้ังจิตรกรรมฝาผนัง ท่ีสอดแทรกเร่ืองราวของพุทธประวัติ ชาดกตางๆลวนแลวแตเปนจินตนาการแบบอุดมคติในงานจิตรกรรมไทย กลาวคือ จินตนาการเกิดข้ึนจากการผสมกันระหวางวัตถุภายนอกกับความรูสึกภายในของศิลปนหรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา จินตนาการคือการกอรูปของความคิดจากหลายๆความคิดจนเปนการสรางสรรคส่ิงใหมท่ีมีเอกภาพข้ึน จินตนาการถึงแมจะกลาวกันวาไรขอบเขต แตก็เปนส่ิงท่ีมีระเบียบ มีกฎเกณฑในตัวเองมีการกอกําเนิดและเติบโต เชนเดียวกับส่ิงท้ังหลายท่ีอยูภายใตกฏของจักรวาล จินตนาการท่ีจะถายทอดหรือแสดงออกในศิลปะเปนจินตนาการสรางสรรค เปนส่ิงมีโครงสราง มีความหมาย ไมใชจินตนาการเลียนแบบ หรือความคิดเพอเจอ เล่ือนลอยจะเห็นไดชัดเจนในงานจิตรกรรมไทย3 ท่ีสอดแทรกหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไวใหผูดูไดวิเคราะหและตีความหมาย ขาพเจาจึงหยิบจับหลักการเหลานี้เองมาประยุกตใชในการสรางสรรครวมทั้งลักษณะทางเทคนิคท่ีนํามาใชก็มีการใชเทคนิคการปดทองตามอยางงานจิตรกรรมไทยดวยเชนกัน

บรรยากาศความอ่ิมเอมทางใจเหลานี้เอง ขาพเจาสามารถรับรูไดจากสีหนาของผูคนท่ีปติและเปยมไปดวยความสุขทางใจอยางแทจริง โดยขาพเจาเก็บนําอารมณความรูสึกเหลานั้นมาแสดงออกใหกับตัวละครในงานศิลปกรรมของขาพเจาเอง อิทธิพลจากลวดลายพ้ืนบาน

ศิลปะลวดลายตางๆท่ีนํามาใชสรางสรรคงาน สวนใหญเปนลวดลายท่ีไดอิทธิพลมาจากผาทอหรือผานุงตางๆ เปนภาพจากความทรงจําในวัยเยาวท่ีพบเห็นไดจากผานุงหรือผาถุงของคุณยาคุณยายท่ีมักจะใสอยูเปนประจํา ท่ีพบเห็นอยูบอยคร้ังก็เพราะผาเหลานี้ไมใชใชเพื่อการสวมใสเทานั้นแตถูกนําไปประยุกตใชในรูปแบบอ่ืนดวยเชน เปนผาปูนอน, ถูกตัดใชแทนผาออมบาง,ทํา

3 ชลูด นิ่มเสมอ, วาดเสนสรางสรรค (กรุงเทพฯ : อัมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง, 2553), 6.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 19: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

8

ผาข้ีร้ิวบาง เปนตน เกิดเปนความคุนชินทําใหเม่ือพบเห็นลวดลายเหลานี้ท่ีใดก็จะเกิดมโนภาพถึงคุณยาคุณยายข้ึนมาทันที จินตนาการไปไกลถึงวิถีชิวิตคร้ังยังเยาววัยท่ีไดหนุนตักบนผืนผานุงเหลานั้น

ความประทับใจในลวดลายเหลานั้นเอง ขาพเจาจึงนํามาดัดแปลง ตัดทอน และผสมผสานจินตนาการสวนตนโดยใชลวดลายเขาไปเช่ือมโยงเขากับเร่ืองราวของวิถีชีวิต และธรรมชาติใหมีกล่ินไอของความรัก ความเมตตา ความอบอุนของคุณยาคุณยาย เพื่อโยงใยไปทั่วท้ังงาน

อิทธิพลจากภาพพิมพแกะไม

แรงบันดาลใจของขาพเจาเกิดข้ึนจากความช่ืนชอบในการวาดเสน จึงเร่ิมหาเทคนิคท่ีจะสามารถสรางเสนใหตรงกับใจมากท่ีสุดมารองรับในการแสดงออก เม่ือเร่ิมเรียนในระดับท่ีสูงข้ึนทําใหมีโอกาสไดเห็นงานท่ีหลากหลาย จนไดพบกับเทคนิคภาพพิมพแกะไม เกิดเปนความประทับใจในลายเสนท่ีมีความเคลื่อนไหวอยางฉับพลัน และตรงไปตรงมา ในสวนของภาพพิมพก็มีความงามในลักษณะหนึ่งแตขาพเจามีความสนใจมากเปนพิเศษกับไมท่ีใชเปนแมพิมพ ดวยเล็งเห็นถึงความสวยงามของไมท่ีถูกแกะ ถูกเซาะเปนรอง และการขูดขีด เทคนิคเหลานี้ทําใหเกิดเปนเสนและความเปนธรรมชาติท่ีปะทะกับอารมณความรูสึกเปนอยางมากกับขาพเจา การแกะออกมาทําใหขาพเจาไดเห็นความงามของเน้ือไม

ภาพพิมพแกะไม หรือที่มักเรียกกันวา ภาพพิมพ wood cut หมายถึงภาพพิมพท่ีไดจากการแมพิมพแกะไม ซ่ึงแกะเปนลวดลายตางๆ และพิมพเฉพาะผิวของสวนบนสุดเทานั้น การพิมพภาพแกะไมเปนวิธีท่ีนิยมใชกันมาต้ังแตโบราณ จนกระท่ังทุกวันนี้กระบวนการพิมพก็ยังคงคลายกันอยู จะเปล่ียนแปลงบางก็เพียงเล็กนอย4 และผลพวงจากการวางรากฐานการศึกษาศิลปะภาพพิมพของศาสตราจารยศิลป พีระศรี ท่ีเร่ิมคร้ังแรกเม่ือป 2496 ทําใหศิลปนไทยเร่ิมหันมาสนใจในเทคนิคนี้มากข้ึน เนื้อหาท่ีนิยมนํามาใชแสดงออกสวนใหญมาจากชีวิตประจําวันและส่ิงแวดลอม เชนการทําบุญ การละเลน สภาพบรรยากาศและวิถีชีวิตประจําวันของชาวบาน ศิลปนผูมีบทบาทโดดเดนเชน อาจารยชลูด นิ่มเสมอ มานิตย ภูอารีย, ประหยัด พงษดํา, ประพันธ ศรีสุตา ฯลฯ

ทัศนะตอนหนึ่งของทานรองศาสตราจารย สน สีมาตรังในคําบรรณาธิการของมหากาพยภาพพิมพแกะไมของประพันธ ศรีสุตา 2504-2503 ไดกลาวถึงลักษณะเดนของการแกะไมไววา

4 ชัยณรงค เจริญพานิชยกุล, ภาพพิมพการพิมพแมพิมพนูนต่าํ (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2531), 36.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 20: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

9

“ ในทัศนะของขาพเจามีความเห็นวา ภาพพิมพไมแกะของอาจารย ประพันธ ศรีสุตา จัดเปนงาน วาดเสนพิเศษซ่ึงปกติงานวาดเสนจะใชปากกาและดินสอวาดลายเสนบนกระดาษ แตในงานภาพพิมพไมแกะของอาจารย ประพันธ ศรีสุตา ใชส่ิวแกะไมทําหนาท่ีแทนปากกาและดินสอ ใชแผนไมอัดแทนแผนกระดาษ เหตุท่ีใหความเชนนี้เพราะถาสังเกตอยางใกลชิดจะเห็นวาอาจารย ประพันธ ศรีสุตา ลงมือแกะดวยคมส่ิวขนาดตางๆเปรียบส่ิวเสมือนปากกาและดินสอจะแกะเปนเสนหนักเสนเบา เสนใหญและเสนเล็ก มีลีลามีชีวิตตามใจส่ังไดอยางประทับใจแลวทําอยางมีสมาธิ มีการตัดสินใจแกปญหาเฉพาะหนาต้ังแตเร่ิมตนจนเสร็จ5 ”

เสนหในเทคนิคการแกะไมเหลานี้เอง ไดนําไปสูการสรางสรรคผลงานศิลปะของ

ขาพเจาดวยการประยุกตและสรางสรรคข้ึนมาใหม โดยใชเร่ืองราวภายใตวิถีชีวิตท่ีตัวขาพเจาเองมีความผูกพัน แสดงสภาพบรรยากาศและอารมณความรูสึกภายใตจินตนาการ โดยใชความใฝฝน โดยเฉพาะทางใจ และทางพุทธิปญญา ความใฝฝนเปนลักษณะอาการสามัญทางจิตใจของศิลปนซ่ึงนึกเห็นภาพเห็นรูปข้ึนในใจและในความคิดอยางโลดโผน แลวใฝฝนในอันท่ีจะถอดออกมาใหเห็นเปนรูปธรรม แลวจึงนํามาตัดทอน เพิ่มเติมใหตรงกับใจ ดวยความเปนธรรมชาติของเทคนิคการแกะไมนี้เองทําใหรูปทรงท่ีออกมามีความเรียบงายและแสดงออกอยางตรงไปตรงมา คลายการแสดงออกแบบเด็กๆท่ีมีความใสซ่ือและจริงใจ เปนสวนชวยเสริมอารมณใหกับผลงานตามจุดมุงหมายท่ีขาพเจาต้ังใจไว

5 สน สีมาตรัง, มหากาพยภาพพิมพแกะไมของประพนัธ ศรีสุตา 2504-2503 (กรุงเทพฯ : สยามทองกิจ, 2554), 13.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 21: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

10

ภาพท่ี 1 ภาพถายครอบครัวท่ีบานเกาในวยัเด็ก

ภาพที่ 2 ภาพถายคูกับคุณแม

Page 22: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

11

ภาพท่ี 3 ภาพครอบครัวกับอิทธิพลทางศาสนา

ภาพท่ี 4 อิทธิพลทางพุทธศาสนา ภาพถายพระพุทธรูปวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

Page 23: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

12

ภาพท่ี 5 อิทธิพลทางพุทธศาสนา ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

ภาพท่ี 6 อิทธิพลจากเทคนิคการแกะไม ของประพันธ ศรีสุตา ท่ีมา : มติชนออนไลน, ประชันชางศิลป 58 รุน ผลงานกวา 350 ชิ้น โลกงดงามนาอยูดวยศิลปน, เขาถึงเม่ือ, 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555, เขาถึงไดจาก http://www.matichon.co.th/news.

Page 24: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

13

บทท่ี 3

การกําหนดรูปแบบและวิธีการสรางสรรค ในการศึกษาคนควาเพื่อสรางสรรค ขาพเจาไดนํารูปทรงและสัญลักษณตางๆมาแสดงออกในรูปแบบของอุดมคติท่ีสอดแทรกเร่ืองราวของประสบการณจากความทรงจําในวัยเยาว ผสมผสานกับจินตนาการสวนตัว โดยใชทัศนธาตุทางศิลปะรวมเขากับเทคนิคการแกะไมและการ ประกอบกันของไม เพื่อถายทอดความคิด อารมณความรูสึกท่ีตองการแสดงออกตามจุดมุงหมาย วิธีการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ การสรรคงานศิลปะจัดอยูในกระบวนการเรียนรูโดยการสังเกต แบนดูรานักจิตวิทยาชาวแคนนนาดา ไดจําแนกกระบวนการเรียนรูโดยการสังเกตออกเปน 4 ประการคือ 1. กระบวนการตั้งใจ (Attentional process ) ความต้ังใจของผูสังเกตจะทําใหสามารถเรียนรูพฤติกรรมท่ีตัวแบบแสดงออกไดมากและรับรูไดแมนยํา โดยเฉพาะเม่ือตัวแบบแสดงออกอยางเดนชัด ดึงดูดใจ มีคุณคา ซับซอน และกอใหเกิดความพึงพอใจ 2. กระบวนการเก็บจํา (Retention process ) การที่จะเรียนรูไดมากจะตองมีความสามารถในการจดจําไดดีโดยเฉพาะการแปลงขอมูลจากตัวแบบเปนรูปแบบสัญลักษณ 3. กระบวนการกระทํา ( Production process ) เปนกระบวนการแปลงสัญลักษณท่ีเก็บจํามาเปนการกระทําซ่ึงจะทําไดดีถามีทักษะ ความสามารถ และกระบวนการเทียบเคียงกับการกระทําของตนไดดี 4. กระบวนการจูงใจ ( Motivation process ) เม่ือบุคคคลเรียนรูแลวจะแสดงพฤติกรรมออกมาหรือไมข้ึนอยูกับกระบวนการจูงใจเปนสําคัญ โดยกระบวนการจูงใจข้ึนอยูกบัส่ิงลอใจจากภายนอก ส่ิงลอใจท่ีเหน็ผูอ่ืนไดรับ ส่ิงลอใจตนเอง1

1 จุฑารัตน เอ้ืออํานวย, จิตวิทยาสังคม (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549), 124-125.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 25: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

14

ขั้นตอนและวิธีการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ 1. การหาขอมูล ขอมูลท่ีศึกษามี 2 ลักษณะคือ 1.1 การหาขอมูลจากสถานที่จริง ศึกษาคนควารูปทรงทางกายภาพของบุคคลในครอบครัว พฤติกรรม สภาพบรรยากาศท่ีแสดงวิถีชีวิต รวมถึงวัตถุส่ิงของตางๆท่ีตัวขาพเจาเองมีความผูกพันในวัยเยาว

1.2 ศึกษาขอมูลจากภาพถาย เพ่ือใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ควบคูกับความรูสึกภายในที่ไดจากประสบการณในวัยเยาว อีกท้ังยังศึกษาขอมูลภาพ ท่ีเปนขอมูลทางดานวัฒนธรรม ประเพณี เชน รูปแบบของสถาปตยกรรมทางพุทธศาสนา 2. การสรางภาพราง จากการเก็บรวบรวมขอมูล จึงนํามาวิเคราะหและสังเคราะหออกมา เพื่อใชในการกําหนดโครงสรางของงานดวยเร่ืองราวและแสดงความรูสึกดวยการใชทัศนธาตุ การวางองคประกอบ เพื่อใหเกิดเอกภาพทางความคิด ในกลุมศิลปนท่ีมีการแสดงออกทางปญญา จะรักษาโครงสรางของความคิดแรกเร่ิมไวจนถึงข้ันสุดทาย แตบางคนก็กาวหางออกไปไกลจนกลายเปนความคิดใหมตามจินตนาการท่ีคล่ีคลายและเปล่ียนแปรไป อันท่ีจริงความคิดแรกเร่ิมของศิลปนนี้สวนมากเปนเพียงแผนการเดินทางท่ีคาดคะเนไวคราวๆยังไมแนวาจุดหมายปลายทางท่ีแทจะเปนอะไร เขาผจญภัยเร่ือยไปจนกวาความคิดท่ีเลือนลางนั้นจะปรากฎแจมชัดข้ึนในงาน2ซ่ึงตรงกับลักษณะการรางภาพของขาพเจา กลาวคือ เม่ือมีความคิดแลว ก็จะกําหนดขอบเขตของการสรางสรรค แตจะไมยึดติดกับงานใหจํากัดอยูเพียงแคภาพราง เม่ือข้ึนงานจริงจึงมีการปรับเปล่ียนเคล่ือนยายองคประกอบใหตรงตามความงามท่ีตั้งใจไวมากท่ีสุด โครงสรางและการวางองคประกอบในการสรางสรรค จะเนนท่ีไปท่ีองคประกอบรวมของภาพ รูปทรงและทัศนธาตุท่ีเปนเสนจะใชเปนหลักในการแสดงความเช่ือมโยงท้ังทางดานเร่ืองราวและอารมณภายในงาน

2 ชลูด นิ่มเสมอ, วาดเสนสรางสรรค (กรุงเทพฯ : อัมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง,

2553), 33.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 26: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

15

3. การสรางสรรคผลงาน นําภาพรางตนแบบมาขยาย และวางแบบโดยคัดลอกรูปทรงบางสวนเพ่ือนําไปสูกระบวนการเล่ือย,ฉลุไม นําไมมาวางรวมกันเพื่อกําหนดโครงสรางสีและนํ้าหนักโดยรวมของงาน แลวจึงใสรายละเอียด รวมถึงการแกปญหาตางๆในภาพผลงานจริง เพื่อใหตรงตามความคิด อารมณความรูสึกของขาพเจามากท่ีสุด 4. การวิเคราะหผลงาน เพ่ือใหเห็นถึงขอบกพรอง หรือจุดท่ีจะนําไปปรับปรุงเพื่อพัฒนาตอ การวิเคราะหผลงานศิลปะของตนเปนสวนสําคัญท่ีทําใหเราเขาใจในผลงานมากข้ึนเพราะเปนส่ิงท่ีช้ีใหเห็นถึงความแตกตางของผลงานท่ีมาจากแนวคิดเดียวกัน ทําใหสามารถนําขอบกพรองเหลานี้ไปพัฒนาผลงานในช้ินตอไปใหมีความสมบูรณมากข้ึน ทัศนธาตุท่ีใชในการสรางสรรค ในการสรางสรรคผลงานของขาพเจา นอกจากการนําขอมูลท่ีไดจากการศึกษาตางๆผสานกับจินตนาการ และอารมณความรูสึกสวนตัวแลว ยังตองอาศัยการจัดวางองคประกอบ อันเกิดจากการรวมตัวกันของทัศนธาตุดังน้ี 1. รูปทรง เปนองคประกอบหลักภายในผลงาน มีท้ังรูปทรงใหญ รูปทรงยอย และรูปทรงท่ีแสดงรายละเอียด มีลักษณะเปนรูปทรงท่ีแสดงเร่ืองราวผสมผสานกับจินตนาการ โดยมีการนํารูปทรงเหลานั้นมาตัดทอน ดัดแปลง ใหตรงกับความคิดและอารมณความรูสึกภายใน รูปทรงท่ีใชแบงตามรูปแบบไดสองลักษณะคือ ในสวนท่ีแสดงความเหมือนจริงและในสวนท่ีเปนแบบอุดมคติ โดยภาพรวมจะเปนการผสมผสานกันของท้ังสองสวน ซ่ึงรูปทรงตางๆเหลานี้เองไดถูกนํามาใชเพื่อแสดงเร่ืองราวและใชเปนสัญลักษณในเชิงความคิดดวย 2. เสน เปนสวนท่ีสําคัญท่ีสุดในผลงานการสรางสรรคของขาพเจา ประกอบดวย เสนรอบนอก อันเปนตัวกําหนดรูปทรงท่ีแสดงขอบเขตของนํ้าหนักและสี เสนภายใน ท่ีนํามาใชกําหนดโครงสราง โดยสามารถรับรูไดทางความรูสึก และ เสนท่ีแสดงรายละเอียด ท่ีปรากฏอยูท้ังในรูปทรงใหญ รูปทรงยอย และในสวนท่ีเปนพื้นหลังของผลงาน เพื่อสรางความเคล่ือนไหวและใชเปนตัวเช่ือมโยงใหมีความตอเน่ืองกัน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 27: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

16 เสนท่ีเกิดข้ึนภายในงานเปนเสนท่ีถูกสรางข้ึนเกิดจาก 5 กระบวนการทางเทคนิคอันไดแก 1. เสนท่ีเกิดจากการเล่ือยฉลุไม 2. เสนท่ีเกิดจากการแกะไม 3. เสนท่ีเกิดจากประทับพิมพ 4. เสนท่ีเกิดจากการใชพูกัน และ 5. เสนท่ีเกิดจากการขูดขีดบนผิวชันยาเรือ 3. สีและน้ําหนัก ในการกําหนดโครงสรางของสี มีลักษณะเปนการเปนการคุมวรรณะของสีใหอยูในรูปแบบของสีท่ีมาจากธรรมชาติ หรือสีเอร์ิธโทน(earth tones color) เชน สีเขียว สีขาว สีเทา สีน้ําตาล สีดํา สีฟา สีครีม ฯลฯ โดยมีการเจือสีเหลานั้นใหหมนลงและกระจายสีเพื่อสรางความกลมกลืนกันภายในภาพ สีโดยรวมจะเปนสีในวรรณะเย็นมีการใชสีคูตรงขาม เพื่อใหประสานและสงเสริมกันใหเกิดเปนจุดเดนเชนในสวนท่ีเปนสีทอง สีสม และสีแดง การแทนคาสีและนํ้าหนักในผลงานจะวางนํ้าหนักแบนๆคลายงานจิตรกรรมไทย โดยมิไดใหความสําคัญกับการสรางมวลหรือปริมาตรเพ่ือแสดงความเหมือนจริง แตจะใชเสนในการใหน้ําหนักของภาพท่ีใหผลในการกระตุนจินตนาการในทางระนาบ การใหสีภายในงานเปนการสรางบรรยากาศของเรื่องราวในอดีต ดวยการใชสีหมนๆจําลองใหเห็นถึงความเปนบานไมเกาๆท่ีตัวขาพเจาเองมีความผูกพันและบานหลังนี้เองที่เปนตนกําเนิดเร่ืองราวในการสรางสรรควิทยานิพนธชุดนี้ 4. ลักษณะพื้นผิว ในผลงานของขาพเจามีการแสดงออกใหเห็นถึงพื้นผิวที่มีความแตกตาง แตแสดงจังหวะการเคล่ือนไหวท่ีคลายกัน จัดอยูในลักษณะพื้นผิวท่ีจับตองได อันเกิดจาก 4 กระบวนการดังนี้ 4.1 ลักษณะพ้ืนผิวท่ีตางระดับกัน อันเกิดจากการวางทับซอนกันของรูปทรง ท่ีมีความสูงตํ่าไมเทากัน

4.2 ลักษณะพื้นผิวท่ีเปนรองรอยท่ีเกิดจากการแกะไมเปนรูปทรงและลวดลายตาง 4.3 ลักษณะพื้นผิวท่ีเปนรองรอยท่ีเกิดจากการขูดชันบนพื้นไม 4.4 ลักษณะพื้นผิวท่ีเปนรองรอยท่ีเกิดจากการพิมพ

นอกจากจะแสดงลักษณะของรองรอยท่ีทําใหเกิดพื้นผิวตางๆแลว กระบวนการเหลานี้ยังแฝงและสอดแทรกนัยยะทางความคิดไวดวย 5. ท่ีวาง การกําหนดพื้นท่ีวางในการสรางสรรคงานของขาพเจา ไดใชลักษณะของพื้นที่วางจริงในสวนท่ีเปนระยะหางของแผนไมช้ินเล็กๆและพ้ืนแผนภาพท่ีลึกไปขางหลัง รวมท้ังการจัดจังหวะการจัดภาพรวมของงานใหมีลักษะการวางที่เปนกลุม ในสวนของพ้ืนท่ีวางลวงที่ใหความรูสึกทาง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 28: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

17 สายตานั้นเกิดจากเสนตางๆท้ังท่ีแสดงลวดลายและรูปทรงมีการเคล่ือนไหวอยูท่ัวท้ังภาพ รูปทรงใหญจึงเปนตัวกําหนดพื้นท่ีวาง รวมท้ังน้ําหนักท่ีสวางและเขมก็เปนกําหนดความชัดเจนและเปนตัวแบงระหวางรูปทรงกับพื้นท่ีวาง เทคนิคและวิธีการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ ในการสรางสรรควิทยานิพนธของขาพเจาใหความสําคัญกับเทคนิควิธีการสรางสรรค เพราะการนําทัศนธาตุตางๆมาประกอบกันเปนรูปทรงนั้น จําเปนตองใชเทคนิคท่ีเปนลักษณะเฉพาะตนท่ีเกิดจากทักษะท่ีชํานาญ ประสานเพื่อเช่ือมกันระหวางเร่ืองราวและรูปทรง ในการประกอบกันข้ึนเปนรูปทรงตางๆ ซ่ึงสามารถลําดับเร่ืองราวกอนหลังไดดังนี้ 1. ข้ันตอนการเตรียมงาน เม่ือเก็บขอมูลตางๆเปนท่ีเรียบรอยแลัวก็ประมวลความคิดและจินตนาการถายทอดลงบนภาพราง แลวจึงนําขยาย จากน้ันจึงคัดลอกชิ้นสวนท่ีตองการลงบนแผนไมเพื่อตัดเปนรูปทรงตาง และทําการขัดขุยของไมท่ีเกิดข้ึนหลังการเล่ือยดวยกระดาษทรายเพื่อใหเกิดความเรียบเนียน 2. ข้ันตอนเตรียมพื้น ใชไมอัดปูประกอบเขาโครงไมใหไดขนาดตามท่ีตองการ คัดลอกภาพรวมคราวๆลงบนพ้ืนไมอัดเพื่อกําหนดขอบเขตในสวนท่ีจะตองลงสีหรือทาชันยาเรือ 3. วางชิ้นสวนของไมช้ินเล็กเพื่อกําหนดรูปทรงยอย,ลวดลายและสีลงบนตัวพื้นไมและไมอัดช้ินเล็กๆ 4. ข้ันตอนทางเทคนิคในการสรางสรรค 4.1 การระบายสีอะคริลิค 4.1.1 ใชวิธีการลงสีแบบแบนๆ ลงบนไมอัดท่ีถูกตัดเปนรูปทรงตางๆการระบายสีภายในงานแบงเปน 2 ลักษณะคือ การระบายสีแบบทึบ,เขม,หนา เพื่อชวยสงใหลวดลายท่ีถูกแกะนั้นชัดข้ึน และการระบายสีแบบบางเบาเพ่ือสรางอากาศใหเกิดขึ้นภายในงาน 4.1.2 ลงสีโดยใชพูกัน แตมใหเกิดแสงเงาเพื่อสรางปริมาตรและระยะของงาน เก็บรายละเอียดดวยการตัดเสนคลายภาพในงานจิตรกรรมไทย 4.2 เทคนิคการแกะไม 4.2.1 เม่ือทําการระบายสีอะคริลิคลงบนไมแลวจึงรางในสวนท่ีเปนราย- ละเอียดอีกคร้ังเพื่อกําหนดทิศทางของเสนและลวดลายท่ีตองการใสลงบนงาน 4.2.2 ใชเคร่ืองมือแกะไม แกะใหเปนรูปทรงตามท่ีรางไวหรือเปนลวดลายตาม จินตนาการ เทคนิคการแกะไมในการสรางสรรคงานชุดนี้จึงแบงออกไดเปน 2 สวน คือ การแกะไม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 29: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

18 ไปตามแบบรางตามรูปทรงบังคับ และการแกะไมแบบสดโดยที่ผูแกะจะใสลวดลายและกําหนดทิศทางการแกะไปตามความคิดและอารมณ ณ ขณะน้ัน

4.3 เทคนิคการขูดบนชัน 4.3.1 เตรียมสวนผสมในการสรางเนื้อชัน ซ่ึงไดแก ผงชัน ข้ีเล่ือย น้ํามันยาง และ หากตองการใหเนื้อชันมีสี ใชวิธีผสมสีฝุนแลวคนใหเขากัน 4.3.2 ลงสีบนพื้นไมในสวนท่ีจะเทชันใหเปนสีท่ีตองการเพราะเม่ือขูดชันแลวสีพื้เหลานั้นจะข้ึนมาเปนเสนตามสีท่ีไดวางไวแตสีจะเขมข้ึนและอาจถูกเปล่ียนไปตามสีฝุนท่ีผสมไวกับตัวชัน 4.3.3 เม่ือสวนผสมท้ังหมดคลุกเคลาเขากันดี ใหท้ิงไวสักพักเพื่อใหชันเซ็ตตัวแลวตักเนื้อชันลงบนพ้ืนท่ีท่ีตองการ ใชเกรียงปาดใหเนื้อชันเรียบแบนเสมอพื้นหรือสรางเปนพื้นผิวตามแบบท่ีตองการ 4.3.4 ใชวัสดุปลายแหลม ท่ีมีขนาดเล็กใหญตางกัน ขูดเปนลวดลายท่ีตองการ ถาตองการแกะใหมีน้ําหนักชันท่ีสวางสุดใหรอจนชันแหงเกือบสนิทแลวใชเคร่ืองมือแกะไมรูปตัว V แกะเปนลวดลายหรือสรางน้ําหนักใหกับงาน 5. นําไมท่ีเปนช้ินสวน ติดดวยกาวลาเทกซ ท้ิงไวใหแหงกอนเคล่ือนยาย ปรับเปล่ียน เพิ่มเติม ในสวนของน้ําหนักและใสรายละเอียดในสวนท่ีตองการ เพื่อหาความลงตัวและความสมบูรณของงาน 6. ทาเคลือบงานดวยน้ํายาเคลือบเพื่อรักษาเนื้อไมจากมอดและปลวก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 30: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

19

ภาพท่ี 7 ภาพอุปกรณท่ีใชในการสรางสรรค

Page 31: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

20

ภาพท่ี 8 ภาพรางบนกระดาษ

ภาพท่ี 9 ภาพรางท่ีขยายลงบนกระดาษลอกลาย

Page 32: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

21

ภาพท่ี 10 ภาพการลอกลายลงบนไมอัด

ภาพท่ี 11 ภาพข้ันตอนการตัดไม

Page 33: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

22

ภาพท่ี 12 ภาพไมอัดท่ีตัดเสร็จแลวถูกนํามาจัดวางเพื่อหาความลงตัว

ภาพท่ี 13 ภาพข้ันตอนการลงสีลงบนผลงาน

Page 34: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

23

ภาพท่ี 14 ภาพข้ันตอนการผสมชันยาเรือและสีฝุน

Page 35: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

24

ภาพท่ี 15 ภาพข้ันตอนการลงชันยาเรือบนผลงาน

Page 36: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

25

ภาพท่ี 16 ภาพข้ันตอนการแกะไมและขูดชันยาเรือ

ภาพท่ี 17 ภาพการวางองคประกอบแตละช้ินสวนเพื่อดูภาพรวมของงาน

Page 37: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

26

ภาพท่ี 18 ภาพการลงสีและการแกะไมผลงานท่ีเสร็จสมบูรณ

ภาพท่ี 19 ภาพการลงสีและการแกะไมลงบนผลงานท่ีเสร็จสมบูรณ

Page 38: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

27

บทท่ี4

การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ

ในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ “ จินตนาการความทรงจํา ” ชุดนี้เปนการทํางานอยางตอเนื่องเกี่ยวกับเนื้อหาเร่ืองราวที่เกิดจากภาพความทรงจําในวัยเยาวตอบุคคลในครอบครัวซ่ึงเปนผูมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตของขาพเจา เปนจุดเร่ิมตนใหเกิดการคนพบแนวคิดรูปแบบและวิธีการแสดงออกทางศิลปะท่ีมีลักษณะเฉพาะตน โดยมุงเนนใหมีการคนควาหารูปทรงท่ีมีความสมบูรณและส่ือความหมายตรงตามจุดประสงคในการแสดงออกโดยสามารถลําดับพัฒนาการทางการสรางสรรคไดดังนี้

การสรางสรรคและพัฒนากอนผลงานวิทยานิพนธในระยะแรก

เปนผลงานท่ีเกิดจากการทดลอง ท้ังทางดานรูปทรงและเทคนิค เพื่อคนหาลักษณะพิเศษเฉพาะตน เกิดเปนกระบวนการแกะไมผสมผสานเขากับการขูดขีดบนพื้นชันเพื่อสรางพื้นผิวใหมีความกลมกลืนกัน โทนสีท่ีใชจะเนนไปทางสีวรรณะรอนหรือสีสันสดใสเพ่ือสะทอนความสดใสราเริงของความเปนเด็ก ลักษณะการเลาเร่ืองราวของภาพเปนไปแบบตรงไปตรงมา บรรยากาศโดยรวมท้ังหมดถูกลอมรอบไปดวยเสนท่ีวิ่งเคล่ือนไหวไปทั่วท้ังภาพ

ปญหาในการสรางสรรค ทางดานรูปทรง เปนช้ินสวนยอยท่ีรวมกันแลวเกิดมิติท่ีเทากันหมดท่ัวท้ังภาพ ทําใหผล

งานขาดจุดเดน รูปทรงตางๆท่ีประกอบกันยังดุไมนาสนใจเทาท่ีควร ลักษณะของเสนท่ีใชก็ดูวุนวายกระจายไปท่ัวท้ังภาพ ทําใหบรรยากาศภายในงานเกิดความอึดอัดเพราะการวางเสนท่ีแนนจนเกินไปผสมกับความทึบของเน้ือสีท่ีระบายลงบนพื้นไม ยึ่งทําใหงานดูแข็งและทึบตัน โทนสีท่ีใชในงานก็ยังไมแนชัดวาไปในทิศทางใด การสรางสรรคในระยะน้ีอยูในการทดลองเก่ียวกับโทนสีท่ีจะใช จึงมีการปรับเปล่ียนอยูตลอดเพ่ือหาความลงตัว

ทางดานเน้ือหา ยังคงเปนเร่ืองราวท่ีตอเนื่องจากศิลปนิพนธการกําหนดขอบเขตของเนื้อหายังคงเปนเร่ืองราวแบบเดิมๆท่ีบางคร้ังทําไปก็รูสึกวาวนซํ้ากับความคิดเดิม รูปแบบรูปทรงท่ีสรางมาก็ถูกจํากัดดวยเร่ืองราว ทําใหขาดอิสระในการสรางสรรคทางรูปทรง

Page 39: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

28

ทางดานเทคนิค การแกะไมและขูดบนพ้ืนชันยังคอนขางจะมีความหยาบและดิบอยูมากอันเนื่องจากขาพเจาตองการเสนท่ีเกิดความสด และตัดทอนใหอยูในรูปทรงท่ีเรียบงายทําใหงานโดยรวมดูไมคอยเรียบรอย

ผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะแรก

ภาพท่ี 20 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะแรกชิ้นท่ี 1

Page 40: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

29

ภาพท่ี 21 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะแรกช้ินท่ี 2

Page 41: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

30

ภาพท่ี 22 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะแรกช้ินท่ี 3 การสรางสรรคและพัฒนากอนผลงานวิทยานิพนธในระยะท่ี 2

Page 42: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

31

ผลงานในระยะน้ีมีการพัฒนาทั้งทางดานรูปแบบการสรางสรรคและวิธีคิด มีการปรับเปล่ียนโดยเกิดจากจากคิดวิเคราะหเกี่ยวกับปญหาของผลงานในชวงแรกทําใหเกิดการแกปญหาทางการแสดงออก สามารถจําแนกการพัฒนาไดดังนี้

การพัฒนาทางดานรูปทรง มีการสรางจุดเดนภายในงานดวยการการจัดวางองคประกอบ มีการใชรูปทรงใหญเล็กเพื่อสรางระยะและมีการปดทองภายในภาพเพื่อเนนในสวนสําคัญใหดึงดูดตอสายตา การจัดวางมีการเปล่ียนแปลงจากที่เคยสรางงงานบนเฟรมส่ีเหล่ียมถูกคล่ีคลายใหเปนรูปทรงอิสระตามท่ีไดออกแบบไว ผลงานจึงเกิดการปฏิสัมพันธกับพื้นท่ีวางดานหลัง ทําใหงานลดความอึดอัดจากเสน โดยพุงออกไปตามรูปทรงอิสระท่ีเกิดจากการกระจายตัวรวมท้ังการเจาะชองเพื่อใหอากาศวิ่งวนไปทั่วท้ังงงาน โทนสีท่ีใชถูกขมวดใหอยูในโทนเดียวกัน และใชสีคูตรงขามเพียงเล็กนอยเพื่อเปนสรางความนาสนใจใหกับงาน

การพัฒนาทางดานเน้ือหา เนื่องดวยแนวความคิดท่ีขาพเจาจํากัดมันใหอยูแคในเร่ืองของการทําบุญ ทําใหกลับมาคิดทบทวนใหมเกี่ยวกับเนื้อหาใหกวางข้ึนโดยใชความรูสึกของตัวเองเปนหลักในการดําเนินเร่ือง กอใหเกิดเปนเร่ืองราวตางๆท่ีนําพาไปสุความสุขในวัยเยาว มีความเปนแฟนตาซีมากข้ึนอันเนื่องจากอิสระในการควบคุมเนื้อหา

การพัฒนาทางดานเทคนิค การเล่ือยไมถูกปรับเปล่ียนใหมาตัดงานท่ีมีขนาดใหญ และการแกะไมถูกขยายอาณาเขตใหกวางข้ึนจากท่ีเคยแกะลงบนแผนไมเล็กๆ มีการใหรายละเอียดภายในงานเพิ่มข้ึนทําใหงานมีความประณีตและคอนขางมีความสมบูรณ

แตปญหาภายในงานก็ยังคงพบอยู อันเนื่องจากกการที่ปรับงานใหเปนรูปทรงอิสระ ทําใหความแข็งแรงนอยลงจึงจําเปนตองระมัดระวังในการขนยายและการแตกหักของช้ินงาน อีกท้ังตองอาศัยอความระมัดระวังอยางสูงในการเล่ือยไมเพราะผลงานคอนขางมีสวนเวาสวนโคงจํานวนมาก และจากคําแนะนําของเหลาอาจารยทานไดช้ีแนะในเร่ืองของพ้ืนท่ีเฟรมดานหลังท่ีรองตัวงานวาควรเปนพื้นผิวหรือใชโทนสีท่ีสรางความเคล่ือนไหวใหเขากันกับผลงานดานหนาดวยแทนที่จะเปนพื้นสีขาวธรรมดา

Page 43: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

32

ผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2

ภาพท่ี 23 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 1

Page 44: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

33

ภาพท่ี 24 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 2

Page 45: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

34

ภาพท่ี 25 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 3

Page 46: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

35

ภาพท่ี 26 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 4

Page 47: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

36

ภาพท่ี 27 ภาพและรายละเอียดผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 5 การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ

Page 48: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

37

เปนการรวบรวมความคิด เทคนิควิธีการสรางสรรค รวมถึงการสรุปความคิด อารมณและความรูสึกใหตรงตามจุดมุงหมายท่ีขาพเจาตองการ โดยไดมีการแกไขพัฒนาผลงานมาเปนลําดับ เพื่อใหเกิดความสมบูรณ โดยผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ ยังคงมุงเนนการแสดงออกแบบอุดมคติของไทยผสมผสานเขากับวิถีชีวิตพ้ืนบาน โดยใชเร่ืองราวจากกิจกรรมตางๆของความทรงจําเดิมในวัยเยาว เขามาสอดแทรกภายใตจินตนาการทางความคิดและอารมณความรูสึก

ผลงานวิทยานิพนธ “ จินตนาการจากความทรงจํา ”แบงออกเปน 2 ชุดดังนี้ 1. ผลงานชุด “ นางฟา ” มีจํานวนผลงานท้ังหมด 4 ช้ิน 2. ผลงานชุด “ เปดบาน ” มีจํานวนผลงานท้ังหมด 13 ช้ิน

ผลงานวิทยานิพนธชุดท่ี 1 ผลงานชุด “นางฟา” นี้ เปนการเลาเ ร่ืองท่ีตางไปจากผลงานในชวงระยะกอน

วิทยานิพนธท่ีมักจะมีตัวละครมากมายในการดําเนินเร่ือง แตในชุดนี้จะเปนการดึงความประทับใจสวนตัวและใชตัวเองเปนตัวละครหลักในการดําเนินเร่ือง

“ นางฟา ” เปนตัวละครในโลกแบบอุดมคติท่ีมีความเปนสากล มาจากเทพนิยายหรือเร่ืองเลาปรัมปรา มักเปนตัวละครท่ีซอนอยูภายใตความเชื่อทางศาสนามีท่ีอยูอาศัยคือสวรรค นอกเหนือจากการอานนิยาย,เร่ืองเลา,คัมภีรตางๆ ยังจะสามารถพบเห็นไดตามฝาผนังวัด,โบสถคริสต หรือแมแตภาพยนตร,การตูนตางๆ ลักษณะทางกายภาพเปนหญิงสาวท่ีสวยสดงดงาม บางมีปกและมีเคร่ืองประดับสวมใสท่ีสวยงามสามารถเหาะเหินเดินอากาศได และมีความเช่ือกันวานางฟาเกิดข้ึนจากการกระทําความดี

จากประสบการณการรรับรูในเร่ืองนี้ รวมตัวกับจินตนาการและแนวความคิด ขาพเจาสรางสรรคผลงานออกมาโดยแทนคาตัวเองในวัยเด็กใหเปน”นางฟา”ซ่ึงเปนสัญลักษณของความดีงาม เปนตนแบบท่ีเด็กผูหญิงทุกคนใฝฝน นางฟาในจินตนาการของขาพเจาจึงเปนสัญลักษณท่ีแสดงออกถึงความสดใสราเริง การเปนผูอุมชูและแบกรับความดีงามไว สามารถเหาะเหินไปในท่ีตางๆเพื่อนําพาและเผยแพรความดีงามนั้นติดตามไปดวย โดยแฝงนัยยยะทางพุทธศาสนาของการทําดีไดดี

การสรางสรรคผลงาน จะเปนการยอขนาดลงมาจากผลงานระกอนวิทยานิพนธชวงทาย เพ่ือแกปญหาทางดานเทคนิดเนื่องจากการทํางานในพ้ืนท่ีกวางทําใหการแกะไมเปนไปอยางลาชาและการควบคุมจังหวะในการแกะไมท่ีคอนขางยาก ทําใหการทํางานไมเปนไปอยางตอเนื่อง องคประกอบท่ีเล็กลงมาทําใหสามรถควบคุมและกําหนดรูปทรงไดงายข้ึน มีการแกะลวดลายตางๆแทรกเขาไปในสวนของหนาตาผิวหนังตางๆของนางฟาเพื่อสรางความกลมกลืนภายในผลงาน

Page 49: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

38 ลักษณะการสรางงานเปนชุด ทําใหช้ินงานยอยมีการทํางานรวมกันกับพื้นท่ีวาง เกิดชองวางของอากาศไหลเช่ือมกันกับรูปทรงยอยท้ัง 4 ทําใหสามารถจําลองพ้ืนท่ีเหลานั้นเปนดั่งอากาศในวิมานท่ีเหลานางฟาใชโบยบิน ภาพผลงานวิทยานิพนธชุด “ นางฟา ”

ภาพท่ี 28 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟา

Page 50: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

39

ภาพท่ี 29 ภาพและรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟาช้ินท่ี 1

Page 51: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

40

ภาพท่ี 30 ภาพและรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟาช้ินท่ี 2

Page 52: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

41

ภาพท่ี 31 ภาพและรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟาช้ินท่ี 3

Page 53: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

42 ภาพท่ี 32 ภาพและรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟาช้ินท่ี 4 ผลงานวิทยานิพนธชุดท่ี 2

ผลงานชุด “ เปดบาน ” เปนการแสดงเร่ืองราวที่ เกิดข้ึน ณ ศูนยรวมของคนในครอบครัว เปนจุดเร่ิมตนในการเชื่อมโยงความสัมพันธ เหตุการณแตละเร่ืองราวถูกบันทึกดวยแกะเปนรองรอยลงบนรูปทรงท่ีไดตระเตรียมไว โดยกําหนดใหอยูภายในกรอบที่สามารถคล่ีคลายรูปทรงใหเปนไปตามความคิดความรูสึกท่ีตองการ กรอบท่ีกําหนดไวอยางคราวๆนั้นมีจุดประสงคเพ่ือทําใหงานมีเคาโครงโดยรวมคลายกับหนาตาง เม่ือใดท่ีเราเปดหนาตางออกเราจะเห็นทิวทัศนหรือเร่ืองราวภายนอกหนาตางนั้นแตกตางกันออกไปโดยขึ้นอยูกับมุมมองความคิดและอารมณความรูสึกของแตละคน

“ เปดบาน ” จึงเปนการรวบรวมมุมมองทางความคิดของขาพเจาท่ีมีตอครอบครัว มีท่ีมาจากความทรงจําในวัยเยาวท่ีฝงตัวแนนอยูภายในจิตใตสํานึก แสดงเร่ืองราวของความประทับใจ,ความรักความอบอุน ผานกระบวนการสรางสรรคท่ีแสดงออกถึงจินตนาการทางรูปทรงท่ีมีความสอดคลองเช่ือมโยงกันในแตละช้ินงาน

ลักษณะการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ เปนการรวบยอดทางความคิดท่ีคอนขางชัดเจนท่ีสุด ท้ังการแสดงดานเน้ือหาและการแสดงออกในสรางสรรค เทคนิคและกระบวนการตางๆสงเสริมใหงานมีความสมบูรณมากข้ึน รวมท้ังอารมณความรูสึกภายในงานท่ีเกิดข้ึนจากบรรยากาศของสีโดยรวม ทําใหอารมณภาพกับเทคนิคเกิดความประสานกลมกลืนกัน

Page 54: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

43

ภาพผลงานวิทยานิพนธชุด “ เปดบาน ”

ภาพท่ี 33 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน

ภาพท่ี 34 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน

Page 55: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

44

ภาพท่ี 35 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 1 และ ช้ินท่ี 2

ภาพท่ี 36 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 3 และ ช้ินท่ี 4

Page 56: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

45

ภาพท่ี 37 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 5 และ ช้ินท่ี 6

ภาพท่ี 38 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 7 และ ช้ินท่ี 8

Page 57: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

46

ภาพท่ี 39 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 9

ภาพท่ี 40 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 10

Page 58: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

47

ภาพท่ี 41 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 11

ภาพท่ี 42 ภาพผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 12 และช้ินท่ี 13

Page 59: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

49

บทท่ี 5

สรุปการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ

ผลงานวิทยานิพนธชุด “จินตนาการความทรงจํา ”นี้ เปนผลงานท่ีเกิดจาการคนควา

ทดลองและพัฒนาผลงานมาอยางตอเนื่อง โดยนําเอาความคิดและแรงบันดาลใจมาจากภาพความทรงจําในวัยเยาวท่ีมีตอบุคคลในครอบครัว การปลูกฝงความดีงามทางวัฒนธรรม และประเพณีตางๆ ดวยการรวรวมขอมูลทางความคิดจากภาพสะทอนภายในใจท่ีผนวกเขากับกับจินตนาการสวนตัว มีการเปล่ียนแปลงแกไขเพื่อใหผลงานท่ีไดใกลเคียงกับความคิดและอารมณความรูสึกท่ีขาพเจาตองการถายทอดมากที่สุด ซ่ึงท้ังหมดเกิดจากกระบวนการเรียนรู การศึกษาทดลองคนควา การปรับเปล่ียนทัศนวิสัย รวมถึงการรับคําปรึกษาจากคณาจารยผูสอนท่ีชวยเพิ่มเติมในมุมมองทางความคิดใหมีความชัดเจนมากยิ่งข้ึน

ความประทับใจจากครอบครัวของขาพเจาเปนสวนชวยขับเคล่ือนการสรางสรรค ท่ีนําไปสูการพัฒนาท้ังดานเร่ืองราวและเทคนิควิธีการใหเกิดเปนรูปแบบเฉพาะตน เพื่อส่ือสารไปยังผูท่ีเขามาสัมผัสรับรูใหไดเพลิดเพลินและอ่ิมเอมใจไปกับจินตนาการที่หอหุมอารมณความรูสึกภายในของขาพเจาไว โดยหวังอยางยิ่งวาผลของมันอาจจะนําซ่ึงรอยยยิ้มเล็กๆของผูคนในสังคมภายใตสภาวะของโลกที่มีมลภาวะทางจิตใจเพิ่มมากข้ึนทุกวัน รอยยิ้มเปรียบเสมือนภูมิตานทานท่ีทําใหเรามีจิตใจท่ีแข็งแรง และเปนจุดเร่ิมตนนําไปสูการพัฒนาสรางสรรคส่ิงดีๆใหกับสังคมตอไป

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 60: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

50  

รายการอางอิง

จุฑารัตน เอ้ืออํานวย.จิตวิทยาสังคม.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2549. ชลูด นิ่มเสมอ.วาดเสนสรางสรรค.กรุงเทพฯ : อัมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง,2553. ชัยณรงค เจริญพานิชยกุล.ภาพพิมพการพิมพแมพิมพนูนต่ํา.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ,2531. มติชนออนไลน.ประชันชางศิลป 58 รุน ผลงานกวา350ชิ้น โลกงดงามนาอยูดวยศิลปน. เขาถึงเม่ือ 21 เมษายน 2556. เขาถึงไดจาก http://www.matichon.co.th/news. เมตา วิวัฒนานุกูล.การส่ือสารตางวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ,2548. สน สีมาตรัง.มหากาพยภาพพิมพแกะไมของประพันธ ศรีสุตา 2504-2503.กรุงเทพฯ : สยามทองกิจ ,2554. อนุมานราชธน,พระยา.ศิลปสงเคราะห.กรุงเทพฯ : บริษัทวิสคอมเซนเตอร จํากัด,2553.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 61: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

ภาคผวก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 62: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

52  

รายละเอียดผลงานการสรางสรรค

ผลงานการสรางสรรคผลงานกอนวิทยานพินธในระยะแรก 1. ผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะแรกช้ินท่ี 1 ช่ือผลงาน “ สรางบุญ1 ” ขนาด 100 x 120 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2553 2. ผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะแรกช้ินท่ี 2 ช่ือผลงาน “ สรางบุญ2 ” ขนาด 122 x 150 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2553 3. ผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะแรกช้ินท่ี 1 ช่ือผลงาน “ สรางบุญ3 ” ขนาด 150 x 180 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2553 ผลงานการสรางสรรคผลงานกอนวิทยานพินธในระยะท่ี 2 1. ผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 1 ช่ือผลงาน “ สรางบุญ4 ” ขนาด 117 x 138 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2554 2. ผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 2 ช่ือผลงาน “ สรงนํ้า ” ขนาด 117 x 138 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2554 3. ผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 3 ช่ือผลงาน “ ปกษาบิณฑ ” ขนาด 118 x 166 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2554 4. ผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 4 ช่ือผลงาน “ งานวัด ” ขนาด 137 x 152 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2554 5. ผลงานกอนวิทยานิพนธในระยะท่ี 2 ช้ินที่ 5 ช่ือผลงาน “ เติบโต ” ขนาด 170 x 200 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2554 ผลงานวิทยานพินธชุดนางฟา 1. ผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟา ช้ินท่ี 1 ช่ือผลงาน “ นางฟา 1 ” ขนาด 65 x 92 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2555 2. ผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟา ช้ินท่ี 2 ช่ือผลงาน “ นางฟา 2 ” ขนาด 69.5 x 104 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2555 3. ผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟา ช้ินท่ี 3 ช่ือผลงาน “ นางฟา 3 ” ขนาด 74.5 x 87 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2555 4. ผลงานวิทยานิพนธชุดนางฟา ช้ินท่ี 4 ช่ือผลงาน “ นางฟา 4 ” ขนาด 79.5 x 86 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2555

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 63: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

53  ผลงานวิทยานพินธชุดเปดบาน 1. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 1 ช่ือผลงาน “ ชุมนุมนางฟา ” ขนาด 56 x 66 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 2. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 2 ช่ือผลงาน “ ด.ญ. บัว ” ขนาด 56 x 66 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 3. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 3 ช่ือผลงาน “ บานพักใจ ” ขนาด 49 x 67 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 4. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 4 ช่ือผลงาน “ เปด ” ขนาด 40 x 52 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 5. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 5 ช่ือผลงาน “ ลูกสาว ” ขนาด 23 x 76 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 6. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 6 ช่ือผลงาน “ กลอม ” ขนาด 34 x 47 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 7. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 7 ช่ือผลงาน “ มัจฉาหรรษา ” ขนาด 43 x 57 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 8. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 8 ช่ือผลงาน “ อุมบุญ ” ขนาด 30 x 51.5 เซนติเมตร เทคนคิผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 9. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 9 ช่ือผลงาน “ บานสวน ” ขนาด 94 x 147 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 10. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 10 ช่ือผลงาน “ เรือนใจ ” ขนาด 49 x 58 เซนติเมตร เทคนคิผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 11. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 11 ช่ือผลงาน “ แมลูก ” ขนาด 38 x 29 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 12. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 12 ช่ือผลงาน “ ปลอย ” ขนาด 29.5 x 23 เซนติเมตร เทคนคิผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556 13. ผลงานวิทยานิพนธชุดเปดบาน ช้ินท่ี 13 ช่ือผลงาน “ พาย ” ขนาด 20 x 41 เซนติเมตร เทคนิคผสม ปท่ีสราง พ.ศ 2556

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 64: ณฑ 2555 - Silpakorn University · 10 ภาพการลอกลายลงบนไม อัด 21 11 ภาพขั้นตอนการตัดไม 21 12 ภาพไม

54  

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ-สกุล นางสาวหนึ่งฤทัย เผือกเพี้ยน เกิด 1 ตุลาคม 2529 ท่ีอยู 4/47 หมูบานรมเย็น(บางปง) ถ.สุขุมวิท ต.ปากนํ้า อ.เมือง จ. สมุทรปราการ 10270 ประวัติการศึกษา

พ.ศ.2552 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาศิลปบัณฑิตภาควิชาศิลปไทยคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร

พ.ศ.2553 ศึกษาตอระดบัปริญญาศิลปมหาบัณฑติ สาขาทัศนศิลป ภาควิชาศิลปไทย คณะจติรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการแสดงงาน

พ.ศ.2551 รวมเขียนปฏิทินภาพอุทยานประวัติศาสตร บริษัท กนกสิน พ.ศ.2552 รวมแสดงนิทรรศการจิตรกรรมบัวหลวง คร้ังท่ี 31

รวมแสดงศิลปกรรมรวมสมัยของศิลปนรุนเยาวคร้ังท่ี 26 รวมแสดงนิทรรศการรําลึกวันศิลป พีระศรี

พ.ศ.2553 รวมแสดงนิทรรศการจิตรกรรมบัวหลวง คร้ังท่ี 32 รวมแสดงศิลปกรรมรวมสมัยของศิลปนรุนเยาวคร้ังท่ี 27 รวมแสดงงานมหกรรมศิลปศึกษา – ชางศิลป [ Visual Arts Festival2010 ]

พ.ศ.2554 ผานการอบรมคายเยาวชนสรางสรรคผลงานศิลปะรวมสมัย คร้ังท่ี 2 ณ บานดํานางแล จังหวดัเชียงราย

แสดงนิทรรศการเดี่ยว “ Memoir OF Imprinted Imageries ” แกลอร่ีเอ็น , กรุงเทพฯ

พ.ศ.2555 รวมแสดงนิทรรศการศิลปกรรมคณาจารยคณะศิลปวจิิตร สถาบันบัณฑิต พัฒนศิลป 2555

รวมแสดงนิทรรศการ “ไทยเท จากทองถ่ินสูอินเตอร” ณ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร

รวมแสดงนิทรรศการ 3 รอบ 36 ป ภาควชิาศิลปไทย มศก. พ.ศ.2556 รวมแสดงนิทรรศการ ศิลปไทย [ THAIART EXHIBITION 2013 ] , หอ

ศิลปจามจุรี,กรุงเทพฯ

สำนกัหอ

สมุดกลาง