ณฑ 2550 กษา - silpakorn universityself-health care behavior of the middle age residents in...

145
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิจังหวัดกาญจนบุรี โดย นายจรุง วรบุตร วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 14-Mar-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี

โดย นายจรุง วรบุตร

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน

ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี

โดย นายจรุง วรบุตร

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 3: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

SELF-HEALTH CARE BEHAVIORS AMONG THE MIDDLE AGE RESIDENTS IN AMPHOE SRISAWAT CHANGWAT KANCHANABURI

By Charung Worabutr

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF ARTS

Department of Psychology and Guidance Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2007

Page 4: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง “ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวดักาญจนบุรี” เสนอโดยนายจรุง วรบุตร เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน

……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตังกูร)

คณบดีบัณฑติวิทยาลัย วันท่ี..........เดอืน.................... พ.ศ...........

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ 1. รองศาสตราจารยลิขิต กาญจนาภรณ 2. อาจารย ดร.นงนุช โรจนเลิศ 3. ผูชวยศาสตราจารยสุรีรัตน บุรณวณัณะ คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมทรัพย สุขอนันต) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (นายอรรณพ สนธิไชย ) (รองศาสตราจารยลิขิต กาญจนาภรณ) ............/......................../.............. ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยสุรีรัตน บุรณวณัณะ) (อาจารย ดร.นงนชุ โรจนเลิศ) ............/......................../.............. ............/......................../..............

Page 5: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

46256327 : สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน คําสําคัญ : พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง / ประชาชนวัยกลางคน / ความรูดานสุขภาพ / การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล

ส่ิงของ และบริการ / การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง

จรุง วรบุตร : พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : รศ.ลิขิต กาญจนาภรณ , ผศ.สุรีรัตน บุรณวัณณะ และอาจารย ดร. นงนุช โรจนเลิศ. 133 หนา.

การวิจัยคร้ังนี้มีวตัถุประสงคเพื่อศกึษา 1) ระดับความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและ

บริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน 2) เปรียบเทยีบความแตกตางของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง จําแนกตาม เพศ อายุ รายได ระดบัการศกึษา อาชพี และภาวะสุขภาพ และ 3) ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบรีุ

กลุมตัวอยาง เปนประชาชนวัยกลางคน อายุ 40-60 ป ในเขตอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี จํานวน 349 คน ไดมาโดยวิธีการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย เปนแบบสัมภาษณที่ผูวิจัยสรางข้ึน สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย ( X ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบคาที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One–way Analysis of Variance) และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญ ของตัวแปรที่นําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis)

ผลการวิจัย พบวา 1. ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง

ของประชาชนวัยผูใหญ อยูในระดบัปานกลาง 2. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน อยูในระดับมาก สวนพฤติกรรม

ดานการสงเสริมสุขภาพ อยูในระดับปานกลาง 3. ประชาชนวัยกลางคน ที่มีภาวะสุขภาพตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติที่ระดับ .01 4. การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการสงเสริมสุขภาพ ไดรอยละ 15.20 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 5. การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และความรูดานสุขภาพ สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการปองกันโรค ไดรอยละ 17.60 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 6. การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และความรูดานสุขภาพ สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ไดรอยละ 21.20 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001

ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศกึษา 2550 ลายมือชือ่นักศึกษา……………………………………………… ลายมือชือ่อาจารยที่ปรึกษาวทิยานิพนธ 1……….…….…......……. 2…………….…..…...…….. 3……......……..………

Page 6: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

46256327: MAJOR : COMMUNITY PSYCHOLOGY KEY WORD : SELF-HEALTH CARE BEHAVIOR / THE MIDDLE AGE/ THE KNOWLEDGE OF HEALTH /

RECEIVING OF INFORMATION–MATERIAL AND SERVICES SUPPORT / PERCEIVED HEALTH STATUS.

CHARUNG WORABUTR : SELF-HEALTH CARE BEHAVIOR AMONG THE MIDDLE AGE

RESIDENTS IN AMPHOE SRISAWAT CHANGWAT KANCHANABURI. THESIS ADVISORS : ASSOC.PROF. LIKHIT KARNCHANAPORN, ASST.PROF. SUREERAT BURANAWANNA AND NONGNUCH ROTJANALERT, Ed.D. 133 pp.

The purposes of this research were :- 1) To study the level of knowledge of health,

receiving of information-material and services support, perceived health status among the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. 2) To compare self-health care behavior as classified by gender, age, income level, educational level, occupation and health status. 3) To determine

receiving of information-material and services support and perceived health status were predictors of self-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi derived by Multi-stage Random Sampling Technique. Instruments used to collect data were questionnaires constructed by the researcher. Data

were analysed for percentage(%), mean( X ), standard deviation(S.D.), t-test, One–way ANOVA and the Stepwise Multiple Regression Analysis.

The results found that : 1. Knowledge of health, receiving of information-material and services support, perceived health

status were at the moderate level. 2. The middle age’s self-health care behavior concerning health prevention was at the high level,

while health promotion was at the moderate level. 3. The middle age’s self-health care behavior as classified by health status were significantly

different at .001. 4. Receiving of information-material and services support and perceived health status predicted

the middle age residents’ health promotion behavior at the percentage of 15.20, with statistical significance at .001.

5. Receiving of information-material and services support and knowledge of health predicted the middle age residents’ health prevention behavior at the percentage of 17.60, with statistical significance at .001.

6. Receiving of information-material and services support and knowledge of health predicted self-health care behavior at the percentage of 21.20, with statistical significance at .001.

Department of Psychology and Guidance Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2007

Student’s signature ………………………………………………

Thesis Advisors’ signature 1……………..….…….. 2…………………...….. 3…………

Page 7: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยดี ผูวิจัยขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารยลิขิต

กาญจนาภรณ อาจารยท่ีปรึกษา ท่ีใหความเมตตา กรุณาและปรารถนาดี ชวยแนะนํา ท้ังในดานเน้ือหาและกระบวนการตางๆของการจัดทําวิทยานิพนธ มาโดยตลอด ขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.สมทรัพย สุขอนันต ผศ.สุรีรัตน บุรณวัณณะ และอาจารย ดร. นงนุช โรจนเลิศ ท่ีกรุณาใหคําแนะนําท่ีเปนประโยชน การตรวจสอบความถูกตอง และความสมบูรณของวิทยานิพนธ ตลอดจน คณาจารยของสาขาจิตวิทยาชุมชนทุกทาน ท่ีไดกรุณาอบรมส่ังสอน ถายทอดประสบการณ และองคความรูตางๆ ท้ังในดานทฤษฎีและการ ฝกปฏิบัติ ซ่ึงคําแนะนําและประสบการณตางๆ ท่ีผูวิจัยไดรับจากคณาจารยทุกทาน กอใหเกิดมุมมองและแนวคิดใหมๆ ท่ีชวยสรรสรางประสบการณในการเรียนรู ไดอยางนาภาคภูมิใจ

ขอขอบพระคุณ อาจารยอรรณพ สนธิไชย วิทยาจารย จากวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวดัสุพรรณบุรี ท่ีใหความกรุณาเปนผูทรงคุณวุฒิ สละเวลาอันมีคาใหแกผูวิจยั และใหคําปรึกษาแนะนํา ตลอดจนแนวคิดตางๆดานวชิาการ ทําใหเกิดกระบวนการเรียนรูท่ีมีคุณคายิ่ง

ขอขอบพระคุณ ทานสาธารณสุขอําเภอศรีสวัสดิ์ ผูอํานวยการโรงพยาบาลชุมชนในพ้ืนท่ี ท้ัง 2 แหง ท่ีใหความกรุณาและอํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานในพื้นท่ี ท้ังในดานการประสานงาน การอํานวยการ งบประมาณ และยานพาหนะ พรอมกันนี้ ขอขอบคุณคณะเจาหนาท่ีสาธารณสุขของสถานีอนามัยและโรงพยาบาลทุกทาน ท่ีไดสละเวลาชวยเหลือผูวิจัยในการเก็บขอมูลเปนอยางดี

ขอขอบพระคุณ ผูนําชุมชน กํานัน ผูใหญบาน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และประชาชน ท่ีมีสวนเกีย่วของและใหขอมูลตามแบบสัมภาษณทุกทาน

ขอขอบพระคุณสมาชิกครอบครัววรบุตร ทุกทาน อันมีคุณพอ คุณแมและพ่ีนอง เปนสําคัญ ท่ีคอยใหกําลังใจ ใหความหวงใย และใหการสนับสนุนผูวิจัยในดานตางๆตลอดเวลาท่ีทําการศึกษาตอ เปนอยางดี ขอบคุณประธานรุนและเพ่ือนๆนกัศึกษาสาขาจิตวิทยาชุมชน ภาคพิเศษรุนท่ี 3 ทุกทาน ท่ีไดใหความชวยเหลือในดานตางๆ ตลอดจนแสดงความหวงใย และเปนกําลังใจกันมาโดยตลอด

คุณคาและประโยชนท่ีพึงจะเกิดข้ึนจากวทิยานิพนธเลมนี้ ผูวิจัยขอบูชาตอพระคุณของบิดา มารดา อันเปนส่ิงประเสริฐสูงสุดในชีวิต ตลอดจนคณาจารยทุกทาน ท่ีไดใหโอกาสและมอบส่ิงดีๆ ใหแกผูวิจัย ซ่ึงผูวจิัยจะขอนําไปใชในการพัฒนาตน สังคมและประเทศชาติ ตอไป

Page 8: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ ..................................................................................................................... ฉ สารบัญตาราง ............................................................................................................................. ฌ 1 บทนํา ....................................................................................……….......................... 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ................................……............…. 1 วัตถุประสงคการวิจยั .............................................................………………. 5 ปญหาการวิจยั ......................................................................……………….... 6 สมมติฐานการวิจัย .............................................................……..................... 6 ขอบเขตการวจิัย ................................................................……..................... 7 นิยามศัพทเฉพาะ ..........................................................…….......................... 8

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ .........................................…............................... 11 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยัท่ีเกี่ยวของ ......................................................................... 12 แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับประชาชนวัยกลางคน ................................................ 12 แนวคิดเกีย่วกบัพฤติกรรมสุขภาพ .......................................……................... 17 แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤตกิรรมการดูแลสุขภาพตนเอง .......…................... 18 ความรูดานสุขภาพ …..................……………………………………….….. 26 แนวคิดเกีย่วกบัการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ ......... 41 การรับรูภาวะสุขภาพ ..................………………………….……………….. 46 งานวิจยัท่ีเกีย่วของกับตัวแปรสวนบุคคล …………..................…………….. 49 บริบทชุมชนและสภาพปญหาทางสุขภาพ อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี 54 กรอบแนวคิดในการวิจัย ....................................................…......................... 58 3 วิธีดําเนนิการวิจัย ........................................................................…….......................... 59 ประชากรและกลุมตัวอยาง ......................................……............................... 59 ตัวแปรท่ีศึกษา ..............................................................…….......................... 62

Page 9: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

บทท่ี หนา

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย ................................…….................................................. 63 การสรางเคร่ืองมือและพัฒนาเคร่ืองมือ .............................................……….....…. 67 การเก็บรวบรวมขอมูล .....................................………............................................ 68 การวิเคราะหขอมูล ......................................................…………...…...................... 69 4 การวิเคราะหขอมูล ................................................................................………..................... 71 สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ........................................................................ 72

ตอนท่ี 1 การวิเคราะหวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของประชาชนวยักลางคน อําเภอศรีสวสัดิ์ จังหวดักาญจนบุรี ......................…………...…...........… 73

ตอนท่ี 2 การวิเคราะหระดบัความรูดานสุขภาพ การสนบัสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตน และพฤติกรรมการดูแล สุขภาพของประชาชนวยักลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ....... 74

ตอนท่ี 3 การวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชน วัยกลางคนจําแนกตามขอสวนบุคคลท่ีตางกัน ........................................... 76

ตอนท่ี 4 การวิเคราะหปจจยัท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ พฤติกรรมการปองกันโรค และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ประชาชนวยักลางคน ................................................................................ 81

5 สรุป อภิปราย และขอเสนอแนะ ............................................................................................ 89 สรุปผลการวิจัย ......................................................................................... 90 การอภิปรายผล .......................................................................................... 92 ขอเสนอแนะ ............................................................................................. 103 ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช ......................................... 103 ขอเสนอแนะในการทําการวจิัยคร้ังตอไป ....................................... 104

บรรณานุกรม ...............................................................................................…………........................ 105 ภาคผนวก ...............................................................................................…………............................ 112 ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ ........................................................................ 113 ภาคผนวก ข คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาระดับ

ของแบบสัมภาษณ ................................................................. 126 ประวัติผูวจิัย .......................................................................................................................................... 133

Page 10: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา 1 แสดงการจดัสรรงบประมาณดานสาธารณสุข โดยจําแนกรายกิจกรรมหลักของ กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 5-10 .............. 2

2 แสดงจํานวนประชากรวยักลางคนและจํานวนกลุมตัวอยาง จําแนกรายหมูบานและตําบล... 61 3 แสดงจํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จาํแนกตามเพศ อายุ รายได ระดับการศึกษา อาชีพหลัก และภาวะสุขภาพ ................................................................................................ 73 4 แสดงรอยละของระดับความรูดานสุขภาพของกลุมตัวอยาง ................................................ 75 5 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาระดับของการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล

ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง ...................................................... 76 6 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาระดับของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของกลุมตัวอยาง ................................................................................................................... 76 7 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน

จําแนกตามเพศ ..................................................................................................................... 77 8 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน

จําแนกตามภาวะสุขภาพ ...................................................................................................... 77 9 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาระดับ ของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของกลุมตัวอยาง จําแนกตามรายได ..................................................................................... 77 10 แสดงการทดสอบความแปรปรวน เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ

ประชาชนวยักลางคน จําแนกตามรายได ........................................................................... 78 11 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาระดับ ของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ ......................................................................................... 77 12 แสดงการทดสอบความแปรปรวน เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ

ประชาชนวยักลางคน จําแนกตามอายุ ................................................................................ 79 13 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาระดับ ของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา ...................................................................... 79

Page 11: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

ตารางท่ี หนา

14 แสดงการทดสอบความแปรปรวน เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ประชากรวยักลางคน จําแนกตาม ระดับการศึกษา ............................................................... 80

15 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาระดับ ของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของกลุมตัวอยาง จําแนกตาม อาชีพ ...................................................................................... 80

16 แสดงการทดสอบความแปรปรวน เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคน จําแนกตามอาชพี ..................................................................... 81

17 แสดงสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธระหวางความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุน ดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพตนเอง(X3) และพฤติกรรมการ สงเสริมสุขภาพ (Y1) ........................................................................................................... 82

18 แสดงการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณของตัวแปรอิสระไดแก ความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง (X3) ท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ (Y1)โดยใช การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ...................................................................... 83

19 แสดงสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธระหวางความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุน ดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง(X3) และพฤติกรรม การปองกันโรค (Y2) ........................................................................................................... 84

20 แสดงการวเิคราะหการถดถอยพหุคูณของตัวแปรอิสระ ไดแก ความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพตนเอง (X3) ท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการปองกันโรค (Y2) โดยใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ........................................................................ 85

21 แสดงสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธระหวางความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุน ดานขอมูล ส่ิงของและบริการ (X2) การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง (X3) และพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน (Ytotal) .................................................... 86

Page 12: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

ตารางท่ี หนา

22 แสดงการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณของตัวแปรอิสระไดแก ความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพของ ตนเอง(X3) ท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง (Ytotal) โดยใชการ วิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ...................................................................... 87

23 แสดงคาเฉล่ีย ( X ) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคาระดับของการไดรับการ สนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ ของประชาชนวยักลางคน จําแนกรายขอ ......... 127

24 แสดงคาเฉล่ีย ( X ) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคาระดับของการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง ของประชาชนวยักลางคน จําแนกรายขอ ....................................................... 129

25 แสดงคาเฉล่ีย ( X ) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคาระดับของพฤติกรรมการ ดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวยักลางคน จําแนกรายขอ ............................................ 130

Page 13: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

1

บทท่ี 1

บทนํา ความเปนมาและความสําคญัของปญหา

จากการปฏิรูประบบสุขภาพของคนไทย อันเนื่องมาจากการเปล่ียนแปลงและพัฒนารูปแบบไปตามสภาวการณตางๆท่ีเปล่ียนแปลงไป โดยมีปจจัยท่ีเกี่ยวของท้ังทางดานเศรษฐกจิ ดานสังคม ดานการเมือง ดานการปกครอง และแมกระท่ังการเปล่ียนแปลงทางดานส่ิงแวดลอม ทําใหคนไทยมีวิถีการดาํรงชีวิตท่ีเปล่ียนไปจากเดิม การเปล่ียนแปลงดังกลาว ยอมสงผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนท่ัวไป นอกจากนี้ แบบแผนการเกิดโรคหรือปญหาสุขภาพอนามัย มีการเปล่ียนไปจากปญหาท่ีเกิดจากโรคติดตอและโรคจากความยากจน มาเปนโรคไมติดตอและโรคท่ีเกิดจากพฤติกรรม ท่ีมีความสลับซับซอนเพิ่มข้ึน ซ่ึงโรคเหลานี้ เปนโรคท่ีเกิดจากการมีพฤติกรรมในการดํารงชีวิต ท่ีไมถูกตองเหมาะสม เชน การสูบบุหร่ี ดื่มสุรา การบริโภคอาหารท่ีมีไขมันสูง มีเสนใยกากอาหารนอย การบริโภคอาหารท่ีไมสะอาดปลอดภัย มีสีฉูดฉาด ไมมีคุณคาทางโภชนาการ การใชสารเคมีกําจดัศัตรูพืชอยางไมถูกตองเหมาะสมและการไมระมัดระวังของเกษตรกร กอใหเกิดอันตรายจากสารเคมีตกคางในส่ิงแวดลอม การขาดการออกกําลังกาย ขาดการพกัผอนท่ีเหมาะสมเพียงพอ การไมไปรับบริการตรวจสุขภาพประจําป ภาวะเครียดในชีวติประจําวนั การไมสวมหมวกนิรภัยหรือไมคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับข่ีพาหนะ หรือแมกระท่ัง การมีพฤติกรรมทางเพศท่ีไมถูกตอง เปนตน อัตราปวยดวยโรคท่ีเกิดจากพฤติกรรมดังกลาวท่ีพบ ไดแก โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหติสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง ภาวะโภชนาการเกินหรือโรคอวน อุบัติเหตุจากการขับข่ีพาหนะ โรคเอดสหรือโรคติดตอทางเพศสัมพันธ และปญหาทางสุขภาพจิตและจติเวช ซ่ึงสงผลกระทบเชิงลบตอบุคคล ครอบครัวและชุมชน ท้ังในระยะส้ันและระยะยาว เชน ทําใหเจ็บปวย สูญเสียสมรรถภาพในการทํางาน อาจพิการหรือเสียชีวิตได เสียเวลาในการประกอบอาชีพ ขาดรายได เปนภาระแกครอบครัว เสียคาใชจายในการรักษาพยาบาล สงผลตอภาวะสุขภาพจิตของสมาชิกในครอบครัว เนื่องจากหลายโรคหลายปญหา กลายเปนโรคเร้ือรัง ตองใชระยะเวลาและคาใชจายในการดูแลรักษาเปนจํานวนมาก ดงันั้น ความสําคัญของการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพท่ีถูกตอง นอกจากจะชวยใหบุคคลมีสุขภาพท่ีสมบูรณแข็งแรง แลวยังสามารถชวยลดคาใชจายดานสุขภาพอีกดวยซ่ึงแตละป รัฐบาลตองจัดสรรงบประมาณดานการรักษาพยาบาลแกประชาชนเปนมูลคามหาศาล สวน งบประมาณดานการสงเสริมสุขภาพนั้น ไดรับการจัดสรรท่ีนอยกวาเม่ือเทียบกับดานรักษาพยาบาล

1

Page 14: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

2

ตั้งแตแผนพฒันาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 5 เปนตนมาดังปรากฏในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 แสดงการจัดสรรงบประมาณดานสาธารณสุขโดยจําแนกรายกิจกรรมหลักของ กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี5 ถึงฉบับท่ี 10

กิจกรรมหลัก บริการรักษาพยาบาล การสงเสริมสุขภาพ การควบคุมโรค

เบ้ืองตน

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

(ฉบับท่ี)

งบ ประมาณ

(ลานบาท)

รอยละ เม่ือเทียบ กับ งปม. จัดสรร

งบ ประมาณ

(ลานบาท)

รอยละ เม่ือเทียบ กับ งปม. จัดสรร

งบ ประมาณ

(ลานบาท)

รอยละ เม่ือเทียบ กับ งปม. จัดสรร

ฉบับท่ี 5 (2525-2529) 26,053.77 58.54 7,678.67 17.25 4,502.25 10.12 ฉบับท่ี 6 (2530-2534) 42,996.71 57.91 11,978.34 16.13 8,143.44 10.97 ฉบับท่ี 7 (2535-2539) 124,262.44 55.52 43,161.80 19.29 26,311.92 11.75 ฉบับท่ี 8 (2540-2544) 182,394.81 55.12 54,618.37 16.50 36,612.44 11.06 ฉบับท่ี 9 (2545-2549) 216,464.52 56.62 67,384.52 19.33 47,311.86 12.93 ฉบับท่ี 10 (2550-2554) 379,668.81 59.34 96,092.74 24.19 68,942.61 14.87

ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข สํานักนโยบายและแผนสาธารณสุข ,2550 : 18-19

หลังจากท่ีประเทศไทยตองประสบกับภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจ ในป 2540 รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข ไดนําแนวคิดการดําเนินงานดานสุขภาพ ท่ีเนนระบบ “การสราง นําซอม” ซ่ึงหมายถึง มุงเนนในกิจกรรมหรือการกระทําท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมท่ีเอ้ือตอการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค มากกวากิจกรรมหรือการกระทําท่ีเกี่ยวของกับการบําบัดรักษาหรือการฟนฟูสภาพ ลดการใชเทคโนโลยีท่ีไมจําเปน หันมาใชภูมิปญญาทองถ่ินซ่ึงเปนตนทุนทางสังคมท่ีมีอยูในทุกชุมชนมากข้ึน ซ่ึงจะแตกตางกันตามบริบทของแตละชุมชน อีกท้ังตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินนั้น ทําใหเกิดการปรับเปล่ียนระบบสุขภาพ เพื่อรองรับการกระจายอํานาจดานสุขภาพ ลดการผูกขาดการดูแลสุขภาพโดยบุคลากรวิชาชีพ หันมาสนับสนุนการสรางความเขมแข็งของประชาชนและชุมชนในการดูแลสุขภาพตนเองมากข้ึน เพื่อใหปราศจากโรคและความพิการ และไดรับประโยชนจากการจัดสรรทรัพยากร โดยการมีสวนรวมของภาคีตางๆที่เกี่ยวของ ท้ังภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาคการเมือง และองคกร

Page 15: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

3

ปกครองสวนทองถ่ิน ประกอบกับ โรคติดตอท่ีเปนปญหาเดิม เชน โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน โรคมาลาเรีย มีแนวโนมลดลง สถานการณโรคเอดสในประชาชน ปญหาสุขภาพจิตและโรคจิตเวชในคนไทย ปญหาดานอาชีวอนามัยและอนามัยส่ิงแวดลอม ก็มีขนาดและความรุนแรงเพิ่มข้ึนทุกป ขณะท่ีปญหาโรคติดตอใหมๆ เชน โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงหรือโรคซารส โรคไขหวัดนก ก็เปนปญหาท่ี รัฐบาล ใหความสําคัญตอการปองกันและควบคุมโรคอยางเรงดวน เนื่องจากกอใหเกิดความสูญเสียดานสุขภาพ และบ่ันทอนทรัพยากรทางเศรษฐกิจและสังคมอยางมาก ปจจัยของปญหาเหลานี้ นอกจากอิทธิพลของพันธุกรรมและสภาวะแวดลอมแลว ปจจัยดานพฤติกรรมสวนบุคคล ก็เปนสาเหตุสําคัญของการเกิดปญหา และมีแนวโนมจะเปนปญหามากข้ึน หากประชาชนยังไมปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพใหเหมาะสม องคการอนามัยโลก ไดเสนอแนะวา การใชกลวิธีการสงเสริมการดูแลสุขภาพใหแกประชาชน ใหเกิดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางถูกตองเหมาะสมน้ัน จะสามารถแกปญหาดานสุขภาพอนามัย ใหประสบผลสําเร็จไดเปนอยางดี ซ่ึงในประเทศตะวันตกหลายประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ แคนนาดา ออสเตรเลีย สามารถลดพฤติกรรมเส่ียงทางสุขภาพของประชาชนลงไดดวยกลวิธีดังกลาว จึงสงผลใหแนวโนมสถานการณของปญหาสุขภาพประชาชนลดลงดวย ดังนั้น จึงเห็นไดวา การดูแลสุขภาพตนเอง เปนกลวิธีหนึ่งท่ีใชเพ่ือสงเสริมใหประชาชน สามารถทํากิจกรรมตางๆท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพไดดวยตนเอง ประหยัดงบประมาณ และเปนองคประกอบพื้นฐานท่ีสําคัญยิ่งของระบบบริการสาธารณสุข เพราะการดูแลตนเองอยางถูกตอง จะทําใหบุคคลมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสม ชวยประคับประคองกระบวนการชีวิตและสงเสริมความเปนปกติสุขของรางกายและจิตใจ

ประชาชนวัยกลางคน เปนชวงวัยท่ีมีบทบาทสําคัญในครอบครัวและสังคม นับเปนอีกชวงวัยหนึ่งท่ีเปนหัวเล้ียวหัวตอท่ีสําคัญของชีวิต ซ่ึงจะมีวิถีการดําเนินชีวิต พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ และการประกอบอาชีพการงานท่ีแตกตางกันไป นอกจากนี้ ในวัยนี้ มักจะพบลักษณะของการเปล่ียนแปลงท้ังทางสภาพรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา ซ่ึงจากการเปล่ียนแปลงในดานตางๆดังกลาว จึงทําใหเกิดปญหาท่ีเกี่ยวของกับบุคคลในวัยนี้ ซ่ึงปญหาท่ีพบบอย ไดแก ความเส่ือมถอยของรางกาย ทําใหขาดความกระฉับกระเฉง ระดับความสามารถทางสติปญญาลดลง ปญหาเกี่ยวกับโรคภัยไขเจ็บท่ีเกี่ยวของกับความเส่ือมลงของสภาพรางกายและพฤติกรรมการดําเนินชีวิตท่ีไมถูกตอง ปญหาดานเศรษฐกิจรายไดของครอบครัว ปญหาเรื่องบุตร ปญหาในชีวิตสมรส เปนตน จะเห็นไดวา จากการเปล่ียนแปลงดังกลาว นอกจากจะเกิดข้ึนในระดับบุคคลแลว ยังสงผลกระทบในแงสังคมและเศรษฐกิจ ตอครอบครัวและชุมชนไดดวย สําหรับดานภาวะสุขภาพหรือโรคภัยไขเจ็บนั้น ดังไดกลาวแลววา สวนใหญเกิดจากความเส่ือมของอวัยวะตางๆของรางกาย และการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองที่ไมถูกตองในชีวิตประจําวัน ซ่ึงถาบุคคลใหความตระหนักและเอาใจใสดูแล

Page 16: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

4

สุขภาพตนเองใหถูกตอง ตลอดจนมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสม เชน การบริโภคอาหาร การออกกําลังกาย การหลีกเล่ียงการใชสารเสพติดชนิดตางๆ การจัดการความเครียด การปองกันอุบัติเหตุจากการขับข่ีพาหนะ และการปองกันโรคตางๆ เปนตน ยอมจะชวยสงเสริมใหบุคคลมีสุขภาพรางกายและสุขภาพจิตท่ีสมบูรณแข็งแรง ดังนั้น พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง จึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งสําหรับบุคคลในวัยนี้เชนกัน

อําเภอศรีสวัสดิ์ มีสภาพพื้นท่ีราบซ่ึงใชเปนพื้นท่ีทํากินภาคเกษตรกรรม เพียงรอยละ 15 เปนผืนปาและภูเขา รอยละ 35 และตอนกลางของพ้ืนท่ีเปนอางเก็บน้ําขนาดใหญ ถึงรอยละ 50 ประชากรสวนใหญ จะต้ังบานเรือนอยูบริเวณชายอางเก็บน้ําดังกลาว ท้ังเพ่ือการประกอบอาชีพและเปนท่ีพักอาศัย มีท้ังเปนเรือนแพและบานเปนหลังๆ อาชีพหลักท่ีสําคัญ ไดแก การเกษตรกรรม เชน ทําไร ทํานา รอยละ 34.78 การเก็บและหาของปา รอยละ16.88 ธุรกิจทองเท่ียวประเภทแพพักแพลอง รอยละ 9.74 การประมง การเพาะเล้ียงและจับสัตวน้ํา รอยละ 7.89 ซ่ึงเปนอาชีพท่ีผูกพันกับปาและแหลงน้ํา จากลักษณะทางภูมิศาสตรของพ้ืนท่ี ลักษณะการประกอบอาชีพ ประกอบกับวิถีชีวิตประจําวันของชาวบานท่ีผูกพันกับปาและแหลงน้ํา จึงมีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน และการเกิดปญหาทั้งทางดานสุขภาพทางกายและจิต กลาวคือ ปญหาเกี่ยวกับโรคติดตอท่ีสําคัญ โดยสวนใหญเปนโรคประจําถ่ินและโรคของระบบทางเดินอาหารและนํ้า ซ่ึงพบวา อัตราปวยดวยโรคติดตอท่ีพบมาก 5 อันดับแรกในพ้ืนท่ี ไดแก โรคอุจจาระรวง โรคมาลาเรีย โรคปอดบวม โรคตาแดง และโรคอาหารเปนพิษ คิดเปนอัตรา 2,402.29 436.78 378.84 75.77 และ 37.14 ตอ 100,000ประชากรตามลําดับ (สํานักงานสาธารณสุขอําเภอศรีสวัสดิ์ 2549:42) สวนโรคไมติดตอท่ีสําคัญในกลุมประชากรท่ีมีอายุ 40 ปข้ึนไป พบวา อัตราปวยดวยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคมะเร็ง คิดเปนรอยละ 18.17 12.31 3.28 และ 1.95 ตามลําดับ ซ่ึงมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมสุขภาพท่ีไมถูกตอง การขาดความรูและความตระหนัก เชน พฤติกรรมการบริโภคอาหารท่ีเหลือขามม้ือ การบริโภคอาหารท่ีไมสะอาด รับประทานอาหารประเภทปงยางหรือสุกๆดิบๆ มีไขมันสูง ไมคํานึงคุณคาทางโภชนาการ ขาดการ ออกกําลังกายท่ีเหมาะสมตามวัย มีภาวะเครียดในชีวิตประจําวันซ่ึงเกิดจากการประกอบอาชีพ และภาระความรับผิดชอบท้ังสวนบุคคลและครอบครัว พฤติกรรมการสูบบุหร่ี ดื่มสุราหรือเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล โดยเช่ือวา จะชวยลดอาการปวดเม่ือยกลามเน้ือ ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานไดมากข้ึน ชวยทําใหรูสึกกระปร้ีกระเปราและผอนคลาย เปนตน การไมไปรับบริการตรวจสุขภาพประจําปจากสถานบริการสาธารณสุข เนื่องจากคิดวาไมมีภาวะเส่ียงทางสุขภาพ รวมทั้งการท่ีมิไดนําความรู ขอมูลขาวสารดานสุขภาพที่จําเปนและมีประโยชน จากส่ือและแหลงความรูตางๆในชุมชน ไปใชในการดําเนินชีวิต เพื่อปรับปรุง สงเสริมการมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน

Page 17: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

5

จากสภาพปญหาดังกลาวขางตน อาจกลาวโดยสรุปไดวา โรคภัยทางสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน มักจะมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมเส่ียงทางสุขภาพของบุคคล และแบบแผนการดําเนินชีวิตท่ีไมถูกตองต้ังแตอดีตตลอดมา ทําใหเกิดผลกระทบเชิงลบ ท้ังโดยทางตรงและทางออมตอบุคคล ครอบครัว ชุมชนและเกิดการ สูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศ กลาวคือ ผลกระทบทางตรง ไดแก ทําใหเกิดการเจ็บปวยท้ังทางดานรางกายและจิตใจ สูญเสียสมรรถภาพในการปฏิบัติงาน อาจพิการหรือเสียชีวิตได สวนผลกระทบทางออม ไดแก เสียเวลาในการประกอบอาชีพ เปนภาระแกครอบครัว ขาดรายได เสียคาใชจายในการรักษาพยาบาล เกิดปญหาสุขภาพจิตในครอบครัวตามมา นอกจากน้ี การท่ีชุมชนมีโรคหรือภัยทางสุขภาพตางๆมากมาย ยังเปนส่ิงท่ีบงช้ีถึงภาพลักษณของชุมชนอีกดวย อีกประการท่ีสําคัญคือ การขาดประชากรในวัยทํางานเพื่อการพัฒนาประเทศ ซ่ึงสงผลตอภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ดังนั้น จะเห็นไดวา ปญหาทางพฤติกรรมสุขภาพ มีความสําคัญยิ่ง ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลท่ีใหความสําคัญตอการปองกันและแกไขปญหาดานสุขภาพกายและจิต โดยกําหนดเปนดัชนีช้ีวัดในยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต อันเปน ยุทธศาสตรสุขภาพท่ีสําคัญระดับประเทศ ซ่ึงหนวยงานสาธารณสุขทุกระดับ ตระหนักถึงความสําคัญและใหการสนับสนุนตอการดําเนินงานมาโดยตลอด

ในการวิจัยคร้ังนี้ เนื่องจากผูศึกษาวิจัย ปฏิบัติงาน ในบทบาทของผูประสานนโยบายดานสาธารณสุข ท้ังในระดับอําเภอและจังหวัด พรอมท้ังใหการสนับสนุน การฝกอบรม ตลอดจนการใหคําแนะนําปรึกษาการดําเนินโครงการตางๆดานสุขภาพอนามัย ในทุกหมูบาน จึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี วัตถุประสงคการวิจัย

การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค เพื่อ 1. เพื่อศึกษาระดับความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและ

บริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี

2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี จําแนกตาม เพศ อายุ รายไดของครอบครัว ระดับการศึกษา อาชีพ และภาวะสุขภาพ

Page 18: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

6

3. เพื่อศึกษาวาความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤตกิรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวยักลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวดักาญจนบุรี

4. เพื่อศึกษาวา ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤตกิรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี

5. เพื่อศึกษาวา ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤตกิรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวยักลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ปญหาการวิจัย

1. ประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี มีความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง อยูในระดับใด

2 ประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ท่ีมี เพศ อายุ รายไดของครอบครัว ระดับการศึกษา อาชีพ และภาวะสุขภาพ ตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกันหรือไม อยางไร

3. ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ไดหรือไม อยางไร

4. ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ไดหรือไม อยางไร

5. ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนบัสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจยัท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวดักาญจนบุรี ไดหรือไม อยางไร

สมมติฐานการวิจัย

1. ประชาชนวยักลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวดักาญจนบุรี ท่ีตางเพศกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกัน

Page 19: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

7

2. ประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ ์ จังหวัดกาญจนบุรี ท่ีมีอายตุางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกัน

3. ประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ท่ีมีรายไดของครอบครัวตางกัน มีพฤตกิรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกนั

4. ประชาชนวยักลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวดักาญจนบุรี ท่ีมีระดับการศึกษาตางกัน มีพฤติกรรมการดแูลสุขภาพตนเอง แตกตางกัน

5. ประชาชนวยักลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จงัหวัดกาญจนบุรี ท่ีประกอบอาชีพตางกนั มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกัน

6. ประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ ์ จังหวดักาญจนบุรี ท่ีมีภาวะสุขภาพตางกนั มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกัน

7. ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ได

8. ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ได

9. ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ได ขอบเขตการวจัิย

1. ขอบเขตดานประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ประชากรทุกคนท่ีมีอายุตั้งแต 40-60 ป มีสัญชาติ

ไทย อาศัยอยูจริงในพื้นท่ีอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี มาเปนระยะเวลาไมนอยกวา 6 เดือน มีจํานวนท้ังส้ิน 2,751 คน (สํานักงานสาธารณสุขอําเภอศรีสวัสดิ์ 2549:41)

2. ขอบเขตดานกลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา คือ ประชากรที่มีอายุตั้งแต 40-60 ป ท่ีอาศัยอยูจริงใน

พื้นท่ี จํานวน 349 คน ซ่ึงไดมาจากการคํานวณขนาดของกลุมตัวอยาง โดยใชสูตรของยามาเน (Yamane, อางถึงใน พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 284) ท่ีระดับความเช่ือม่ัน รอยละ 95 สําหรับ

Page 20: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

8

ความคลาดเคล่ือน รอยละ 5 โดยทําการสุมตัวอยางแบบหลายข้ันตอน (Multi-Stage Random Sampling) ตามสัดสวนของประชากร จําแนกรายหมูบาน

3. ขอบเขตดานตัวแปร ตัวแปรท่ีใชในการศึกษาวิจยัคร้ังนี้ มีดังตอไปนี ้

3.1 ตัวแปรอิสระ ไดแก 3.1.1 ขอมูลสวนบุคคล ประกอบดวย เพศ อายุ รายไดของครอบครัว ระดับ

การศึกษา อาชีพ และภาวะสุขภาพ 3.1.2 ความรูดานสุขภาพ 3.1.3 การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ 3.1.4 การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง

3.2 ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคนแบงเปน 2 ดาน ไดแก พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ และ พฤติกรรมการปองกันโรค นิยามศัพทเฉพาะ

เพื่อใหเขาใจความหมายของคําท่ีใชในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ใหตรงกัน ผูวิจัยไดนิยามความหมายของคําตางๆ ไวดังนี้

1. ประชาชนวัยกลางคน หมายถึง ประชาชนท่ีมีอายุตั้งแต 40-60 ปบริบูรณ ท่ีอาศัยอยูจริงในพื้นท่ีอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี

2. รายไดของครอบครัว หมายถึง รายไดท่ีเปนจํานวนเงินท้ังหมดของสมาชิกในครอบครัว โดยคิดเปนรายเดือน แลวผูใหสัมภาษณเปนผูตัดสินใจวา

2.1 ไมเพียงพอ หมายถึง มีรายไดท่ีไมเพียงพอกับรายจายในแตละเดือน 2.2 เพียงพอแตไมเหลือเก็บ หมายถึง มีรายไดท่ีเพียงพอกับรายจายในแตละเดือน แต

ไมมีเหลือเก็บออม 2.3 เพียงพอและเหลือเก็บบาง หมายถึง มีรายไดท่ีเพียงพอกับรายจายในแตละเดือน

และยังมีเหลือเก็บออมบาง 3. อาชีพ หมายถึง ลักษณะงานท่ีทําเปนประจําและไดคาตอบแทนเปนรายได โดยระบุ

เพียงอยางเดียว ซ่ึงแบงเปน 3.1 ดานเกษตรกรรม ไดแก การเพาะปลูกพืช ทําไร ทํานา เล้ียงโคกระบือ 3.2 ดานการประมง ไดแก การจับสัตวน้ํา การเพาะเล้ียงสัตวน้ํา เพ่ือการจําหนายเปน

รายไดครอบครัว

Page 21: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

9

3.3 อาชีพธุรกิจทองเที่ยว ไดแก อาชีพท่ีเกี่ยวกับแพพัก แพลอง รีสอรท โฮมสเตย มัคคุเทศกในทองถ่ิน

3.4 อาชีพอ่ืนๆ ไดแก รับจางท่ัวไป คาขาย เก็บหาของปา รับราชการ หรือ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน

4. ภาวะสุขภาพ หมายถึง ภาวะความสมบูรณแข็งแรงท้ังทางรางกายและจิตใจของบุคคลวัยกลางคน โดยพิจารณาจากคําบอกเลาในการใหสัมภาษณหรือเอกสารยืนยันทางการแพทยวา ตนมีสุขภาพรางกายท่ีสมบูรณแข็งแรง หรือมีการเจ็บปวยดวยโรคเร้ือรัง เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง อาการปวดเม่ือยตามกลามเน้ือหรือขอ ความพิการทางรางกาย และปญหาสุขภาพจิต โดยแบงระดับภาวะสุขภาพออกเปน ภาวะสุขภาพสมบูรณแข็งแรง ไมมีโรคเร้ือรังประจําตัว และ มีโรคเร้ือรังประจําตัว

5. ความรูดานสุขภาพ หมายถึง ความรูเกี่ยวกับสุขภาพของบุคคลวัยกลางคนในดาน 5.1 การบริโภคอาหาร เปนความรูท่ีเกี่ยวกับเร่ืองประโยชน และขอปฏิบัติสําหรับการ

การรับประทานอาหารที่ดีของคนไทย 5.2 การออกกําลังกาย เปนความรูเกี่ยวกับประโยชน และหลักการออกกําลังกาย 5.3 การหลีกเล่ียงสารเสพติด เปนการหลีกเล่ียงการสูบบุหร่ี การดื่มสุรา หรือ

เคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล เปนความรูเกี่ยวกับ ผลเสียหรือผลกระทบ และคําแนะนําสําหรับผูท่ีตองการลด ละ เลิก

5.4 การจัดการความเครียด เปนความรูเกี่ยวกับสาเหตุของความเครียด ผลกระทบในดานตางๆ และวิธีการผอนคลายหรือการจัดการความเครียด เม่ือตองเผชิญเหตุการณท่ีทําใหเกิดความไมสบายใจ ความอึดอัด หงุดหงิด ฉุนเฉียว ภาวะบีบค้ัน จนเกิดเปนความเครียดข้ึนมา

5.5 การปองกันอุบัติเหตุจากการขับข่ีพาหนะ เปนความรูเกี่ยวกับพฤติกรรมการขับข่ีอยางปลอดภัย การสวมหมวกนิรภัยและการคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับข่ี การปฏิบัติตามกฎหมายการจราจร

5.6 การปองกันโรคติดตอและไมติดตอ เปนความรูเกี่ยวกับ โรคท่ีเปนโรคประจําถ่ิน ท่ีมีสาเหตุมาจากเช้ือโรค ไดแก ไขมาลาเรีย โรคอุจจาระรวง ไขเลือดออก รวมถึงโรคหรือภัยตางๆทางสุขภาพ ท่ี มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไมถูกตอง ไดแก โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคกระเพาะอาหาร ภาวะปวดเม่ือย ความพิการทางกาย และปญหาสุขภาพจิตอ่ืนๆ

6. การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ หมายถึง การท่ีบุคคลวัยกลางคนไดรับขอมูลขาวสาร คําแนะนํา การสนับสนุนหรือความชวยเหลือจากบุคคล หรือเครือขายในชุมชน

Page 22: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

10

ไดแก อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) เจาหนาท่ีสาธารณสุข และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน อาจอยูในรูปแบบของคําปรึกษาแนะนําในการแกไขปญหา หรือขอมูลขาวสารดานสุขภาพ ซ่ึงเม่ือนําไปปฏิบัติ จะมีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพในชีวิตประจําวันใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดี สามารถปรับตัวไดอยางปกติสุข การไดรับการสนับสนุนในท่ีนี้จะพิจารณาแบงเปน 2 ดาน คือ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล และการไดรับการสนับสนุนดานส่ิงของและบริการ

6.1 การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล หมายถึง การไดรับความชวยเหลือดานความรูคําแนะนําตางๆ ตลอดจนขอเสนอแนะตางๆท่ีเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย ทําใหไดรับขอมูลท่ีถูกตอง และเปนแนวทางในการนําไปปฏิบัติ เพื่อการดูแลสุขภาพตนเองได 6.2 การไดรับการสนับสนุนดานส่ิงของและบริการ หมายถึง การไดรับความ ชวยเหลือในดานวัสดุ ส่ิงของ แรงงาน อุปกรณ และการบริการดานสุขภาพ ท่ีตรงตามความจาํเปนของบุคคล เชน การตรวจสุขภาพรางกาย การรับบริการดานสุขภาพอนามัย จากสถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล การไดรับเวชภณัฑ ตลอดจนการเขารวมในกิจกรรมสุขภาพตางๆท่ีจัดข้ึนในชุมชน เปนตน โดยมีเปาหมายเพื่อการมีสุขภาพท่ีดีอยางยั่งยืน

7. การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง หมายถึง การที่บุคคลวัยกลางคนประเมินภาวะสุขภาพของตนเองท่ีเปนจริงในชีวิตประจําวัน ตามความรูสึกของบุคคลวา ตนเองมีสุขภาพดีหรือไม ท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต แบงเปน

7.1 การรับรูภาวะสุขภาพกาย หมายถึง การแสดงออกถึงความรูสึก ความคิดเห็นของบุคคลวัยกลางคน ท่ีมีตอสภาพความสมบูรณ หรือการทํางานของรางกายโดยรวม แลวนําไปเปรียบเทียบกับประสบการณเดิมหรือบุคคลอ่ืนๆในวัยเดียวกัน จากน้ันจึงตัดสินใจวา สุขภาพของตนเปนอยางไร

7.2 การรับรูภาวะสุขภาพจิต หมายถึง การแสดงออกถึงความรูสึก ความคิดเห็น การตัดสินใจ การยอมรับ ของบุคคลวัยกลางคนที่มีตอการสภาพความม่ันคงทางอารมณ และจิตใจ เม่ือเผชิญความเครียด ความวิตกกังวล แลวตัดสินใจวา ภาวะสุขภาพจิตของตนเปนอยางไร

8. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง การปฏิบัติตนหรือการดําเนินกิจกรรมใดๆอยางจงใจและมีเปาหมายของบุคคลวัยกลางคน เพื่อการดูแลสุขภาพอนามัยตนเอง ใหมีความสมบูรณแข็งแรง โดยพฤติกรรมดังกลาว แบงเปน

8.1 พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ หมายถึง การกระทําหรือการปฏิบัติตน เพื่อมุงเนนท่ีจะสงเสริมการมีสุขภาพอนามัยท่ีดี สมบูรณแข็งแรง ปราศจากการเจ็บปวย ซ่ึงจะนําไปสูการมีชีวิตท่ีเปนปกติสุข เชน การรับประทานอาหาร การออกกําลังกาย การพักผอน การหลีกเล่ียงการ

Page 23: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

11

สูบบุหร่ี การด่ืมสุรา การปฏิบัติตามกฎจราจรขณะขับข่ีพาหนะ ตลอดจนการมีกิจกรรมตางๆเพื่อลดความเครียดไดอยางเหมาะสม

8.2 พฤติกรรมการปองกันโรค หมายถึง การปฏิบัติตนในชีวิตประจําวัน เพื่อปองกันการเจ็บปวย หรือการไดรับเช้ือโรคท่ีจะกอใหเกิดปญหาตอสุขภาพ ตลอดจนการปฏิบัติหรือการดําเนินกิจกรรม เพื่อการควบคุม การปองกันความรุนแรง และลดการแพรระบาดของโรคท่ีจะกระทบตอสุขภาพตนเอง ท้ังท่ีเปนโรคติดตอและโรคไมติดตอ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ผลท่ีไดจากการศึกษาวิจัย สามารถนําไปเปนขอมูลประกอบการวางแผนพัฒนา เพื่อสงเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ตลอดจนสามารถนําไปจัดกิจกรรมเพื่อบริการดานสุขภาพไดอยางเหมาะสม อันจะนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน

2. การสงเสริมใหประชาชนมีการดูแลสุขภาพตนเองท่ีถูกตองเหมาะสม ลดพฤติกรรมเส่ียงทางสุขภาพ เปนกลวิธีหนึ่ง ท่ีจะสงผลใหแนวโนมของสถานการณปญหาทางสุขภาพและอัตราปวยดวยโรคตางๆของประชาชนลดลง ซ่ึงจะชวยประหยัดงบประมาณรายจายดานสุขภาพโดยรวมลงได

3. สามารถนําไปเปนแนวทาง เพื่อการศึกษา คนควาวิจัย ในประเด็นท่ีเกี่ยวของตอไป

Page 24: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

12

บทท่ี 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ เปนการศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยผูวิจัยไดศึกษาคนควาแนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยท้ังในและตางประเทศ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

1. แนวคิดเกี่ยวกับประชาชนวัยกลางคน 2. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ 3. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

3.1 ความหมายของการดูแลสุขภาพตนเอง 3.2 ทฤษฎีการดูแลตนเองของ โอเรม 3.3 การดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน 3.4 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

4. ความรูดานสุขภาพและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 5. แนวคิดการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 6. แนวคิดการรับรูภาวะสุขภาพของตนเองและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 7. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับตัวแปรสวนบุคคล 8. บริบทชุมชนและสภาพปญหาทางสุขภาพของประชาชน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัด

กาญจนบุรี 1. แนวคิด เก่ียวกับประชาชนวัยกลางคน

1.1 ความหมายของวัยกลางคน สุรางค จันทรเอม (2527 : 29) กลาววา วัยผูใหญตอนกลางหรือวัยกลางคน เร่ิมต้ังแต

อายุประมาณ 40-60 ป นับเปนหัวเล้ียวหัวตอท่ีสําคัญของวัยกลางคน เปนวัยท่ีเตรียมเขาสูวัยชรา ผูที่มีพัฒนาการท่ีเหมาะสมกับอายุท่ีผานมา จะชวยใหประสบผลสําเร็จในชีวิตครอบครัวและการงาน นับไดวาเปนยุคท่ีรุงเรืองท่ีสุดในชีวิต ซ่ึงจะมากหรือนอยเพียงใด ข้ึนอยูกับความสามารถและโอกาสของแตละบุคคล

สุชา จันทรเอม (2541 : 53-54) กลาววา วัยผูใหญแบงออกเปน 2 ชวง คือ วัยผูใหญตอนตน อยูในชวงอายุระหวาง 21-40 ป และวัยกลางคน เริ่มต้ังแตอายุ 40-60 ป จะเห็นไดวาชวงเวลา

12

Page 25: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

13

ท่ีเรียกวา “ผูใหญ”นั้น ยาวนานและมีความสําคัญตอชีวิตเปนอยางมาก ระยะนี้บุคคลมักจะมีการประกอบอาชีพท่ีม่ันคง ประสบความสําเร็จในชีวิต การงาน มีชีวิตคู นอกจากน้ี ยังพบการเปล่ียนแปลงทางดานรางกาย ตลอดจนการเส่ือมในดานความสามารถตางๆดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งระยะท่ียางเขาสูวัยกลางคน

ศรีเรือน แกวกังวาล (2545 : 42) กลาววา วัยผูใหญ นับเปนชวงวัยท่ียาวนานมาก มีชวงอายุระหวาง 20-60 ป นักจิตวิทยาพัฒนาการบางทาน แบงชวงวัยกลางคนออกเปน 3 ระยะกวางๆ คือ วัยผูใหญตอนตน วัยผูใหญตอนกลางหรือวัยกลางคน และวัยสูงอายุ ซ่ึงแตละวัย ก็จะมีแบบแผนของพัฒนาการท่ีเปนลักษณะเดนเฉพาะวัยท่ีตางกัน

สุรพล พยอมแยม (2545 : 34) กลาววา เปนวัยของบุคคลท่ีแสดงความรับผิดชอบตอสังคมมากข้ึน ความเจริญงอกงามทางชีวิตครอบครัวสูงข้ึน เร่ิมมีพฤติกรรมการปรับตัวตอรางกายของตน พฤติกรรมการทํางานจะเปนพฤติกรรมท่ีเดนชัดของบุคคลวัยนี้ สําหรับบุคคลที่ไมประสบผลสําเร็จในการทํางานหรือการมีชีวิตคู จะมีพฤติกรรมท่ีเปนการแสดงออกถึงความเครียด ซ่ึงมีมากในวัยนี้

จากความหมายดังกลาวขางตน จะเห็นไดวา บุคคลท่ีมีชวงอายุระหวาง 40-60 ป เปนชวงอายุของวยักลางคนท่ีมีวถีิการดําเนินชีวิต พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ การประกอบอาชีพการงานท่ีแตกตางกนัไป นอกจากนี้ ในวยันี้ มักจะพบลักษณะของการเปล่ียนแปลงท้ังทางสภาพรางกาย อารมณ สังคมและสติปญญา ดังนั้น การศึกษาวจิัยคร้ังนี้ จึงไดกําหนดใหวยักลางคน หมายถึงบุคคลท่ีมีอายุตั้งแต 40-60 ป

1.2 พัฒนาการและการเปล่ียนแปลงในวัยกลางคน พัฒนาการและการเปล่ียนแปลงท่ีพบไดบอยในวัยนี้ แบงไดเปน 4 ดาน

(สุรางค จันทรเอม 2527 : 31) ดังนี ้ 1.2.1 พัฒนาการดานรางกาย

รูปรางและอวยัวะภายนอกรางกาย ในวัยนี้ กระดูกจะเร่ิมเปราะบาง หักงายและฟนเร่ิมหลุดรวง เนื่องจากการ

สรางเซลลของกระดูกนอยกวาเซลลกระดูกท่ีสลายตัว ซ่ึงในบางคน โครงสรางของกระดูกจะมีการหดตัวทําใหดูเต้ียลง น้ําหนักมักจะเพิ่มมากข้ึน มีแนวโนมท่ีจะมีไขมันสะสมใตช้ันผิวหนังมากข้ึน โดยเฉพาะบริเวณหนาทอง กลามเน้ือบริเวณชองทอง ใตคอและใตแขนจะนุมนิ่มไมแข็งแรง การใชกลามเนื้อเช่ืองชาลง ผมเร่ิมหงอก ผมรวง บางคนเร่ิมมีภาวะศีรษะลาน ผิวหนังเร่ิมหยาบและปรากฏรอยยน

Page 26: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

14

อวัยวะภายในรางกาย ผนังเสนเลือดมีความยืดหยุนนอยลง มีไขมันเกาะ ทําใหการไหลเวียนของ

โลหิตไมสะดวก มีภาวะความดันโลหิตสูงข้ึนกวาปกติ ไตเร่ิมเส่ือมสภาพทําหนาท่ีกรองของเสียไมไดเต็มท่ี ซ่ึงปรากฏวาคนในวัยนี้ มักเปนโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจและไตกันมาก นอกจากน้ีตอมฮอรโมนตางๆเส่ือมลง สมรรถภาพทางเพศลดลง ในเพศหญิงอายุประมาณ 45-50 ป จะเกิดภาวะส้ินสุดการมีประจําเดือน สตรีไมสามารถมีลูกไดอีก สวนเพศชายมักจะพบภาวะตอมลูกหมากโต จึงมีปญหาตอระบบทางเดินปสสาวะ

อวัยวะสัมผัส ดวงตาเร่ิมเส่ือมสภาพ เปลือกตาจะเหี่ยวยน ดวงตาไมสดใส เพราะขาดน้ํา

หลอเล้ียงลูกตา แกวตาไมสามารถยืดหดตัวไดเหมือนกอนๆ จึงมองระยะใกลๆไมชัดเจน จึงเกิดภาวะท่ีรูจักกันท่ัวไปวา “สายตายาว” สวนคนท่ีสายตาส้ันมากอน อาจสามารถมองเห็นไดดีกวาตอนท่ีอยูในวัยกลางคนตอนตน สมรรถภาพของการไดยินเสียงของหูเร่ิมเส่ือมลง การไดยินเสียงจะเปล่ียนไป เสียงท่ีมักไดยินกอนคือเสียงแหลม นอกจากนั้น ประสาทสัมผัสของการไดกล่ิน การรับรส และการรับรูจะชาลงเร่ือยๆ ตามอายุท่ีเพิ่มข้ึน

1.2.2 พัฒนาการดานอารมณ คนในวัยนี้ มีอารมณท่ีผันแปรไดงาย เพราะมีประสบการณตางๆของชีวิต

หลายดานท่ีตองปรับตัว มีหนาท่ีท่ีจะตองรับผิดชอบดูแลบุตรหลาน และบิดามารดาตนเอง รวมทั้งงานท่ีทําอยู ประกอบกับการเปล่ียนแปลงของรางกายที่เส่ือมลง ทําใหเกิดอารมณท่ีหวั่นไหว อาจมีความกังวลหรือความเครียดเมื่อเขาสูวัยกลางคนซ่ึงเร่ิมจากอายุ 40 ปข้ึนไป การเปล่ียนแปลงท่ีมองเห็นไดชัดเจน จะแสดงออกในทางลักษณะอุปนิสัยและอารมณของท้ังชายและหญิง พบวารอยละ 50 ของหญิงวัยหมดระดูจะรูสึกไมสบาย หงุดหงิด โกรธงาย ไมพอใจในส่ิงตางๆโดยขาดเหตุผล หวาดระแวงไมไววางใจผูอ่ืน เปนผูท่ีตองการแสดงออกถึงความสามารถของตนเองมากข้ึน ตองการพึ่งตนเอง ชอบการแขงขัน และมีอารมณกาวราวมากกวาเดิม อาจแสดงออกซ่ึงลักษณะท่ีจัดวาเปนลักษณะความเปนชายมากข้ึน สวนในผูชายนั้น ในวัยนี้ อาจแสดงออกซ่ึงลักษณะท่ีจัดวาเปนลักษณะความเปนหญิง ไดแก ความตองการพ่ึงพาผูอ่ืน ชอบแสดงความรูสึกและอารมณมากข้ึน นอกจากน้ียังพบวา ท้ังสองเพศ ยังมีอารมณอยากกลับเปนหนุมเปนสาวอีกคร้ังกอนเขาสูวัยชราภาพ อาจแสดงพฤติกรรมตางๆ เชน หวนกลับไปสนใจเร่ืองการแตงตัวหรือแสดงพฤติกรรมแบบหนุมสาว เปนตน (ศรีธรรม ธนะภูมิ 2535 : 32)

Page 27: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

15

1.2.3 พัฒนาการดานสังคม คนในวัยนี้ จะเร่ิมทบทวนชีวิตในอดีตของตนวาดําเนินมาอยางไร อนาคต

จะเปนอยางไร รวมท้ังตองปรับตัวใหเขากับบทบาทของตนเองในสังคม บทบาทของการเปนบิดามารดาเร่ิมเปล่ียนแปลงไปจากเดิม ซ่ึงแตกอนเปนผูคอยดูแลบุตรอยางใกลชิด มาเปนเพียงท่ีปรึกษาอยูหางๆสวนบทบาทของการเปนสามีภรรยาก็มีการเปล่ียนแปลงไปจากหนุมสาว เนื่องจากไมตองใชเวลาในการดูแลบุตร ทําใหมีเวลาเปนของตนเองมากข้ึน เปนชวงระยะท่ีอาจทําใหเกิดความวาเหวไดมากหากไมมีกิจกรรมทดแทน ความรักในวัยหนุมสาวจะเปล่ียนเปนความรักของผูอยูรวมทุกขรวมสุขกันหรือเปนเพื่อนรวมชีวิตกัน วัยนี้เปนวัยท่ีคนมีความกาวหนาในอาชีพการงานและมีรายได ทําใหคนในวัยนี้ มีบทบาทท่ีสําคัญในสังคมกวางข้ึน ผูท่ีมีความสามารถสูง มีความชํานาญและมีประสบการณสูง ยอมเปนท่ียอมรับของหมูชน จะเขาสังคมและรวมในกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอสังคมมากข้ึน ในทางตรงกันขาม ผูท่ีมีความลมเหลวในชีวิต ก็จะไมตองการเขาสังคม มักแยกตัว และอาจไมประกอบอาชีพ ไมทําตนใหเกิดประโยชนและตองพึ่งพาญาติหรือบุตรหลาน ในชวงทายของวัยกลางคน บทบาททางสังคมจะนอยลง บางคนจะรูสึกลําบากใจท่ีไมมีใครใหความสนใจหรือยกยองตน อาจรูสึกนอยใจและเศราใจ ทําใหหมดความภาคภูมิใจในตนเอง อาจแยกตัวไมเขาสังคม ท้ังนี้ก็เพราะผูนั้น ไมสามารถยอมรับการเปล่ียนแปลงได ยังยึดม่ันอยูในลาภ ยศ สรรเสริญ ฉะนั้น จึงควรตระหนักในเร่ืองนี้ไวกอนท่ีจะเขาสูวัยกลางคน

1.2.4 พัฒนาการดานสติปญญา หลังจากอายุ 30 ป ความทรงจําเกี่ยวกับตัวเลขและการคิดคํานวณจะคอยๆ

ลดลง แตความสามารถทางสมองอ่ืนๆ ยังคงสูงข้ึนเร่ือยๆ เชน การจําคําศัพทไดมากข้ึน ผูท่ีใชสมองอยูเสมอ จะไมปรากฏรองรอยแหงความเส่ือมถอยในสมอง จนกวาจะอายุ 60 ป บุคคลในวัยนี้จะมีความคิดเปนระบบ มีความสัมพันธกันและเปนนามธรรม รวมท้ังยังมีลักษณะของความคิดท่ีสรางสรรค และคนหาปญหาดวย โดยมีขอสังเกตวา ความคิดสรางสรรคในวัยกลางคนตอนตน จะเปนไปในลักษณะหุนหันพลันแลนช่ัวขณะหนึ่งและรุนแรง สวนความคิดสรางสรรคในวัยกลางคน จะมีลักษณะประณีต ใชเวลามากกวา ชากวา ถูกตองมากกวา เนื่องจากมีความรูและประสบการณมาก ลักษณะความคิดของคนวัยกลางคน จะเปนไปไดหลายแบบ คือ มีท้ังเรียบงาย พลิกแพลงและแหวกแนว จึงพบวา พวกนักวิชาการ หรือนักวิทยาศาสตร ซ่ึงงานของพวกเขาตองอาศัยความรูและประสบการณมาก มักจะผลิตผลงานออกมาในชวงวัยกลางคน

จากการเปล่ียนแปลงของพัฒนาการในดานตางๆ ดังท่ีกลาวมาแลวขางตน จึงสงผลทําใหเกดิปญหาท่ีเกีย่วของกับบุคคลในวยันี้ ซ่ึงปญหาที่พบไดบอย(สุรางค จันทรเอม 2527 : 41) คือ

Page 28: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

16

1. ปญหาเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของรางกายและจิตใจ ในวัยนี้ มีการเปล่ียนแปลง ท่ีเส่ือมถอยของรางกาย ทําใหขาดความกระฉับกระเฉง กําลังเส่ือมถอย ผูใหญบางคนไมยอมรับความเปล่ียนแปลงนี้ ทําใหเกิดความขัดแยง คับของใจ ซ่ึงอาจทําใหหาทางชดเชยไปในทางท่ีไมเหมาะสม เชน จะแตงตัวมากข้ึนจนดูไมเหมาะสม

2. ปญหาเกี่ยวกับโรคภัยไขเจ็บ ซ่ึงมักเกี่ยวกับความเส่ือมของรางกายและพฤติกรรมการดําเนินชีวิตท่ีไมถูกตอง ซ่ึงมีท้ังโรคท่ีติดตอและโรคท่ีไมติดตอ เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเกี่ยวกับระบบกระดูกและกลามเนื้อ โรคระบบทางเดินอาหาร ภาวะโภชนาการ การสูบบุหร่ี การด่ืมเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล เปนตน ซ่ึงส่ิงเหลานี้ ทําใหเกิดความวิตกกังวลสูงและขาดความสุขในชีวิต

3. ปญหาดานเศรษฐกิจของครอบครัว ไดแก ปญหาดานฐานะ ซ่ึงไมอาจสรางใหเปนปกแผนได ทําใหขาดความม่ันคงในดานการเงิน ขาดผูเคารพนับถือ เกิดความหดหูและเสียกําลังใจ

4. ปญหาในชีวิตสมรส ไดแก การปรับตัวเขากันไมไดอันเนื่องจากเร่ืองเพศสัมพันธ ความลมเหลวในการสรางฐานะ ความผิดหวังเร่ืองบุตร อาจนําไปสูปญหาในชีวิตสมรสได

5. ปญหาเร่ืองบุตร อาจเนื่องจากบุตรมีปญหาทางดานความประพฤติ เชน การติดยาเสพติด การเกเร พฤติกรรมกาวราว เลนการพนัน ปญหาการติดเกมสคอมพิวเตอร ปญหาทางดานการเรียน ความวิตกกังวลเกี่ยวกับอาชีพของบุตร หรือผิดหวังเกี่ยวกับคูครองของบุตร

6. ปญหาของคนโสด เพศหญิง จะมีมากกวาเพศชาย เพราะนอกจากจะตองทํางานทุมเทท้ังกายและใจแลว ความกาวหนาในตําแหนงของผูหญิง มีนอยกวาผูชาย ขณะเดียวกันผูหญิงยังตองดูแลบิดามารดา ผูสูงอายุ ทําใหรูสึกหงุดหงิด อึดอัดใจ ไมมีเวลาเปนของตนเอง ซ่ึงตรงขามกับเพศชายจะมีปญหานอยกวา คือไมตองรับผิดชอบบิดามารดาท่ีแกชราโดยตรง เพียงแตใหการชวยเหลือทางดานการเงิน มากกวาจะตองลงมือกระทําดวยตนเอง

จะเห็นไดวา การเปล่ียนแปลงของวัยกลางคนนี้ มีการเปล่ียนแปลงในหลายๆดานปญหาของวัยนี้ นอกจากเกิดข้ึนในระดับบุคคลแลว ยังสงผลกระทบตอครอบครัวและชุมชนไดดวย ท้ังในแงสังคมและเศรษฐกิจ สําหรับดานภาวะสุขภาพหรือโรคภัยไขเจ็บนั้นสวนใหญ เกิดจากความเส่ือมของอวัยวะตางๆของรางกาย และการมีพฤติกรรมการดูแลตนเองท่ีไมถูกตองท้ังส้ิน โรคและภัยเหลานี้สามารถปองกันได ถาบุคคลใหความตระหนักและสนใจเอาใจใสดูแลตนเองใหถูกตองและมีพฤติกรรมสุขภาพอยางเหมาะสม จะชวยสงเสริมใหสุขภาพรางกายแข็งแรง ไมเกิดการคุกคามของโรคประจําตัว ดังนั้น พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองจึงมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับบุคคลในวัยกลางคน

Page 29: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

17

2. แนวคิด เก่ียวกับพฤติกรรมสุขภาพ ความหมายของพฤติกรรมสขุภาพ คารลและคอบบ (Karl and Cobb 1996 : 246, อางถึงใน เบญจมาศ กล่ินบํารุง 2544 : 61)

ไดใหความหมายของพฤติกรรมสุขภาพ วา เปนกิจกรรมใดๆท่ีบุคคลใดบุคคลหน่ึงเช่ือวา กระทําแลว จะมีผลในทางสงเสริมสุขภาพ และการปองกันโรค โดยแบงพฤติกรรมสุขภาพออกเปน 2 ประการ คือ

1. พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ ไดแก การออกกําลังกายสม่ําเสมอ การพักผอนนอนหลับอยางเพียงพอ (7-8 ช่ัวโมงตอวัน) การงดเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล การงดสูบบุหร่ีและสารเสพยติดใหโทษ การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ มีโยชนอยางเพียงพอตอความตองการของรางกาย

2. พฤติกรรมการปองกันโรค ไดแก การตรวจสุขภาพรางกายเปนประจํา การไดรับภูมิคุมกันโรค การใชเข็มขัดนิรภัยหรือสวมหมวกนิรภัยขณะขับข่ียานพาหนะ เพื่อการปองกันอุบัติเหตุ

จุฬาภรณ โสตะ(ม.ป.ป. : 37) ไดใหความหมายของ พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง ความรู ความเขาใจ ความเช่ือ ทัศนคติ คานิยม ความรูสึก การแสดงออกของบุคคลท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพอนามัย เพื่อการสงเสริม สุขภาพ การปองกันโรค การตรวจวินิจฉัย และการฟนฟูสภาพ

ธนวรรณ อ่ิมสมบูรณ (2539 : 31) กลาววา พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การกระทํา การปฏิบัติการแสดงออกและทีทาท่ีจะกระทํา ซ่ึงจะกอใหเกิดผลดีหรือผลเสียตอสุขภาพตนเอง ครอบครัวหรือชุมชน พฤติกรรมสุขภาพ จําแนกออกเปน 2 ลักษณะดวยกัน คือ ลักษณะแรก เปนการกระทํา ไดแก การกระทําหรือการปฏิบัติของบุคคล ท่ีมีผลดีหรือผลเสียตอสุขภาพ และลักษณะท่ีสอง เปนการไมกระทํา ไดแก การงดเวนไมกระทําหรือการไมปฏิบัติของบุคคล ท่ีจะมีผลดีหรือผลเสียตอสุขภาพ

กอด (Godd. 1959 : 118, อางถึงใน มัณฑนา อุเทน 2539 : 58) ระบุวา พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การเปล่ียนแปลงทางดานท่ีเกี่ยวกับสุขภาพ ซ่ึงเกิดข้ึนท้ังภายใน และภายนอก พฤติกรรมสุขภาพจะรวมถึงการปฏิบัติท่ีสังเกตไดและการเปล่ียนแปลงท่ีสังเกตไมได แตสามารถวัดไดวาเกิดข้ึน

กอชแมน (Gochman 1988 : 210, อางถึงใน เบญจมาศ เจริญสุข 2542 : 33) กลาวถึงพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล โดยแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก

1. พฤติกรรมการปองกันโรคและสงเสริมสุขภาพ หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมของผูท่ีเช่ือวาตนเองมีสุขภาพดีไมเคยเจบ็ปวยมากอน เพื่อดํารงไวซ่ึงภาวะสุขภาพท่ีดี โดยพฤตกิรรมการปองกัน

Page 30: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

18

โรค จะชวยลดโอกาสการเกิดโรค สวนพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ จะชวยยกระดับภาวะสุขภาพใหดีข้ึน

2. พฤติกรรมเม่ือรูสึกวาไมสบาย หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมของผูท่ีเร่ิมไมแนใจในภาวะสุขภาพตนเอง คือ เร่ิมมีอาการผิดปกติเกิดข้ึน ทําใหเกิดความสงสัยวาตนเองจะเจ็บปวยและตองการหาความกระจางในการผิดปกติท่ีเกิดข้ึน โดยครอบคลุมต้ังแตปฏิกิริยาของบุคคลเม่ือเร่ิมมีอาการเจ็บปวย การแสวงหาความชวยเหลือ หรือการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอ่ืน แมคคานิค (Machanic 1987 : 67,อางถึงใน วรารัตน รุงเรือง 2548 : 61) กลาวถึงพฤติกรรมนี้ในรูปของความเขาใจของบุคคลวา ตนเองตองการคําแนะนํา และตัดสินใจท่ีจะหาแหลงใหคําปรึกษา ใหความชวยเหลือ หรือการแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับผูท่ีตนเองเช่ือวา จะสามารถใหความชวยเหลือได ซ่ึงเปนไดท้ังสถานบริการสุขภาพของรัฐบาลและ เอกชน บุคคลในครอบครัว ญาติ เพื่อนบาน รวมท้ังการไมทําอะไรเลย แตจะคอยใหอาการผิดปกติตางๆนั้น หายไปไดเอง

3. พฤติกรรมเม่ือเจ็บปวย หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมของผูท่ีทราบแลววาตนเองเจ็บปวย โดยอาจเปนการทราบจากความคิดเห็นของตนเอง หรือจากความคิดเห็นของผูอ่ืนก็ได เชน พฤติกรรมเก่ียวกับการใชยารักษาโรค การซ้ือยามารับประทานเอง การใชสมุนไพรรักษาอาการเจ็บปวย การออกกําลังกายในผูปวยโรคหัวใจ รวมไปถึง การปฏิบัติกิจกรรมตางๆเพ่ือการฟนฟูสภาพรางกาย

ดังนั้นจึงสรุปไดวา พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การปฏิบัติหรือการแสดงออกของบุคคลในการกระทําส่ิงท่ีเกิดผลดีตอสุขภาพ หรือละเวนการกระทํา ในส่ิงท่ีมีผลเสียตอสุขภาพ โดยอาศัยความรู ความเขาใจ เจตคติ และการปฏิบัติตนทางสุขภาพ ท่ีเกี่ยวของสัมพันธกันอยางเหมาะสม ไมวาจะอยูในภาวะปกติหรือเจ็บปวย โดยมีจุดมุงหมายเพื่อ แกไขปญหาดานสุขภาพหรือดูแลใหรางกายอยูในภาวะสุขภาพท่ีดี และพฤติกรรมสามารถเปล่ียนแปลงไดอยางเหมาะสม ข้ึนอยูกับบุคคล ท่ีไดรับอิทธิพลจาก ส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ นอกจากน้ียังจะเห็นไดวา พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ และการปองกันโรค เปนสวนหนึ่งของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ เชนกัน 3. แนวคิด เก่ียวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

ความหมายของการดูแลสุขภาพตนเอง แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลตนเองนั้น ไดรับความสนใจและมองเห็นความสําคัญท่ีมีตอภาวะ

สุขภาพของบุคคลมานานแลว และเร่ิมไดรับความสนใจอยางจริงจังในเชิงรูปธรรมมากข้ึนในรอบ ทศวรรษท่ีผานมา โดยเฉพาะอยางยิ่ง ดานการบริการทางการแพทยและสาธารณสุข เนื่องจากการดูแล

Page 31: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

19

ตนเองจะชวยใหบุคคลมีชีวิตอยูรอดไดโดยมีภาวะสุขภาพและสวัสดิภาพที่ดี เปนกระบวนการท่ีเกิดข้ึนอยางตอเนื่องตลอดชีวิตของบุคคล (เอ้ือมพร ทองกระจาย 2533 : 49)

เลวิน (Levin 1976 : 11, อางถึงใน รัชนี กล่ินศรีสุข 2540 : 15) กลาวถึงความหมายในการดูแลสุขภาพตนเองไววา เปนกระบวนการซ่ึงบุคคลปฏิบัติดวยตนเอง เพื่อสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค การคนหาหรือรักษาโรคในระยะเร่ิมแรก โดยการใชแหลงบริการสุขภาพ และยังรวมถึงแหลงสนับสนุนอ่ืนๆ ไดแก ครอบครัว เพื่อนบาน เพื่อนท่ีทํางาน เครือขายตางๆในสังคม และเนนวา ผลจากการ ปรับปรุงส่ิงแวดลอมรวมท้ังชุมชน เปนพื้นฐานในการริเร่ิมการดูแลสุขภาพตนเองของบุคคล นอกจากน้ี ปจจัยดานคาใชจาย ปญหาทางเศรษฐกิจ ตลอดจนนโยบายของสถานบริการ สาธารณสุขหรือหนวยงาน ก็ยังเปนเหตุผลท่ีเกี่ยวเนื่องกับการดูแลสุขภาพตนเองอีกดวย

ฮิลลและสมิท (Hill and Smith 1985 : 10, อางถึงใน หวานใจ ขาวพัฒนวรรณ 2543 : 19-20) กลาววาการดูแลสุขภาพตนเอง เปนผลของการกระทํา ท่ีบุคคลกระทํากับตนเองหรือส่ิงแวดลอม เพื่อใหสามารถปฏิบัติหนาท่ี กิจกรรมและคงไวซ่ึงการมีสุขภาพดี

นอริส (Norris 1987 : 486-489, อางถึงใน หวานใจ ขาวพัฒนวรรณ 2543 : 19-20 ) การดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง กระบวนการท่ีใหประชาชนและครอบครัว มีโอกาสท่ีจะชวยเหลือตนเองและรับผิดชอบกันเองดานสุขภาพอนามัย ท้ังนี้ เนื่องจากประชาชนไดเล็งเห็นความสําคัญและประโยชนของการดูแลสุขภาพตนเอง โดยอาจมีเหตุผลักดันมาจาก ความไมพึงพอใจตอการใหการรักษาพยาบาลของแพทย และคาใชจายในการรักษาพยาบาลที่แพง อีกท้ังตระหนักดีวา ตนเองก็มีศักยภาพในการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองได

เพนเดอร (Pender 1982 : 68, อางถึงใน หวานใจ ขาวพัฒนวรรณ 2543: 19-20) การดูแลตนเอง หมายถึง การริเร่ิมปฏิบัติกิจกรรมของบุคคล และกระทําในแนวทางของตนเอง เพื่อดํารงรักษาชีวิต และความเปนปกติสุขของตนไว การดูแลตนเองจึงตองมีแบบแผน เปาหมาย ข้ันตอนและความตอเนื่อง ซ่ึงอาจเกิดจากแรงจูงใจ หรือการรับรูประโยชนของการดูแลสุขภาพในตัวบุคคลนั้นหรือบุคคลภายนอกก็ได

โอเรม (Orem 1991 : 117) ใหความหมายของการดูแลตนเองวา เปนการปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ท่ีบุคคลริเร่ิมและกระทําดวยตนเองอยางตอเนื่อง มีเปาหมาย และจงใจ เพ่ือดํารงรักษาสุขภาพอนามัย ความเปนอยูท่ีดี ตลอดจนการหลีกเล่ียงจากโรคภัยท่ีคุกคามตอชีวิต และเม่ือกระทําอยางมีประสิทธิภาพ จะมีสวนชวยใหโครงสราง หนาท่ีและพัฒนาการ ดําเนินไปไดถึงขีดสุด ของแตละบุคคล

ชนินทร เจริญกุล (2526 : 11, อางถึงใน หวานใจ ขาวพัฒนวรรณ 2543 : 19-20) กลาววา การดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง การทํากิจกรรมดานสุขภาพและการตัดสินใจที่เกี่ยวของกับสุขภาพ

Page 32: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

20

ของปจเจกบุคคล ครอบครัว เพื่อนบาน และเพื่อนรวมงาน ท่ีครอบคลุมถึงการบํารุงสุขภาพ การปองกันโรค การวินิจฉัยตนเอง การรักษาตนเอง ซ่ึงรวมถึงการใชยารักษาตนเองและ การติดตามผลหลังจากการไดรับบริการทางสุขภาพ ซ่ึงพฤติกรรมเหลานี้ ไมไดเกิดข้ึนอยางมีแบบแผนท่ีแนนอน

มัลลิกา มัติโก (2530 : 8-11) กลาววา การดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน เปนพฤติกรรม ดั้งเดิมของประชาชน ท่ีผสมผสานกับการอบรมขัดเกลา และการถายทอดความรูทางสังคม ตั้งแตการสังเกตดวยตนเอง การรับรูอาการ การใหความหมายของอาการ การตัดสินใจเกี่ยวกับความรุนแรง การเลือกวิธีการรักษา และการประเมินการรักษาดวยตนเอง

สมจิต หนุเจริญกุล (2536 : 22-23) กลาววา การดูแลตนเอง หมายถึง การปฏิบัติในกิจกรรมที่บุคคลริเร่ิมและกระทํา เพื่อท่ีจะรักษาไว ซ่ึงชีวิตและสวัสดิภาพของตน การดูแลตนเอง เปนการกระทําท่ีจงใจและมีเปาหมาย

จากนิยามที่ใหไว สรุปไดวาการดูแลสุขภาพตนเองนั้น เปนกิจกรรมท่ีบุคคลกระทําอยาง ตั้งใจ มีเปาหมาย มีข้ันตอน ความสม่ําเสมอ หรือเปนกิจวัตรประจําวัน และยอมรับการปฏิบัติจนเปนนิสัย เพ่ือท่ีจะดํารงรักษาไวซ่ึงการมีสุขภาพท่ีดี มีความผาสุก ตลอดจนหลีกเล่ียงจากโรคและภัยท่ีจะคุกคามตอชีวิต โดยแบงเปน 2 ลักษณะ คือ การดูแลสุขภาพตนเองในภาวะปกติและการดูแลสุขภาพตนเองในภาวะเจ็บปวย

3.2 ทฤษฎีการดูแลตนเองของ โอเรม โอเรม (Orem 1985 : 38-41) ผูกอต้ังทฤษฏีนี้ กลาววา การดูแลตนเองเปนแนวคิด

ของการกระทําท่ีเกิดจากความตั้งใจมีเปาหมาย มีระบบระเบียบเปนข้ันตอนและเม่ือกระทําอยางมีประสิทธิภาพจะมีสวนชวยใหโครงสรางหนาท่ีและพัฒนาการดําเนินไดถึงขีดสูงสุดของแตละบุคคล ซ่ึงการเรียนรูนี้อาจเกิดข้ึนจากการคิดคนดวยตนเอง หรือไดรับจากการสอน คําแนะนํา หรือจากการเรียนรูจากสถานการณจริงดวยการกระทํากิจกรรมนั้น ๆ ในแตละวัน เพ่ือท่ีจะนํามาจัดการกับตนเองและส่ิงแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา และสามารถดําเนินชีวิตตอไปดวยความผาสุก ในภาวะปกติแลวผูใหญมักจะดูแลตนเองได สวนทารก เด็ก ผูสูงอายุ ผูท่ีเจ็บปวยหรือมีความพิการอาจตองการความชวยเหลือเกี่ยวกับกิจกรรมการดูแลตนเอง เนื่องจากทารกและเด็กอยูในระยะเร่ิมตนของพัฒนาการท้ังรางกายและจิตใจและสังคม สวนผูสูงอายุตองการความชวยเหลือในการดูแลตนเองเม่ือความสามารถในดานรางกายและสติปญญาเส่ือมถอยลงตามวัน ทําใหมีขอจํากัดในการดูแลตนเอง ผูท่ีเจ็บปวยหรือทุพพลภาพตองการความชวยเหลือในการดูแลตนเองบางสวนหรือท้ังหมดข้ึนอยูกับภาวะสุขภาพและความตองการการดูแลตนเองท้ังในปจจุบันและอนาคต นอกจากนี้ยังสามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนแกสมาชิกในครอบครัวและคนอ่ืน ๆ ในสังคมดวย

Page 33: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

21

โอเรม (Orem 1985 : 48-52) แบงความตองการในการดูแลตนเอง เปน 3 มิติ และเรียกการดูแลตนเองท้ัง 3 มิตินี้วา เปนความตองการดูแลตนเองท้ังหมด ซ่ึงหมายถึง กิจกรรมการดูแลตนเองท้ังหมดท่ีบุคคลควรจะกระทําภายในระยะเวลาหนึ่งประกอบดวย

1. การดูแลตนเองท่ีจําเปนโดยท่ัวไป เปนการดูแลตนเองเพ่ือการสงเสริมและรักษาไวซ่ึงสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล การดูแลตนเองเหลานี้จําเปนสําหรับทุกคน ทุกวัย แตจะตองปรับใหเหมาะสมกับระยะพัฒนาการ จุดประสงค และกิจกรรมการดูแลตนเองท่ีจําเปนโดยท่ัวไป มีดังนี้

1.1 คงไวซ่ึงอากาศ น้ํา และอาหารท่ีเพียงพอ 1.2 คงไวซ่ึงการขับถายและการระบายใหเปนไปตามปกติ 1.3 รักษาความสมดุลระหวางการมีกิจกรรมและการพักผอน 1.4 รักษาความสมดุลระหวางการใชเวลาเปนสวนตัวกับการมีปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน 1.5 ปองกันอันตรายตาง ๆ ตอชีวิต หนาท่ี และสวัสดภิาพ 1.6 สงเสริมการทําหนาท่ี และพัฒนาการใหถึงขีดสูงสุด ภายใตระบบสังคมและความ

สามารถของตนเอง 2. การดูแลตนเองท่ีจําเปนตามระยะพัฒนาการ เปนการดูแลตนเองท่ีเกิดจาก

กระบวนการพัฒนาการของชีวิตมนุษยในระยะตางๆ เชน การต้ังครรภ การคลอดบุตร การเจริญเติบโตเขาสูวัยตาง ๆ ของชีวิต และเหตุการณท่ีมีผลเสียหรือเปนอุปสรรคตอพัฒนาการ เชน การสูญเสียคูชีวิต หรือ บิดา มารดา หรืออาจเปนการดูแลตนเองท่ีจําเปนโดยท่ัวๆ ไป การดูแลตนเองท่ีจําเปนตามระยะพัฒนาการนี้ แบงออกเปน 2 อยาง คือ

2.1 การพัฒนาและการคงไวซ่ึงภาวะความเปนอยูท่ีชวยสนับสนุนกระบวนการของชีวิต และพัฒนาการท่ีชวยใหบุคคลเจริญเขาสูวุฒิภาวะในวัยตาง ๆ คือ ตั้งแตอยูในครรภมารดา ระหวางคลอด ในวัยแรกเกิด วัยทารก วัยเด็ก วัยกลางคน และวัยชรา

2.2 ดูแลเพื่อปองกันการเกิดผลกระทบตอพัฒนาการของบุคคล ซ่ึงโอเรม กลาววา การปองกันมี 2 ลักษณะ คือ การปองกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน และ การบรรเทาหรือการเอาชนะอันตรายท่ีเกิดข้ึน และการท่ีบุคคลไมสามารถพัฒนาความสามารถในการปองกันผลกระทบน้ี เกิดจากการขาดการศึกษา การปรับตัวทางสังคม การสูญเสียญาติมิตร ความเจ็บปวย การบาดเจ็บ และความพิการ การเปล่ียนแปลงเนื่องจากเหตุการณตาง ๆ ในชีวิต ความเจ็บปวยในข้ันสุดทายและการตาย

3. การดูแลตนเองท่ีจําเปนตามภาวะเบ่ียงเบนทางดานสุขภาพ เปนการดูแลตนเองเม่ือบุคคลอยูในภาวะเจ็บปวยหรือมีความพิการ รวมท้ังบุคคลท่ีอยูระหวางการตรวจวินิจฉัย และการรักษาโรค ทําใหมีการเปล่ียนแปลงในโครงสรางและการทําหนาท่ีของรางกาย

Page 34: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

22

เอ้ือมพร ทองกระจาย (2533 : 53) ไดกลาวสรุปจุดเดนของทฤษฏีการดูแลตนเองวา เปน การจําแนกเอาพัฒนาการของชีวิตออกมาอีกหมวดหนึ่ง แมวาพัฒนาการแตละข้ันตอนจะเปนปรากฏการณท่ีบุคคลท่ัวไปตองประสบ แตแทท่ีจริงเปนปรากฏการณท่ีมีความคาบเกี่ยวอยูระหวางความปกติและความไมปกติ หากมีปจจัยในทางบวก หรือลบอยางใดอยางหน่ึงเกื้อหนุนปรากฏการณเหลานี้ อาจเบ่ียงเบนไปในทางหนึ่งทางใดไดทันที

จากการศึกษาทฤษฏีการดูแลตนเองของโอเรม สรุปไดวา การดูแลตนเอง เปนการกระทําท่ีเกิดจากความตั้งใจ มีเปาหมาย เกิดการเรียนรูถึงการกระทําและผลของการกระทําท่ีไดรับจากส่ิงแวดลอมและขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนบทเรียนท่ีไดรับจากการอบรม ขอมูลขาวสารดานสุขภาพจากแหลงตางๆ ท้ังส่ือในชุมชนและส่ือบุคคล ผสมผสานเขากับแบบแผนการดําเนินชีวิต ซ่ึงประชาชนท่ีสามารถปฏิบัติกิจกรรมจนกลายเปนสุขนิสัยแลว จะสามารถกระทํากิจกรรมไดโดยไมตองคํานึงถึงเปาประสงคของการกระทํา สามารถเปนแบบอยางแกบุคคลในครอบครัว และเพื่อนบานไดในที่สุด โดยปจจัยท่ีกําหนดการกระทําท้ังหมดข้ึนอยูกับปจจัยซ่ึง โอเรม เรียกวา ปจจัยพื้นฐาน 11 ประการ ไดแก อายุ เพศ ระยะพัฒนาการ ระบบครอบครัว แบบแผนการดําเนินชีวิต สังคมวัฒนธรรม ภาวะสุขภาพ ระบบการดูแลสุขภาพ ปจจัยเกี่ยวกับส่ิงแวดลอม แหลงสนับสนุน และประสบการณท่ีสําคัญของชีวิต เปนตน

อายุ เพศ ระยะพัฒนาการ ความสามารถในการดูแลตนเองนั้น ข้ึนอยูกับอายุ โดยในวัยเด็กจะมีพัฒนาการเพียงเล็กนอยและจะคอยๆ พัฒนาจนถึงขีดสูงสุดในวัยกลางคนและจะลดลงเม่ือถึงวัยสูงอายุ

ระบบครอบครัว แบบแผนการดําเนินชีวิต สังคมและวัฒนธรรม ปจจัยเหลานี้จะชวยในการประเมินคุณภาพการดูแลตนเอง หรือความชวยเหลือจากสมาชิกในครอบครัว จะชวยบงช้ีถึงศักยภาพ ในการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองของบุคคล นอกจากนั้นอาจใชเปนขอมูล ในการตัดสินใจในการตัดสินแหลงประโยชนท้ังเงินทองและเวลาในการจัดการ

ปจจัยเกี่ยวกับส่ิงแวดลอม อาทิ รายได ระดับการศึกษา อาชีพ สภาพท่ีอยูอาศัย เปนตน แหลงสนับสนุน และประสบการณท่ีสําคัญของชีวิต จะชวยในการตัดสินใจปรับวิธีการการดูแลตนเอง

ภาวะสุขภาพ และระบบการดูแลสุขภาพ หมายถึง โครงสรางและการทําหนาท่ีของรางกายประวัติการเจ็บปวย การวินิจฉัยโรคและการรักษาของแพทยตลอดจนความเครียดและภาวะอารมณท่ีบงบอกถึงความสามารถในการเผชิญกับปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึน ขอมูลตาง ๆ เหลานี้จะตองไดรับการประเมินอยางตอเนื่อง เนื่องจากเปนสภาวะท่ีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา โดยเฉพาะอยาง

Page 35: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

23

ยิ่งเม่ือเจ็บปวยตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาล ขอมูลเหลานี้ไดจากตัวผูปวยและญาติ แพทยผูดูแล และจากการบันทึกตาง ๆ

ในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดนําทฤษฏีการดูแลตนเองของโอเรม มาประยุกตใช เพ่ืออธิบายถึงงานวิจัยของโอเรม ในประเทศไทย ท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน โดยคัดเลือกตัวแปรซ่ึง โอเรม เรียกวา ปจจัยพื้นฐาน ไดแก อายุ เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได การไดรับขาวสารดานสุขภาพ มาทําการศึกษา โดยใหครอบคลุมพฤติกรรมท้ัง 6 ดาน

3.3 การดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน การดูแลตนเองของประชาชนวัยกลางคน เปนส่ิงจําเปนและมีความสําคัญ เพราะจะ

นําไปสูการมีภาวะสุขท่ีสมบูรณแข็งแรง ซ่ึงบุคคลจะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณแข็งแรงมากนอยเพียงใดนั้น ข้ึนอยูกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ท้ังดานการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค ถาบุคคลมีพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพที่เหมาะสม รูจักการปองกันโรคท่ีดี ส่ิงเหลานี้ จะเปนเคร่ืองทํานายไดวา จะนําไปสูการมีภาวะสุขภาพท่ีดีกอนเขาสูวัยสูงอายุ ในโอกาสตอไป ซ่ึงในงานศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ไดศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ท้ังในดานการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค

พฤติกรรมการดูแลตนเองดานการสงเสริมสุขภาพ ไดแก การบริโภคอาหาร การออกกําลังกาย การจัดการภาวะเครียดอยางเหมาะสม เปนตน ซ่ึงจะชวยเสริมสรางสมรรถภาพและความสามารถในการทํางานของระบบตางๆของรางกาย ใหมีความสมบูรณแข็งแรง มีความตานทานโรคภัยตางๆ ไมเกิดการคุกคามของโรคประจําตัว สามารถใชชีวิตไดอยางเต็มศักยภาพและเปนปกติสุข นอกจากนี้ ยังสามารถชวยยกระดับภาวะสุขภาพใหดีข้ึน

พฤติกรรมการดูแลตนเองดานการปองกันโรค ไดแก การปองกันอุบัติเหตุจากการ ขับข่ีพาหนะ การหลีกเล่ียงการใชสารเสพติด และ การปองกันโรคท้ังโรคติดตอและโรคไมติดตอ ซ่ึงเปนการปฏิบัติตนเพื่อลดปจจัยเส่ียงทางสุขภาพในชีวิตประจําวัน

3.4 งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง สุรีย โอภาสศิริวิทย (2531 : 92) ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูตามแบบแผน

ความเชื่อดานสุขภาพและปจจัยบางประการกับการดูแลตนเองของหญิงต้ังครรภท่ีมารับบริการฝากครรภในโรงพยาบาลรัฐบาล ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 252 ราย วิเคราะหหาความสัมพันธระหวางตัวแปรโดยใชสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธของเพียรสันและทํานายการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภโดยการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบวา อายุ ระดับการศึกษา รายไดของครอบครัว การไดรับคําแนะนําจากแหลงตาง ๆ การรับรูถึงความรายแรงของปญหาสุขภาพและการรับรูถึงประโยชนในการดูแลตนเองมีความสัมพันธทางบวกกับการดูแลตนเองของหญิงต้ังครรภอยาง

Page 36: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

24

มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 สวนการรับรูถึงโอกาสเกิดปญหาสุขภาพมีความสัมพันธกับการดูแลตนเองของหญิงต้ังครรภในทิศทางลบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.01 และอุปสรรคในการดูแลตนเอง ระดับการศึกษา รายไดของครอบครัวและลําดับท่ีของการตั้งครรภสามารถรวมกันพยากรณความแปรปรวนของการดูแลตนเองไดรอยละ 45.45

นอมจิตต สกุลพันธ (2535 : 84) ศึกษาความพันธระหวางแรงสนับสนุนทางสังคมปจจัยท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวาน กลุมตัวอยาง เปนผูปวยเบาหวานจํานวน 200 ราย วิเคราะหขอมูลโดยใชสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธของเพียรสันและการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบหลายข้ันตอน ผลการศึกษาพบวา การสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการ ดูแลตนเองของผูปวยเบาหวานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และระดับการศึกษามีความสัมพันธทางลบกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวน เพศ อายุ รายไดครอบครัวและระยะเวลาของการเจ็บปวยมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวานอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ผลการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบข้ันตอน พบวา การสนับสนุนทางสังคม ระดับการศึกษาสามารถรวมทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวานได รอยละ 11.95

จิรประภา ภาวิไล (2535: 102) ศึกษาการรับรูภาวะสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและภาวะสุขภาพของผูปวยภายหลังการผาตัดเปล่ียนล้ินหัวใจ ท่ีมารับการรักษาที่แผนกผูปวยนอกโรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ โรงพยาบาลราชวิถี และโรคทรวงอก จํานวน 100 ราย พบวา พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองมีความสัมพันธกับภาวะสุขภาพของผูปวยภายหลังการผาตัดล้ินหัวใจอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ การรับรูภาวะสุขภาพมีความสุมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางมีความสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ สามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง โดยสามารถอธิบายความผันแปรได รอยละ 4.14

กันยารัตน อุบลวรรณ (2540: บทคัดยอ) ศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุในภาคตาง ๆ ของประเทศไทยจํานวน 400 ราย เก็บขอมูลโดยการสัมภาษณ พบวา

เพศ สถานภาพสมรส มีความสัมพันธกับการสูบบุหร่ี การออกกําลังกาย และการเขารวมในกิจกรรมทางสังคม

ระดับการศึกษา มีความสัมพันธกับการสูบบุหร่ี การสงเสริมการขับถายอุจจาระ การออกกําลังกาย การเขารวมกิจกรรมทางสังคม การตรวจสุขภาพ และการปฏิบัติตัวเม่ือเจ็บปวยเล็กนอย

รายได มีความสัมพันธกับการออกกําลังกาย การเขารวมกิจกรรมทางสังคมและการตรวจ สุขภาพประจําป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

Page 37: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

25

ชวนพิศ มีสวัสดิ์ (2539 : 110) ศึกษาความสัมพันธระหวาง การรับรูภาวะสุขภาพ

ภาพลักษณ ความวิตกกังวล กับการดูแลตนเองของหญิงต้ังครรภวัยรุนครรภแรก ท่ีตั้งครรภปกติ จํานวน 250 ราย พบวา การรับรูภาวะสุขภาพ ระดับการศึกษา และรายไดของครอบครัว มีความสัมพันธทางบวกกับการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณแบบข้ันตอน พบวา การรับรูภาวะสุขภาพ ความวิตกกังวลขณะต้ังครรภ และระดับการศึกษา สามารถรวมกันทํานายการดูแลตนเองขณะต้ังครรภของหญิงตั้งครรภวัยรุนครรภแรกไดถึง รอยละ 31.27

อินทราพร พรมปราการ (2541: บทคัดยอ) ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูสูงอายุท่ีปวยเปนโรคเบาหวานในโรงพยาบาลจังหวัดอางทอง กลุมตัวอยางจํานวน 400 ราย เก็บขอมูลโดยการสัมภาษณวิ เคราะหความสัมพันธโดยใชสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธของเพียรสัน สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธพหุคูณ และเลือกตัวทํานาย โดยใชการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน พบวา รายได ระดับการศึกษา การรับรูภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูสูงอายุท่ีปวยเปนโรคเบาหวานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ผลการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบข้ันตอน พบวา การรับรูภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคมและรายได เปนกลุมตัวแปรทํานายท่ีดีท่ีสุด สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 โดยสามารถอธิบายความผันแปรไดรอยละ 21.58

กรรณิกา สุวรรณา (2541: 140-143) ศึกษาปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแล ตนเองของเด็กวัยเรียน จังหวัดนครศรีธรรมราช จํานวน 361 คน พบวา เด็กนักเรียนรอยละ 65.1 มี พฤติกรรมการดูแลตนเองอยูในระดับปานกลาง รอยละ 18.3 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองอยูในระดับต่ํา และรอยละ 16.6 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองอยูในระดับสูง ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 คือ ปจจัยนําท่ีประกอบดวย อาชีพ การศึกษาของบิดามารดา รายไดของครอบครัว การไดรับการบริการจากโรงเรียนดานการสงเสริมสุขภาพ และปจจัยเสริมท้ังหมด การไดรับการอบรมส่ังสอนจากบิดามารดา ครู

กิริยา ลาภเจริญวงศ (2543 : บทคัดยอ) ศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสตรีวัยหมดระดู : กรณีศึกษาในเขตเมืองและชนบท จังหวัดราชบุรี พบวา เขตที่อยูอาศัย การศึกษา อาชีพ สถานภาพสมรส รายได ระดับความรูเกี่ยวกับภาวะหมดระดู การรับรูภาวะหมดระดู ทําใหเกิดความแตกตางในพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสตรีวัยหมดระดู

Page 38: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

26

พรพิมล พงษไทย(2543 : 116) ศึกษาการดูแลสุขภาพตนเองของสตรีวัยหมดประจําเดือนกลุมตัวอยางเปนสตรีวัยหมดประจําเดือน ท่ีมีอายุระหวาง 45-54 ป จํานวน 399 คน ผลการศึกษาพบวา สตรีวัยหมดประจําเดือน สามารถดูแลสุขภาพตนเองโดยรวม อยูในเกณฑดี และปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองของสตรีวัยหมดประจําเดือน คือ ระดับความสัมพันธกับบุคคลอ่ืน การไดรับขอมูลขาวสารดานสุขภาพ ทัศนคติในการดูแลสุขภาพตนเอง และ อาชีพนอกภาคเกษตรกรรม โดยสามารถรวมกันทํานายความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเอง ไดรอยละ 26.04

จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฏีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของดังกลาวขางตน สามารถสรุปไดวา ตัวแปรท่ีมีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน มีหลายปจจัย อาทิ ความรูดานสุขภาพท่ีตรงตอปญหาและความตองการของบุคคล การไดรับการสนับสนุน ชวยเหลือ ท้ังในดานขอมูลขาวสารสุขภาพ คําปรึกษาแนะนํา วัสดุส่ิงของ การบริการตางๆดานสุขภาพ ตลอดจนการรับรูภาวะสุขภาพของบุคคล

4. ความรูดานสุขภาพและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ 4.1 การบริโภคอาหาร

อาหารเปนส่ิงท่ีจําเปนสําหรับชีวิต เปนปจจัยสําคัญท่ีมีผลตอสุขภาพของคนเรา การบริโภคอาหารที่ถูกตองตามหลักโภชนาการ มีปริมาณท่ีเพียงพอตอความตองการของรางกายและปราศจากความเปนพิษ จะชวยใหรางกายมีความเจริญเติบโตตามวัยและอวัยวะตาง ๆ สามารถทํางานไดอยางปกติในทางตรงกันขาม หากบริโภคอาหารไมถูกตอง ก็อาจกอใหเกิดปญหาทางโภชนาการ (Malnutrition)ได ท้ังในดานของภาวะทุพโภชนาการ(Undernutrition) และภาวะโภชนาการเกิน (Overnutrition) นอกจากนี้การบริโภคอาหารท่ีไมเหมาะสม ยังเปนปจจัยเส่ียงตอการเกิดโรคไมติดตอตาง ๆ เชน โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด และโรคมะเร็ง เปนตน

คณะทํางาน Food Based Dietary Guideline (FBDG) ซ่ึงประกอบดวยนักวิชาการ และนักกําหนดอาหาร จากมหาวิทยาลัยมหิดล รวมกับ กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข และวิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลาไดจัดทํา “ขอปฏิบัติการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพท่ีดีของไทย” ซ่ึงมีสาระดังนี้

1. รับประทานอาหารครบ 5 หมู แตละหมูใหหลากหลายและหม่ันดแูลน้ําหนกัตัว หมูท่ี 1 ไดแก เนื้อสัตวตาง ๆ ไข นม ถ่ัวเมล็ดแหง ฯลฯ ซ่ึงสวนใหญจะให

สารอาหารพวกโปรตีน มีประโยชนในการเสริมสรางรางกายใหเจริญเติบโตและซอมแซมสวนท่ี สึกหรอของรางกาย

Page 39: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

27

หมูท่ี 2 ไดแก ขาว แปง น้ําตาล เผือกและมัน ฯลฯ ซ่ึงสวนใหญใหสารอาหารพวกคารโบไฮเดรตมีประโยชนในดานใหพลังงาน ทําใหเราสามารถเคล่ือนไหวทํางานและมีชีวิตอยูไดอยางปกติ

หมูท่ี 3 ไดแก ผักใบเขียวและพืชผักตาง ๆ ซ่ึงสวนใหญใหสารอาหารพวกวิตามิน เกลือแร และนํ้า ซ่ึงมีหนาท่ีควบคุมการทํางานของรางกายใหเปนปกติ ทําใหรางกายสมบูรณแข็งแรงและชวยใหการขับถายเปนปกติ

หมูท่ี 4 ไดแก ผลไมตาง ๆ อาหารหมูนี้ใหวิตามินและเกลือแรเชนเดียวกับผัก แตมีคารโบไฮเดรตมากกวาจึงใหพลังงานแกรางกายดวย

หมูท่ี 5 ไดแก น้ํามันและไขมัน อาจไดจากพืชหรือสัตวก็ได สารในหมูนี้ใหพลังงานสูงมาก นอกจากนี้ยังสะสมในรางกายซ่ึงอาจทําใหอวนได

สวนการควบคุมดูแลน้ําหนักตัวนั้น สามารถประเมินภาวะโปรตีนและพลังงานไดอยางงาย ๆ จากดัชนีมวลภายในของรางกาย (BMI) ซ่ึงคํานวณไดจากนํ้าหนักตัวเปนกิโลกรัม หารดวยสวนสูงยกกําลังสอง คาปกติในผูใหญ คือ 18.5-24.9 กก./ม2 ถาคาตํ่ากวา 18.5 กก./ม2 จัดวาผอม สวน ผูท่ีมีคาต้ังแต 25 กก./ม2 ข้ึนไปถือวาอวน

2. รับประทานขาว หรือธัญพืชอ่ืนๆและผลิตภัณฑ ในปริมาณท่ีพอเหมาะ ธัญพืชเปนแหลงสําคัญของคารโบไฮเดรตซ่ึงเปนสารอาหารท่ีใหพลังงานท่ีสําคัญ (คารโบไฮเดรต 1 กรัม ใหพลังงาน 4 กิโลแคลอร่ี) การบริโภคอาหารเพ่ือรักษาน้ําหนักตัวใหอยูในเกณฑปกติควรใหไดพลังงานเหมาะสมกับความตองการของรางกาย โดยมีสัดสวนของพลังงานจากคารโบไฮเดรต รอยละ55 ของพลังงานท้ังหมด

3. รับประทานพืช ผัก ผลไมเปนประจํา ในพืชผักและผลไม นอกจากจะเปนแหลงสําคัญของวิตามินและเกลือแรแลว ยังเปนแหลงสําคัญของใยอาหาร (Dietary Fiber) ใยอาหารไมใชสารอาหารแตมีคุณสมบัติในการอุมน้ําไดมาก ทําใหอุจจาระไมแข็ง เพ่ิมน้ําหนักและปริมาณอุจจาระ ทําใหการขับถายสะดวก ทองไมผูกสามารถ ปองกันโรคริดสีดวงทวารและมะเร็งลําไสใหญได

4. รับประทานปลา เนื้อสัตวไมติดมัน ไขและถ่ัวเมล็ดแหงเปนประจํา ปลาจัดเปนอาหารที่มีโปรตีนสูงประมาณรอยละ 16-20 และมีไขมันตํ่ายอยงาย นอกจากนี้ ยังมีวิตามินและแรธาตุตาง ๆ และควรรับประทานอาหารประเภทถ่ัวตาง ๆ เชน เตาหู ผลิตภัณฑเมล็ดพืชตาง ๆ รับประทานเนื้อสัตวไมติดมันมากพอประมาณและรับประทานไขเปนประจําแตไมควรเกิน 2 ฟองตอสัปดาห ในไขแดงจะมีฟอสฟอรัส เหล็กและโปแตสเซียม เปนตน

5. ดื่มนมทุกวันในปริมาณท่ีพอเหมาะตอรางกาย นมและผลิตภัณฑนมชนิดตางๆ มีคุณคาทางโภชนาการ มีสารอาหารท่ีรางกายตองการเกือบทุกชนิด มีโปรตีนซ่ึงมีกรดอะมิโนท่ีจําเปน

Page 40: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

28

ครบทุกชนิด มีไขมัน คารโบไฮเดรต รวมท้ังวิตามินและเกลือแรท่ีสําคัญตอการเจริญเติบโต ดังนั้น ควรดื่มนมทุกเพศทุกวัย วัยเด็กควรดื่มนมวันละ 1-2 แกว และผูใหญควรดื่มวันละแกว

6. รับประทานอาหารท่ีมีไขมันพอประมาณ กรดไขมันอ่ิมตัว และโคเลสเตอรอลต่ํา จะลดความเส่ียงตอการเกิดโรคหัวใจ โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง ซ่ึงสมาคมแพทยโรคหัวใจแหงสหรัฐอเมริกา แนะนําการบริโภคไขมันใน 1 วัน ควรจํากัดการรับประทานไขมันไมเกิน รอยละ 30 ของพลังงานท้ังหมด ควรมีกรดไลโนเลอิด รอยละ 10 ของพลังงานท้ังหมด โคเลสเตอรอลควรไดรับนอยกวา 300 มก. กรดไขมันอ่ิมตัว ไมเกินรอยละ 10 ควรรับประทานเน้ือติดมันในปริมาณท่ีนอย ไมควรรับประทานหนังสัตวปก เคร่ืองในสัตวและไขแดงมากเกินไปซ่ึงอาหารเหลานี้มีโคเลสเตอรอลสูง

7. หลีกเล่ียงการรับประทานอาหารรสหวานจัดและรสเค็มจัด การรับประทานอาหารท่ีมีปริมาณนํ้าตาลมากเกินไป อาจกอใหเกิดโทษได เชน ฟนผุ และการรับประทานฟรุกโตสหรือน้ําตาลแอลกอฮอลบางตัวในปริมาณมาก อาจนําใหเกิดอุจจาระรวงได ดังนั้นอาหารท่ีมีน้ําตาลสูง เชน ขนมหวาน น้ําอัดลมควรรับประทานแตนอย ควรรับประทานผลไมท่ีมีรสหวานทดแทน สวนเกลือซ่ึงเปนอาหารท่ีใหโซเดียมที่สําคัญ ซ่ึงปจจุบันเรารับประทานโซเดียมกันเกินความตองการของรางกาย จึงควรรับประทานใหนอยลงเพราะไดมีการศึกษาพบวา ประชากรท่ีรับประทานโซเดียมมาก มักมีความดันโลหิตสูงมากกวาประชากรท่ีรับประทานโซเดียมนอย

8. รับประทานอาหารท่ีสะอาด ปราศจากการปนเปอน อาหารที่มีการปนเปอนและเจือปนสารเคมีตาง ๆ เชน แบคทีเรีย พยาธิ สารบอแรกซ สีผสมอาหาร ดินประสิว สารพิษ แอลฟาทอกซิน ยาฆาแมลง ฯลฯ ส่ิงเหลานี้จะทําใหเกิดโทษตอรางกาย ท้ังท่ีมีอาการเฉียบพลัน เชน คล่ืนไส อาเจียน ปวดทอง อุจจาระรวงหรือเปนโรคเร้ือรัง เชน เกิดมะเร็งของอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย การรับประทานอาหารใหปลอดภัยควร เลือกซ้ืออาหารสด ซ้ือผักผลไมสดท่ีไมสวยงามมากจนเกินไป รับประทานผักไทย ๆ ท่ีพบวาแมลงไมคอยรบกวน เชน ยอดแค ดอกโสน ชะอม ถ่ัวงอก เปนตน

9. งดดื่มเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอล แอลกอฮอลใหพลังงานประมาณ 7 แคลอร่ี/กรัม และใหคุณคาสารอาหารนอยมาก ควรดื่มขนาดพอประมาณไมควรเกิน 12 ออนซ/วัน ในเพศหญิง และไมเกิน 24 ออนซ/วัน ในเพศชาย แอลกอฮอลมีผลตอการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและถาดื่มในปริมาณมาก ๆ จะเพิ่มความเส่ียงตอการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมองตีบ ตับแข็ง ตับออนอักเสบ เปนตน

Page 41: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

29

โดยสรุป การรับประทานอาหารที่มีประโยชน มีคุณคาทางโภชนาการและเพียงพอตอความตองการของรางกายของแตละบุคคลในแตละวันนั้น จะชวยใหมีสุขภาพที่สมบูรณแข็งแรง สามารถประกอบกิจกรรมหรือปฏิบัติหนาท่ีการงานไดตามปกติ ท้ังในชีวิตสวนตัวและครอบครัว

4.2 การออกกําลังกาย ความหมายของการออกกําลังกาย กรมอนามัย (2534: 31) การออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ หมายถึง การออกกําลังกาย

แบบแอโรบิคท่ีมีการใชไขมันเปนพลังงานใชออกซิเจนชวยในการสันดาปเปนระยะเวลานานติดตอกันเพียงพอที่จะเกิดความอดทนของ ปอด หัวใจ และระบบการไหลเวียนเลือด จึงจะมีผลตอสุขภาพโดยมีหลัก 3 ประการ คือ

ความหนกั คือ ออกกําลังกายใหหนกัพอเพื่อใหอัตราชีพจรสูงถึง170 - อายุคร้ัง/นาที ความนาน คือ ออกกําลังกายใหตดิตอกนัอยางนอย 15 - 20 นาที ความบอย คือ ออกกําลังกายวันเวนวนั หรืออยางนอย 3 วันตอสัปดาห แลมป (Lamb 1984 : 88, อางถึงใน ดํารง กิจกุศล 2527: 45) ใหความหมายของ

การออกกําลังกาย หมายถึง การทํางานของกลามเนื้อลาย เพื่อใหรางกายมีการเคล่ือนไหวตามความปรารถนาโดยมีการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกาย ชวยสนับสนุนสงเสริมใหการออกกําลังกายมีประสิทธิภาพ

สรุปการออกกําลังกาย หมายถึง การทํากิจกรรมโดยใชแรงกลามเน้ือเคล่ือนไหวรางกาย ใหมีจังหวะท่ีเหมาะสม เปนการฝกซอมรางกายแทบทุกสวน ใหมีความคลองแคลว วองไว แข็งแรง ผอนคลายความเครียดจากงานหรือชีวิตประจําวัน โดยถือหลักคือ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ อยางนอยสัปดาหละ 3 วัน ๆ ละไมต่ํากวา 20 นาที

ชนิดของการออกกําลังกาย การออกกําลังกายท่ีมีอยูหลายชนิด แตละชนิดจะใหผลตอองคประกอบของความ

สมบูรณแข็งแรงไมเหมือนกัน โดยท่ัว ๆ ไป แบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ (ดํารง กิจกุศล 2527: 55) 1. การออกกําลังกายเพื่อความเพลิดเพลิน เปนการเลนเพื่อพักผอนหยอนใจคลาย

เครียด เพื่อความสนุกสนานหรือเพื่อเขาสังคม เชน เทนนิส กอลฟ ปาเปา หรือปงปอง เปนตน การออกกําลังกายแบบนี้ควรเพิ่มความหนักและความตอเนื่องเพ่ือใหมีผลตอหัวใจและปอดจึงจะถือวาเปนการออกกําลังกายท่ีสมบูรณ

2. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพท่ัวๆไป เปนการเสริมสรางรางกายดานความแข็งแรงและความอดทนของกลามเน้ือ ความคลองตัว และความออนตัว มีผลทําใหกลามเน้ือ

Page 42: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

30

เจริญเติบโตและรูปรางดีแตมีผลตอสุขภาพของปอดและหัวใจนอยมาก การออกกําลังกายแบบนี้ ไดแก การบริหารรางกาย การฝกยกน้ําหนัก โยคะ และฤาษีดัดตน เปนตน

3. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของหัวใจและปอด เปนการออกกําลังกายท่ีรางกายไดรับออกซิเจนสมํ่าเสมอตลอดเวลา มีการเคล่ือนไหวสวนตาง ๆ ของรางกายดวยความเร็วพอประมาณถึงคอนขางเร็วในจังหวะท่ีสมํ่าเสมอในชวงเวลาชวงหน่ึงอยางนอยไมต่ํากวา 20 นาที (เร่ืองเวลาอาจแตกตางกันบางแลวแตสถาบัน คือ อยูระหวาง 12-20 นาที) การออกกําลังกายท่ีวานี้จะตองทําไมนอยกวาสัปดาหละ 3 คร้ัง จึงจะถือวาเปนการออกกําลังกายแบบ Aerobic ท่ีสมบูรณ ปจจุบันถือวา การออกกําลังกายแบบน้ีเปนแบบท่ีดีท่ีสุด สามารถกระตุนใหปอดและหัวใจทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ การออกกําลังกายแบบน้ี ไดแก การเดินเร็ว การวิ่งทน การปนจักรยาน วายน้ําเอาระยะทาง เปนตน

ประโยชนของการออกกําลังกาย 1. ชวยทําใหกลามเนื้อแข็งแรงและอดทนย่ิงข้ึน กลามเนื้อใดท่ีมีการออกกําลังกาย

เสมอ กลามเน้ือนั้นจะมีการพัฒนาและแข็งแรงยิ่งข้ึน ดังจะเห็นไดวามือขางท่ีเราถนัดจะแข็งแรงกวามืออีกขางหนึ่ง

2. การทรงตัวและรูปรางดีข้ึน ผูออกกําลังกายเปนประจําจะทําใหรางกายมีความวองไวกระฉับกระเฉง ทรงตัวดี และรูปรางของรางกายสมสวนผิดกับผูท่ีไมออกกําลังกายจะมีรูปรางอวนลงพุง หรือ ผอมเกินไป

3. ชะลอการเส่ือมของอวัยวะ การออกกําลังกายอยูเสมอนั้นจะชวยชะลอความแก มีอายุยืนยาว โครงกระดูกแข็งแรงและชวยชะลอการบางลงของเน้ือกระดูกไดมาก

4. สุขภาพจิตดีข้ึน การออกกําลังกายท่ีเหมาะสม รางกายจะหล่ังสารเอ็นดอรฟน สามารถลดความเจ็บปวดและเปนสารตอตานความซึมเศรา ทําใหรางกายสดช่ืน กระปร้ีกระเปรา

5. ทําใหระบบการขับถายดีข้ึน ระบบขับถายดีข้ึนทุกระบบไมวาถายหนัก ถายเบา หรือการขับเหง่ือและจะไมมีปญหาเร่ืองทองอืดทองเฟอ

6. ทําใหการนอนหลับดีข้ึน จะชวยใหผูท่ีนอนไมหลับหรือนอนหลับยาก สามารถนอนหลับไดดีข้ึน โดยเฉพาะจากความเครียดและวิตกกังกล

7. ชวยใหระบบหัวใจและปอดแข็งแรงยิ่งข้ึน การออกกําลังกายแบบ Aerobic จะชวยใหการทํางานของหัวใจ ปอดและหลอดเลือด มีประสิทธิภาพและแข็งแรงมากข้ึน

8. พลังทางเพศดีข้ึนท้ังหญิงและชาย เพราะการมีกลามเนื้อท่ีแข็งแรงทนทาน ขอตอเคล่ือนไหวอยางคลองแคลว ชวยใหมีการหล่ังฮอรโมนเพศออกมามากข้ึน แตไมควรออกกําลังหนักเกินไปในเพศชาย เพราะจะกลับทําใหฮอรโมนเพศชายลดลง

Page 43: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

31

9. การออกกําลังกายอยางถูกตองและสมํ่าเสมอ จะสามารถชวยใหอาการของโรคตาง ๆหลายโรคดีข้ึน เชน เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง โรคขอเส่ือมตาง ๆ เปนตน (ดํารง กิจกุศล 2527 : 57-58)

หลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 1. เม่ือเร่ิมการออกกําลังกาย ควรเร่ิมตนดวยวิธีการงาย ๆ และปริมาณนอย ๆ ตามข้ันตอน

เม่ือปรับตัวดีแลวจึงคอย ๆ เพิ่มความยากและเพิ่มปริมาณความหนักข้ึน อยาใจรอน อยาหักโหมหรือทําขามข้ันตอน เม่ือมีอาการผิดปกติ เชน ใจส่ัน เวียนศีรษะ ตองหยุดออกกําลังกายทันที

2. การออกกําลังกายท่ีสมบูรณแบบและใหประโยชนตอรางกาย จะตองทําใหทุกสวนของอวัยวะมีการเคล่ือนไหว กระทําอยางนอย คร้ังละไมต่ํากวา 30 นาที และสัปดาหละ 3 วัน

3. การออกกําลังกายควรประกอบดวย 3 ชวง คือ ชวงอบอุนรางกาย โดยการยืดเสน ยืดสายเพื่อใหรางกายเตรียมพรอมใชเวลาประมาณ 5 นาที ตามดวยชวงฝกจริง และชวงผอนคลายกลามเนื้ออีกประมาณ 5 นาที

4. การออกกําลังกาย ควรคํานึงถึงสภาพของรางกายในการออกกําลังกายควรใหมีความเหมาะสมกับเพศ วัย และความแตกตางของรางกายของแตละบุคคล หญิงมีครรภ ผูมีโรคประจําตัวควรปรึกษาผูเช่ียวชาญดานการออกกําลังกาย

5. ควรมีสุขนิสัย และสวัสดินิสัยในการออกกําลังกาย เชน ควรแตงกายใหสะอาดเหมาะสม ไมควรรับประทานอาหารกอนออกกําลังกาย หรือหลังจากการออกกําลังกายเสร็จใหม ๆ

6. งดการสูบบุหร่ี ดื่มสุรา สารกระตุน หรือส่ิงเสพติดอ่ืน ๆ ความเขาใจผดิเก่ียวกับการออกกําลังกาย 1. การออกกําลังกายทําใหรับประทานอาหารมากขึ้น การรับประทานมากหรือนอยนั้น

เปนเร่ืองเฉพาะตัว ซ่ึงบางคนเพียงนั่ง ๆ นอน ๆ ไมมีอะไรทํา กลับจะยิ่งรับประทานมากข้ึน แตอยางไรก็ตาม คนออกกําลังกายแลวอาจจะรูสึกหิว และรับประทานมากข้ึน เนื่องจากรางกายตองใชพลังงานมากข้ึน แตคนท่ีออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ปริมาณอาหารที่รับประทานเขาไปจะสมดุลกับพลังงานท่ีใชไปจึงไมเกิดภาวะอวนตามมา

2. อายุมากไมควรออกกําลัง มีคนจํานวนมากมีความคิดวา อายุมากแลวรางกายถูกใชงานมานานมากใกลชํารุดถาออกกําลังมากจะทําใหรางกายเส่ือมเร็วแตความจริงรางกายสามารถซอมแซมตัวเองได อวยัวะหลายๆ สวน เชน กลามเนื้อ กระดูก ถาถูกใชงานบอย ๆ จะแข็งแรงกวาอยูเฉยๆ ดังนั้นการออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอจะชวยชะลอการเส่ือมของอวัยวะตาง ๆ ของรางกายได

3. ผูท่ีทํางานมาเหน่ือยแลวไมควรออกกําลังกาย ซ่ึงเปนความคิดท่ีผิด เนื่องจากการทํางานท้ังวันซ่ึงทําใหรางกายเหนื่อยลา รางกายจะหล่ังสารแหงความเม่ือยลา คือ กรดแลคติค ทําให

Page 44: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

32

รางกายเกิดการออนเพลีย สามารถผอนคลายดวยการออกกําลังกายท่ีเหมาะสม รางกายจะหล่ังสารแหงความสุขคือ เอ็นดอรฟน ทําใหรางกายสดช่ืนแจมใสผอนคลายความเครียดและความเม่ือยลาไดเปนอยางดีท่ีสุด

4. การออกกําลังกายทําใหมีกลามเน้ือเปนมัด ๆ ซ่ึงผูหญิงสวนใหญ มักเขาใจวาการออกกําลังกายจะทําใหมีกลามเน้ือเปนมัด ๆ แขนขาใหญโตจนดูนาเกลียด ความจริงคือ ผูหญิงท่ีไมออกกําลังกายจะมีกลามเน้ือออนแอ ลีบเหลว ผูท่ีออกกําลังกายเปนประจํานั้น กลามเนื้อจะแข็งแรง กระชับตัว การเคล่ือนไหว จะคลองแคลวมากกวาผูท่ีไมออกกําลังกาย (ดํารง กิจกุศล 2527 :57)

โดยสรุป กิจกรรมการออกกําลังกาย เปนกิจกรรมท่ีมีประโยชนตอระบบตางๆในรางกาย เชนระบบไหลเวียนโลหิต ระบบกลามเน้ือ ระบบกระดูกและกลามเนื้อ ระบบหัวใจและหลอดเลือด เปนตน นอกจากนี้ ยังชวยใหผูท่ีออกกําลังกายนั้นมีความสนุกสนานเพลิดเพลิน เปนการผอนคลายความตึงเครียดจากการปฏิบัติงานไดอีกดวย ท่ีสําคัญคือ การออกกําลังกายท่ีจะใหประโยชนตอสุขภาพนั้น จะตองคํานึงถึงปจจัยหลายๆประการ แตท้ังนี้ ควรคํานึงถึง วัย เพศ รูปแบบของกิจกรรม การมีโรคประจําตัว เปนตน โดยควรปฏิบัติตามข้ันตอนดังไดกลาวแลว เพื่อปองกันการบาดเจ็บ

4.3 สารเสพยติดใหโทษ ไดแก บุหร่ี สุราหรือเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล สุภาณี สันตยากร (2541 : 71) ไดกลาววาบุหร่ี เปนยาเสพติดชนิดหนึ่ง ทํามาจากใบ

ยาสูบ ท่ีมีช่ือทางพฤกษศาสตรวา Nicotiana Tabacum ซ่ึงตามพระราชบัญญัติคุมครองสุขภาพของผูไมสูบบุหร่ี พ.ศ.2535 บุหร่ี หมายถึง บุหร่ี ซิกาแรตซ บุหร่ีซิการ บุหร่ีอ่ืน ยาเสนหรือยาเสนปรุงตามกฎหมายวาดวยยาสูบ

สารประกอบในบุหร่ี สารประกอบท่ีเปนอันตรายที่สําคัญ ไดแก - นิโคติน เปนสารท่ีมีลักษณะคลายน้ํามันไมมีสี เปนสารท่ีมีฤทธ์ิแรงท่ีสุดในบรรดา

สารท้ังหลายท่ีอยูในควันบุหร่ี ออกฤทธ์ิไดท้ังเปนตัวกระตุน กดและกลอมประสาท เปนตัวการสําคัญท่ีทําใหคนติดบุหร่ี มีผลทําใหหลอดเลือดตีบ เกิดโรคหัวใจและโรคความดันโลหิตสูง

- สารทารหรือน้ํามันดิน เปนของเหลวเหนียวขนสีน้ําตาลเขม จะจับท่ีปอดกอใหเกิดการระคายเคืองเร้ือรัง ทําใหมีอาการไอและมีสวนสัมพันธกับการเกิดมะเร็งปอดและถุงลมโปงพอง

- คารบอนมอนนอกไซด เปนกาซท่ีมีความเขมขนมากในควันบุหร่ี เม่ือเขาไปสูรางกายจะทําใหผูท่ีสูบบุหร่ีไดรับออกซิเจนนอยลง หัวใจเตนเร็วข้ึน เพ่ือสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงรางกายใหเพียงพอ ทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ คล่ืนไส กลามเนื้อแขนขาไมมีแรง

- ไนโตรเจนออกไซด เปนกาซพิษท่ีกอใหเกิดการระคายเคือง เม่ือผสมกับน้ําจะเกิดกรดไนตริกท่ีทําลายเยื่อบุหลอดลมทําใหถุงลมโปงพอง

Page 45: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

33

- ไฮไดรเจนไซยาไนด เปนกาซพิษท่ีเคยถูกนํามาใชในสงคราม แมเพียงปริมาณเล็กนอยก็ทําใหเกิดหลอดลมอักเสบเร้ือรัง เปนสาเหตุของการไอและมีเสมหะ

- แอมโมเนีย เปนสารปรุงแตงท่ีใสเขาไปในข้ันตอนการผลิต เม่ือถูกเผาไหมจะเปนปจจัยเสริมเรงใหมีการดูดซึมนิโคตินไปสูสมองเร็วข้ึน เปนสารเพ่ิมฤทธ์ิเสพติดของนิโคติน

- โพโลเนียม 210 เปนสารกัมมันตรังสี ซ่ึงใหรังสีแอลฟา เนื้อปอดท่ีไดรับรังสีเปนประจํา จะเกิดการระคายเคือง และเปนสาเหตุใหเกิดมะเร็งปอด

- แรธาตุและโลหะหนัก แรธาตุเปนสารตกคางในใบยาสูบหลังจากการพน ยาฆาแมลง เชน นิกเกิล สังกะสี แคดเมียม ดีดีที เม่ือเขาสูรางกาย จะไปสะสมตามเน้ือเยื่อไขมัน ไมสามารถขับออกทางปสสาวะไดซ่ึงอาจกอใหเกิดโรคมะเร็งไดในภายหลัง

สุพัฒน ธีรเวชเจริญชัย (2534 : 65) ไดกลาวถึงสาเหตุของการติดบุหร่ี ท่ีสําคัญมีดังนี้ - ฤทธ์ิของนิโคติน เปนยากลุมอารมณ ผูท่ีสูบบุหร่ีจะมีนิโคตินสะสมในเลือดระดับ

หนึ่ง ซ่ึงตองรักษาระดับนั้นอยูเสมอ เม่ือนิโคตินลดลงเพราะการขับถายหรือมีอารมณโกรธหรือเครียดจึงตองสูบบุหร่ี เพื่อใหนิโคตินอยูในระดับเดิมตอไป

- ความเคยชินทางอุปนิสัย มักเกิดข้ึนกับผูท่ีอยูเฉย ๆ เกอๆเขินๆ หรือไมทราบจะทําอะไร ก็จะควักบุหร่ีมาสูบตามความเคยชิน

- การเลียนแบบ เด็ก ๆ มักเร่ิมสูบบุหร่ีโดยเลียนแบบจากเพื่อน บิดา มารดา ครู และบุคคลสําคัญท่ีตนยกยอง นอกจากนี้ วัยรุนยังถือวาการสูบบุหร่ี เปนของดีเพราะจะทําใหดูเปนผูใหญ

- ใชบุหร่ีเปนเคร่ืองมือในการผูกมิตร - คานิยมทางสังคมท่ียอมรับการสูบบุหร่ี แมแตกฎหมายก็รับรองเชนกัน - อิทธิพลจากการโฆษณา เชน ภาพยนตร โทรทัศน หนังสือพิมพ ละคร เปนตน ผลเสียท่ีเกิดจากการสูบบุหร่ี 1. ผลเสียตอสุขภาพ การสูบบุหร่ีเปนสาเหตุท่ีสําคัญของการเกิดโรครายแรงท้ังผูสูบ

เองโดยตรงและผูท่ีอยูใกลเคียง เชน โรคมะเร็ง ในควันบุหร่ี มีสารกอมะเร็งเปนจํานวนมาก สวนใหญเปนสารประเภท

ไฮโดรคารบอน ท่ีสําคัญ คือ Benspyrene สารดังกลาวเกิดจากการเผาไหมของบุหร่ีท่ีอุณหภูมิสูง ๆ โรคมะเร็งท่ีพบมากท่ีสุด คือ มะเร็งปอด โดยพบวาผูท่ีสูบบุหร่ี วันละ 10 มวน พบมะเร็งปอดเปน 10 เทาของผูไมสูบบุหร่ี ในผูท่ีสูบวันละ 20 มวน และ 30 มวน ก็พบมะเร็งปอด 20 และ30 เทาตามลําดับ (ไพบูลย โลหสุนทร 2526 : 81) นอกจากนี้ ยังเส่ียงตอมะเร็งอวัยวะอ่ืน ๆ เชน มะเร็งกลองเสียง มะเร็งชองปาก มะเร็งหลอดลม มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็งตับออน มะเร็งกระเพาะปสสาวะ และมะเร็งปากมดลูก เปนตน

Page 46: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

34

โรคเก่ียวกับหัวใจและหลอดเลือด เนื่องจากการสูบบุหร่ีเปนสาเหตุของการสะสมโคเลสเตอรอล และการอุดตันของเสนเลือด ทําใหหลอดเลือดไปเล้ียงหัวใจตีบ นอกจากน้ียังทําใหหลอดเลือดแดงปลายมือปลายเทาอักเสบและอุดตัน ทําใหมีอาการเจ็บปวดน้ิวมือและนิ้วเทา กลายเปนแผลเนาหรือกลายเปนสีดําเพราะขาดเลือดไปเล้ียง

โรคระบบทางเดินหายใจ ควันบุหร่ีทําใหเกิดระคายเคืองตอเยื่อบุผิวของจมูก คอหลอดลมและถุงลม เกิดอาการไอ หอบหืด หายใจไมสะดวก นอกจากนี้สารสีดําและยางเหนียวในบุหร่ี จะไปค่ังและสะสมอยูในปอด เปนสาเหตุของโรคหลอดลมอักเสบและถุงลมโปงพอง

โรคของระบบทางเดินอาหาร สารเคมีในควันบุหร่ี จะเปนสาเหตุใหกรดเพิ่มข้ึนในกระเพาะอาหาร เกิดการระคายเคือง การอักเสบของเยื่อบุกระเพาะและเกิดแผลในกระเพาะอาหาร

ผลตอระบบสืบพันธุ ในผูหญิงท่ีสูบบุหร่ี จะเขาสูวัยหมดประจําเดือนเร็วกวาปกติ ในผูชายพบวา จะกอใหเกิดการตีบตันของหลอดเลือดแดงท่ีไปเล้ียงอวัยวะเพศบางสวนทําใหสมรรถภาพทางเพศลดลง นอกจากนี้ หญิงมีครรภท่ีสูบบุหร่ีจัดเปนเวลานาน ๆ พบวา มักทําใหแทงบุตร ทารกท่ีคลอดออกมามักตายหรือคลอดกอนกําหนด มีผลกระทบตอพัฒนาการทางรางกายและสติปญญาของเด็กอยางมาก

ผลตอริมฝปาก เหงือกและฟน ผูท่ีสูบบุหร่ีจะมีริมฝปากและเหงือกดําคลํ้า ฟนมีสีเหลืองหรือดํา ลมหายใจมีกล่ินเหม็นและการรับรูรสและกล่ินเสียไป

2. ผลเสียตอสังคม 2.1 เสียบุคลิกภาพ เปนท่ีรังเกียจของคนท่ีไมสูบบุหร่ี 2.2 ทําใหบานเมืองสกปรก และถาติดนิสัยมักงายอาจทําใหเกดิเพลิงไหมได 2.3 เปนตัวอยางท่ีไมดีสําหรับเยาวชน ซ่ึงอาจเกิดการเลียนแบบได 2.4 เปนสาเหตุใหนําไปสูการติดยาเสพติดท่ีรายแรงชนิดอ่ืน ๆ

3. ผลเสียตอเศรษฐกิจ 3.1 ทําใหส้ินเปลืองคาใชจายในการสูบบุหร่ีท้ังสวนตัวและใชรับแขก รวมท้ัง

คาใชจายในการรักษาพยาบาลผูปวยจากพิษของการสูบบุหร่ี 3.2 ผลเสียตอเศรษฐกิจของประเทศ ในการส่ังซ้ือใบยาสูบและสวนประกอบ

ในการผลิตบุหร่ีเขามาจากตางประเทศ 3.3 เสียเวลาในการทํางาน ถาเร่ิมจับเวลาการสูบบุหร่ีแตละมวน ตั้งแตเร่ิมสูบ

บุหร่ีจนถึงปจจุบัน จะพบวาตองเสียเวลาไปกับการสูบบุหร่ีเปนจํานวนมาก

Page 47: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

35

ขอแนะนําสําหรับผูท่ีเลิกสูบบุหร่ี 1. กําหนดวัน กําหนดวันและตัดสินใจทันทีโดยเลือกวันท่ีสําคัญสําหรับคุณ เชน วัน

เกิดของลูก วันครบรอบแตงงาน และบอกผูใกลชิดเพ่ือขอกําลังใจพรอมท้ังประกาศใหรูวาจะเลิกสูบบุหร่ี

2. ท้ิงอุปกรณ เก็บบุหร่ีและอุปกรณการสูบบุหร่ีท้ิงใหหมดและพยายามหลีกเล่ียงคนท่ีสูบบุหร่ีใหมากท่ีสุด โดยเฉพาะ 2-3 สัปดาหแรกของการอดบุหร่ี ท้ังนี้เพื่อมิใหเปนการลอใจ

3. ดื่มน้ํามาก ๆ วันละหลาย ๆ คร้ัง ควรดื่มน้ําวันละ 10 แกว โดยเฉพาะในระยะ 10 วันแรกของการอดบุหร่ี การดื่มน้ํามาก ๆ จะชวยใหไมอยากสูบบุหร่ีและควรอาบน้ํารอนวันละ 2คร้ัง เม่ืออาบน้ํารอนเสร็จแลวใหใชน้ําเย็นราดตัวจะกระตุนใหกระปร้ีกระเปราและมีกําลังใจดีข้ึน

4.รับประทานผักและผลไมสดมากๆเพราะจะชวยแกพิษยาสูบไดดี โดยเฉพาะในระยะ 2-3 สัปดาหแรกอยารับประทานอาหารที่มีรสจัด งดดื่มสุรา น้ําชาหรือกาแฟ เพราะส่ิงเหลานี้จะกระตุนใหมีอาการอยากบุหร่ี และอยาปลอยใหตัวเองหิวใหรับประทานอาหารอยางสมํ่าเสมอไมควรลดน้ําหนักในระหวางเลิกบุหร่ี

5. ออกกําลังกายมาก ๆ และหายใจลึก ๆ เพื่อรับอากาศบริสุทธ์ิวันละหลาย ๆ คร้ังจะเปนการทําความสะอาดปอดและชวยใหสบายใจข้ึน

6. อดทนอยาเลิกลมความต้ังใจท่ีจะเลิกบุหร่ีเด็ดขาด เคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล เคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอลหรือสุรา หมายถึง เคร่ืองดื่มประเภทมึนเมา ท่ีมีเอธทิล

แอลกอฮอล (Ethyl Alcohol) ผสมอยู ไดแก วิสกี้ บร่ันดี คอนยัคกี้ แชมเปญ ยิน รัม ไวน เบียร สาโท น้ําตาลเมา ฯลฯ เม่ือดื่มเขาไปมากเกินความตองการหรือดื่มเปนประจําจนเปนอาจิณ จะกลายเปนยาเสพติดอยางหนึ่ง จะกอใหเกิดปญหาตาง ๆ ท้ังทางดานสุขภาพจิต สุขภาพกาย เศรษฐกิจและสังคม สามารถแบงชนิดของแอลกอฮอล ออกเปน 2 ชนิด ไดแก

1. ชนิดของเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลท่ีไดมาจากการหมัก ซ่ึงสวนใหญแลวไดมาจากกระบวนการหมักตามธรรมชาติโดยใชวัตถุดิบท่ีมาจากพืช ไดแก ไวน ซ่ึงไดมาจากการหมักน้ําผลไมตาง ๆ เชน องุน อินทผาลัม แอปเปล ฯลฯ และเบียรซ่ึงไดมาจากการหมักแปงหรือเมล็ดพืช เคร่ืองดื่มประเภทนี้มีเกลือแรและวิตามินอยูบางเล็กนอย

2. เคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอลท่ีไดมาจากการกล่ัน เคร่ืองดื่มประเภทนี้ไดจากการกล่ันพวกไวนและเบียร โดยตมถึงจุดเดือดจนระเหยเปนไอแลวรวมตัวเปนเหลากล่ัน แบงออกเปนชนิดตาง ๆ หลายชนิด เชน วิสกี้ บร่ันดี เปนตน เหลาประเภทนี้ไมมีสารอาหารอยูเลยโดยมากมีแอลกอฮอลประมาณ 45 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร (ไพบูลย โลหสุนทร 2526:47)

Page 48: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

36

สาเหตุของการดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล สาเหตุทางดานรางกาย โดยด่ืมเพื่อชวยใหเจริญอาหาร ลดความเจ็บปวดในยาม

เจ็บปวย บางคนดื่มเพื่อแกปญหานอนไมหลับและใชแกหนาว เปนตน แตเม่ือดื่มบอย ๆ ก็ติดในท่ีสุด

สาเหตุทางดานจิตใจ โดยดื่มเพื่อสรางความม่ันใจใหกับตนเอง ปดบังหรือลดปมดอยบางประการ ลดความกังวล ความเครียด ความกลัว ดื่มยอมใจเพ่ือใชเปนเคร่ืองมือแสดงความกาวราวตอผูอ่ืนหรือกอคดีอาชญากรรม

คานิยมของสังคม สวนใหญพบวา เยาวชนมักดื่มเนื่องจากความอยากรูอยากเห็นและอยากทดลองถูกชักชวนจากเพื่อนและเลียนแบบจากผูใหญ นอกจากนี้บางคนอาจเขาใจวาการดื่มสุราจะทําใหสมองแจมใสมีความสามารถในงานศิลปะเพิ่มข้ึน ลวนแตเปนการเขาใจผิดท้ังส้ิน (สุพัฒน ธีรเวชเจริญชัย 2534 : 65)

ผลเสียของการดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล ผลเสียตอสุขภาพ 1. สมองและระบบประสาท เคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอลเม่ือเขาไปสูสมอง จะไปกด

การทํางานของสมอง และระบบประสาท สติสัมปชัญญะเสียไป ขาดความยับยั้งช่ังใจ การควบคุมรางกายและอวัยวะสัมผัสเสียไป ถาดื่มในปริมาณมาก ๆ อาจทําใหหมดสติหรือตายได ซ่ึงผลของแอลกอฮอลท่ีออกฤทธ์ิตอสมอง ข้ึนอยูกับปริมาณของเหลาท่ีดื่มเขาไปและปริมาณความเขมขนของแอลกอฮอลในเลือด นอกจากนี้หากดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอลในระยะยาว จะทําให ปลายประสาทเกิดอาการอักเสบ มีอาการชาตามปลายมือปลายเทา กลามเน้ือออนกําลัง รวมท้ังยังทําใหเยื่อสมองเกิดอาการบวม จึงทําใหเกิดอาการชัก ปวดศีรษะและความจําเส่ือม

2. หัวใจและหลอดเลือด แอลกอฮอลมีผลทําใหหัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูงเม่ือดื่มไปนานๆ หลอดเลือดจะเกิดความเปราะและแข็งตัวเนื่องจากการอักเสบและมีไขมันไปจับอยูตามผนังและหลอดเลือดทําใหเกิดหลอดเลือดแตกได นอกจากนี้ระบบการสรางเม็ดเลือดจะบกพรองและติดโรคไดงาย

3. ระบบทางเดินอาหาร ถาดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอลในปริมาณท่ีนอยจะชวยในการยอยอาหาร ลดอาการทองอืดทองเฟอ ถาดื่มในปริมาณท่ีมากจะทําใหมีการหล่ังของกรดมากข้ึนกวาปกติทําใหกระเพาะอาหารอักเสบเปนแผล นอกจากน้ียังสงผลทําใหมีอาการขาดสารอาหารและอาจจะทําใหเกิดมะเร็งหลอดอาหารได

4. ตับ เปนอวัยวะท่ีทําลายพิษของแอลกอฮอลขณะเดียวกันแอลกอฮอลก็ทําลายตับเนื้อตับจะคอย ๆ ถูกทําลายจนทําใหเกิดโรคตับแข็ง ดีซาน ทองบวมน้ํา เปนตน

Page 49: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

37

5. ไต แอลกอฮอลมีฤทธ์ิมีฤทธ์ิกระตุนใหไตทํางานมากข้ึนทําใหรางกายขับปสสาวะบอย และมากซ่ึงอาจมีผลทําใหเกิดโรคไตได

6. การเกิดอุบัติเหตุ การดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล อาจทําใหขาดความระมัดระวัง เนื่องจากประสาทไมสามารถทํางานไดอยางปกติ จึงทําใหมีผูเสียชีวิตเปนจํานวนมากเนื่องจากการดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอลแลวขับรถ

7. ความแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรม การดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอลมาก ๆ จะทําใหเกดิการติดสุราตองดื่มทุกวัน มักมคีวามผิดปกติของสุขภาพจติ จิตใจออนไหวไมเปนตัวของตัวเอง มีอาการประสาทหลอน วิตกกังวล ซึมเศรา มักมีโรคแทรกและอุบัติเหตุตามมา

ผลเสียตอสังคม 1. เสียบุคลิกภาพและขาดความเช่ือถือ เนื่องจากการดืม่เคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอลทํา

ใหใบหนาแดง นัยนตาแดง ลมหายในมีกล่ินแอลกอฮอล การแตงตัวไมเรียบรอย เปนตน 2. สรางปญหาใหครอบครัว การดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอลจนมึนเมา เปนเหตุให

เกิดการแตกราวในครอบครัว 3. ปญหาอาชญากรรม การดื่มสุรานํามาซ่ึงการทะเลาะวิวาทและทํารายรางกาย ผลเสียตอเศรษฐกิจ 1. ส้ินเปลืองคาใชจายในการซื้อเคร่ืองดื่ม ท่ีมีแอลกอฮอลท้ังสวนตัวและงานเล้ียง

สังสรรค รวมท้ังคาใชจายดานการรักษาพยาบาลจากโรคท่ีเกิดจากการดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล 2. ผลเสียตอเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากตองส่ังสุราจากตางประเทศเขามา 3. ทําใหเสียเวลาในการทํางาน รวมท้ังประสิทธิภาพในการทํางานก็ลดลง

4.4 การจัดการความเครียด กองสุขภาพจิต (2526, อางถึงใน อัมพร โอตระกูล 2538 : 49-50)ใหความหมายของ

ความเครียดวา เปนความกระวนกระวายใจ เนื่องจากสถานการณอันไมพึงพอใจเกิดข้ึน ความปรารถนาไมไดรับการสนองหรือผิดพลาดไปจากเปาหมายท่ีตองการ

โรเบิรต (Robert 1978 : 110, อางถึงใน จิณหจุฑา ฤทธ์ิสวัสดิ์ 2541:149) กลาววา ความเครียด หมายถึง กลุมพฤติกรรมตอบสนองท่ีเกิดข้ึนเม่ือมีความวิตกกังวล มีความคับของใจ มีความโกรธ ไมสามารถปรับตัวใหเขากับสถานการณหรือมีความลําบากในการพิจารณาและตัดสินใจ

เซลเย (Selye 1956 : 102-103, อางถึงใน จิณหจุฑา ฤทธ์ิสวัสดิ์ 2541:149) ใหความหมายวา ความเครียดเปนปฏิกิริยาตอบโตของบุคคลท้ังทางรางกายและจิตใจตอส่ิงท่ีมากระตุนท้ังภายในและภายนอกรางกาย ซ่ึงมาคุกคามหรือขัดขวางการทํางาน การเจริญเติบโตและความ

Page 50: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

38

ตองการของมนุษย ทําใหบุคคลอยูในภาวะไมสมดุล เกิดการเปล่ียนแปลงดานรางกายและจิตใจ อันเปนกลไกลการปองกันตนเอง เพื่อตอตานส่ิงท่ีมาคุกคามนั้น

ลาซารัสและโฟกคแมน(Lazarus and Folkman 1984, อางถึงในจิณหจุฑา ฤทธ์ิสวัสดิ์ 2541:150) การบริหารจัดการความเครียด หมายถึง ความพยายามของความคิดและพฤติกรรมของบุคคลที่ใชในการจัดการกับความเครียดท้ังภายในและภายนอกของบุคคล ซ่ึงสามารถจัดการไดดีเพียงใดข้ึนอยูกับพลังความสามารถของบุคคล

ดังนั้นบุคคลท่ีบริหารจัดการความเครียดไดดี หมายถึง บุคคลท่ีรูจักเลือกใชวิธีการท่ีเหมาะสมกับสถานการณ สามารถรักษาภาวะสมดุลแหงจิตใจไวได แตถาการเผชิญความเครียดนั้นรักษาสมดุลท่ีใชในการจัดการไดแตเปนรูปแบบท่ีไมเหมาะสม คือ เม่ือมีปญหาแลวหาทางออกในลักษณะท่ีทําลายตนเอง เชน การดื่มสุรา หรือเสพยาเสพติดก็จะสงผลเสียท้ังตอตนเอง และผูอ่ืนได

สาเหตุของความเครียด มิลเลอรและคีน (Miller and Keane 1983, อางถึงใน อัมพร โอตระกูล 2538) ได

แบงมูลเหตุของความเครียดออกเปน 2 สาเหตุ ดังนี้ 1. ความเครียดภายในรางกาย

1.1 ความเครียดทางชีวภาพ เกิดจากความเปล่ียนแปลงทางรางกายทางชีวภาพหรือเกี่ยวของกับส่ิงจําเปนตอการดํารงชีวิต เชน อาหาร อากาศ น้ํา ซ่ึงรางกายไดรับไมเพียงพอก็จะเกิดความรูสึกไมสบาย เชน หงุดหงิด ปวดศีรษะ ฉุนเฉียว เกิดเปนความเครียดข้ึน

1.2 ความเครียดทางพัฒนาการ เปนความเครียดท่ีเกิดในชวงของพัฒนาการแตละวัย โดยเปนความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนตามความตองการของจิตใจจากเหตุจูงใจทางสังคม ไดแก ความตองการความรัก ความตองการมีเพื่อน ความตองการมีช่ือเสียงและไดรับการยกยองนับถือ เปนตน ซ่ึงความตองการดังกลาว ถาไมเปนไปตามความหมายที่ตนเองตองการก็จะเกิดเปนความเครียด

2. ความเครียดจากภายนอก 2.1 สภาพแวดลอมภายนอก ท่ีเปนทางดานกายภาพหรือสถานการณ หรือ

วิกฤตการณท่ีกอใหเกิดอันตรายหรือการเจบ็ปวยแกรางกายอาจทําใหเกดิความเครียดได เชน ความรอน ฝุนละออง เชื้อโรค น้ําทวม ไฟไหมและภาวะสงคราม เปนตน

2.2 ขอเรียกรองทางสังคมท่ีเกิดจากกฎระเบียบ วัฒนธรรมและประเพณี ซ่ึงถาบุคคลนั้น ไมสามารถปฏิบัติตนใหสอดคลองกับสังคมไดกย็อมกอใหเกิดความทุกขใจเกดิเปนความเครียดได

Page 51: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

39

ระดับความเครียด ความเครียดในระดับท่ีเหมาะสม จะกอใหเกิดพลังสรางสรรคแตความเครียดใน

ระดับสูงท่ีบุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองและใชกลไกลการปรับตัวไมเหมาะสม กอใหเกิดปญหาต้ังแตเล็กนอยจนถึงรุนแรงได บุคคลแตละบุคคลจะตอบสนองความเครียดแตกตางกัน บางคนจะมีปฏิกิริยาตอบสนองรุนแรงใชเวลานานบาง คนอาจจะมีปฏิกิริยาเพียงเล็กนอย ท้ังๆท่ีอยูในสถานการณท่ีเกิดความเครียดในเร่ืองเดียวกันก็ตาม ท้ังนี้ข้ึนอยูกับการรับรู การปรับตัว พื้นฐานของรางกาย ความเช่ือ ทัศนคติวัฒนธรรม ฯลฯ ของแตละบุคคลท่ีมีตอความเครียด

แจนิส (Janis1952:52, อางถึงใน อัมพร โอตระกูล 2538 :49-52 ) แบงความเครียดเปน 3 ระดับ

ความเครียดระดับตํ่า ความเครียดระดับนี้รุนแรงกวาโดยมีระยะเวลาอันส้ันเพียงวินาที หรือภายในช่ัวโมงเทานั้น มักเกิดจากสาเหตุเพียงเล็กนอย เชนทํางานไมทันเวลา การนัดหมายคลาดเคล่ือน

ความเครียดระดับปานกลาง ความเครียดระดับนี้รุนแรงกวา โดยมีระยะเวลานานเปนชั่วโมงหรือหลาย ๆ ช่ัวโมงจนกระท่ังนานเปนวันได เชน การเจ็บปวยท่ีไมรุนแรง ความเครียดจากการทํางานมากเกินไป ความขัดแยงกับเพื่อนรวมงาน ฯลฯ

ความเครียดระดับสูง ความเครียดระดับนี้อยูเปนสัปดาหเปนเดือนหรือเปนปก็ได มีผลกระทบโดยตรงตอวิถีชีวิต เชน การเจ็บปวยรุนแรง ความพิการ การตกงาน การหยาราง อุทกภัย อัคคีภัย เปนตน

ผลกระทบท่ีเกิดจากความเครียด เม่ือเกิดความเครียดจะมีผลกระทบตอมนุษยดังนี้ ผลกระทบดานรางกาย 1. ระบบหัวใจและหลอดเลือด ความเครียดมีอิทธิพลตอการเปล่ียนแปลงของ

จังหวะการเตนของหัวใจ หัวใจจะสูบฉีดโลหิตเร็วข้ึน อาจทําใหเกิดกลามเนื้อหัวใจวายได 2. ระบบยอยอาหาร อาจเกิดเปนแผลในกระเพาะอาหารและลําไสเล็ก อาเจียนเบื่อ

อาหารทองอืด ทองผูก 3. ระบบหัวใจ อาจมีอาการเยื่อหุมจมูกแหง หายใจลําบาก เกิดหอบหืด 4. ระบบกลามเน้ือและกระดูก มีอาการเจ็บปวดตามขอมือขอเทา อาการปวด

กลามเนื้อ เกิดโรคขออักเสบรูมาตอยด 5. ระบบผิวหนัง อาจมีอาการคัน เจ็บ ชา มีเหง่ือออกมามากกวาปกติ โดยเฉพาะ

บริเวณฝามือ ฝาเทา และหนาผาก รวมท้ังอาจทําใหเปนเริมและผมรวง เปนตน

Page 52: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

40

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ เวลช (Welch 1980, อางถึงใน ผองศรี ศรีมรกต 2536 : 11) ไดเสนอแนะไวในการศึกษา

ถึงอาการคล่ืนไสอาเจียนในผูปวยมะเร็งเตานม ท่ีไดรับรังสีรักษา จํานวน 24 คน พบวา การใหความรูหรือคําอธิบายใหผูปวยมีความรูความเขาใจท่ีถูกตองเกี่ยวกับชนิดอาหารที่รับประทานไดและเหตุผลในอาการปวย จะชวยใหผูปวยรูสึกวา สามารถควบคุมสถานการณไดดีและลดความรูสึกหมดหวังและหมดหนทางชวยเหลือลงไปได

วิไลวรรณ ทองเจริญ และคณะ (2539 : บทคัดยอ) ศึกษาปจจัยเส่ียง ความรูและพฤติกรรมการปองกันภาวะกระดูกพรุนของสตรีวัยหมดประจําเดือนและสตรีวัยกลางคน ในกรุงเทพมหานคร 356 คน ผลการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางมีระดับความรูและพฤติกรรมการปองกันภาวะกระดูกพรุนในระดับปานกลาง การไดรับความรูเร่ืองกระดูกพรุน มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการปองกันภาวะกระดูกพรุน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

ปรียารัตน ศักดิ์ณรงค (2534 :52) ศึกษาการรับรูบทบาทการเปนบิดาของสามีท่ีพาภรรยามาฝากครรภ ศึกษา ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ผลการศึกษาพบวา การมีความรูเกี่ยวกับการตั้งครรภ มีความสัมพันธทางบวกกับการรับรูบทบาทการเปนบิดา

จากผลงานวิจัยดังกลาว พอจะสรุปไดวา ความรูดานสุขภาพ นาจะเปนอีกปจจัยท่ีสําคัญ ท่ีสงผลตอการแสดงพฤติกรรมสุขภาพ บุคคลท่ีมีความรูที่ถูกตองเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพ จะชวยใหเกิดความเช่ือม่ันในตนเอง เกิดการรับรูและตระหนักอยางแทจริง สามารถนําความรูท่ีมีอยูในตน ไปเปนแนวทางในการคิด ประกอบการตัดสินใจ และเลือกท่ีจะแสดงออกถึงพฤติกรรมท่ีเปนประโยชนตอสุขภาพ หรือไมแสดงออกในพฤติกรรมท่ีเส่ียงตอสุขภาพของบุคคลนั้นๆ นอกจากนี้ ยังชวยในการเผชิญกับส่ิงท่ีเขามาคุกคาม โดยการปรับสมดุลดานจิตใจ ใหสามารถควบคุมเหตุการณหรือสถานการณตางๆท่ีเกิดข้ึน ดังนั้น ในการศึกษาคร้ังนี้ จึงนําตัวแปรความรูดานการสงเสริมสุขภาพ มาเปนตัวแปรทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนดวย

Page 53: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

41

5. แนวคิดเก่ียวกับการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ความหมาย การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ จัดเปนแรงสนับสนุนทางสังคม

ประการหน่ึง ซ่ึงเปนปจจัยทางจิตสังคมท่ีเกี่ยวกับพฤติกรรมและภาวะสุขภาพของมนุษย ไดมีผูศึกษาเกี่ยวกับแรงสนับสนุนทางสังคมมากมายหลายอาชีพ มีท้ังนักมานุษยวิทยา แพทย พยาบาล จิตแพทย นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห จึงทําใหแรงสนับสนุนทางสังคม ไดถูกมองออกเปนหลายแนวความคิด และมีความหมายแตกตางกันออกไปตามแนวคิดของผูท่ีศึกษา

คอบบ (Cobb 1976:300) กลาววา แรงสนับสนุนทางสังคม เปนการที่บุคคล ไดรับขอมูลขาวสารที่ทําใหเขาเช่ือวา มีบุคคลท่ีใหความรัก ความสนใจ เอาใจใส เห็นคุณคาและยกยอง เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง และรูสึกวาตนเองเปนสวนหนึ่งของสังคม

โอเรม (Orem 1985:69, อางถึงใน สมจิต หนุเจริญกุล 2536: 39) กลาววา แรงสนับสนุนทางสังคม เปนแหลงประโยชนของบุคคลจากส่ิงแวดลอม ทําใหรูสึกถึงความรัก ความมีคุณคาในตนเอง ความเปนสวนหนึ่งของสังคม และไดรับความชวยเหลือดานวัตถุ

บุญเยี่ยม ตระกูลวงษ(2528:32) กลาววา แรงสนับสนุนทางสังคม คือ การท่ีบุคคลหน่ึงไดรับความชวยเหลือ ไมวาจะเปนดานขอมูลขาวสาร วัสดุส่ิงของ หรือดานจิตใจจากบุคคลอีกคนหนึ่ง มีสวนสัมพันธกับการมาใชบริการดานการแพทยและสาธารณสุข และการปฏิบัติตามคําแนะนําของบุคลากร ดานสาธารณสุข

ดังนั้นสรุปไดวา แรงสนับสนุนทางสังคม หมายถึง การที่บุคคลไดรับการชวยเหลือจากบุคคลในเครือขายทางสังคมท่ีบุคคลนั้นมีปฏิสัมพันธดวย ทางดานอารมณ สังคม วัตถุส่ิงของ หรือขอมูลขาวสาร

ชนิดของแรงสนับสนุนทางสังคม เฮาส (House1986:141-143, อางถึงใน บุญเยี่ยม ตระกูลวงษ 2528:32) ไดแบงแรง

สนับสนุนทางสังคมออกเปน 4 ชนิด คือ การสนับสนุนทางอารมณ (Emotional support) หมายถึง การสนับสนุนดานการยกยอง

การใหความรัก ความผูกพนั ความจริงใจ ความเอาใจใส และความรูสึกเห็นอกเหน็ใจ การสนับสนุนดานการประเมิน (Appraisal support) หมายถึง การเห็นพองรับรองและ

การใหขอมูลปอนกลับเพื่อนําไปใชในการประเมินตนเอง และเปรียบเทียบตนเองกับผูท่ีอยูรวมในสังคม

การสนับสนุนดานขอมูลขาวสาร (Information support) หมายถึง การใหคําแนะนํา การใหขอเสนอแนะ ทิศทางและการใหขอมูลขาวสาร ซ่ึงสามารถนําไปใชในการแกปญหาท่ีเผชิญอยูได

Page 54: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

42

การสนับสนุนดานวัตถุ ส่ิงของ การเงิน และแรงงาน (Instrument support) หมายถึง การชวยเหลือท่ีตรงตอความจําเปนของบุคคล ในเร่ืองเงิน แรงงาน เวลาและการปรับสภาพส่ิงแวดลอม

เชฟเฟอร และคณะ (Schaefer et al. 1981, อางถึงใน บุญเยี่ยม ตระกูลวงษ2528:35) ไดแบงแรงสนับสนุนทางสังคมออกเปน 3 ชนิด คือ

1. การสนับสนุนดานอารมณ ความผูกพนัใกลชิด การไดรับการยนืยนั ทําใหบุคคลไดรับ ความรัก หรือไดรับการดูแลเอาใจใส

2. การสนับสนุนดานขอมูลขาวสาร หมายถึง การไดรับขอมูลขาวสาร ทําใหบุคคลสามารถนําไปแกปญหา หรือขอมูลปอนกลับ ทําใหบุคคลรับรูถึงพฤติกรรมและการปฎิบัติตน

3. การสนับสนุนดานส่ิงของ หมายถึง การไดรับความชวยเหลือดานวตัถุ ส่ิงของ และ การบริการ

คอบบ (Cobb 1976 : 300-307) แบงแรงสนับสนุนทางสังคมออกเปน 3 อยาง คือ 1. การสนับสนุนทางดานอารมณ (Emotional support) คือ การใหความรักและการดูแล

เอาใจใส ซ่ึงมักจะไดจากความสัมพันธใกลชิด และความผูกพันท่ีลึกซ้ึงตอกัน 2. การไดรับการยอมรับและเห็นคุณคา (Esteem support) เปนขอมูลท่ีย้ําใหบุคคลรูวา

ตนเปนคนมีคา เปนท่ียอมรับของบุคคลอ่ืน 3. การไดมีสวนรวมและเปนสวนหนึ่งของสังคม (Socially support or network) เปน

ขอมูลท่ีทําใหบุคคลรับรูวาตนเปนสวนหนึง่ของสังคม มีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ผลของการสนับสนุนทางสังคมท่ีมีตอภาวะสุขภาพของมนุษย เพนเดอร (Pender 1990 : 259) ไดกลาวถึงบทบาทหนาท่ีของกลุมสนับสนุนทางสังคม ใน

การสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรควา สามารถกระทําได 4 แนวทาง โดย 1. การสนับสนุนทางสังคม สรางสภาพแวดลอมใหเอ้ือตอการสงเสริมการเจริญเติบโต

หรือพัฒนาการดานตางๆ ทําใหบุคคลเกิดความรูสึกมีคุณคาในตนเอง และพรอมท่ีจะปฏิบัติพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ เพื่อใหมีสุขภาพที่ด ี

2. การสนับสนุนทางสังคม ชวยลดความเครียด ท่ีอาจเกิดข้ึนไดจากเหตุการณตางๆในชีวิต

3. การสนับสนุนทางสังคม เปนผลสะทอนกลับของการกระทํา หรือการรับรอง การยืนยนั พฤติกรรมท่ีบุคคลนั้นๆกระทํา วาเปนท่ียอมรับของสังคม

Page 55: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

43

4. การสนับสนุนทางสังคม ชวยลดผลทางดานลบของเหตุการณเครียดในชีวิต โดยสงผานอิทธิพลนี้ไปยงัการตีความ หรือแปลความหมายของเหตุการณ และการตอบสนองดานอารมณของบุคคล ดังนั้น จึงเปนการชวยลดความเจ็บปวยได โคเฮน และวิลล (Cohen and Wills 1985 : 310-357, อางถึงใน บุญเยีย่ม ตระกูลวงษ 2528:41) ไดศึกษากลไกลการสนับสนุนทางสังคม เพื่ออธิบายภาวะสุขภาพของมนุษยทางดานรางกายและจิตใจ โดยสรุปผลการศึกษาได 2 ประการ คือ 1. การสนับสนุนทางสังคม จะทําใหบุคคลมีประสบการณท่ีดี มีอารมณม่ันคง สงผลใหตอมไรทอในระบบประสาทและระบบภมิูคุมกันโรค ทํางานดีข้ึนหรืออาจสงผลใหคนมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีดีข้ึน ซ่ึงเปนการสงผลโดยตรง นอกจากนั้นการสนับสนุนทางสังคม ยังชวยสงเสริมหนาท่ีในการตอสูปญหาของแตละคนใหดีข้ึน ทําใหลดความรุนแรงของปญหาลงได 2. การสนับสนุนทางสังคม ชวยลดภาวะวิกฤตของชีวิต โดยการสนบัสนุนทางสังคมจะชวยลดความเครียด อันจะนําไปสูภาวะวกิฤต ซ่ึงความเครียดจะเกดิข้ึนไดเม่ือคนเรารูสึกวาไมสามารถชวยเหลือตนเองได ความรูสึกตนเองดอยคุณคา ภาวะเชนนี้จะไปรบกวนสมดุลของระบบตอมไรทอในระบบประสาทและระบบภูมิคุมกันโรค ทําใหงายตอการเกิดโรค และในขณะเดียวกัน ก็จะทําใหบุคคลมีพฤติกรรมท่ีเส่ียงและเกิดความลมเหลวในการสนใจสุขภาพตนเอง บทบาทในการสนับสนุนทางสังคมในการดูดซับหรือบรรเทาผลกระทบท่ีเกิดจากภาวะเครียดนั้น เปนบทบาทในการปองกันภาวะสุขภาพ ไมใหเกดิการเจ็บปวย ท้ังทางรางกายและจิตใจโดยผานกระบวนการเผชิญภาวะเครียด เนื่องจากความเครียด เปนปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึนระหวางคนกบัส่ิงแวดลอม ซ่ึงอาจตีความไดวา เปนส่ิงท่ีคุกคามชีวิต เปนอันตรายและเปนส่ิงท่ีมาทาทาย ทําใหบุคคลตองปรับตัวเขาสูภาวะสมดุล โดยการใชพฤติกรรมหรือกลไกลเผชิญภาวะเครียด ในการใชพฤติกรรมการเผชิญภาวะเครียดนัน้ ถาเปนไปอยางถูกตองเหมาะสมก็เกิดการปรับตัวท่ีปกติ แตถาการปรับตัวลมเหลวหรือไมถูกตอง ก็ทําใหเกิดความผิดปกติท้ังทางรางกายและจิตใจ ดังนั้น การสนับสนุนทางสังคมซ่ึงเปนดั่งขุมพลังท่ีมีอยูในสังคม กจ็ะทําหนาท่ีเสมือนตัวชวยเหลือในการเผชิญภาวะเครียดนัน่เอง ซ่ึงอาจจะกระทําโดยการชวยเหลือบุคคลใหเปล่ียนสถานการณ เปล่ียนแปลงความหมายของสถานการณ หรือเปล่ียนแปลงสภาพอารมณท่ีมีตอสถานการณนั้นๆ หรืออาจเปล่ียนแปลงท้ัง 3 อยางไปพรอมๆกันก็ได ดังนั้น แรงสนับสนุนทางสังคม จึงเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ท้ังการชวยใหดํารงไวซ่ึงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ตลอดจนกระตุนใหเกดิแรงจูงใจในการปฏิบัติพฤติกรรมท่ีเหมาะสม ท้ังนี้ เนื่องจากแรงสนับสนุนทางสังคม มาจากการมีปฏิสัมพันธกับบุคคลท้ังในครอบครัว และชุมชน ตลอดจนหนวยงาน ซ่ึงจะทําใหบุคคล ไดรับความรักใคร

Page 56: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

44

ความเหน็อกเห็นใจ การเอาใจใส ไดรับความรู ขอมูลขาวสาร คําแนะนําท่ีเปนประโยชน และไดรับการชวยเหลือดานวัตถุ ส่ิงของ รวมถึงการบริการในชุมชน เชน การบริการตรวจสุขภาพ การจดัหายาและเวชภณัฑท่ีจําเปน เปนตน ส่ิงตางๆท่ีไดรับเหลานี้ จะเปนการกระตุน และสงเสริมใหประชาชนในวยักลางคนนี้ มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองท่ีด ี ในการศึกษาวจิัยคร้ังนี้ ผูวิจยั ไดศึกษาแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลในครอบครัว เพื่อนบาน เจาหนาท่ีสาธารณสุข ผูนําชุมชน และหนวยงานสาธารณสุขในพื้นท่ี โดยใชแนวคิดของ เชฟเฟอร และคณะ (Schaefer et al. 1981 : 385-386, อางถึงใน บุญเยี่ยม ตระกูลวงษ2528:38) เปนแนวทางในการศึกษา ใน 2 ดาน คือ ดานขอมูลขาวสาร และ ดานส่ิงของและบริการ งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

ชอทิพย บรมธนรัตน และคณะ (2539 , อางถึงใน ประกอบพร สินธุรัตน 2542:50) ศึกษา ปจจัยท่ีมีผลตอการปฎิบัติงานสาธารณสุขมลฐาน ตามบทบาทหนาท่ีของ อสม.ณ ศูนยสาธารณสุข มูลฐาน จังหวัดสุพรรณบุรี โดยศึกษาปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดครอบครัว ระยะเวลาในการปฎิบัติงาน การรับรูบทบาทหนาท่ี แรงจูงใจ แรงสนับสนุนทางสังคม และการนิเทศงานจากเจาหนาท่ีระดับตําบลพบวา การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธเชิงบวกตอการปฎิบัติงานดานสาธารณสุขมูลฐานตามบทบาทหนาท่ี

ลีนา ฐิติเบญจผล (2537 : 84) ไดศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษารวมกับ แรงสนับสนุนทางสังคมในการเลิกบุหร่ีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวดันนทบุรี ผลการศึกษาพบวา การใหแรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อน และผูปกครอง ทําใหนักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตองและสามารถทําใหนกัเรียนเลิกบุหร่ีได

สุวารี สุขุมาลวรรณ (2533 : 107-112) ไดศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการปฎิบัติงาน ของอาสาสมัครสาธารณสุข ในโครงการสาธารณสุขมูลฐาน : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวดันครนายก พบวา ปจจัยเร่ืองความเพียงพอของส่ิงสนับสนุนการปฎิบัติงานของอสม. และการประสานงานระหวาง อสม. มีอิทธิพลตอการปฎิบัติงานของอสม. อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 และจากการศกึษาเพิ่มเติม พบวา ความเพียงพอของรายไดของครอบครัว มีความสัมพันธทางลบกับความพึงพอใจของประชาชนตอการรับบริการจากอสม. อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

อุไรวรรณ บุญสาลีพิทักษ (2542 : บทคัดยอ ) ศึกษาการปฎิบัติงานตามบทบาทหนาท่ีของอาสาสมัครสาธารณสุขในศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน จังหวัดลพบุรี พบวา การปฎิบัติงานของ อสม.โดยรวมอยูในระดับปานกลาง รอยละ 60.6 และจากการวิเคราะหความสัมพันธ พบวา การสนับสนุนทางสังคม ไดแก การนิเทศงาน การศกึษาดูงาน การมีสวนรวมของชุมชน การรับรู

Page 57: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

45

บทบาทหนาท่ีโดยรวมและแรงจูงใจโดยรวม มีความสัมพันธกับการปฎิบัติงานตามบทบาทหนาท่ี ของอสม. อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

อังคณา นวลยง (2535 : บทคัดยอ) ศึกษาพบวา แรงสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธทางบวกกับความสามารถในการดูแลตนเอง อยางมีนยัสําคัญทางสถิติ ท่ีระดบั .001 อธิบายไดวา หญิงต้ังครรภท่ีมีความดันโลหิตสูงท่ีไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมดี จะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองท่ีดีกวา

นอมจิตต สกุลพันธ (2535:48-49) ศึกษาความสัมพันธระหวางแรงสนับสนุนทางสังคม ปจจัยท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมดูแลตนเองของผูปวยเบาหวาน ท่ีเขามารับการรักษาท่ีคลินิกเบาหวานโรงพยาบาลศิริราช จํานวน 200 ราย พบวา แรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธทางบวกกับ พฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวานอยางมีนยัสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 อธิบายไดวา ผูปวยท่ีไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมดี จะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองท่ีด ี สุธีรัตน แกวประโลม(2538:81) ศึกษาพบวา แรงสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 อธิบายไดวา ผูปวยเบาหวานสูงอายุท่ีไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมดี จะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองท่ีดี และจากการศึกษายังพบวา แรงสนบัสนุนทางสังคมและระดับการศึกษา สามารถรวมทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองไดรอยละ 51 และแรงสนับสนนุทางสังคมเพียงตัวเดียว สามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองไดรอยละ 10.25

สุทธินิจ หุณฑสาร (2539:67) ศึกษาพบวา การไดรับขอมูลขาวสารจากส่ือตางๆ มีความ สัมพันธกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 กลาวคือ สตรีวัยหมดประจําเดือนทีไ่ดรับขอมูลขาวสารจากส่ือมากนอยตางกัน จะมีผลตอพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพท่ีแตกตางกนั การไดรับแรงสนับสนุนจากบุคคล มีความสัมพันธกับพฤตกิรรมสงเสริมสุขภาพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .001 กลาวคือ สตรีวัยหมดประจําเดือนท่ีไดรับคําแนะนําจากบุคคลมากนอยตางกนั จะมีผลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพท่ีแตกตางกัน

ไพโรจน พรหมพันใจ (2540 : 45) ศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสรางเสริมสุขภาพของคนโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดนครราชสีมา จํานวน 400 คน พบวา การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพนัธกับพฤติกรรมการสรางสุขภาพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

วลิดา ศักดิ์บัณฑิตสกุล (2541 : 95) ศึกษาการสนับสนุนทางสังคมและพฤติกรรมสรางเสริมสุขภาพของสตรีในโรงงานอุตสาหกรรมส่ิงทอ พบวา การสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมสรางเสริมสุขภาพ มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001

Page 58: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

46

แรงสนับสนุนทางสังคมเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของบุคคล ท้ังในดานการชวยใหบุคคลดํารงไวซ่ึงพฤติกรรมท่ีสงเสริมสุขภาพ ตลอดจนกระตุนใหเกิดแรงจูงใจในการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและมีพฤติกรรมในการบําบัดรักษาโรคเม่ือเจ็บปวย โอเรม (Orem DE.1985, อางถึงใน สมจติ หนุเจริญกลุ 2536: 47) เปรียบแรงสนับสนุนทางสังคมเปนแหลงประโยชนของบุคคล ซ่ึงเปนปจจัยหนึ่งในปจจัยพืน้ฐาน ท่ีมีอิทธิพลตอการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสนองตอความตองการการดูแลตนเองของบุคคล เพราะแรงสนับสนุนทางสังคม เกิดจากการมีปฏิสัมพันธกับบุคคลในสังคม ซ่ึงจะทําใหบุคคลไดรับความรู ขอมูลขาวสาร คําแนะนําท่ีเปนประโยชน มีความรูสึกมีคุณคาในตนเอง มีความหวัง มีความปลอดภัย และไดรับความชวยเหลือดานวัตถุส่ิงของ ส่ิงตางๆท่ีไดรับเหลานี้ จะชวยใหบุคคลสามารถปฏิบัติกิจกรรมเพื่อตอบสนองตอการดูแลตนเอง การไดรับแรงสนบัสนุนทางสังคม จึงเปรียบเสมือนปจจัยหนึ่ง ซ่ึงมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการดูแลตนเอง เปนการกระตุนและสงเสริมใหบุคคลมีพฤติกรรมการดูแลตนเอง ดังนัน้ ในการศกึษาคร้ังนี้ จึงนําตัวแปรของการสนับสนุนทางสังคม ดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ มาเปนตัวแปรทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคนดวย 6. แนวคิดการรับรูภาวะสุขภาพตนเองและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ การรับรู หมายถึง การแสดงออกถึงความรู ความเขาใจในความรูสึกท่ีเกิดข้ึนในจิตใจตนเอง การรับรู ถือเปนขบวนการทางจิตวิทยาข้ันพื้นฐานของบุคคลท่ีสําคัญ เพราะถาปราศจากการรับรูแลว บุคคลจะไมสามารถจดจํา หรือมีการเรียนรูไดเลย การรับรูเปนปจจัยท่ีทําใหบุคคลมีแนวโนมท่ีจะแสดงพฤติกรรมตามการรับรูของตน นอกจากนี ้ ยังเปนตวับงช้ีถึงลักษณะของพฤติกรรมท่ีเกดิข้ึนอีกดวย กระบวนการรับรูจะเกิดข้ึนได ตองประกอบดวย การรับความรูสึกหรือการสัมผัส การเลือก และการแปลความ ซ่ึงการรับรูของแตละบุคคล จะแตกตางกันอยางไรนั้น ข้ึนอยูกับ ลักษณะของส่ิงเรา และลักษณะของผูรับ

การศึกษาเกี่ยวกับการรับรูภาวะสุขภาพนั้น โรเซนสตอก(Rosenstock I.M.) และเบคเกอร(Becker M.H.) ศึกษาโดยใชแบบแผนความเช่ือดานสุขภาพ (Health Belief Model) มาใชอธิบาย พฤติกรรมการปองกันโรคของบุคคล ซ่ึงแนวความคิดนี้ไดรับอิทธิพลมาจากทฤษฎีของ เคิรทเลวิน (Kurt Lewin) ท่ีเช่ือวาการรับรูของบุคคลเปนตัวบงช้ีของพฤติกรรมโดยบุคคลจะกระทําหรือเขาใกลส่ิงท่ีตนพอใจ และคิดวาส่ิงนั้นจะกอใหเกิดผลดแีกตนและจะหนีออกหางจากส่ิงท่ีตนไมปรารถนา ซ่ึงการท่ีบุคคลใดจะมีพฤติกรรมหลีกเล่ียงการเปนโรค บุคคลนั้นจะตองมีความเช่ือวา ตนเองมีโอกาสเส่ียงตอการเปนโรค โรคท่ีเกิดข้ึนมีความรุนแรงและมีผลกระทบตอชีวิตประจําวัน และ การปฏิบัติกิจกรรมเฉพาะเจาะจงมีประโยชนเพื่อลดโอกาสเส่ียงตอการเกิดโรค

Page 59: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

47

กอบกุล พันธุเจริญวรกลุ (2528 : 27, อางถึงใน วรารัตน รุงเรือง 2548:55) กลาววา การรับรูภาวะสุขภาพ หมายถึง การท่ีบุคคลมีความรูสึกตอสภาพการทํางานของรางกายและจิตใจโดยรวม แลวเปรียบเทียบจากประสบการณเดิมและความรู เพื่อการใหความหมายตอภาวะสุขภาพของตน จากนั้นจึงตัดสินใจวาภาวะสุขภาพของตนเปนอยางไร กลาวคือ บางคนอาจมีการรับรูวาความเจบ็ปวยเปนเพยีงส่ิงผิดปกติเล็กนอยและไมเปนอุปสรรคตอการดําเนินชีวิตของตน ดังนั้น ตามการรับรูของบุคคลเหลานี้ ความเจ็บปวยเปนภาวะปกติท่ีเกิดขึ้นไดในชวงชีวิตมนุษย ในขณะท่ีบางคนอาจรูสึกวา ความเจ็บปวยเปนส่ิงท่ีรบกวนและคุกคามตอชีวิตตน ทําใหผลท่ีตามมาคือ ความกลัว ความทอแททุกคร้ังท่ีเจ็บปวย การรับรูตอภาวะสุขภาพท่ีตางกันนี้ จะมีอิทธิพลตอกําลังใจในการตอสูกับปญหาท่ีเขามารบกวนชีวติของแตละบุคคลไดแตกตางกัน

สรุปไดวา การรับรูภาวะสุขภาพ เปนการแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิด ความเขาใจ และการยอมรับของบุคคล ท่ีมีตอภาวะสุขภาพของตนเอง ท้ังทางดานสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม ในชวงเวลาหนึ่งๆ

การประเมินการรับรูภาวะสุขภาพ เนื่องจากการรับรูภาวะสุขภาพของบุคคลมีผลอยางมากตอการแสดงพฤติกรรมสุขภาพ จาก

ประสบการณท่ีบุคคลกระทําพฤติกรรมสุขภาพแลวเกิดความสุขมีภาวะสุขภาพท่ีดีข้ึน จะเปนแรงผลักดันใหบุคคลมีการรับรูคุณคาของการมีสุขภาพท่ีดี และสงเสริมใหบุคคล มีการเปล่ียนแปลงการดําเนินชีวติ เพื่อดํารงไวซ่ึงสุขภาวะ

บรูค และคณะ (Brook et al. 1973 : 13, อางถึงใน วรารัตน รุงเรือง 2548 : 44) ไดพัฒนาแบบวัดการรับรูภาวะสุขภาพท่ัวไป (General Health Perception Battery) ซ่ึงประกอบดวยประเด็นในการวัด 6 ดาน คือ

1.การรับรูภาวะสุขภาพในอดีต เปนการประเมินความรูสึก ความคิดเห็นเกีย่วกับสุขภาพในอดีตของแตละบุคคล ซ่ึงมีความแตกตางกนัไป ข้ึนอยูกับปจจัยความเช่ือ เจตคติ ประสบการณเกีย่วกับความเจ็บปวยในอดีตท่ีผานมา

2.การรับรูภาวะสุขภาพในปจจุบัน เปนการประเมินภาวะสุขภาพตนเองท่ีเปนจริงและครบถวนในแตละวัน หรืออาจจะบอยคร้ังกวานัน้ก็ได ตามความรูสึกวา ตนเองมีสุขภาพท่ีดหีรือเจ็บปวย ซ่ึงการประเมินภาวะสุขภาพของแตละบุคคล เปนการใหความหมายของคําวา “สุขภาพ” นั่นเอง ซ่ึงการรับรูภาวะสุขภาพในปจจุบันของแตละบุคคล จะแตกตางกันไปข้ึนอยูกับการรับรูภาวะสุขภาพในอดตี การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสุขภาพของตนจากแพทย พยาบาลหรือบุคคลอ่ืน ตลอดจนอาการทางกายท่ีปรากฏข้ึน เปนตน

Page 60: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

48

3.การรับรูภาวะสุขภาพในอนาคต เม่ือบุคคลเจ็บปวย จะสงผลตอการทํางานหรือความพิการของรางกาย บุคคลสามารถรับรูไดดวยตนเอง การรับรูภาวะสุขภาพในอดีต ปจจุบัน และการไดรับขอมูลเกี่ยวกับการเจ็บปวยจากแพทย พยาบาล หรือบุคคลอ่ืน จะสงผลถึงความคาดหวังหรือความหมดหวังของบุคคลนั้นได หากบุคคลไดรับการสนับสนุนหรือชวยเหลือ จะทําใหมีความรูสึก ความคิดเห็น เกี่ยวกับภาวะสุขภาพในอนาคตอยางมีความหวัง มีกําลังใจ และเกิดแรงจูงใจในการทํากิจกรรมตางๆ เพื่อดํารงไวซ่ึงสุขภาพท่ีด ี

4.การรับรูความตานทานโรค หรือการเส่ียงตอความเจบ็ปวย เปนการรับรูภาวะสุขภาพท่ีวา รางกายสามารถตานทานโรคหรือเส่ียงตอการเกิดโรคตางๆ และการเกิดภาวะแทรกซอนสูงสุดนั้น จะทําใหเกดิแรงกระตุนใหบุคคลเอาใจใสตอการดูแลสุขภาพตนเองมากข้ึน และมีพฤติกรรมสุขภาพดานการปองกนัโรคมากข้ึน

5.ความวิตกกังวลและความสนใจตอสุขภาพ เปนการประเมินถึงความวิตกกังวล จากการรับรูของบุคคล เกี่ยวกับภาวะสุขภาพของตนเอง หากบุคคลมีความวิตกกังวลเกีย่วกับภาวะสุขภาพในระดับท่ีเหมาะสม จะเกดิการเรียนรูและตระหนกัถึงอันตรายของการเจ็บปวย สามารถประเมินสุขภาพและจัดระบบการดูแลตนเองไดดี ทําใหบุคคลสนใจ เอาใจใสตอสุขภาพมากข้ึน เหน็คุณคาของการมีสุขภาพท่ีดี สงผลใหมีการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพอยางตอเนื่อง

6.ความเขาใจเกี่ยวกับการเจบ็ปวย เปนความเขาใจท่ีมักจะเกีย่วของกับภาวะสุขภาพวา ภาวะสุขภาพประกอบดวยภาวะสุขภาวะท่ีดี และภาวะสุขภาพท่ีเจ็บปวยสลับกันไป เปนประสบการณตลอดชวงชีวิตมนุษยเมื่อเกิดการเจ็บปวยข้ึนจะไมทําใหบุคคลนั้น เกดิความเครียดหรือวิตกกังวลมากจนเกนิไป มีความพรอมในการปรับตัวและแสวงหาความชวยเหลือท่ีถูกตองได งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

ฮอรแกน (Horgan PA. 1988, อางถึงใน วรารัตน รุงเรือง 2548 : 61) ทําการศึกษาเกี่ยวกับการรับรูภาวะสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพในกลุมผูสูงอายุ จํานวน 79 ราย พบวา ผูสูงอายุท่ีมีการรับรูตอภาวะสุขภาพในปจจบัุนที่ดีจะมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีด ี

ดิชแมน และคณะ (Dishman et al.1995, อางถึงใน เพนเดอร 1990: 326-332.) ทําการศึกษาโดยใหผูปวยเขาไปรวมในโปรแกรมการออกกําลังกาย พบวา ผูปวยท่ีมีการรับรูตอภาวะสุขภาพท่ีดีจะมีสวนเกีย่วของในการเพิม่ความเปนไปได ของพฤติกรรมการออกกาํลังกายอยางตอเนื่อง

พรทิพา ศุภราศี (2538:38) ศึกษาพบวา การรับรูตอภาวะสุขภาพ มีอิทธิพลโดยตรงตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.001 กลาวคือ ผูปวยทีมี่การรับรูตอภาวะ

Page 61: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

49

สุขภาพดี จะมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพท่ีดี สวนผูปวยท่ีมีการรับรูตอภาวะสุขภาพท่ีไมดจีะมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพท่ีไมด ี

ชวนพิศ มีสวัสดิ์ (2539:86)ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูภาวะสุขภาพ ภาพลักษณ ความวิตกกังวล กับการดแูลตนเองของหญิงวัยรุนครรภแรก ท่ีมารับบริการในแผนกรับฝากครรภ โรงพยาบาลพัทลุง จํานวน 250 ราย โดยใชแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบวา การรับรูภาวะสุขภาพขณะต้ังครรภมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .001 อธิบายไดวา หญิงต้ังครรภท่ีมีการรับรูภาวะสุขภาพท่ีด ี จะมีการดูแลตนเองท่ีดี และยังพบวา การรับรูภาวะสุขภาพ ความวิตกกังวลขณะต้ังครรภ และระดับการศึกษา สามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยรวม ไดรอยละ 31.27 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001

การรับรูภาวะสุขภาพ เปนปจจยัหนึ่งในสวนประกอบของความสามารถ และคุณสมบัติพื้นฐาน ท่ีจะทําใหบุคคลมีความสามารถในการดูแลตนเอง กลาวคือ การรับรู เปนพื้นฐานท่ีจะนําไปสูความเขาใจ ความตระหนกั การคิด การเห็นคุณคา การยอมรับ การตัดสินใจ ซ่ึงเม่ือรวมความสามารถเหลานี้เขาดวยกัน จะทําใหบุคคล เกิดความสนใจ และต้ังใจท่ีจะดูแลตนเอง นอกจากนี้ การรับรูตอภาวะสุขภาพ ยงัเปนปจจยัดานแรงจูงใจท่ีมีผลตอการโนมนาว หรือกระตุนใหบุคคลมีความรับผิดชอบ ในการเอาใจใสตอการดแูลตนเอง เพื่อใหมีสุขภาวะที่ดีข้ึน ดังนัน้ในการศึกษาคร้ังนี้ จึงนําตัวแปรดานการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง มาเปนตัวแปรทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคนดวย 7. งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับตัวแปรสวนบุคคล 7.1 เพศ สดใส ศรีสะอาด (2540 : 87) ศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอการสงเสริมสุขภาพประชาชน จังหวดัอํานาจเจริญ ผลการศึกษาพบวา เพศ อายุ และประสบการณเกีย่วกบัพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สุกัญญา ไผทโสภณ (2540 : บทคัดยอ) ศึกษาพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของเจาหนาท่ีสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ผลการวิจัยพบวา ปจจยัรวม ไดแก เพศ ดัชนีมวลกาย มีความสัมพันธกบัพฤติกรรมสุขภาพ อยางมีนยัสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 กาญจนา เกษกาญจน (2541 : 86) ศึกษาพบวา เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได ระยะเวลาท่ีเปนโรค สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูปวยโรคเบาหวาน ไดรอยละ 24.60

Page 62: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

50

เพศ เปนปจจัยท่ีบงบอกถึงความแตกตางดานสรีระ และเปนปจจัยหนึ่งท่ีทําใหเกิดความแตกตางดานคานิยม และยังเปนตัวกําหนดบทบาทหนาท่ี บุคลิกภาพในครอบครัว ชุมชน และสังคมอีกดวย จากผลการวิจัยขางตน อาจสรุปไดวา เพศ เปนตัวแปรท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของบุคคล ดังนั้น ในการศึกษาถึงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ในคร้ังนี้ จงึคาดวา ประชาชนวยักลางคนท่ีเพศตางกัน จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกนั

7.2 อายุ อังคณา นวลยง (2535: บทคัดยอ) ศึกษาความสัมพนัธระหวางการรับรูเกี่ยวกับโรค แรง

สนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงต้ังครรภท่ีมีภาวะความดันโลหิตสูง เนื่องจากการต้ังครรภ ท่ีมารับบริการในคลินิกท่ีโรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ และโรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา จํานวน 200 ราย พบวา อายุ มีความสัมพันธทางบวกกับการดแูลตนเอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 อธิบายไดวา หญิงต้ังครรภท่ีมีอายมุาก จะมีการดูแลตนเองท่ีด ี ณัฐสุภา ฉลาดสุนทรวาที (2539:77) ศึกษาภาวะในการดแูลตนเองของผูปวยภายหลังการเกิดกลามเนื้อหวัใจตายเฉียบพลัน ท่ีคลินิกโรคหัวใจโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา จํานวน 101 ราย พบวา อายุ เปนปจจยัท่ีมีความสัมพันธทางลบกับภาระในการดูแลตนเองและความยากลําบากในการกระทํากิจกรรมการดแูลตนเอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 อธิบายไดวา ผูปวยท่ีมีอายุนอย จะรูสึกวาการดแูลตนเองนั้น เปนภาระและความยากลําบาก วาริณี เอ่ียมสวัสดิ์ (2541 : 81) ศึกษาอาการภาวะหมดประจําเดือนและปจจยัท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพวยัหมดประจําเดือน กลุมตัวอยางมีอายุระหวาง 45-60 ป จํานวน 563 คน ผลการวิจัย พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีอายุตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 จากผลการวิจยัขางตน อาจสรุปไดวา อายุ เปนตัวแปรท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของบุคคล ผูท่ีมีอายุท่ีแตกตางกนันั้น จะมีพฤตกิรรมการดูแลสุขภาพตนเองที่แตกตางกนัดวยอายุ เปนตัวบงบอกถึงวุฒิภาวะหรือความสามารถในการจัดการกับส่ิงแวดลอม ภาวะจิตใจ การรับรู ความสามารถในการเขาใจ และการตัดสินใจในเร่ืองตางๆ ความสามารถในการดูแลตนเองซ่ึงเร่ิมพัฒนามาต้ังแตในวยัเด็ก และพัฒนาจนสมบูรณเม่ือถึงวยักลางคน ตอมาความสามารถนี้จะลดลงเมื่อถึงวัยท่ีสูงอายข้ึุน ดังนั้นในการ ศึกษาถึงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ในครั้งนี้ จึงคาดวา ประชาชนวยักลางคนท่ีมีอายุตางกัน จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกนั

Page 63: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

51

7.3 ภาวะสุขภาพ เบอรนารด และเชพพารด (Bernard and Sheppard 1993:456-461, อางถึงใน วาริณ ี

เอ่ียมสวัสดิ์ 2541: 38) ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูภาวะสุขภาพ อาการหมดระดู และการดแูลตนเองของสตรีวัยกอนและหลังหมดประจําเดือน ในสตรีท่ีอายุมากกวา 40 ป จํานวน 101 คน โดยการอาสาสมัครเขารวมการวจิัย พบวา ภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธกับอาการหมดประจําเดือนและการดูแลตนเองของกลุมตัวอยาง โดยสตรีวัยหมดประจําเดือนท่ีมีสุขภาพด ี จะมีการดแูลตนเอง และไมตองการเขารับการรักษาอาการหมดประจําเดือนจากแพทย โอเรม (Orem 1985 : 14-20) กลาววา การท่ีจะสงเสริมและคงไวซ่ึงการมีสุขภาวะท่ีดีนั้น เปนผลตอเนื่องมาจากการดแูลตนเอง การดูแลตนเองเปนการกระทําท่ีจงใจ มีเปาหมาย มีแบบแผน มีลําดับข้ันตอน เปนส่ิงท่ีพัฒนาข้ึน และเม่ือกระทําอยางมีประสิทธิภาพ จะมีสวนชวยใหโครงสรางสมบูรณ และสามารถทําหนาท่ีตนเองได

อภิรยา พานทอง (2540 : 73) ศึกษาปจจยัท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของสตรีวัยหมดประจําเดือน พบวา การใหความสําคัญตอสุขภาพและอาการหมดประจําเดือน เปนตัวทํานายพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพท่ีดีท่ีสุด โดยสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ ไดรอยละ 19.76 แสดงใหเห็นวา อาการที่เกดิข้ึนในวัยหมดประจําเดือน เปนตัวบงช้ีถึงภาวะสุขภาพของบุคคล ผูท่ีมีความรุนแรงของอาการท่ีเกิดข้ึนในวัยหมดประจําเดือนมาก ยอมสงผลกระทบตอภาวะสุขภาพ ทําใหเกิดการรบกวนและบ่ันทอนสุขภาพ ท้ังทางรางกายและจิตใจ สวนผลการศึกษาของสุทธินิจ หุณฑสาร (2539:126) ศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของสตรีวัยหมดประจําเดอืนเขตชนบท จังหวัดนนทบุรี พบวา การรับรูภาวะสุขภาพ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของสตรีวัยหมดประจําเดือน

ประภาพร จนิันทุยา (2538 : 364) ไดกลาวไววา บุคคลท่ีมีโรคประจําตัวหรือภาวะสุขภาพผิดปกติ ไดแก ปวดขอ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เปนตน จะสงผลกระทบตอจิตใจ ทําใหมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคภยัไขเจ็บท่ีเปนอยู เปนอุปสรรคในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน หรือพฤตกิรรมการดูแลสุขภาพ

จากการทบทวนเอกสารงานวิจัยท่ีเกีย่วของ สรุปไดวา ภาวะสุขภาพหรือการมีโรคประจําตัวหรือความไมสุขสบายจากอาการของโรค มีสวนสําคัญตอการปรับตัว และสงผลกระทบตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชน ท้ังในดานการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค ดังนั้น ในการศึกษาถึงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ในครัง้นี้ จึงคาดวา ประชาชนวยักลางคนท่ีมีภาวะสุขภาพท่ีตางกัน จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน

Page 64: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

52

7.4 รายไดครอบครัว ทลู (Tlou 2533, อางถึงใน อังคณา นวลยง 2535: 66) ไดทําการศึกษาเชิงคุณภาพเร่ือง

ประสบการณชวงวยัหมดประจําเดือนในกลุมสตรีชาวบอสวานา พบวา ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม มีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของสตรีวัยหมดประจําเดือน

อังคณา นวลยง (2535 : บทคัดยอ) ศึกษาพบวา รายไดมีความสัมพันธทางบวก กับพฤติกรรมการดูแลตนเอง อยางมีนยัสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 อธิบายไดวา หญิงต้ังครรภท่ีมีภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการต้ังครรภและมีรายไดดี จะมีการดแูลตนเองท่ีดี หญิงต้ังครรภท่ีมีภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการต้ังครรภและมีรายไดต่ําจะมีการดแูลตนเองไมด ี

สุพร พร้ิงเพริศ (2359:64) ศึกษาถึงความสัมพันธระหวางการรับรูภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยภายหลังผาตัดหลอดเลือดแดงโคโรนารี ท่ีมารับบริการรักษาในคลินกิศัลยกรรมโรคหัวใจ แผนกผูปวยนอกของโรงพยาบาลศิริราชโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ โรงพยาบาลโรคทรวงอก และโรงพยาบาลราชวิถี จํานวน 100 ราย พบวา รายไดเฉล่ียตอเดือน มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .001 อธิบายไดวา ผูปวยท่ีมีรายไดเฉล่ียตอเดือนตํ่า จะมีการดูแลตนเองไมด ี

สุทธินิจ หุณฑสาร (2539 : 84) พบวา รายไดของครอบครัว มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของสตรีวัยหมดประจําเดอืน อยางมีนยัสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ.001 กลาวคือ สตรีวัยหมดประจําเดอืนท่ีมีรายไดของครอบครัวที่แตกตางกนั จะมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพแตกตางกันและพบวากลุมท่ีมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพสูง จะเปนกลุมท่ีมีรายไดสูงกวา 10,000 บาท

จากการศึกษาเกี่ยวกับรายไดครอบครัวกับการดูแลตนเองอธิบายไดวา รายไดครอบครัว เปนตัวบงช้ีสภาวะทางเศรษฐกิจและสังคม เปนองคประกอบท่ีมีความสําคัญตอความสามารถในการดูแลตนเอง โดยผูท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูง จะมีโอกาสติดตอส่ือสารกับกลุมสังคมตางๆ เพื่อเพิ่มความรูและประสบการณตนเอง มีรายไดเอ้ืออํานวยใหบุคคลสามารถหาอาหารที่มีประโยชนมารับประทานไดอยางเพยีงพอกับความตองการของรางกาย ตลอดจนสามารถจัดหาของใชท่ีจําเปน เพื่ออํานวยความสะดวกและสงเสริมพฤติกรรมสุขภาพอนามัยท่ีดี ในการศึกษาคร้ังนี้ จงึสรุปไดวา รายไดครอบครัว มีความสัมพันธทางบวกกับการดูแลตนเอง โดยบุคคลท่ีมีรายไดสูง จะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองท่ีดี บุคคลท่ีมีรายไดต่ําจะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองไมดี ดังนัน้ ในการศึกษาถึงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ในครั้งนี้ จึงคาดวา ประชาชนวยักลางคนท่ีมีรายไดตางกัน จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกนั

Page 65: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

53

7.5 ระดับการศึกษา อังคณา นวลยง (2535:77) ทําการศึกษาในกลุมหญิงต้ังครรภท่ีมีภาวะความดันโลหิตสูง

พบวา หญิงต้ังครรภท่ีมีระดบัการศึกษาท่ีสูงจะมีการดแูลตนเองดี หญิงต้ังครรภท่ีมีระดับการศึกษาท่ีต่ํา จะมีการดูแลตนเองไมดี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .05 สุธีรัตน แกวประโลม (2538:69) ศึกษาความสัมพันธระหวางความรูสึกมีคุณคาในตนเอง การสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวานสูงอายุโรงพยาบาลอุตรดติถ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ ท่ีมารับบริการท่ีคลินิกเบาหวาน จํานวน 135 ราย โดยใช แบบสัมภาษณ ผลการศึกษาพบวา ระดับการศึกษามีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดบั .001อธิบายไดวาผูปวยที่มีระดับการศึกษาสูงจะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองท่ีดี ผูปวยที่มีระดบัการศึกษาท่ีต่าํจะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองไมดี และจากการศึกษายังพบวา ระดับการศึกษาสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ไดรอยละ 15.71 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .001

พรทิพา ศุภราศรี (2538:68) ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูตอสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม กับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของผูปวยภายหลังการผาตัดเปล่ียนล้ินหัวใจ ท่ีมารับบริการท่ีคลินิกศัลยกรรมหวัใจ แผนกผูปวยนอก โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ โรงพยาบาล ราชวิถี โรงพยาบาลวชิระ และโรงพยาบาลโรคทรวงอก จังหวดันนทบุรี จํานวน 150 ราย โดยใชแบบวัดพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของเพนเดอร พบวา ผูปวยท่ีมีระดับการศึกษาท่ีแตกตางกัน มีพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพท่ีแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .001

จากการศึกษาเกี่ยวกับระดับการศึกษากับการดูแลตนเอง อธิบายไดวาการศึกษา มีความสัมพันธ ตอการพัฒนาความรู ทักษะ และทัศนคติตอการดูแลตนเอง บุคคลท่ีมีการศึกษาสูงจะมีทักษะในการแสวงหาขอมูล การซักถามปญหา ความเขาใจในการรักษา ตลอดท้ังการใชแหลงประโยชนไดดีกวาบุคคลท่ีมีการศึกษาตํ่า นอกจากนี้ บุคคลท่ีมีการศึกษาสูงมักมีรายไดสูงในขณะที่บุคคลท่ีมีการศึกษาตํ่ามักมีรายไดนอย และมีขอจํากดัในการแสวงหาขอมูลและแรงสนับสนุนทางสังคม รวมท้ัง ความสามารถในการท่ีจะเขาใจในเร่ืองโรคและการการดูแลสุขภาพ จึงสรุปไดวา การศึกษา มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง กลาวคือ บุคคลท่ีมีระดับการศึกษาสูงจะมีการดแูลตนเองไดด ี บุคคลท่ีมีการศึกษาตํ่าจะมีการดูแลตนเองไมดี ดังนัน้ ในการศึกษาถึงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ในครั้งนี้ จึงคาดวา ประชาชนวยักลางคนท่ีมีระดับการศึกษาตางกนั จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน

Page 66: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

54

7.6 อาชีพ วรางคณา ศิริประกายศิลป (2537:87) ศึกษาปจจยัท่ีมีความสัมพันธกบัการตัดสินใจในการปองกันโรคเอดสของหญิงมีครรภ ในจังหวัดสุพรรณบุรีท่ีมาฝากครรภในโรงพยาบาลของรัฐ จํานวน 380 ราย พบวา หญิงมีครรภท่ีมีอาชีพรับราชการ มีการตดัสินใจในการปองกันโรคเอดสไดดีกวาหญิงมีครรภท่ีมีอาชีพแมบาน เกษตรกรรม รับจาง ทํางานในโรงงาน เนื่องจากผูท่ีมีอาชีพรับราชการ มีการศึกษาสูงกวาอาชีพอ่ืน ทําใหมีโอกาสรบัรูขอมูลขาวสารโรคเอดสไดดีกวาอาชีพอ่ืน

สุทธินิจ หุณฑสาร (2539:74) ศึกษาพบวา อาชีพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพสตรีวยัหมดประจําเดือน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 กลาวคือสตรีวัยหมดประจําเดือนทีมี่อาชีพตางกัน จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพท่ีแตกตางกัน

จากการศึกษาเกี่ยวกับอาชีพกับการดูแลตนเอง อธิบายไดวา อาชีพ เปนปจจยัท่ีสนับสนุนใหบุคคลมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีแตกตางกนั เนื่องจากคนในกลุมอาชีพท่ีตางกัน จะมีการแลกเปล่ียนความรู ทัศนคติ ประสบการณตางๆกัน และมีเวลาใหความสนใจในสุขภาพแตกตางกนั ในการศึกษาคร้ังนี้ จึงสรุปไดวา อาชีพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ดังนั้น ในการศึกษาถึงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ในครั้งนี้ จึงคาดวา ประชาชนวยักลางคนท่ีประกอบอาชีพตางกัน จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน

8. บริบทชุมชนและสภาพปญหาทางสุขภาพ อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี 8.1 ท่ีตั้งและอาณาเขต อําเภอศรีสวัสดิ์ตั้งอยูทางทิศเหนือของจังหวัดกาญจนบุรี หางจากจังหวัดประมาณ 129

กิโลเมตร หางจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 240 กิโลเมตร มีพื้นที่ 3,269 ตารางกิโลเมตร พื้นท่ีจัดเปนเขตพื้นท่ีสูง มีภูเขาสลับเรียงรายตลอด จากเข่ือนศรีนครินทรจนถึงเขตจังหวดัอุทัยธานี มีปาไมอุดมสมบูรณ อาณาเขตติดตอมีดังนี ้

ทิศเหนือ ติดตอตําบลแกนมะกรูด อําเภอบานไร จังหวดัอุทัยธานี ทิศใต ติดตอตําบลชองสะเดา อําเภอเมือง จังหวดักาญจนบุรี ทิศตะวนัออก ติดตอตําบลทุงมะกอก อําเภอดานชาง จังหวดัสุพรรณบุรี ทิศตะวนัตก ติดตอตําบลหนองปรือ อําเภอบอพลอย จังหวดักาญจนบุรี 8.2 สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศโดยท่ัวไปเปนท่ีราบสูง มีปาไมสลับภูเขาสูง ตอนกลางมีสภาพพื้นท่ี

เปนอางเก็บน้ําขนาดใหญ ช่ือวา“อางเก็บน้าํเข่ือนศรีนครินทร” แบงแยกพ้ืนท่ีอําเภอศรีสวัสดิ์เปนสองฝง โดยมีพืน้ท่ีราบสําหรับประกอบอาชีพเกษตรกรรม ประมาณ รอยละ15 เปนผืนปาและภูเขา รอยละ 35 และเปนพื้นท่ีของอางเก็บน้ําเข่ือนศรีนครินทรถึง รอยละ 50

Page 67: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

55

8.3 สภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศของอําเภอศรีสวัสดิ์โดยท่ัวๆ ไปแลว มีภูมิอากาศท่ีพิเศษไปกวาอําเภอ

อ่ืนๆ ในจังหวดักาญจนบุรีคือ ฤดูรอนอากาศรอนจัด ฤดูหนาวอากาศจะหนาวจัด และฤดูฝนฝนจะตกชุก สถิติปริมาณนํ้าฝนทั้งปเฉล่ีย 1,077.52 มิลลิเมตร เดือนท่ีมีฝนตกมากท่ีสุดคือ เดือนกันยายน มีปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียประมาณ 208 มิลลิเมตร และเดอืนท่ีมีฝนตกนอยท่ีสุดคือ เดือนธันวาคม มีปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียประมาณ 3.30 มิลลิเมตร

8.4 ประชากร ณ กรกฎาคม 2549 ประชากรรวมทั้งส้ิน 22,420 คน แยกเปน ชาย 11,696 คน หญิง 10,724 คน

ครอบครัว 6,693 ครอบครัว หลังคาเรือน 6,849 หลังคาเรือน

8.5 อาชีพที่สําคัญ ประชากรอําเภอศรีสวัสดิ์สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีการเล้ียงสัตว และ

ประกอบอาชีพธุรกิจบางเล็กนอย นอกจากนี้ยังมี อาชีพหาของปาและรับจางท่ัวไป โดยจําแนกไดดังนี ้

- การทําไร ผลผลิตหลัก ไดแก ขาวโพด ฝาย พริก ละหุง - การทํานา เปนการเพระปลูกเพื่อบริโภค โดยทําขาวไรเปนสวนใหญ แตก็ไมเพียงพอ

แตตองซ้ือขาวสารจากท่ีอ่ืน - การทําสวน มีการปลูกไมผลและไมยนืตนท่ัวไปและมีการปลูกพืชผักสวนครัวตาง ๆ

เชน ฟกทอง ถ่ัวฝกยาว - การประมง เนื่องจากสภาพของพ้ืนท่ีเปนอางเก็บน้ําขนาดใหญทําใหมีพนัธุปลาชุก

ชุมเชน ปลาชะโด ปลากระสูบ ปลาเวยีน ปลาแรด ฯลฯ มีผูประกอบอาชีพประมงจํานวนมาก และยังเปนสถานท่ีจัดการแขงขันตกปลาอีกดวย

- การพาณิชยกรรม กิจการรานคาสวนใหญอยูในเขตเทศบาลตําบลเอราวัณ ในพ้ืนท่ี ตําบลทากระดาน นอกนัน้ กระจายตามชุมชนตาง ๆ และแหลงทองเท่ียว - การอุตสาหกรรม มีการดาํเนินกจิการเหมืองแร ท่ีตําบลทากระดานและเขาโจด - การบริการและทองเท่ียว มีแพพักและรีสอรท เพื่อบริการแกนกัทองเท่ียวใน ทองท่ีหลายตําบล เชน ทากระดาน หนองเปด แมกระบุง และดานแมแฉลบ

Page 68: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

56

8.6 การศึกษา เนื่องจากอําเภอศรีสวัสดิ์ มีประชากรชาวกะเหร่ียงอาศัยอยูกระจัดกระจายท่ัวไป ทําใหมีปญหาในการเรงรัดและรณรงคใหนกัเรียนไดศึกษาตอพอสมควร มีโรงเรียนท่ีรับผิดชอบ ดังนี ้

1. โรงเรียนท่ีสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากาญจนบุรีเขต3 จํานวน24โรงเรียน ดังนี ้- ตําบล เขาโจด มี 4 โรงเรียน คือ โรงเรียนบานน้ําพุ โรงเรียนบานสามหลัง และ

โรงเรียนบานเขาเหล็ก - ตําบลนาสวน มี 5 โรงเรียน คือ โรงเรียนบานนาสวน โรงเรียนบานองจุ

โรงเรียนบานปากนาสวน โรงเรียนบานองหลุ และโรงเรียนบานองสิต - ตําบลดานแมแฉลบ มี 5 โรงเรียน คือ โรงเรียนบานพุน้ําเปร้ียว โรงเรียนบาน

ดานแมแฉลบ โรงเรียนบานทาสนุน โรงเรียนบานโปงหวาย โรงเรียนบานดงเสลา - ตําบลแมกระบุง มี 2โรงเรียน คือโรงเรียนบานตนมะพราวและโรงเรียนบานน้ํามุด - ตําบลหนองเปด มี 2โรงเรียนคือโรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ และโรงเรียนบานทุงนา - ตําบลทากระดาน มี 5 โรงเรียน คือ โรงเรียนศรีสวัสดิ์พิทยาคม (โรงเรียนมัธยม

ศึกษาประจําอําเภอ) โรงเรียนชุมชนบานทากระดาน โรงเรียนบานบนเขาแกงเรียง โรงเรียนบาน แกงแคบ โรงเรียนบานเจาเณร และ โรงเรียนบานหมองกระแทะ

- โรงเรียนสังกัด ต.ช.ด.มี1โรงเรียนคือโรงเรียน ต.ช.ด. มิตรมวลชน 2 ตําบลเขาโจด 2. สถานศึกษาในสังกัดศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียน อําเภอศรีสวัสดิ์ เปดสอนระดับ

ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตน และมัธยมศึกษาปลาย จํานวน 6 ศูนยการเรียนชุมชน (ศรช.) 8.7 การสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ มีโรงพยาบาลชุมชน 2 แหง และ สถานีอนามัย 8 แหง

คือ สถานีอนามัยเอราวณั สถานีอนามัยบานบนเขาแกงเรียง สถานีอนามัยเกาะบุก สถานีอนามัยทาสนุน สถานีอนามัยปลายนาสวน สถานีอนามัยน้ําพลุาง สถานีอนามัยทาลําใย และ สถานีอนามัยน้ํามุด โดยมีจาํนวนบุคลากร ดังนี้ แพทย 2 คน ทันตแพทย 2 คน พยาบาล 18 คน เจาหนาท่ีสาธารณสุข 24 คนอาสาสมัครประจําหมูบาน จํานวน 420 คน และสถานพยาบาลเข่ือนศรีนครินทร จํานวน 1 แหง ปญหาทางดานสุขภาพอนามัยท่ีสําคัญ คือ โรคมาลาเรีย โรคทางเดินอาหาร อุบัติเหตุจากการจราจร ยาเสพติดใหโทษ ปญหาการฆาตัวตาย การบริโภคอาหารท่ีไมมีประโยชนตามหลักโภชนาการ และส่ิงแวดลอมถูกทําลาย เปนตน

จากการทบทวน วิเคราะหเอกสาร และงานวิจยัท่ีเกีย่วของดังท่ีกลาวมาขางตน สรุปไดวา เร่ืองของการดูแลสุขภาพของคนเรานั้น มีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง ปจจุบันพบวาปจจยัสาเหตุของการเกิดปญหาสุขภาพแตกตางไปจากอดีตท่ีผานมา กลาวคือ ในอดีตนั้น การเจบ็ปวยหรือปญหา

Page 69: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

57

ทางสุขภาพมักเกิดจากโรคหรือเช้ือโรคเปนสาเหตุสําคัญ แตปจจุบัน ปญหาสุขภาพมีสาเหตุเกิดจาก พฤติกรรมสุขภาพของบุคคลท่ีไมเหมาะสม ซ่ึงมีแนวโนมท่ีสูงข้ึน รวมถึงสภาพการเปล่ียนแปลงทางสังคม ส่ิงแวดลอม วิถีการดําเนินชีวติ การประกอบอาชีพ ตลอดจนความเจริญกาวหนาของเทคโนโลยี เปนตน ซ่ึงพบวา อัตราการปวย และอัตราการปวยตายของประชาชนดวยโรคไมตดิตอ ไดแก โรคหวัใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง เปนสาเหตุของการเสียชีวิตมากท่ีสุด ตลอดจนปญหาสุขภาพภาพจิตของประชาชน กล็วนกอใหเกดิการสูญเสียทางเศรษฐกิจอยางมากมาย ปญหาดังกลาว เปนผลที่สืบเนื่องมาจากพฤติกรรมการดําเนนิชีวิตประจําวนั และพฤติกรรมสุขภาพท่ีไมเหมาะสมของบุคคล เชน การบริโภคอาหารท่ีไมมีคุณคาทางโภชนาการ การบริโภคอาหารที่เส่ียงตอการเกิดโรค ขาดหลักโภชนาการที่ถูกตอง การขาดการออกกําลังกายท่ีเหมาะสมตอสุขภาพ การสูบบุหร่ี ดื่มสุรา ปญหาเร่ืองความเครียดในชีวิตประจําวนั อันเนื่องมาจากปญหาภายในครอบครัว ปญหาการงาน ปญหาเศรษฐกิจและอ่ืนๆ เปนตน สาเหตุเหลานี้ลวนเปนปจจยัท่ีมีความหลากหลาย ท่ีมีผลกระทบและบ่ันทอนตอสุขภาพและเศรษฐกิจ ท้ังในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชนอีกดวย

ดังนั้นในการศึกษาวจิัยคร้ังนี ้ ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวยักลางคน โดยศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลตนเอง ในผูท่ีมี เพศ อายุ รายได ระดับการศึกษา อาชีพ และภาวะสุขภาพ ท่ีแตกตางกนั และศึกษาความสัมพันธระหวาง ความรูดานการสงเสริมสุขภาพ การสนับสนุนดานขอมูลขาวสาร วัสดุ ส่ิงของและการบริการสุขภาพ และ การรับรูภาวะสุขภาพของตน กบัพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน โดยเขียนเปนกรอบแนวคิดในการวจิยั ดังแสดงในแผนภูมิท่ี 1

Page 70: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

58

แผนภูมิท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิัย (Conceptual framework)

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ขอมูลสวนบุคคล

เพศ อายุ

รายได ระดับการศึกษา

อาชีพ

ภาวะสุขภาพ

ความรูดานสุขภาพ

การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ

การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ

พฤติกรรมการปองกันโรค

Page 71: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

59

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาวิจยัคร้ังนี้ เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) เพื่อศึกษา พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จงัหวัดกาญจนบุรี เพื่อใหการวิจยัคร้ังนี้บรรลุตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไว ผูวจิยัไดใชระเบียบวิธีดําเนนิการวิจัย ดังนี ้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. ตัวแปรท่ีศึกษา 3. เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจยั 4. การสรางและการพัฒนาเคร่ืองมือ 5. การเก็บรวบรวมขอมูล 6. การวิเคราะหขอมูล 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากรท่ีศึกษา

ประชากรที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ประชากรทุกคนท่ีอายุตั้งแต 40-60 ป มีสัญชาติไทย อาศัยอยูจริงในพ้ืนท่ีอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี มาเปนระยะเวลาไมนอยกวา 6 เดือน มีจํานวนท้ังส้ิน 2,751 คน (สํานักงานสาธารณสุขอําเภอศรีสวัสดิ์ 2548)

กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา คือ ประชากรวยักลางคน ท่ีมีอายุตั้งแต 40 – 60 ป จํานวน 349 คน ซ่ึงไดมาจากการคํานวณขนาดของกลุมตัวอยาง โดยใชสูตรของยามาเน (Yamane, อางถึงใน พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 284) ท่ีระดับความเช่ือม่ัน รอยละ 95 และคาความคลาดเคล่ือน รอยละ 5 โดยทําการสุมตัวอยางแบบหลายข้ันตอน (Multi-stage Random Sampling) มีข้ันตอนดังนี ้

ขั้นท่ี 1 คัดเลือกตําบล ผูวิจัยกําหนดทําการศึกษาวิจยัในทุกตําบลของพื้นท่ีอําเภอศรีสวัสดิ์ โดยมีจํานวน 6 ตําบล คือ ตําบลดานแมแฉลบ ตําบลทากระดาน ตําบลนาสวน ตําบลหนองเปด ตําบลเขาโจด และตําบลแมกระบุง

ขั้นท่ี 2 สุมหมูบานจากทุกตําบลในข้ันตอนท่ี 1 มารอยละ50 ดวยวิธีการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) จากจํานวนหมูบานท้ังหมด 33 หมูบาน สุมได 17 หมูบาน ดังนี ้

59

Page 72: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

60

ตําบลดานแมแฉลบ มี 8 หมูบาน ทําการสุมมาได 4 หมูบาน ตําบลทากระดาน มี 5 หมูบาน ทําการสุมมาได 3 หมูบาน ตําบลนาสวน มี 5 หมูบาน ทําการสุมมาได 3 หมูบาน ตําบลหนองเปด มี 4 หมูบาน ทําการสุมมาได 2 หมูบาน ตําบลเขาโจด มี 5 หมูบาน ทําการสุมมาได 2 หมูบาน ตําบลแมกระบุง มี 6 หมูบาน ทําการสุมมาได 3 หมูบาน

ขั้นท่ี 3 การกําหนดขนาดกลุมตัวอยางโดยการคํานวณจากสูตรของ ยามาเน (Yamane, อางถึงใน พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 284) ดังนี้

n = N

1 + N (e) 2

n = ขนาดของกลุมตัวอยาง

N = จํานวนประชากร

e = คาความคลาดเคล่ือนท่ียอมรับได ซ่ึงในการวิจัยคร้ังนี้ ยอมใหเกิดความคลาดเคล่ือนไดรอยละ 5 ท่ีระดับความเช่ือม่ัน รอยละ 95

แทนคาในสูตร n = 2,751 1 + 2,751 (0.05) 2 n = 349 ดังน้ัน การศกึษาวิจยัคร้ังนี้ ใชกลุมตัวอยาง จํานวน 349 คน

ขั้นท่ี 4 จากจํานวนหมูบานท่ีสุมมาได 17 หมูบาน นําจํานวนประชากรมาทําการคํานวณตามสัดสวนประชากรของกลุมตัวอยางท้ังหมดตอจํานวนกลุมตัวอยางท่ีตองการ จําแนกรายหมูบาน

ขั้นท่ี 5 ทําการสุมจับฉลากรายช่ือกลุมเปาหมายสัมภาษณรายบุคคล โดยนํารายช่ือผูท่ีมีอายุ 40-60 ปทุกคนของทุกครอบครัวในหมูบานเปาหมาย จากทะเบียนรายชื่อประชากรในเขตรับผิดชอบของทุกสถานบริการสาธารณสุขทุกแหง มาทําการสุมจับฉลากรายช่ือ โดยกําหนดใหใน 1 ครอบครัวสามารถสุมไดเพียง 1 รายช่ือเทานั้น ไดกลุมตัวอยางท้ังส้ิน 349 คน ดงัแสดงในตาราง ท่ี 2

Page 73: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

61

ตารางท่ี 2 แสดงจํานวนประชากรวัยกลางคนและจํานวนกลุมตัวอยาง จําแนกรายหมูบานและตําบล

ลําดับ

ตําบล

หมูท่ี

ช่ือหมูบานท่ีสุมได ประชากร

(คน)

กลุมตัวอยาง

(คน) 1 ดานแมแฉลบ 2 บานพุน้ําเปร้ียว 103 13 2 3 บานดานแมแฉลบ 145 18 3 4 บานทาสนุน 117 15 4 6 บานดงเสลา 156 20 5 ทากระดาน 1 บานทากระดาน 213 27 6 3 บานบนเขาแกงเรียง 245 31 7 4 บานแกงแคบ 605 77 8 นาสวน 1 บานนาสวน 215 27 9 4 บานองสิต 113 14 10 5 บานเจาะเหลาะ 61 8 11 หนองเปด 1 บานเกาะบุก 149 19 12 4 บานทุงนา 201 25 13 เขาโจด 2 บานน้ําพ ุ 100 13 14 5 บานเขาเหล็ก 80 10 15 แมกระบุง 1 บานหาดแตง 80 10 16 2 บานแมกระบุง 68 9 17 4 บานพุชะน ี 100 13 รวม 17 หมู 6 ตําบล 2,751 349

Page 74: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

62

2. ตัวแปรท่ีศึกษา ตัวแปรท่ีใชในการศึกษาวิจยัในคร้ังนี้ มีดงัตอไปนี ้ 2.1 ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรตน ไดแก

2.1.1. ขอมูลสวนบุคคล ไดแก 2.1.1.1 เพศ แบงเปน 2.1.1.1.1 เพศชาย 2.1.1.1.2 เพศหญิง 2.1.1.2 อายุ แบงเปน 2.1.1.2.1 อายุ 40 – 44 ป 2.1.1.2.2 อายุ 45 – 49 ป 2.1.1.2.3 อายุ 50 – 54 ป 2.1.1.2.4 อายุ 55 – 60 ป 2.1.1.3 รายไดของครอบครัว หมายถึง ความเพียงพอของรายไดสุทธิใน

ครอบครัวของผูใหสัมภาษณท่ีไดรับในแตละเดือน แบงเปน

2.1.1.3.1 ไมเพียงพอ 2.1.1.3.2 เพียงพอแตไมเหลือเก็บ 2.1.1.3.4 เพียงพอและเหลือเก็บบาง

2.1.1.4 ระดับการศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษาสูงสุด แบงเปน 2.1.1.4.1 ประถมศึกษาหรือตํ่ากวา

2.1.1.4.2 มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา 2.1.1.4.3 มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา 2.1.1.4.4 สูงกวามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา

2.1.1.5 อาชีพ หมายถึง อาชีพหลักของผูใหสัมภาษณ แบงเปน 2.1.1.5.1 เกษตรกรรม 2.1.1.5.2 การประมง 2.1.1.5.3 ธุรกิจทองเท่ียว 2.1.1.5.4 อ่ืนๆไดแกรับจางท่ัวไป คาขาย เกบ็หาของปา รับราชการ

2.1.1.6 ภาวะสุขภาพ แบงเปน 2.1.1.6.1 สมบูรณแข็งแรง ไมมีโรคเร้ือรังประจําตัว

2.1.1.6.2 มีโรคเร้ือรังหรือโรคประจําตัว

Page 75: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

63

2.1.2 ความรูดานสุขภาพ 2.1.3 การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ 2.1.4 การรับรูภาวะสุขภาพของตน 2.2 ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน แบงเปน

2 ดาน คือ 2.2.1 พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ 2.2.2 พฤติกรรมการปองกันโรค 3. เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาวจิัยคร้ังนี้ เปนแบบสัมภาษณ จํานวน 1 ชุด ท่ีผูวิจยัสรางข้ึนจากการไปศึกษาเอกสารทางวิชาการ การทบทวนวรรณกรรม และงานวิจยัตางๆท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงมีสวนประกอบที่สําคัญของเน้ือหาครอบคลุมวัตถุประสงคการวิจยั โดยประกอบดวยขอมูล 5 สวน ดังนี ้ สวนท่ี 1 แบบสัมภาษณขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง ท่ีเปนประชาชนวัยกลางคน อายุตั้งแต 40 – 60 ป ในอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ซ่ึงเปนขอมูลท่ัวไปที่เกีย่วกับ เพศ อายุ รายได ระดับการศึกษา อาชีพ และภาวะสุขภาพ แบบสอบถามเปนลักษณะใหเลือกตอบและเติมคําลงในชองวาง จํานวน 6 ขอ สวนท่ี 2 แบบสัมภาษณความรูดานสุขภาพ ซ่ึงผูวิจัยสรางข้ึนจากการศึกษาเอกสารทางวิชาการ การทบทวนวรรณกรรม การศึกษางานวิจยัตางๆท่ีเกี่ยวของ เปนแบบทดสอบความรู มีจํานวน 2 ตัวเลือก ซ่ึงมีตัวเลือกท่ีถูกท่ีสุดเพียงตัวเลือกเดียว ประกอบดวยขอคําถาม ท้ังหมด จํานวน 35 ขอ มีเนื้อหาท่ีครอบคลุมความรูดานสุขภาพ 6 ดาน คือ ดานการบริโภคอาหาร มีขอคําถาม 6 ขอ ดานการออกกาํลังกาย มีขอคําถาม 6 ขอ ดานการหลีกเล่ียงสารเสพติดใหโทษ มีขอคําถาม 6 ขอ ดานการจดัการความเครียด มีขอคําถาม 7 ขอ ดานการปองกนัอุบัติเหตุจากการขับข่ียานพาหนะ มีขอคําถาม 5 ขอ ดานการปองกันโรคติดตอและไมติดตอ มีขอคําถาม 5 ขอ โดยมีเกณฑในการใหคะแนนแบบสัมภาษณความรูเร่ืองการสงเสริมสุขภาพ ดังนี ้ ตอบถูก ใหคะแนนเทากับ 1 คะแนน ตอบผิด ใหคะแนนเทากับ 0 คะแนน

Page 76: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

64

โดยมีเกณฑในการแปลความหมายระดับคะแนน เกีย่วกับความรูดานสุขภาพ ซ่ึงผูวิจัยใชเกณฑการประเมินแบบอิงกลุมโดยใชคาเฉล่ีย( X ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ คาระดับ โดยมีเกณฑดังนี ้

คะแนนเฉล่ียตํ่ากวา ( X – 1 S.D.) หมายถึง มีความรูดานสุขภาพอยูในระดับตํ่า คะแนนเฉล่ียอยูระหวาง ( X ± 1 S.D.) หมายถึง มีความรูดานสุขภาพอยูในระดับปานกลาง คะแนนเฉล่ียสูงกวา ( X + 1 S.D.) หมายถึง มีความรูดานสุขภาพอยูในระดับสูง

สวนท่ี 3 แบบสัมภาษณการไดรับการสนบัสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ เปนการวดัระดับของการไดรับขอมูลขาวสารดานสุขภาพอนามัยจากแหลงขอมูลตางๆจาก เจาหนาท่ีสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) หรือผูนําชุมชน ในรอบ 1 เดือนท่ีผานมา จํานวน 16 ขอ เปนขอคําถามแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ประกอบดวยตัวเลือก 3 ระดับ ไดแก

มาก หมายถึง ไดรับการสนับสนุนหรือชวยเหลือเปนประจําหรือบอยคร้ัง หรือ ประมาสัปดาหละ 1 คร้ัง

ปานกลาง หมายถึง ไดรับการสนบัสนุนหรือชวยเหลือนาน ๆ คร้ังหรือประมาณ 2 สัปดาห ตอคร้ัง

นอย หมายถึง ในรอบเดือนท่ีผานมา ไมเคยไดรับการสนับสนุน หรือการชวยเหลือใน เร่ืองนั้น ๆ เลย

ใหเลือกตอบเพียงขอละ 1 ตัวเลือก โดยมีเกณฑการใหคะแนนดังนี ้ ลักษณะคําตอบ มาก ใหคะแนน 3 ลักษณะคําตอบ ปานกลาง ใหคะแนน 2 ลักษณะคําตอบ นอย ใหคะแนน 1 ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑในการประเมินการไดรับการสนับสนุนดานขอมูลส่ิงของ และบริการ โดยใชเกณฑในการประเมิน ดังนี ้ อันตรภาคช้ัน = คะแนนสูงสุด – คะแนนตํ่าสุด จํานวนชัน้ท่ีตองการ ซ่ึงในการศึกษาคร้ังนี้ แบงการไดรับการสนับสนุนดานขอมูลขาวสาร วัสดุส่ิงของ และการบริการออกเปน 3 ระดับ คือ นอย ปานกลาง มาก โดยมีคะแนนเฉล่ียสูงสุดเทากับ 3 ต่ําสุดเทากบั 1 คะแนน อันตรภาคช้ัน = 3 – 1 = 0.66 3

Page 77: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

65

คะแนนเฉล่ียอยูระหวาง 1.00 – 1.66 หมายถึง ไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ อยูในระดับนอย คะแนนเฉล่ียอยูระหวาง 1.67 – 2.33 หมายถึง ไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ อยูในระดับปานกลาง คะแนนเฉล่ียอยูระหวาง 2.34 – 3.00 หมายถึง ไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการอยูในระดับมาก

สวนท่ี 4 แบบสัมภาษณการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนแบบสัมภาษณท่ีผูวิจยัสรางข้ึนมาจากการทบทวนวรรณกรรม และบางสวนดัดแปลง มีขอคําถาม 13 ขอ คําตอบของแบบสัมภาษณ เปนมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) แบงออกเปน 3 ระดับ ดังนี ้ มาก หมายถึง รับรูวาขอความน้ันตรงกับความเปนจริง ในระดับมาก

ปานกลาง หมายถึง รับรูวาขอความนั้นตรงกับความเปนจริง ในระดับ ปานกลาง

นอยหรือไมจริง หมายถึง รับรูวาขอความน้ันตรงกับความเปนจริง ในระดับนอย หรือไมจริงเลย

ใหเลือกตอบเพียงขอละ 1 ตัวเลือก โดยมีเกณฑการใหคะแนนดังนี ้

1. ขอคําถามเชิงบวกท่ีเปนการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง จะใหคะแนน ดังนี ้ ลักษณะคําตอบ มาก ใหคะแนน 3 ลักษณะคําตอบ ปานกลาง ใหคะแนน 2 ลักษณะคําตอบ นอย ใหคะแนน 1 2. ขอคําถามเชิงนิเสธ ท่ีเปนการรับรูภาวะสุขภาพของตนเองจะใหคะแนน ดังนี ้ ลักษณะคําตอบ มาก ใหคะแนน 1 ลักษณะคําตอบ ปานกลาง ใหคะแนน 2 ลักษณะคําตอบ นอย ใหคะแนน 3

ขอคําถามท่ีเปนขอความเชิงนิเสธ ไดแก ขอ 2, 3, 5, 6, 7, 11, 12, 13 ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑในการประเมินการรับรูภาวะสุขภาพของตนเองโดยใชเกณฑในการประเมิน ดังนี ้ อันตรภาคช้ัน = คะแนนสูงสุด – คะแนนตํ่าสุด จํานวนชัน้ท่ีตองการ ซ่ึงในการศึกษาคร้ังนี้ แบงการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง ออกเปน 3 ระดับ คือ

Page 78: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

66

ระดับนอย ระดับปานกลาง และระดับมาก โดยมีคะแนนเฉล่ียสูงสุดเทากับ 3 ต่ําสุดเทากับ 1 คะแนน อันตรภาคช้ัน = 3 – 1 = 0.66 3 คะแนนเฉล่ียอยูระหวาง 1.00 – 1.66 หมายถึง การรับรูภาวะสุขภาพตนเองอยูในระดับนอย คะแนนเฉล่ียอยูระหวาง 1.67 – 2.33 หมายถึง การรับรูภาวะสุขภาพตนเองอยูในระดับ ปานกลาง คะแนนเฉล่ียอยูระหวาง 2.34 – 3.00 หมายถึง การรับรูภาวะสุขภาพตนเองอยูในระดับมาก

สวนท่ี 5 แบบสัมภาษณพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง เปนแบบสัมภาษณท่ีผูวิจัยสรางข้ึนมา จากการศึกษาเอกสารทางวิชาการ การทบทวนวรรณกรรม และ การศึกษางานวิจยัตางๆ ท่ีเกี่ยวของ จํานวน 29 ขอ โดยขอคําถาม จะมีเนือ้หาท่ีเกีย่วกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชน ใน 2 ดาน คือ พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ มีขอคําถาม 12 ขอ พฤติกรรมการปองกันโรค มีขอคําถาม 17 ขอ ลักษณะแบบสอบถามเปนแบบวัดมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) แบงออกเปน 3 ระดับ ดังนี้ ปฏิบัติเปนประจํา หมายถึง ปฏิบัติในเร่ืองนั้นๆเปนประจํา สมํ่าเสมอ หรือ

ประมาณ 3-7 วันใน 1 สัปดาห ปฏิบัติเปนบางคร้ัง หมายถึง ปฏิบัติในเร่ืองนั้นๆเปนบางคร้ัง ไมสมํ่าเสมอ

หรือ ประมาณ 1-2 วันใน 1 สัปดาห ไมเคยปฏิบัติเลย หมายถึง ไมเคยปฏิบัติในเร่ืองนั้นๆเลยใน 1 สัปดาห ใหเลือกตอบเพียงขอละ 1 ตัวเลือก โดยมีเกณฑการใหคะแนนดังนี ้1. หากเปนขอคําถามเชิงบวกท่ีเปนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ จะใหคะแนน ดังนี ้

ลักษณะคําตอบเปนประจํา ใหคะแนน 3 ลักษณะคําตอบบางคร้ัง ใหคะแนน 2 ลักษณะคําตอบไมเคยปฏิบัติเลย ใหคะแนน 1 2. หากเปนขอคําถามเชิงนิเสธ ท่ีเปนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ จะใหคะแนน ดังนี ้ ลักษณะคําตอบเปนประจํา ใหคะแนน 1 ลักษณะคําตอบบางคร้ัง ใหคะแนน 2 ลักษณะคําตอบไมเคยปฏิบัติเลย ใหคะแนน 3

ขอคําถามท่ีเปนขอความเชิงนิเสธ ไดแก ขอ 6

Page 79: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

67

ผูวิจัย ไดกําหนดเกณฑในการประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนโดยใชเกณฑในการประเมิน ดังนี้ อันตรภาคช้ัน = คะแนนสูงสุด – คะแนนตํ่าสุด จํานวนชัน้ท่ีตองการ ซ่ึงในการศึกษาคร้ังนี้ แบงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน ออกเปน 3 ระดับ คือ นอย ปานกลาง และมาก โดยมีคะแนนเฉล่ียสูงสุดเทากับ 3 ต่ําสุดเทากบั 1 คะแนน อันตรภาคช้ัน = 3 – 1 = 0.66 3 คะแนนเฉล่ียอยูระหวาง 1.00 – 1.66 หมายถึง มีการดูแลสุขภาพตนเองอยูในระดับนอย คะแนนเฉล่ียอยูระหวาง 1.67 – 2.33 หมายถึง มีการดูแลสุขภาพตนเองอยูในระดับ ปานกลาง คะแนนเฉล่ียอยูระหวาง 2.34 – 3.00 หมายถึง มีการดูแลสุขภาพตนเองอยูในระดับมาก

4. การสรางและพัฒนาเคร่ืองมือ ในการศึกษาวจิัยคร้ังนี้ ผูวจิยัไดดําเนินการสรางและพัฒนาเครื่องมือท่ีเปนแบบ

สัมภาษณ โดยมีการดําเนินการตามข้ันตอนดังนี ้

1. กําหนดขอบเขตและโครงสรางของเน้ือหาท่ีจะสรางแบบสัมภาษณ ตลอดจนตัวแปรท่ีเกี่ยวของ โดยพิจารณาเนื้อหาครอบคลุมวัตถุประสงค และสมมติฐานการวิจัย วามีขอมูลอะไรบางท่ีตองการ เพื่อใหไดขอมูลท่ีครบถวนตามวัตถุประสงคและสมมติฐานการวิจัย 2. ศึกษาคนควาหาความรูจาก เอกสาร หนังสือ แนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ เพือ่ใชเปนพืน้ฐานและแนวทางในการสรางแบบสัมภาษณ โดยอยูภายใตการใหคําปรึกษาแนะนํา จากอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานพินธ 3. ตรวจสอบความเท่ียงตรงของเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสัมภาษณ โดยผูวิจัยไดตรวจสอบความถูกตองและความชัดเจนของภาษา แลวนาํแบบสัมภาษณท่ีผูวิจยัสรางข้ึน เสนอตออาจารยท่ีปรึกษาวทิยานิพนธและผูทรงคุณวุฒ ิ จํานวน 4 ทาน เพื่อการพิจารณาตรวจสอบ ปรับปรุงแกไข ใหเกดิความสมบูรณ 4. นําแบบสัมภาษณท่ีสรางขึ้นและไดรับการปรับปรุงแกไขแลว ตามคําแนะนําของ อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธและผูทรงคุณวุฒิ ไปทดลองใช (Try out) กับกลุมประชาชนวัยกลางคน

Page 80: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

68

ในหมูบานท่ีไมใชกลุมตัวอยางในการศึกษาวิจัยในคร้ังนี ้ จํานวน 40 ชุด เพื่อนํามาวิเคราะหหาคาความนาเช่ือถือของเคร่ืองมือ และนําไปปรับปรุงตอไป 5. นําแบบสัมภาษณท่ีทดลองใช (Try out) แลวมาหาคาความเช่ือม่ัน (Reliability) ของเคร่ืองมือ

5.1 หาคาความเช่ือม่ัน (Reliability) จากแบบสัมภาษณความรูดานสุขภาพ โดยใชสูตร KR20 ของคูเดอร-ริชารดสัน(Kuder - Richardson อางถึงใน พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 123) rtt = ( n/ n - 1 ) (1 - Σ pq / S 1

2 ) rtt แทน ความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม n แทน จํานวนขอ p แทน สัดสวนของผูตอบถูกในแตละขอ q แทน สัดสวนของผูตอบผิดในแตละขอ = 1 - p S1

2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ ขอคําถามความรูดานสุขภาพ มีจํานวน 35 ขอ ไดคาความเช่ือม่ัน 0.54

5.2 หาคาความเช่ือม่ัน (Reliability) จากแบบสัมภาษณ การไดรับการสนับสนุนดาน ขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยวิธีการหาสัมประสิทธ์ิแอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach alpha Coefficient) โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปสําหรับการวิจยัทางสังคมศาสตร ไดคาความเช่ือม่ัน (Reliability) ของแบบสัมภาษณแตละดาน ดังนี ้

5.2.1 ดานการไดรับการสนบัสนุนขอมูล ส่ิงของและบริการ มีขอคําถาม จํานวน 16 ขอ วิเคราะหคาความเช่ือม่ันได .8935 5.2.2 ดานการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง มีขอคําถามจํานวน 13 ขอ วเิคราะหคาความเช่ือม่ันได .7870 5.2.3 ดานพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง มีขอคําถาม จํานวน29 ขอ วิเคราะหคาความเช่ือม่ันได .8820

5. การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษาวจิัยคร้ังนี้ ผูวิจยัไดดําเนินการตามข้ันตอน คือ 1. ทําหนังสือถึงบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วทิยาเขตพระราชวังสนามจันทร อําเภอเมือง จงัหวัดนครปฐม เพื่อทําหนังสือถึง นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี เพือ่ขออนุมัติเขาศึกษาวิจัยในพื้นท่ีและขอความรวมมือติดตอประสานงานกับเจาหนาท่ีสาธารณสุขทุกระดับ

Page 81: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

69

2. ทําหนังสือจากนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี ถึงนายอําเภอ และ สาธารณสุขอําเภอศรีสวัสดิ์ ท่ีเปนพื้นท่ีวิจยั เพื่อขอความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูล พรอมท้ังระบุวัน เวลา และสถานท่ี และวิธีการดําเนนิงาน 3. ทําหนังสือจากนายอําเภอ ถึงกํานัน ผูใหญบาน และ อบต. เพื่อขอความรวมมือและอํานวยความสะดวกในการเก็บรวบรวมขอมูลในพื้นท่ีวิจัย 4. ประชุมช้ีแจงเจาหนาท่ีสาธารณสุขระดับอําเภอ และตําบลที่รับผิดชอบหมูบาน ท่ีเปนกลุมตัวอยางถึงรายละเอียดของการวจิัย และขอรับการสนับสนุนอุปกรณ และการอํานวยความสะดวก ในการเก็บรวบรวมขอมูล 5. ผูศึกษาวิจยัเปนผูเก็บรวบรวมขอมูลรวมกับผูชวยวิจยัในการสัมภาษณ ซ่ึงเปนเจาหนาท่ีสาธารณสุขในพื้นท่ี จํานวน 10 ทาน ท่ีผานการอบรมช้ีแจงแนวทางในการเก็บรวมขอมูลและทดลองใชแบบสัมภาษณจนเขาใจเปนอยางดี และใหผูชวยวจิัยในการสัมภาษณ ตรวจสอบความครบถวนสมบูรณของแบบสัมภาษณทุกชุด กอนนําสงคืน

6. นําแบบสัมภาษณท่ีไดรับคืนมาท้ังหมดมาตรวจสอบความถูกตอง ครบถวนและ ความสมบูรณของขอมูล พบวา เปนแบบสัมภาษณท่ีมีความสมบูรณ จํานวน 349 ชุด คิดเปนรอยละ 100 7. ผูวิจัย ลงรหัสขอมูลในแบบสัมภาษณ และทําการวิเคราะหตามวิธีทางสถิติ 6. การวิเคราะหขอมูล เม่ือเก็บรวบรวมขอมูลไดครบตามจํานวน ผูวิจัยจึงนําขอมูลท่ีไดจากแบบสัมภาษณท่ีไดมาท้ังหมด มาตรวจสอบความถูกตอง ครบถวน และสมบูรณของคําตอบ พรอมท้ังจัดระเบียบของขอมูล เพื่อนําไปสรางคูมือลงรหัส นําขอมูลมาลงรหัส (Coding) ตามคูมือลงรหัส แลวบันทึกขอมูล (Keying) โดยนําขอมูลท่ีไดท้ังหมดจากแบบสัมภาษณ เขาโปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อวิเคราะหขอมูลตามวิธีการทางสถิติ ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตรและกําหนสถิตท่ีิใชในการวิเคราะห ดังนี ้ 1. วิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยางท่ีเปนประชาชนวยักลางคน ไดแก เพศ อายุ รายได ระดับการศึกษา อาชีพ และภาวะสุขภาพ โดย การแจกแจงความถ่ี (Frequency) และคารอยละ (Percentage) 2. วิเคราะหคาระดับความรูดานสุขภาพโดยใชสถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงความถ่ี คาเฉล่ีย( X ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

Page 82: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

70

3. การวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน จําแนกตามลักษณะขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ และภาวะสุขภาพ ท่ีตางกัน โดยใชการทดสอบคาที (t-test) เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคนท่ีมี รายได อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพหลัก ท่ีตางกัน โดยใชคาสถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) และหากพบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จะทําการทดสอบความแตกตางเปนรายคูโดยวิธีของเชฟเฟ (Scheffe's test for all possible comparison)

4. วิเคราะหปจจยัท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน วัยกลางคน ไดแก ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพตนเอง โดยใชการวิเคราะหถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ(Stepwise Multiple Regression Analysis)

Page 83: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

71

บทท่ี 4

การวิเคราะหขอมูล

การวิจยัคร้ังนี ้ เปนการวิจยัเชิงพรรณนา (Descriptive research) เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจยั ผูวิจัยจึงไดนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลจากการศึกษาวิจยัเร่ือง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวดักาญจนบุรี ท่ีไดจากการสัมภาษณกลุมตัวอยางท่ีเปนประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีอายุตั้งแต 40 - 60 ป จํานวน 349 คน คิดเปนรอยละ 100 ของกลุมตัวอยาง ผูวิจัย ไดนําเสนอผลการวิเคราะห โดยจําแนกเปน 4 ตอน ดังนี้

ตอนท่ี 1 การวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยางท่ีเปนประชาชนวัยกลางคน

ไดแก เพศ อายุ รายได ระดับการศึกษา อาชีพ และภาวะสุขภาพ โดยใชสถิติ การแจกแจงความถ่ี (Frequency) และ คารอยละ (Percentage) ตอนท่ี 2 การวิเคราะหระดับความรูดานสุขภาพ การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยใชสถิติคาเฉล่ีย ( X ) สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ คาระดับ

ตอนท่ี 3 การวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน จําแนกตามเพศ และภาวะสุขภาพ โดยการทดสอบคาที (t-test) และเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน จําแนกตาม อายุ รายได ระดับการศึกษา และอาชีพหลัก ท่ีแตกตางกัน โดยการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance) และหากพบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จะทําการทดสอบความแตกตางเปนรายคูโดยวิธีของเชฟเฟ (Scheffe's test for all possible comparison)

ตอนท่ี 4 การวิเคราะหปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ไดแก ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง โดยใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis)

71

Page 84: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

72

สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล เพื่อใหเกิดความเขาใจท่ีตรงกันในการวิเคราะหขอมูล และการแปลความหมายของการ

วิเคราะหขอมูลสําหรับการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ จึงไดกําหนดสัญลักษณในการวิเคราะหขอมูลดังนี้ n แทน จํานวนกลุมตัวอยาง X แทน คาเฉล่ีย (Mean) S.D. แทน คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) F แทน คาสถิติท่ีใชในการพิจารณาใน F - distribution t แทน คาสถิติท่ีใชในการพิจารณาใน t - distribution df แทน องศาอิสระ (Degree of Freedom) SS แทน ผลรวมของคากําลังสองของคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Sum of Square) MS แทน คาเฉล่ียความเบ่ียงเบนมาตรฐานยกกําลังสอง (Mean of Square) R แทน คาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธพหุคูณ (Multiple R) R 2 แทน ประสิทธิภาพในการทํานาย (R Square) Adj R 2 แทน ประสิทธิภาพในการทํานายท่ีปรับแลว (Adjusted R Square) S.E. แทน คาความคลาดเคล่ือนมาตรฐานในการทํานาย

(Standard Error of The Estimate) R 2Change แทน คาประสิทธิภาพในการทํานาย (R Square) ท่ีเพิ่มข้ึนเม่ือเพิ่มตัวแปร

อิสระในสมการถดถอย b แทน คาสัมประสิทธ์ิความถดถอย (Regression Coefficients) r แทน คาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ Beta แทน คาสัมประสิทธ์ิความถดถอยของตัวทํานายในรูปคะแนน

มาตรฐาน (Standard Regression Coefficients) a แทน คาคงท่ี (Constant) Over all F แทน สถิติทดสอบ F ของการทดสอบ X 1 แทน ความรูดานสุขภาพ X 2 แทน การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ X 3 แทน การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง Y 1 แทน พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ Y 2 แทน พฤติกรรมการปองกันโรค Ytotal แทน พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน

Page 85: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

73

ตอนท่ี 1 การวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของประชาชนวัยกลางคน ขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสัมภาษณท่ีเปนกลุมตัวอยาง ซ่ึงเปนประชาชนวัย

กลางคน ในอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี จํานวน 349 คน โดยจําแนกขอมูลตาม เพศ อายุ รายได ระดับการศึกษา อาชีพหลัก และภาวะสุขภาพ วิเคราะหโดยการแจกแจงความถ่ี (Frequency) และ คารอยละ (Percentage) ดังแสดงในตารางท่ี 3

ตารางท่ี 3 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ อายุ รายได ระดับการศึกษา อาชีพหลัก และภาวะสุขภาพ

ขอมูลสวนบุคคล จํานวน รอยละ เพศ

1. ชาย 152 43.55 2. หญิง 197 56.45

รวม 349 100.00 อายุ

1. อายุ 40-44ป 107 30.66 2. อายุ 45-49 ป 98 28.08 3. อายุ 50-54 ป 86 24.64 4. อายุ 55-60 ป 58 16.62

รวม 349 100.00 รายได

1. ไมเพียงพอ 69 19.77 2. เพียงพอแตไมเหลือเก็บ 205 58.74 3. เพียงพอและเหลือเก็บบาง 75 21.49

รวม 349 100.00 ระดับการศึกษาสูงสุด

1. ประถมศึกษาหรือตํ่ากวา 151 43.27 2. มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา 81 23.21 3. มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา 74 21.20 4. สูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย 43 12.32

รวม 349 100.00

Page 86: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

74

ขอมูลสวนบุคคล จํานวน รอยละ อาชีพ

1. เกษตรกรรม(ทําไร ทํานา เล้ียงสัตว) 172 49.28 2. การประมง 51 14.62 3. ธุรกิจทองเท่ียว 37 10.60 4. อ่ืนๆ(ระบุ) ไดแก รับจาง คาขาย 89 25.50

รวม 349 100.00 ภาวะสุขภาพ

1. สมบูรณแข็งแรง ไมมีโรคเร้ือรังประจําตัว 258 73.93 2. มีโรคเร้ือรังหรือโรคประจําตัว 91 26.07

รวม 349 100.00 จากตารางท่ี 3 พบวา กลุมตัวอยางประชาชนวัยกลางคน สวนมากเปนเพศหญิง จํานวน

197 คน คิดเปนรอยละ 56.45 สวนมากเปนผูท่ีมีอายุระหวาง 40-44ป จํานวน 107 คน คิดเปน รอยละ 30.66 สวนมากมีรายไดพอใชแตไมเหลือเก็บ จํานวน 205 คน คิดเปนรอยละ 58.74 จบการศึกษาสูงสุดระดับช้ันประถมศึกษาหรือต่ํากวา จํานวน 151 คนคิดเปนรอยละ 43.27 สวนมากประกอบอาชีพหลักคือ อาชีพเกษตรกรรม จํานวน 172 คน คิดเปนรอยละ 49.28 ประชาชนวัยกลางคน สวนมากมีภาวะสุขภาพท่ีสมบูรณแข็งแรง ไมมีโรคเร้ือรังประจําตัว จํานวน 258 คน คิดเปนรอยละ 73.93 ตอนท่ี 2 การวิเคราะหระดับความรูดานสุขภาพ การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตน และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของกลุมตัวอยางท่ีเปนประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี การวิเคราะหระดับความรูดานสุขภาพ การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตน และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ของประชาชนวัยกลางคน โดยใชสถิติคาเฉล่ีย ( X ) สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ คาระดับ ดังแสดงในตารางท่ี 4-5 2.1 การวิเคราะหระดับความรูดานสุขภาพของกลุมตัวอยาง โดยใชคารอยละ ดังแสดงในตารางท่ี 4

Page 87: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

75

ตารางท่ี 4 รอยละของระดับความรูดานสุขภาพ ของกลุมตัวอยาง

ระดับความรูดานสุขภาพ จํานวน รอยละ ระดับนอย (นอยกวา 21.79 คะแนน) ระดับปานกลาง (ตั้งแต 21.79 – 30.03 คะแนน) ระดับมาก (มากกวา 30.03 คะแนน)

52 264 33

14.90 75.64 9.46

รวม 100 100.00

X = 25.91 S.D. = 4.12. Minimum = 7 Maximum = 34

จากตารางท่ี 4 พบวา กลุมตัวอยาง สวนมากมีความรูดานสุขภาพ ในระดับปานกลาง (ตั้งแต 21.79 – 30.03 คะแนน) คิดเปนรอยละ 75.64 รองลงมามีความรูดานสุขภาพ อยูในระดบันอย (นอยกวา 21.79 คะแนน) คิดเปนรอยละ 14.90 และมีความรูดานสุขภาพในระดับมาก (มากกวา 30.03 คะแนน) คิดเปนรอยละ 9.46 ตามลําดับ และมีคาเฉล่ียของระดับความรู เทากับ 25.91 ตารางท่ี 5 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และคาระดับ ของ การไดรับการสนับสนุนดาน

ขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตน ของกลุมตัวอยาง

ตัวแปรตนท่ีใชในการศึกษาวิจัย คาเฉล่ีย ( X )

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) คาระดับ

การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ

2.322 .345 ปานกลาง

การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง 2.133 .216 ปานกลาง จากตารางท่ี 5 พบวา กลุมตัวอยาง ไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพ อยูในระดับปานกลาง ( X = 2.322 และ 2.133) ตามลําดับ

Page 88: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

76

ตารางท่ี 6 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และคาระดับของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ของ กลุมตัวอยาง

ตัวแปรตามที่ใชในการศึกษาวิจัย คาเฉล่ีย ( X )

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) คาระดับ

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ 2.431 .250 มาก - ดานการสงเสริมสุขภาพ 2.293 .304 ปานกลาง - ดานการปองกันโรค 2.530 .273 มาก จากตารางท่ี 6 พบวา กลุมตัวอยาง มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยรวม อยูใน ระดับมาก ( X = 2.431 ) เม่ือวเิคราะหพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเปนรายดาน พบวา พฤติกรรม การปองกันโรค อยูในระดับมาก ( X = 2.530) สวนพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ อยูในระดับ ปานกลาง ( X = 2.293) ตอนท่ี 3 การวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน จําแนกตาม ลักษณะขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ และภาวะสุขภาพ ท่ีตางกัน โดยใชการทดสอบคาที (t-test) เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคนท่ีมี รายได อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพหลัก ท่ีตางกัน โดยใชคาสถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) และหากพบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จะทําการทดสอบความแตกตางเปน รายคูโดยวิธีของเชฟเฟ (Scheffe's test for all possible comparison)

3.1 การวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีเพศ และภาวะสุขภาพ ท่ีตางกัน โดยใชการทดสอบคาที (t-test) ดังแสดงในตารางท่ี 7-8

ตารางท่ี 7 เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน จําแนกตามเพศ

เพศ n X S.D. t ชาย 152 2.410 .246 หญิง 197 2.450 .252

-1.479

จากตารางท่ี 7 พบวา ประชาชนวัยกลางคนท่ีมี เพศ ตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพไมแตกตางกัน

Page 89: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

77

ตารางท่ี 8 เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน จําแนกตาม ภาวะสุขภาพ

ภาวะสุขภาพ n X S.D. t สมบูรณแข็งแรง ไมมีโรคเร้ือรัง 258 2.412 .253 มีโรคเร้ือรังประจําตัว 91 2.488 .232

-2.534 **

** P < .01 จากตารางท่ี 8 พบวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีภาวะสุขภาพตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยท่ี ผูท่ีมีโรคเร้ือรังประจําตัว จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ดีกวาผูท่ีไมมีโรคเร้ือรังประจําตัว ( X = 2.488 และ 2.412) ตามลําดับ

3.2 การวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีรายได อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพหลัก ท่ีตางกัน โดยใชคาสถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) และหากพบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จะทําการทดสอบความแตกตางเปนรายคู โดยวิธีของเชฟเฟ (Scheffe's test for all possible comparison) ดังแสดงในตารางท่ี 9-16 ตารางท่ี 9 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และคาระดับ ของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของกลุมตัวอยาง จําแนกตามรายได

รายไดของครอบครัว n X S.D. คาระดับ ไมเพียงพอ 69 2.376 .289 มาก เพียงพอแตไมเหลือเก็บ 205 2.452 .243 มาก เพียงพอและเหลือเก็บบาง 75 2.423 .222 มาก

จากตารางท่ี 9 พบวา กลุมตัวอยาง ท่ีมีรายไดไมเพียงพอ เพียงพอแตไมเหลือเก็บ และ

เพียงพอและเหลือเก็บบาง มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยูในระดับมาก โดยผูท่ีมีรายไดเพียงพอแตไมเหลือเก็บ มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเฉล่ียสูงสุด ( X = 2.452) รองลงมาคือ ผูท่ีมีรายไดพอใชและเหลือเก็บบาง และผูท่ีมีรายไดไมเพียงพอ ( X = 2.423 และ 2.376) ตามลําดับ

Page 90: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

78

ตารางท่ี 10 การทดสอบความแปรปรวนเพ่ือเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชน วัยกลางคน จําแนกตามรายได

แหลงความแปรปรวน df SS MS F ระหวางกลุม 2 .296 .148 ภายในกลุม 346 21.391 6.182

2.393

รวม 348 21.687 จากตารางท่ี 10 การทดสอบความแปรปรวนเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน พบวา ประชาชนวัยกลางคนท่ีมีรายไดแตกตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ไมแตกตางกัน

ตารางท่ี 11 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และคาระดับ ของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของ กลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ

อายุ n X S.D. คาระดับ

อายุ 40-44 ป 107 2.429 .238 มาก อายุ 45-49 ป 98 2.434 .250 มาก อายุ 50-54 ป 86 2.443 .257 มาก อายุ 55-60 ป 58 2.417 .263 มาก

จากตารางท่ี 11 พบวา กลุมตัวอยาง ท่ีมีอายุ 40-44 ป 45-49 ป 50-54 ป และ 55-60 ป

มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยูในระดับมาก โดยผูท่ีมีอายุ 50-54 ป มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเฉล่ียสูงสุด( X = 2.443) รองลงมาคือ อายุ 45-49 ป อายุ 40-44 ป และ 55-60 ป ( X = 2.434 , 2.429 และ 2.417) ตามลําดับ

Page 91: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

79

ตารางท่ี 12 การทดสอบความแปรปรวนเพือ่เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวยักลางคน จําแนกตามอายุ

แหลงความแปรปรวน df SS MS F

ระหวางกลุม 3 2.429 8.096 ภายในกลุม 345 21.663 6.279

.129

รวม 348 21.687

จากตารางท่ี 12 พบวา การทดสอบความแปรปรวนเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน พบวา ประชาชนวัยกลางคนที่มีอายุตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพไมแตกตางกัน ตารางท่ี 13 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของกลุม

ตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา n X S.D. คาระดับ ประถมศึกษาหรือตํ่ากวา 151 2.428 .261 มาก มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา 81 2.428 .246 มาก มัธยมศึกษาตอนปลาย 74 2.419 .260 มาก สูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย 43 2.474 .194 มาก

จากตารางท่ี 13 พบวา กลุมตัวอยาง ท่ีมีระดับการศึกษา ประถมศึกษาหรือตํ่ากวา

มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และสูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยูในระดับมาก โดยผูท่ีมีระดับการศึกษาสูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง เฉล่ียสูงสุด ( X = 2.474)

Page 92: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

80

ตารางที่ 14 การทดสอบความแปรปรวนเพ่ือเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ประชาชนวัยกลางคน จําแนกตามระดับการศึกษา

แหลงความแปรปรวน df SS MS F

ระหวางกลุม 3 9.100 3.033 ภายในกลุม 345 21.596 6.260

.485

รวม 348 21.687 จากตารางท่ี 14 พบวา การทดสอบความแปรปรวนเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน พบวา ประชาชนวัยกลางคนท่ีมีระดับการศึกษาที่แตกตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ไมแตกตางกัน ตารางท่ี 15 แสดงคาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของกลุม

ตัวอยาง จําแนกตามอาชีพ

อาชีพ n X S.D. คาระดับ เกษตรกรรม(ทําไร ทํานา ทําสวน) 172 2.422 .270 มาก การประมง 51 2.421 .225 มาก ธุรกิจทองเท่ียว 37 2.494 .222 มาก อ่ืน ๆ ไดแก รับจางท่ัวไป คาขาย 89 2.432 .231 มาก

จากตารางท่ี 15 พบวา กลุมตัวอยาง ท่ีมีอาชีพตางกัน คือ เกษตรกรรม การประมง ธุรกจิ

ทองเท่ียวอ่ืนๆ มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอยูในระดับมาก โดยผูท่ีประกอบอาชีพธุรกิจทองเที่ยว มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง เฉล่ียสูงสุด ( X = 2.494) รองลงมา คืออาชีพ เกษตรกรรม การประมง และอื่น ๆ ไดแก รับจางท่ัวไป คาขาย ( X = 2.422, 2.421 และ 2.43) ตามลําดับ

Page 93: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

81

ตารางท่ี 16 การทดสอบความแปรปรวนเพ่ือเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ประชาชนวัยกลางคน จําแนกตามอาชีพหลัก

แหลงความแปรปรวน df SS MS F

ระหวางกลุม 3 .166 5.527 ภายในกลุม 345 21.522 6.238

.886

รวม 348 21.687 จากตารางท่ี 16 การทดสอบความแปรปรวนเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ

ตนเองของประชาชนวัยกลางคน พบวา ประชาชนวัยกลางคนท่ีมีอาชีพหลักตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ไมแตกตางกัน

ตอนท่ี 4 การวิเคราะหปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ พฤติกรรมการปองกันโรค และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน ไดแก ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพตนเอง

4.1 การวิเคราะหปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน ไดแก ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเองโดยใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ดังแสดงในตารางท่ี 17 -18

Page 94: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

82

ตารางที่ 17 สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธระหวางความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง(X3) และพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน (Y1)

ตัวแปร Y1 X1 X2 X3

Y1 1.000 X1 .115* 1.000 X2 .375** .045 1.000 X3 .123* .041 .051 1.000

* p < .05 , ** p < .01

จากตารางท่ี 17 เม่ือพิจารณาถึงความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระดวยกันเอง พบวา ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ การรับรูภาวะสุขภาพตนเองไมมีความสัมพันธกัน เม่ือพิจารณาความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ กับตัวแปรตาม พบวา ความรูดานสุขภาพ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง มีความสัมพันธทางบวกกับ พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ ของประชาชนวัยกลางคน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (r = .115 และ .123) ตามลําดับ สวนการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ มีความสัมพันธทางบวกกับ พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (r = .375)

Page 95: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

83

ตารางท่ี 18 การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณของตัวแปรอิสระ ไดแก ความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง(X3) ท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน (Y1) โดยใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis)

ลําดับท่ีของตัวแปรท่ีไดรับการคัดเลือกเขาสมการ

R R2 Adj R2 R2

change b Beta t

1.การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2)

.375 .141 .138

.141 .326 .370 7.463***

2.การรับรูภาวะสุขภาพตนเอง(X3)

.389 .152 .147 .011 .146 .104 2.096*

Constant(a) = 1.225 S.E. est = .281 F overall = 30.931 ***

* p < .05 , *** p < .001

จากตารางท่ี 18 พบวา การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) เปนตัว

แปรท่ีไดรับการคัดเลือกเขาสมการเปนลําดับท่ี 1 ท่ีมีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ไดรอยละ 14.10

การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง(X3) เปนตัวแปรท่ีไดรับการคัดเลือกเขาสมการเปนลําดับท่ี 2 ท่ีมีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน อําเภอ ศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี เพิ่มข้ึนรอยละ 1.10 โดยการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) กับ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง(X3) มีอิทธิพลในการทํานายรวมกันตอพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน (Y1) รอยละ 15.20

ในลักษณะเชนนี้ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) และการรับรูภาวะสุขภาพตนเอง(X3) เปนตัวแปรท่ีสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน (Y1) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 โดยท่ีความคลาดเคล่ือนในการทํานาย เทากับ .281

Page 96: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

84

ซ่ึงสามารถเขียนสมการการทํานายในรูปคะแนนดิบ ดังนี้ Y1 = 1.225 + .326 (X2) + .146 (X3)

และสามารถเขียนสมการการทํานายในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Z1 = .370 (X2) + .104 (X3)

4.2 การวิเคราะหปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน ไดแก ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเองโดยใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ดังแสดงในตารางท่ี 19 -20 ตารางที่ 19 สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธระหวางความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุนดาน

ขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง(X3) และพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน (Y2)

ตัวแปร Y2 X1 X2 X3

Y2 1.000 X1 .211** 1.000 X2 .371** .045 1.000 X3 .049 .041 .051 1.000

** p < .01

จากตารางท่ี 19 เม่ือพิจารณาถึงความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระดวยกันเอง พบวา ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง ไมมีความสัมพันธกนั เม่ือพิจารณาความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ กับตัวแปรตาม พบวา ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน มีความสัมพันธกันทางบวก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.01( r= .211 และ .371) ตามลําดับ โดยท่ีการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ กับพฤตกิรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน มีความสัมพันธกันมากท่ีสุด (r= .371) สวนการรับรูภาวะสุขภาพ และ พฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวยักลางคน ไมมีความสัมพันธกัน

Page 97: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

85

ตารางท่ี 20 การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณของตัวแปรอิสระ ไดแก ความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง(X3) ท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน (Y2) โดยใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis)

ลําดับท่ีของตัวแปรท่ีไดรับการคัดเลือกเขาสมการ

R R2 Adj R2 R2

change b Beta t

1.การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2)

.371 .138 .135 .138 .287 .363 7.423***

2.ความรูดานการสุขภาพ (X1)

.419 .176 .171 .038 .452 .195 3.990***

Constant(a) = 1.529 S.E. est = .2482 F overall = 36.923 *** *** p < .001

จากตารางท่ี 20 พบวา การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) เปนตัวแปรที่ไดรับการคัดเลือกเขาสมการเปนลําดับท่ี 1 ท่ีมีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ไดรอยละ 13.80

ความรูดานสุขภาพ (X1) เปนตัวแปรท่ีไดรับการคัดเลือกเขาสมการเปนลําดับท่ี 2 ท่ีมีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรมการการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน เพิ่มข้ึนรอยละ 3.80 โดยการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) กับ ความรูดานสุขภาพ (X1) มีอิทธิพลในการรวมกันทํานายตอพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน (Y2) รอยละ 17.60

ในลักษณะเชนนี้ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) และความรูดานสุขภาพ (X1) เปนตัวแปรท่ีสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการปองกันโรค ของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001โดยที่ความคลาดเคล่ือนในการทํานาย เทากับ .248

Page 98: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

86

ซ่ึงสามารถเขียนสมการการทํานายในรูปคะแนนดิบ ดังนี้ Y2 = 1.529 + .287 (X2) + .452 (X1)

และสามารถเขียนสมการการทํานายในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Z2 = .363 (X2) + .195 (X1)

4.3 การวิเคราะหปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน วัยกลางคน ไดแก ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง โดยใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของ ตัวแปรท่ีนําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ดังแสดงในตารางท่ี 21 -22 ตารางที่ 21 สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธระหวางความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุนดาน

ขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง(X3) และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน (Ytotal)

ตัวแปร Y3 X1 X2 X3

Y3 1.000 X1 .193 1.000 X2 .427 .045 1.000 X3 .093 .041 .051 1.000

จากตารางท่ี 21 เม่ือถึงพิจารณาความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระดวยกันเอง พบวา ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง ไมมีความสัมพันธกนั เม่ือพิจารณาความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ กับตัวแปรตาม พบวา ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง และ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ไมมีความสัมพันธกัน

Page 99: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

87

ตารางท่ี 22 การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณของตัวแปรอิสระ ไดแก ความรูดานสุขภาพ (X1) การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง(X3) ท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคน (Ytotal) โดยใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis)

ลําดับท่ีของตัวแปรท่ีไดรับการคัดเลือกเขาสมการ

R R2 Adj R2 R2

change b Beta t

1.การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2)

.427 .182 .180 .182 .304 .419 8.771***

2.ความรูดานสุขภาพ (X1)

.461 .212 .208 .030 .370 .174 3.652***

Constant(a) = 1.453 S.E. est = .2222 F overall = 46.676 *** *** p < .001

จากตารางท่ี 22 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของ ตัวแปรท่ีนําเขาสมการ พบวา การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) เปนตัวแปรท่ีไดรับการคัดเลือกเขาสมการเปนลําดับท่ี 1 ท่ีมีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ไดรอยละ 18.20

ความรูดานสุขภาพ (X1) เปนตัวแปรท่ีไดรับการคัดเลือกเขาสมการเปนลําดับท่ี 2 ท่ีมีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน เพิ่มข้ึนรอยละ 3.00 โดยการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) กับ ความรูดานสุขภาพ (X1) มีอิทธิพลในการทํานายรวมกันตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน (Ytotal) รอยละ 21.20

ในลักษณะเชนนี้ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ(X2) และความรูดานสุขภาพ (X1) เปนตัวแปรท่ีสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน (Ytotal) อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001โดยท่ีความคลาดเคล่ือนในการทํานาย เทากับ .222

Page 100: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

88

ซ่ึงสามารถเขียนสมการการทํานายในรูปคะแนนดิบ ดังนี้

Y total = 1.453 + .304 (X2) + .370 (X1) และสามารถเขียนสมการการทํานายในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้

Z total = .419 (X2) + .174 (X1)

Page 101: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

89

บทท่ี 5

สรุป อภปิรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาวิจยัเร่ือง “พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวดักาญจนบุรี” คร้ังนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1. ศึกษาระดับความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวยักลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวดักาญจนบุรี 2. ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคน จาํแนกตาม เพศ อายุ รายไดของครอบครัว ระดับการศึกษา อาชีพหลัก และภาวะสุขภาพ 3. ศึกษาวาความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนบัสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถทํานาย พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ในแตละดานและในภาพรวมของประชาชน วัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวดักาญจนบุรี

ประชากรท่ีใชในการศึกษาวิจัย คือ ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีสัญชาติไทย มีอายุตั้งแต 40-60 ป อาศัยอยูในอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี มาไมนอยกวา 6 เดือน มีจํานวนท้ังส้ิน 2,737 คน ไดกลุมตัวอยางเพ่ือใชในการศึกษาวิจัย จํานวน 349 คน ซ่ึงไดจากการคํานวณขนาดของกลุมตัวอยาง โดยใชสูตรของ ยามาเน (Yamane ) ท่ีระดับความเช่ือม่ันรอยละ 95 สําหรับความ คลาดเคล่ือนรอยละ 5 และใชการสุมกลุมตัวอยางแบบหลายข้ันตอน (Multi-Stage Random Sampling) ตามสัดสวนประชากรในแตละหมูบาน

เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาวิจัย เปนแบบสัมภาษณท่ีผูวิจัยไดสรางข้ึนจากการศึกษาเอกสารทางวิชาการ การทบทวนวรรณกรรม และงานวิจัยตางๆ ท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงประกอบดวยขอมูล 5 สวน ไดแก สวนท่ี 1 แบบสัมภาษณขอมูลสวนบุคคล สวนท่ี 2 แบบสัมภาษณเกี่ยวกับความรูดานสุขภาพ สวนท่ี 3 แบบสัมภาษณเกี่ยวกับการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ สวนท่ี 4 แบบสัมภาษณเกี่ยวกับการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง และสวนท่ี 5 แบบสัมภาษณเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยขอคําถามมีเนื้อหาเกี่ยวกับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ ใน 5 ดาน คือ 1. ดานการบริโภคอาหาร 2. ดานการออกกําลังกาย 3. ดานการหลีกเล่ียงการใชสารเสพติด บุหร่ี สุราและเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล 4. ดานการจัดการความเครียด 5. ดานการขับข่ีปลอดภัย เปนตน และขอคําถามเก่ียวกับพฤติกรรมการปองกันโรค โดยแบงเปนการปองกันโรคติดตอ และโรคไมติดตอ

89

Page 102: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

90

การรวบรวมขอมูล ใชการสัมภาษณกลุมเปาหมายเปนรายบุคคล โดยผูวิจัยทําการสัมภาษณดวยตนเองพรอมดวยผูชวยวิจัย ตามแบบสัมภาษณท่ีไดผานการพัฒนาและปรับปรุงจนสมบูรณและมีคุณภาพในระดับท่ียอมรับได แลวนําขอมูลท่ีไดท้ังหมด มาตรวจสอบความถูกตองและสมบูรณ พรอมท้ังลงรหัส แลวทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป

สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ(Percentage) คาเฉล่ีย( X ) คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) วิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางกลุมตัวอยาง 2 กลุม โดยการทดสอบคาที (t-test) วิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางกลุมตัวอยางมากกวา 2 กลุม โดยการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว(One–way Analysis of Variance) และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรท่ีนําเขาสมการ(Stepwise Multiple Regression Analysis) เพื่อหาตัวแปรอิสระท่ีสงผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน

สรุปผลการศึกษาวิจัย

จากการวิเคราะหขอมูล สามารถสรุปผลการศึกษาวิจัย เปนประเด็นสําคัญ ไดดังนี้ 1. การวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง จํานวน 349 คน พบวา วัยกลางคน

สวนมาก เปนเพศหญิง คิดเปนรอยละ 56.45 สวนมากมีอายุอยูระหวาง 40-44 ป คิดเปนรอยละ 30.66 รายไดสวนมาก เพยีงพอแตไมเหลือเก็บ คิดเปนรอยละ 58.74 การศึกษาสูงสุดอยูในระดับช้ันประถมศึกษาหรือตํ่ากวา คิดเปนรอยละ 43.27 สวนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม คิดเปนรอยละ 49.28 และประชาชนวัยกลางคน สวนมากมีภาวะสุขภาพท่ีสมบูรณแข็งแรง ไมมีโรคเร้ือรังประจําตัว คิดเปนรอยละ 73.93

2. การวิเคราะหระดับความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชน วัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี พบวา

2.1 ประชาชนวัยกลางคน สวนมากมีความรูดานสุขภาพ อยูในระดับ ปานกลาง (มีคะแนนต้ังแต 21.79–30.03 คะแนน) คิดเปนรอยละ 75.64 โดยมีคะแนนเฉล่ีย ( X ) อยูท่ี 25.91

2.2 ประชาชนวัยกลางคน ไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ อยูในระดับปานกลาง ( X =2.322)

2.3 ประชาชนวัยกลางคน มีการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง อยูในระดับปานกลาง ( X =2.133)

2.4 ประชาชนวัยกลางคน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยรวม อยูในระดับมาก ( X =2.431) โดยเม่ือวิเคราะหพฤติกรรมเปนรายดาน พบวา

Page 103: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

91

2.4.1 ดานการสงเสริมสุขภาพ อยูในระดับปานกลาง ( X =2.293) 2.4.2 ดานการปองกันโรค อยูในระดับมาก ( X =2.530)

3. การวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคน จําแนกตามลักษณะขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ ภาวะสุขภาพ รายได อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพหลัก ท่ีแตกตางกัน พบวา

3.1 ประชาชนวัยกลางคน ท่ีตางเพศกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมแตกตางกัน

3.2 ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีภาวะของสุขภาพตางกัน คือ สมบูรณแข็งแรง ไมมีโรคประจําตัว และ มีโรคเร้ือรังหรือโรคประจําตัว มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีโรคเร้ือรังหรือโรคประจําตัว ( X =2.488) มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ดีกวาผูท่ีมีภาวะสุขภาพท่ีสมบูรณแข็งแรง ไมมีโรคเร้ือรังประจําตัว( X =2.412)

3.3 ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีรายไดครอบครัวตางกัน คือ มีรายไดไมเพียงพอ เพียงพอแตไมเหลือเก็บ และเพียงพอและเหลือเก็บบาง มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมแตกตางกัน

3.4 ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีอายุตางกัน คือ อายุ 40-44 ป 45-49 ป 50-54 ป และ 55-60 ป มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ไมแตกตางกัน

3.5 ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีระดับการศึกษาตางกัน คือ ประถมศึกษาหรือตํ่ากวา มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และสูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมแตกตางกัน

3.6 ประชาชนวัยกลางคน ท่ีประกอบอาชีพตางกัน คือ เกษตรกรรม การประมง ธุรกิจทองเท่ียว และอ่ืนๆ มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมแตกตางกัน

4. การวิเคราะหปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชน วัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี พบวา การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน ไดรอยละ 15.20 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001

5. การวิเคราะหปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน ในอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี พบวา การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ และความรูดานสุขภาพ เปนปจจัยท่ีสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน ไดรอยละ 17.60 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001

Page 104: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

92

4. การวิเคราะหปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี พบวา การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ และบริการ และความรูดานสุขภาพ เปนปจจัยท่ีสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ไดรอยละ 21.20 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 อภิปรายผลการศึกษาวิจัย

จากผลการศึกษาวิจัย สามารถนํามาอภิปรายผล ไดดังนี้

1. ผลการวิเคราะหระดับความรูดานสุขภาพ การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี มีรายละเอียดดังนี้

1.1 ผลการวิเคราะหระดับความรูดานสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน พบวา อยูในระดับปานกลาง( X =25.91)

ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากวา เม่ือกลาวถึงความรูดานสุขภาพ จะประกอบไปดวยความรูดานการสงเสริมสุขภาพ เชน การบริโภคอาหาร การออกกําลังกาย การหลีกเล่ียงสารเสพติด(บุหร่ี สุรา และเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล) การจัดการความเครียด การปองกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึนจากการ ขับข่ีพาหนะ เปนตน และความรูดานการปองกันโรค ซ่ึงมีท้ังโรคติดตอและโรคไมติดตอ ท่ีผานมารัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายท่ีมุงเนนในดานการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรคท่ีครอบคลุมทุกกลุมบุคคลและพ้ืนท่ี อยางเหมาะสมและสอดคลองกับวิถีการดําเนินชีวิตของประชาชน นอกจากน้ี องคกรปกครองสวนทองถ่ิน มีการพิจารณากําหนดเปนของบังคับหรือมาตรการของทองถ่ินตามความเหมาะสม เพื่อมุงเสริมสรางศักยภาพและความเขมแข็งของชุมชน มีการสนับสนุนในนโยบายและกิจกรรมตางๆทางดานสุขภาพมากข้ึน ทําใหประชาชนไดรับรูขอมูลขาวสาร จากการรณรงคประชาสัมพันธของรัฐบาลผานทางส่ือตางๆมากข้ึน เชน โทรทัศน วิทยุกระจายเสียง หอกระจายขาว เอกสารเผยแพร ส่ือส่ิงพิมพ เปนตน ซ่ึงความรูท่ีไดรับการถายทอดนี้ สามารถนํามาประยุกตใชเปนพฤติกรรมเพื่อการดูแลสุขภาพของบุคคลใหถูกตองเหมาะสมได แตเนื่องจาก ประชาชนวัยกลางคนของอําเภอศรีสวัสดิ์ สวนใหญจบการศึกษาเพียงแคระดับช้ันประถมศึกษา ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนสวนใหญ ครอบครัวมีฐานะทางเศรษฐกิจเพียงแคเพียงพอแตไมเหลือเก็บ จึงทําใหมีขอจํากัดดานการรับรู การทําความเขาใจ และการแปลความหมายในเนื้อหาวิชาการตางๆ ดวยเหตุนี้ จึงทําใหประชาชนวัยน้ี มีความรูดานสุขภาพ อยูในระดับปานกลาง

1.2 ผลการวิเคราะหระดับการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการของประชาชนวยักลางคน พบวา อยูในระดับปานกลาง ( X =2.32) แสดงวา ประชาชนวยักลางคน ไดรับการสนับสนุน การดูแลชวยเหลือเกื้อกูล ท้ังในดานขอมูลขาวสารดานสุขภาพ คําแนะนํา วัสดุส่ิงของ

Page 105: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

93

เวชภณัฑท่ีจําเปนตอสุขภาพรางกาย ตลอดจนการใหบริการดานสุขภาพ เชน การตรวจสุขภาพรางกายเบ้ืองตน และการจัดกิจกรรมรณรงคดานสุขภาพในชุมชน ท่ีสามารถสงผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ท้ังการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรคควบคูกันไป จากบุคคลในครอบครัว เพื่อนบาน หรือเครือขายสุขภาพในชุมชน ไดแก อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) เจาหนาท่ีสาธารณสุข ผูนํากลุมหรือชุมชน และสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล เปนตน อยูในระดับท่ีไมมากหรือนอยจนเกนิไป ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากวาสวนใหญอาศัยอยูกันเปนครอบครัวท่ีประกอบดวยบิดา มารดา และบุตร ซ่ึงสมาชิกของครอบครัวจะมีเวลาพูดคุย ดูแลเอาใจใสกนัตลอดเวลา ท้ังในยามท่ีสุขภาพแข็งแรงหรือเจ็บปวย ซ่ึงในยามเจ็บปวย จะไดรับการดูแลเร่ืองการพาไปรับการรักษาพยาบาล และเม่ือไปพบเจาหนาท่ีสาธารณสุขก็จะไดยามารับประทาน ทําใหไมไดรูสึกวา ถูกทอดท้ิง นอกจากนี้ สภาพการตั้งบานเรือนและชุมชน จะรวมกันเปนกลุมๆอยูใกลเคียงกัน ประกอบอาชีพแบบรวมกลุมเปนสวนใหญ เชน เกษตรกรรม การประมง และธุรกจิแพพกัแพลอง จึงทําใหสมาชิกในชุมชนมีโอกาสแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารตางๆ ตลอดจนการอํานวยความสะดวกตอกันไดบาง อีกทั้งในระยะที่ผานมา จากการปฏิรูประบบสุขภาพของคนไทย โดยมียุทธศาสตรท่ีมุงเนนการใหบริการดานการแพทยและสาธารณสุขท่ีครอบคลุมประชาชนในทุกพ้ืนท่ี มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการหนวยงานสาธารณสุขในทุกระดับ ท้ังในโรงพยาบาลและสถานีอนามัย ใหสามารถดําเนินงานไดอยางคลองตัว มีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบตอสุขภาพอนามยัของประชาชน เนนบทบาทการดําเนินงานในเชิงรุก สนบัสนุนและเผยแพรความรูความเขาใจท่ีถูกตองแกประชาชน อยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดความเขาใจและสามารถดูแลสุขภาพตนเองได ซ่ึงการไดรับการสนับสนุน การดูแลชวยเหลือและการบริการดังกลาว จากบุคคลหรือกลุมบุคคลในชุมชน กอใหเกิดความรูสึกทางจิตใจ เปนการแสดงถึงความรักความหวงใย เกิดเปนความผูกพันทางอารมณ ชวยใหเกิดการเสริมแรงและเพิ่มแรงจูงใจในการดแูลตนเองไดบาง มีท่ีปรึกษาท่ีไววางใจได และมีกําลังใจท่ีจะปฏิบัติตามคําแนะนํา ดวยเหตุนี้ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการของประชาชนวัยกลางคน จึงอยูในระดับปานกลาง ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ เพ็ญรุง เกิดสุวรรณ (2541:109) ท่ีพบวา การสนบัสนุนทางสังคมในแตละดาน อยูในระดับปานกลาง และสอดคลองกับการศึกษาของ วภิาพร ศักดิสุ์ริยผดุง(2547:116) ท่ีพบวา แรงสนับสนนุทางสังคม จากบุคลากรสาธารณสุข ท่ีมีตอพฤติกรรมการบริโภคของสตรีวัยทอง อยูในระดับปานกลาง นอกจากนี้ เม่ือพิจารณาแบบสัมภาษณ รายขอพบวา ขอท่ีไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการท่ีอยูในระดับมาก คือ เม่ือเจ็บปวยแลวไปรับการรักษาพยาบาล หมอจะใหยามากิน ( X =2.69) รองลงมา คือไดรับการข้ึนทะเบียนเปนผูมีสิทธิ ในดานการรักษาพยาบาล ตามหลักประกนัสุขภาพถวนหนา( X =2.69) และทุกคร้ังท่ีไปรับบริการชั่งน้ําหนัก วดัความดนัโลหิต หรือตรวจหาเบาหวาน

Page 106: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

94

เจาหนาท่ีสาธารณสุขจะบอกผลการตรวจและคําแนะนําในการปฏิบัตติัว ( X = 2.51) ตามลําดับ ท้ังนี้ อาจเนื่องมาจากการท่ีสมาชิกและเครือขายสุขภาพในชุมชน สามารถใหการชวยเหลือ คําแนะนําการดูแล การติดตามเย่ียม เพื่อใหประชาชนในวัยนี้ ไดรับการดูแลสุขภาพท่ีครอบคลุมมากท่ีสุด

1.3 ผลการวิเคราะหระดับของการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง ของประชาชนวยั

กลางคน พบวา อยูในระดับปานกลาง ( X =2.13) แสดงวา ประชาชนวัยกลางคน มีความรูสึกตอสภาพการทํางาน หรือความสมบูรณแข็งแรงท้ังทางดานรางกายและจิตใจโดยรวม แลวเปรียบเทียบจาก ประสบการณเดิม หรือความรูดานสุขภาพที่มีอยู หรือเปรียบเทียบกับเพื่อนๆในวัยเดยีวกัน กอนจะตัดสินใจวาสุขภาพของตนเองเปนอยางไร ซ่ึงการรับรูภาวะสุขภาพของแตละจะแตกตางกันไป ข้ึนอยูกับปจจยัท่ีมีอิทธิพลตอการรับรู 2 ประการ คือ ปจจัยภายใน ไดแก คานยิม ความสนใจ และประสบการณเดิม เปนตน และปจจัยภายนอก ไดแก วัฒนธรรม ความเช่ือ การบอกเลาหรือคําแนะนาํจากผูอ่ืน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข เปนตน ซ่ึงจะทําใหการรับรูเร่ืองราว เหตกุารณ สถานการณ ตลอดจนความเช่ือม่ันแตกตางกันไป บางคนอาจรับรูวาความเจ็บปวยเปนเพยีงส่ิงผิดปกติท่ีเกดิข้ึนเล็กนอย และไมเปนอุปสรรคในการดําเนินชีวิตหรือการทําหนาท่ีการงาน ในขณะท่ีบางคนอาจรูสึกวา ความเจ็บปวยเปนส่ิงท่ีรบกวนและคุกคามตอชีวิตตนเอง ทําใหผลที่ตามมาคือ เกิดความรูสึกดานจิตใจข้ึนเชน เกิดความกลัว วิตกกังวล ทอแท เครียด หรือสับสนทุกคร้ังท่ีเจ็บปวย การรับรูตอภาวะสุขภาพท่ีตางกนันี้ จะมีอิทธิพลตอกําลังใจในการตอสูกบัปญหาท่ีเขามารบกวนชีวติของแตละบุคคลไดแตกตางกัน (กอบกุล พันธเจริญวรกุล 2538: 27) เม่ือพิจารณาขอคําถามเปนรายขอจากแบบสัมภาษณ พบวา ขอท่ีประชาชนวัยกลางคน มีการรับรูภาวะสุขภาพตนเองอยูในระดับมาก ไดแก ความไมรูสึกนอยใจหรือเศราใจท่ีไมมีใครใหความสําคัญหรือยกยอง ( X =2.44) และขอท่ีวา ตอนกลางคืนจะนอนหลับเปนประจํา ( X = 2.42) ซ่ึงเปนการรับรูเกี่ยวกับภาวะสุขภาพจิต แสดงวาประชาชนวยักลางคน รูจักวิธีการดแูลและมีวิธีการจัดการกับปญหาท่ีทําใหเกิดความไมสบายใจ ความคับของใจไดอยางเหมาะสม โดยอาจเปนเพราะสมาชิกในครอบครัว เพื่อนบาน มีปฏิสัมพันธท่ีดีตอกัน เอ้ือเฟอเกื้อกูลตอกัน ตลอดจนวิถีชีวิตของสมาชิกในชุมชน ท่ีมีความรักใครผูกพัน เอ้ืออาทรซ่ึงกันและกัน มีความหวงใยใหกําลังใจกัน โดยเฉพาะเม่ือบุคคลเกิดความไมสบายใจข้ึนมา นอกจากนี้ การประกอบอาชีพของสมาชิกในชุมชนท่ีรวมกันเปนกลุม ทําใหเกดิการส่ือสารและปฏิสัมพันธอยูตลอดเวลา ดวยเหตุนี้ จึงทําใหภาพรวมของการรับรูภาวะสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อยูในระดับกลาง

1.4 ผลการวิเคราะหระดับของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยรวม ของประชาชนวยักลางคน อยูในระดับมาก ท้ังนี้ เนื่องจากปจจุบันนโยบายรัฐบาลท่ีมุงเนนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกกลุมอาย ุ มีการสนับสนุนกิจกรรมดานสุขภาพในกลุมประชาชนวัย

Page 107: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

95

กลางคน ท่ีชัดเจนขึ้น และมีตัวช้ีวดัท่ีสําคัญโดยเฉพาะในเร่ืองของการสรางพฤติกรรมในการปองกนัโรคไมติดตอ เชน การปองกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ มีการรณรงคการบริโภคอาหารท่ีปลอดภัย มีคุณคาทางโภชนาการ การออกกําลังกายท่ีเหมาะสม การหลีกเล่ียงพฤติกรรมการสูบบุหร่ีดื่มสุราหรือเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล การปองกันอันตรายจากการขับข่ียานพาหนะ เปนตน โดยใชรูปแบบการใหความรูในท่ีประชุมประจําเดือนของหมูบาน ใหความรูผานส่ือตางๆในทองถ่ิน เชน หอกระจายขาวสารประจําหมูบาน ปายรณรงคประชาสัมพันธ ผูนําชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) และ เจาหนาท่ีสาธารณสุขในพื้นท่ี เปนตน ซ่ึงเปนกิจกรรมรณรงคเชิงรุกท่ีมีสมาชิกของชุมชนเขารวมดําเนินการอยูเสมอๆ จึงเปนการสรางกระแสของการดูแลสุขภาพใหแกประชาชน ไดเปนอยางมาก

เม่ือพิจารณาเปนรายดาน พบวา พฤติกรรมดานการสงเสริมสุขภาพ มีคะแนนเฉล่ียอยูในระดับปานกลาง( X = 2.29)เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอท่ีประชาชนวัยกลางคน มีพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพอยูในระดับมาก เปนพฤติกรรมเก่ียวกับการบริโภคอาหารท่ีปลอดภัย ไดแกขอ

คําถามท่ีเกี่ยวกับพฤติกรรมการลางผัก ผลไมสดใหสะอาด กอนท่ีจะนํามารับประทาน ( X = 2.70) การลางมือใหสะอาดกอนรับประทานอาหาร ( X = 2.64) ท้ังนี้ อาจเปนผลมาจาก พฤติกรรมเหลานี้ เปนพฤติกรรมท่ีหนวยงานรัฐบาล ไดมีการรณรงค เผยแพรประชาสัมพันธผานส่ือตางๆ ในเร่ืองของการบริโภคอาหารปลอดจากสารปนเปอน การสุมตรวจหาสารตกคางในอาหารทุกรานคาท่ีจําหนาย ควบคูไปกับการใหความรูและคําแนะนําดานสุขวิทยาสวนบุคคลในการรับประทานอาหาร สวนใน

เร่ืองของการใหสัญญาณทุกคร้ังกอนการเล้ียวรถนั้น พบวา อยูในระดับมาก ( X = 2.62) อาจเนื่องจากประชาชน ตระหนกัถึงอันตรายและอาจกอใหเกดิอุบัติเหตุแกตนได ซ่ึงอุบัติเหตุสามารถเกิดข้ึนไดทุกเวลา และจะมีผลกระทบตอการประกอบอาชีพ ภาระและรายไดของครอบครัว อีกท้ัง ยังมีมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการขับข่ี ท่ีจะชวยปองปรามและสงเสริมพฤติกรรมการขับข่ีใหปลอดภัยมากข้ึน จึงทําใหพฤติกรรมดานการขับข่ีอยูในระดบัมาก สวนพฤติกรรมดานการปองกันโรคนั้น พบวา มีคะแนนเฉล่ียอยูในระดับมาก ( X =2.53) เม่ือพิจารณาเปนรายขอก็พบวาสวนใหญ ประชาชนวยักลางคน จะมีระดับของพฤติกรรมอยูในระดับมาก ซ่ึงเปนพฤติกรรมท่ีเกี่ยวของกบั การบริโภคอาหาร การปรับปรุงดูแลสภาพการสุขาภิบาลที่พักอาศัย เปนตน ท้ังนี้ จากแบบสัมภาษณพบวาประชาชนวยันี้ มีการรับรูภาวะสุขภาพของตนเองวา มีความเปนไปไดท่ีจะเจ็บปวยดวยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซ่ึงจากการรับรูในภาวะดังกลาวจึงทําใหประชาชน ใหความสําคัญและเอาใจใสตอพฤติกรรมการปองกันโรคมากข้ึน

Page 108: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

96

2. การวิเคราะหเปรียบเทียบ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน จําแนกตามลักษณะขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ ภาวะสุขภาพ รายได อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพหลัก สรุปผลการวิจัย มีรายละเอียดดังนี้

2.1 จากสมมติฐานขอ 1 ท่ีวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีเพศตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน

ผลการศึกษาคร้ังนี้ พบวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีเพศตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ไมแตกตางกัน จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานท่ีตั้งไว อธิบายไดวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีอาศัยอยูในพื้นท่ีชนบท มีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตในแตละวันที่คลายคลึงกัน กลาวคือ ท้ังเพศหญิงและชาย สวนใหญประกอบอาชีพอยูในพื้นท่ีมาโดยตลอด ลักษณะงานที่ทําในแตละวัน สวนใหญเปนงานทางดานเกษตรกรรม ทําไร ทํานา ทําสวน ออกทํางานพรอมกันต้ังแตเชาตรู ประมาณวันละมากกวา 5ช่ัวโมง จรดเย็นจึงกลับบาน ซ่ึงปฏิบัติเชนนี้มาไมนอยกวา 15 ป จากการทํางานอาชีพ การใชชีวิตประจําวัน และการบริโภคอาหารท่ีคลายๆกันซ่ึงเปนอาหารในทองถ่ิน จึงทําให ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีเพศตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ไมแตกตางกัน ซ่ึงสอดคลองกับ การศึกษาของ ดํารง กิจกุศล (2527 :53-56) ท่ีเสนอวา เพศที่แตกตางกัน ไมทําใหเกิดความแตกตางของการออกกําลังมากนัก และการศึกษาของ วารี สายันหะ(2546 :89) ท่ีพบวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีเพศตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกาย ไมแตกตางกัน

2.2 จากสมมติฐานขอ 2 ท่ีวา ประชาชนวัยกลางคน ที่มีอายุตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน

ผลการศึกษาคร้ังนี้ พบวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีอายุตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมแตกตางกัน จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานท่ีตั้งไว อธิบายไดวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีชนบท สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม ดังนั้น จึงมีรูปแบบการดําเนินชีวิตท่ีเหมือนกัน กลาวคือ ตอนเชาไปทําไรทํานา พอเย็นมาจึงกลับบาน เปนเชนนี้อยูเสมอ ประกอบกับประชาชนในชวงวัยนี้ คือ 40-60ป เปนวัยท่ีเร่ิมมีการเปล่ียนแปลงทางดานสภาพรางกาย จิตใจ อารมณและสังคม ไปในทางท่ีเส่ือมลง จึงทําใหสวนใหญใหความสนใจตอการดูแลสุขภาพตนเองกันมากข้ึน ดวยเหตุนี้ ระดับอายุท่ีแตกตางกันจึงทําใหพฤติกรรมการดูแลสุขภาพไมแตกตางกัน แตสอดคลองกับ เพ็ญรุง เกิดสุวรรณ (2541 :112) ท่ีพบวา อายุ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของสตรีวัยหมดประจําเดือน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

2.3 จากสมมติฐานขอ 3 ท่ีวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีภาวะสุขภาพตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน

Page 109: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

97

ผลการศึกษาคร้ังนี้ พบวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีภาวะสุขภาพตางกัน คือ มีสุขภาพรางกายท่ีสมบูรณแข็งแรง และมีโรคเร้ือรังประจําตัว จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานท่ีตั้งไว โดยผูท่ีมีโรคเร้ือรังประจําตัว จะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองท่ีดีกวาผูท่ีมีภาวะสุขภาพรางกายที่สมบูรณแข็งแรง ซ่ึงอธิบายไดวา ประชาชนวัยกลางคน ไมวาจะมีภาวะสุขภาพรางกายเชนไร ตางก็มีโอกาสเจ็บปวยไดเหมือนๆกัน ผูท่ีมีโรคเร้ือรังประจําตัว จะมีสุขภาพท่ีไมสมบูรณแข็งแรง มีโอกาสท่ีจะไดรับความรู คําแนะนําดานสุขภาพ การปฏิบัติตนท่ีถูกตองในการดูแลสุขภาพ จากการไปรับการรักษา บางคร้ังมีโอกาสเขารวมกลุมหรือชมรมผูท่ีปวยดวยโรคเดียวกัน มีการปฏิสัมพันธตอกัน เกิดการพูดคุยส่ือสารแลกเปลี่ยนความรู คําแนะนําแกกันและกัน ทําใหมีการเรียนรูถึงการปฏิบัติตนท่ีดี การหลีกเล่ียงปจจัยเส่ียงทางสุขภาพ เพื่อท่ีจะประคับประคองสุขภาพรางกายมิใหทรุดโทรมลงไป หรือเพื่อการควบคุมอาการของโรคท่ีเปนอยู มิใหรุนแรงข้ึนหรือหายขาดได จึงทําให ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีภาวะของสุขภาพรางกายตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกัน ซ่ึงสอดคลองกับ เตือนใจ ทองคํา (2549 : 123) ท่ีพบวา ผูสูงอายุท่ีมีโรคประจําตัวและไมมีโรคประจําตัว จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .001 และศิรินทิพย โกนสันเทียะ(2541 : 137) ท่ีพบวา สตรีวัยหมดประจําเดือนท่ีไมมีโรคประจําตัวและสตรีวัยหมดประจําเดือนท่ีมีโรคประจําตัว มีพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพแตกตางกัน อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.4 จากสมมติฐานขอ 4 ท่ีวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีรายไดตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน

ผลการศึกษาคร้ังนี้ พบวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีรายไดตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมแตกตางกัน จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานท่ีตั้งไว ซ่ึงอธิบายไดวา รายไดเปนตัวบงช้ีภาวะเศรษฐกิจ และสังคม เปนองคประกอบท่ีสําคัญตอความสามารถในการดูแลตนเอง โดยผูท่ีมีรายไดหรือฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูง จะมีโอกาสติดตอส่ือสารกับกลุมสังคมตางๆ เพื่อเพิ่มพูนความรูและประสบการณตนเอง รายไดชวยเอ้ืออํานวยใหสามารถหารอาหารท่ีมีประโยชนตลอดจนจัดหาของใชท่ีจําเปน เพื่ออํานวยความสะดวกและสงเสริมพฤติกรรมอนามัยท่ีดีก็จริง แตจากการศึกษาคร้ังนี้ ประชาชนสวนใหญมีรายไดพอใชแตไมเหลือเก็บ ประกอบกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยสวนใหญจะเปนพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค ซ่ึงเปนพฤติกรรมท่ีสามารถปฏิบัติไดโดยไมตองส้ินเปลืองคาใชจาย ดังนั้น ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีรายไดตางกัน จึงมีพฤติกรรมการดูแล สุขภาพตนเองไมแตกตางกัน ซ่ึงสอดคลองกับ เพ็ญรุง เกิดสุวรรณ (2541 : 115) ท่ีพบวา รายไดไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของสตรีวัยหมด

Page 110: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

98

ประจําเดือน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 แตไมสอดคลองกับ วรารัตน รุงเรือง (2548 : 87) ท่ีพบวา สตรีวัยกลางคนตอนตน ท่ีมีรายไดตางกัน มีพฤติกรรมการสรางสุขภาพแตกตางกัน

2.5 จากสมมติฐานขอ 5 ท่ีวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีระดับการศึกษาตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน

ผลการศึกษาคร้ังนี้ พบวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีระดับการศึกษาตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมแตกตางกัน จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานท่ีตั้งไว ซ่ึงอธิบายไดวา จากขอคําถามในสวนของตัวแปรนั้น เปนเร่ืองของพฤติกรรมการดูแลตนเองท้ังในดานการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค ซ่ึงพบวา ถึงแมประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ สวนใหญจะมีระดับการศึกษาเพียงแคระดับช้ันประถมศึกษาก็ตาม แตโอกาสท่ีจะแสวงหาขอมูล ความรู ขาวสารดานสุขภาพ การซักถามปญหาสุขภาพในชุมชนท่ีอยูอาศัย คอนขางมาก เนื่องจาก มีแหลงใหการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการดานสุขภาพอยูในพื้นท่ี เชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผูนําชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และเจาหนาท่ีสาธารณสุข เปนตน ดังนั้น เม่ือมาขอรับบริการสุขภาพ คําแนะนําหรือขอมูลดานสุขภาพ ทุกคนทุกระดับการศึกษา ก็จะไดรับบริการสุขภาพ คําแนะนําหรือขอมูลดานสุขภาพ จากแหลงสนับสนุนดังกลาวขางตน อยางเทาเทียมกัน ซ่ึงถานําไปปฏิบัติอยางถูกตอง เหมาะสมและสม่ําเสมอ ก็จะเกิดผลดีตอชีวิตความเปนอยู จึงทําให พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ไมข้ึนอยูกับปจจัยสวนบุคคลดานระดับการศึกษา ผลการศึกษานี้ สอดคลองกับ การศึกษาของ อรทัย ธรรมกันมา (2540:87) ท่ีพบวา ระดับการศึกษา ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพในหญิงต้ังครรภท่ีมีภาวะเสี่ยง และอุนจิตต บุญสม (2540:57) ท่ีพบวา หญิงมีครรภ ท่ีมีระดับการศึกษาตางกัน มีพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพโดยรวม ไมแตกตางกัน แตไมสอดคลองกับการศึกษาของ วรารัตน รุงเรือง (2548:87) ท่ีพบวา สตรีวัยกลางคนตอนตน ท่ีมีระดับการศึกษาตางกัน มีพฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพแตกตางกัน

2.6 จากสมมติฐานขอ 6 ท่ีวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีประกอบอาชีพตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองแตกตางกัน ผลการศึกษาคร้ังนี้ พบวา ประชาชนวยักลางคน ท่ีประกอบอาชีพตางกัน ไดแก อาชีพเกษตรกรรม อาชีพการประมง อาชีพดานธุรกิจทองเท่ียวและอ่ืนๆ มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมแตกตางกัน จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานท่ีตั้งไว ซ่ึงอธิบายไดวา อาชีพ เปนปจจัยสนับสนุนใหบุคคล มีพฤติกรรมสุขภาพท่ีแตกตางกนั เนื่องจาก คนในกลุมอาชีพตางกัน จะมีการแลกเปล่ียนความรู แนวคิด ทัศนคติ คานิยมและประสบการณ ตลอดจนมีเวลาใหความสนใจสุขภาพท่ีแตกตางกนัไป แตในการศึกษาคร้ังนี้ พบวา ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพท่ีไมแตกตางกันมากนัก รอยละ 49.28 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีเพียงสวนนอยท่ีประกอบอาชีพดานธุรกิจ

Page 111: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

99

ทองเท่ียว แตมีการพึ่งพาอาศัยกันในทุกกลุมอาชีพ สามารถจะรับรูขอมูลขาวสาร และแลกเปล่ียนความรู ประสบการณซ่ึงกันและกัน ตามแตละบริบทในชุมชนนั้นๆ ประกอบกับการที่ประชาชนวยันี ้สามารถเขาถึงและใชประโยชนจากแหลงสนับสนุนทางสังคมตางๆดานสุขภาพอนามัย ท่ีมีอยูในทองถ่ินตนเองไดงายและสะดวก ดังนัน้ ไมวาจะประกอบอาชีพดานใดก็ตาม จึงทําใหพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมแตกตางกัน สอดคลองกับการศึกษาของ เพ็ญรุง เกิดสุวรรณ (2541:114) ท่ีพบวา สตรีวยัหมดประจําเดือน ท่ีมีอาชีพตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมแตกตางกัน แตไมสอดคลองกับการศึกษาของ วารี สายันหะ (2546:109) ท่ีพบวา ประชาชนวยักลางคน ท่ีมีอาชีพตางกัน มีพฤตกิรรมดานการออกกําลังกายแตกตางกนั อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001

3. การวิเคราะหปจจัย ความรูดานสุขภาพ การไดรับสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง ท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคน ในอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ผลการวิจัยมีรายละเอียด ดังนี้

3.1 จากสมมติฐานขอ 7 ท่ีวา ความรูดานสุขภาพ การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตนเอง เปนปจจัยท่ีสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน ในอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรีได

ผลการวิเคราะห พบวา การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตน เปนปจจัยท่ีมีอิทธิพลรวมกันในการทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน ได รอยละ 15.20 จึงสอดคลองกับ สมมติฐานท่ีตั้งไว ผลการศึกษาสามารถอภิปรายไดวา

การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ ถูกเลือกใหเขาสมการลําดับท่ี 1 มีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรมดานการสงเสริมสุขภาพ ไดรอยละ 14.1 เม่ือพิจารณาความสัมพันธ พบวา การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมดานการสงเสริมสุขภาพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 (r= .375) แสดงวา เม่ือประชาชนวัยกลางคน ไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการท่ีดี เชน การไดรับความชวยเหลือทางดานอาหาร ส่ิงของ เวชภัณฑ การเงิน และแรงงาน รวมถึงการไดรับบริการดานสุขภาพไมวาจะเปนการตรวจสุขภาพ หรือการรักษาพยาบาล ท่ีตรงตามความจําเปนของบุคคลในวัยนี้ จะทําใหเกิดความรูสึกถึงการมีคุณคาในตนเอง และ ตระหนักในความสําคัญของตนเอง เกิดแรงจูงใจท่ีจะปฏิบัติกิจกรรมตางๆ เพื่อการสงเสริมสุขภาพใหดีข้ึน ดังนั้น การไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ จึงมีอํานาจในการทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพได

การรับรูภาวะสุขภาพของตน ถูกเลือกใหเขาสมการลําดับท่ี 2 มีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรม ดานการสงเสริมสุขภาพ ไดรอยละ 1.10 โดยการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของ

Page 112: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

100

และบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตน มีอิทธิพลรวมกันในการทํานาย พฤติกรรมดานการสงเสริมสุขภาพ ไดรอยละ 15.20 เม่ือพิจารณาความสัมพันธ พบวา การรับรูภาวะสุขภาพของตน มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมดานการสงเสริมสุขภาพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ( r = .123) แสดงวา ถาประชาชนวัยกลางคน มีการรับรูภาวะสุขภาพของตนวามีสุขภาพดี ก็จะทํากิจกรรมหรือพฤติกรรมท่ีเปนการสงเสริมสุขภาพตนเองมากยิ่งข้ึน แตถามีการรับรูภาวะสุขภาพของตนไมดี ก็จะไมใหความสนใจตอพฤติกรรมท่ีเปนการสงเสริมสุขภาพ ดวยเชนกัน ซ่ึงสามารถอธิบายไดวา การรับรูภาวะสุขภาพ เปนปจจัยหนึ่งในสวนประกอบของความสามารถและคุณสมบัติพื้นฐาน ท่ีจะทําใหบุคคล มีความสามารถในการดําเนินกิจกรรมสงเสริมสุขภาพ กลาวคือ การรับรู เปนปจจัยพื้นฐานท่ีสําคัญ ท่ีจะนําไปสูความเขาใจ ความตระหนัก การคิดวิเคราะห การเห็นคุณคา การเอาใจใสดูแลตนเอง รวมถึงการยอมรับในภาวะสุขภาพหรือการทํางานของอวัยวะตางๆของรางกาย และเม่ือรวมความสามารถเขาดวยกัน ก็จะทําใหเกิดความสนใจ และตระหนักในความสําคัญข้ึน และนอกจากนี้ การรับรูตอภาวะสุขภาพ ยังเปนปจจัยดานแรงจูงใจ ท่ีจะโนมนาวและกระตุนใหบุคคล มีความรับผิดชอบ เอาใจใสในการปฏิบัติตน เพ่ือสงเสริมการมีสุขภาพท่ีดีข้ึน อาจกลาวโดยสรุปไดวา ประชาชนวัยกลางคน ท่ีมีการรับรูภาวะสุขภาพที่ดี ท้ังทางดานสุขภาพกายและจิต จะทําใหเขาใจในส่ิงท่ีเกิดข้ึน ตระหนักและมีแรงจูงใจในการท่ีจะปฏิบัติกิจกรรมเพื่อการสงเสริมการมีสุขภาพท่ีดี ในทางตรงขาม ประชาชนวัยกลางคนที่มีการรับรูภาวะสุขภาพของตนที่ไมดี ทําใหเกิดความไมรู ไมเขาใจ ไมยอมรับตอภาวะความเปล่ียนแปลงตางๆท่ีเกิดข้ึน จะสงผลใหบุคคลนั้น เกิดความเครียด ไมสบายใจ มีความวิตกกังวล และถาระดับความวิตกกังวลมีมากเกินไป ก็จะสงผลตอการตัดสินใจท่ีผิดพลาด เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพได ซ่ึงสอดคลองกับ ไพโรจน พรหมพันใจ (2540 : 45) ท่ีพบวา การรับรูภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ ชวนพิศ มีสวัสดิ์ (2539 : 84-85) ท่ีพบวา หญิงต้ังครรภ ท่ีมีการรับรูภาวะสุขภาพขณะตั้งครรภท่ีดี จะมีการดูแลตนเองท่ีดี

3.2 จากสมมติฐานขอ 8 ท่ีวา ความรูดานสุขภาพ การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตน เปนปจจัยท่ีสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน ในอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรีได

ผลการวิเคราะห พบวา การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ และความรูดานสุขภาพ เปนปจจัยท่ีมีอิทธิพลรวมกันในการทํานายพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนวัยกลางคน ได รอยละ 17.60 จึงสอดคลองกับ สมมติฐานท่ีตั้งไว ผลการศึกษาสามารถอภิปรายไดวา

การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ ถูกเลือกใหเขาสมการลําดับท่ี 1 มีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการปองกันโรค ไดรอยละ 13.80 เม่ือพิจารณา

Page 113: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

101

ความสัมพันธ พบวา การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรม ดานการปองกันโรค อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 ( r = .371) แสดงวา เม่ือประชาชนวัยกลางคน ไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการมากข้ึน ในหลากหลายรูปแบบ เชน การไดรับความรู การฝกอบรม การฝกปฏิบัติ การแนะนํา ตางๆ จากแหลงสนับสนุนทางสังคม จะเปนแรงเสริมท่ีจะทําใหประชาชนวัยกลางคน ปฏิบัติกิจกรรมตางๆ เพื่อการปองกันการเกิดโรคไดดีข้ึน ดังนั้น การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ จึงมีอํานาจในการทํานายพฤติกรรมการปองกันโรคได

ความรูดานสุขภาพ ถูกเลือกใหเขาสมการลําดับท่ี 2 มีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรม ดานการปองกันโรค เพิ่มข้ึนรอยละ 3.80 โดยการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ และความรูดานสุขภาพ มีอิทธิพลรวมกันในการทํานาย พฤติกรรมดานการปองกันโรค ไดรอยละ 17.60 เมื่อพิจารณาความสัมพันธ พบวา ความรูดานสุขภาพ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมดานการปองกันโรค อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ( r = .211) แสดงวา เม่ือประชาชนวัยกลางคน มีความรูดานสุขภาพท่ีถูกตองเหมาะสม มากข้ึน ก็มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมดานการปองกันโรคท่ีดีข้ึน ซ่ึงสามารถอธิบายไดวา ความรูดานสุขภาพ มีสวนสําคัญท่ีจะทําใหเกิดความเขาใจ และการรับรูท่ีดี จนทําใหประชาชนวัยกลางคนเห็นความสําคัญ และมีแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมการปองกันโรค เพื่อหลีกเล่ียงปจจัยเส่ียงตอสุขภาพ ไดอยางถูกตองเหมาะสมกับตนเอง ซ่ึงสอดคลองกับ เบคเกอร ( ฺBecker 1975 : 10-20, อางถึงใน ลัคนา อุยสอาด 2546:92) ท่ีกลาววา การท่ีบุคคลมีพฤติกรรมการปองกันหรือหลีกเล่ียงปญหา บุคคลนั้นตองเช่ือวา เขามีโอกาสเส่ียงท่ีจะเกิดอันตรายตอตนเอง และพฤติกรรมนั้นเปนประโยชนตอตนเอง จึงทําใหความรูดานสุขภาพ มีอํานาจในการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานการปองกัน

3.3 จากสมมติฐานขอ 9 ท่ีวา ความรูดานสุขภาพ การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ และการรับรูภาวะสุขภาพของตน เปนปจจัยท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ในอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรีได

ผลการวิเคราะห พบวา การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ และความรูดานสุขภาพ เปนปจจัยท่ีมีอิทธิพลรวมกันในทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ได รอยละ 21.20 จึงสอดคลองกับ สมมติฐานท่ีตั้งไว ผลการศึกษาสามารถอภิปรายไดวา

การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ ถูกเลือกใหเขาสมการลําดับท่ี 1 มีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคน ไดรอยละ 18.20 เม่ือพิจารณาความสัมพันธ พบวา การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ มีความสัมพันธทางบวกกับ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ของประชาชนวัยกลางคน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี

Page 114: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

102

ระดับ .001 ( r = .427) แสดงวา เม่ือประชาชนวัยกลางคน ไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและ การบริการท่ีดี จากบุคคลในครอบครัว เพื่อนบาน หรือเครือขายสุขภาพในชุมชนมากข้ึน ก็มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองท่ีดีข้ึน ซ่ึงสามารถอธิบายไดวา การไดรับการสนับสนุนชวยเหลือในดานตางๆดังกลาว มีบทบาทท่ีสําคัญตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของบุคคล สอดคลองกับแนวคิดของ โอเรม (Orem 1985 : 118-120 ,อางถึงใน ลัคนา อุยสะอาด 2546 : 87) ท่ีกลาววา การสนับสนุนทางสังคม เปรียบเสมือนแหลงประโยชน ซ่ึงเปนปจจัยพื้นฐานท่ีมีอิทธิพลตอการดูแลตนเองของบุคคล ทําใหบุคคลสามรถดูแลตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยประชาชนวัยกลางคน ท่ีไดรับการสนับสนุน มีท้ังจากสมาชิกในครอบครัว เพื่อนบาน เครือขายสุขภาพในชุมชน บุคคลจะไดรับความรัก ความเอาใจใส ความเขาใจ ความเอ้ืออาทร ตลอดจนความรู ขอมูลขาวสาร วัสดุส่ิงของท่ีจําเปน คําแนะนําท่ีเปนประโยชน เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติเพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง การกระตุนเตือนใหมีการดูแลตนเองอยูเสมอ การแลกเปล่ียนหรือการส่ือสารพูดคุยระหวางบุคคล จะกอใหเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง มีความเช่ือม่ัน สรางแรงจูงใจข้ึนในบุคคล ดังนั้น การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ จึงมีอํานาจในการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคนได

ความรูดานสุขภาพ ถูกเลือกใหเขาสมการลําดับท่ี 2 มีอิทธิพลในการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง เพิ่มข้ึนรอยละ 3.00 โดยการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและการบริการ และความรูดานสุขภาพ มีอิทธิพลรวมกันในการทํานาย พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ไดรอยละ 21.20 เมื่อพิจารณาความสัมพันธ พบวา ความรูดานสุขภาพ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ( r = .193) แสดงวา เม่ือประชาชนวัยกลางคน มีความรูดานสุขภาพท่ีถูกตองเหมาะสม มากข้ึน ก็มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีข้ึน ซ่ึงสามารถอธิบายไดวา เม่ือบุคคลมีความรู ความเขาใจ ซ่ึงเปนความจําในรายละเอียดของขอมูลขาวสาร ท่ีเปนประโยชนโดยตรงตอสุขภาพอนามัยของบุคคลนั้นๆ ก็ยอมสงผลตอการรับรูและการสรางทัศนคติ ตลอดจนการแสดงออกถึงพฤติกรรม ท้ังทางตรงและทางออม เพราะความรูนั้น เปนส่ิงท่ีไมสามารถสังเกตเห็นได สวนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของบุคคลนั้น เปนพฤติกรรมท่ีสามารถสังเกตเห็นได ซ่ึงสอดคลองกับ สุรางค จันทรเอม (2527 : 14) ท่ีไดกลาววา การกระทําท่ีสามารถสังเกตเห็นไดนั้น จะตองอาศัยการกระทําท่ีไมสามารถสังเกตเห็นได เปนสวนประกอบในการแสดงออก ดังนั้น ความรูดานสุขภาพ จึงมีอํานาจในการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองได

Page 115: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

103

ขอเสนอแนะ จากการศึกษาพบวา ปจจัยท่ีมีอิทธิผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคนคือ การไดรับ

การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ การรับรูภาวะสุขภาพของตน และ ความรูดานสุขภาพ การเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ตามลักษณะของขอมูลสวนบุคคล พบวา ผูท่ีมีภาวะสุขภาพตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแตกตางกัน

ผูวิจัยจึงขอเสนอแนะแนวทางในการนําผลการวิจัยไปใช เพื่อการสงเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในวัยกลางคน และการทําวิจยัในคร้ังตอไป

ขอเสนอแนะในการนําวิจัยไปใช 1.จากผลการวจิัย พบวา การสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ เปนตัวแปรท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ท้ังทางดานการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค จึงควรมีการสงเสริมหรือพัฒนารูปแบบของการใหการสนับสนุนแกชุมชน โดยมุงเนนท่ีการสรางศักยภาพใหแกบุคคล หรือกลุมหรือชมรมในชุมชน ท้ังนี้ การสรางศักยภาพท่ีเกดิข้ึน จะเปนการเพิ่มความเขมแข็งใหแกบุคคลและชุมชน เพือ่ใหสามารถท่ีจะดแูลตนเองได พึ่งตนเองได โดยไมตองรองขอความชวยเหลือจากหนวยงานภายนอกโดยไมจําเปน โดยใชวิธีการของการฝกอบรมกลุมหรือชมรม ท่ีประชาชนเปนสมาชิกอยูใหมีความชํานาญท่ีเฉพาะกับบริบทของกลุมหรือชมรมนั้น เม่ือกลุมหรือชมรมมีศักยภาพท่ีเพียงพอแลว กจ็ะสามารถใหการดแูลสมาชิกในกลุม ในชมรมน้ันอยางม่ันใจ ท้ังนี้การฝกอบรมนอกจากเจาหนาท่ีของภาครัฐเปนผูฝกใหแลว ควรพัฒนาใหสมาชิกในชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ใหมีความสามารถในการถายทอดหรือใหบริการแกชุมชน เปนการพฒันาศักยภาพของแหลงสนับสนุนทางสังคมอีกดวย 2.จากผลการวจิัยพบวา ประชาชนท่ีมีภาวะสุขภาพรางกายท่ีสมบูรณแข็งแรง ไมมีโรคเร้ือรังประจําตัว จะใหความสําคัญตอพฤติกรรมในการดแูลสุขภาพตนเอง นอยกวาผูท่ีมีสุขภาพรางกายไมสมบูรณแข็งแรง ดังนั้น ควรท่ีจะรวมกับชุมชน เพื่อสรางความตระหนักของการปองกันและสงเสริมสุขภาพ เนนท่ีการสรางสุขภาพมากกวาการซอมสุขภาพ เพื่อใหเกิดการมีภาวะสุขภาพที่ด ี สามารถประกอบอาชีพประจําวันได เพราะอัตราการเจ็บปวยของชุมชน จะเปนส่ิงท่ีบงช้ีถึงความผาสุก และความรับผิดชอบของบุคคล องคกรท่ีมีตอชุมชนนั้นๆ 3. จากผลการวิจัยพบวา ความรูดานสุขภาพ มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการปองกันโรคของประชาชนมากกวาพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ ดังนัน้ เพื่อใหมีประสิทธิผลของการดําเนินงานดานสุขภาพ ท่ีมีจดุมุงหมายเพื่อสุขภาวะท่ีสมบูรณแข็งแรงท้ังทางรางกายจิตใจ นาจะมีการพัฒนารูปแบบ

Page 116: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

104

ของการใหความรูท่ีเหมาะสมกับลักษณะของกลุมเปาหมาย รวมท้ังบุคลากรท่ีจะถายทอดความรูใหแกชุมชนได จะตองมีความเขาใจและมีเทคนิคในการถายทอดความรู ถึงแมจะเปนเร่ืองเดียวกนัก็ตาม ควรพยายามหาวิธีท่ีเจาะจงตอกลุมเปาหมาย เพื่อมุงหวังการสรางการรับรูและการนําไปปฏิบัติไดจริง โดยเฉพาะเพ่ือการสรางเสริมสุขภาพ 4. หนวยงานสาธารณสุขในพื้นท่ี ควรมีการนําปจจยัท่ีมีผลตอการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวยักลางคน ไปพฒันาหรือปรับรูปแบบการดําเนินงาน เพื่อการจัดฝกอบรม หรือการจดักิจกรรมบริการสุขภาพ หรือวางแผนในการจัดกิจกรรมดานสุขศึกษา ขอเสนอแนะในการทําวิจัยคร้ังตอไป 1. ควรจะมีการศึกษาเปรียบเทียบความแตกตาง ของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ท่ีแยกระหวางเพศชายและหญิง เนื่องจากปจจัยเส่ียงทางสุขภาพของท้ัง 2 เพศมีความแตกตางกนั และปจจุบันกจิกรรมดานการสงเสริมสุขภาพเชิงรุกของรัฐบาล มีหลายกจิกรรมท่ีเนนเฉพาะบางเพศ เชน การตรวจเตานมดวยตนเอง โรคมะเร็งปากมดลูก เปนตน เพื่อจะไดทราบถึงความแตกตางของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน ระหวางเพศชายและหญิง แลวนําไปวางแผนดําเนินงานเพ่ือใหสอดคลองกับนโยบายเชิงรุกในพืน้ท่ี ภายใตงบประมาณท่ีจํากัดแตเกิดประสิทธิผลท่ีดีตอประชาชน 2. ศึกษาวิจัยในตัวแปรอ่ืนๆท่ีอาจสงผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพิ่มเติม เชน คานิยมทางดานสุขภาพ ความเช่ือและวัฒนธรรมของเช้ือชาติ เปนตน เนื่องจากประชาชนมีหลากหลายชาติพันธ และมีสภาพพื้นท่ีเปนแหลงทองเท่ียว มีการเดินทางเขา-ออกของนักทองเท่ียวเปนประจํา รูปแบบของการติดตอส่ือสารท่ีเปล่ียนไป กระแสของการบริโภคอาหารเสริม เหลานี้ สงผลใหเกิดการเปล่ียนแปลงทางสังคม ซ่ึงเช่ือวายอมมีผลตอการดูแลสุขภาพของประชาชน 3. ควรมีการศึกษารูปแบบของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน ในกลุมวยัตางๆบาง เชน กลุมเยาวชน กลุมผูสูงอายุ กลุมสตรีแมบาน เปนตน โดยพิจารณาตวัแปรท่ีเกี่ยวของกับอิทธิพลของกลุมหรือชมรมในชุมชน เพื่อนําไปวางแผนการสรางเครือขายสุขภาพในสังคม 4. ควรมีการศึกษาวจิัยเพิ่มเติมในเร่ืองพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแบบองครวมของประชาชนโดยขยายกลุมเปาหมาย ถึงกลุมอายุระหวาง 20-40 ป เพือ่เปนการเตรียมความพรอมกอนท่ีจะเขาสูวัยผูสูงอายุ ตอไป

Page 117: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

105

บรรณานุกรม

กอบกุล พันธุเจริญวรกุล. ทฤษฎีการพยาบาลกับการนําไปใช. กรุงเทพมหานคร: เรือนแกวการพิมพ,2527.

กรรณิกา สุวรรณา. “ปจจยัท่ีมีความสัมพันธกับการดูแลตนเองของเด็กวยัเรียน.” วิทยานิพนธ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาเอกอนามัยครอบครัว บัณฑิตวิทยาลัย

กระทรวงสาธารณสุข. “แผนพัฒนาสาธารณสุขแหงชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550-2554)”เอกสารสรุปผลการจัดสรรงบประมาณ กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก, 2545.

กันยารัตน อุบลวรรณ. “พฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุในภาคกลางของ ประเทศไทย.” วิทยานิพนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล ผูใหญ บัณฑิตวิทยาลัย มหาลัยมหดิล, 2540.

กาญจนา เกษกาญจน.”การศึกษาพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูสูงอายุโรคเบาหวาน.” วิทยานิพนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการพยาบาลผูใหญ บัณฑิตวิทยาลัย มหาลัยมหิดล, 2541.

กิริยา ลาภเจริญวงศ.”พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสตรีวัยหมดระดู : กรณีศึกษาในเขตเมืองและชนบท จังหวัดราชบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกอนามัยครอบครัว บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยมหดิล, 2543.

จิณหจุฑา ฤทธ์ิสวัสดิ์. “รูปแบบเผชิญความเครียดท่ีไมเหมาะสมในผูติดสุรา.” วารสารสมาคม พยาบาลสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20, 2 (มีนาคม 2541):17-20. จิรประภา ภาวไิล. “การศึกษาการรับรูตอภาวะสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเองและภาวะสุขภาพ

ของปวยภายหลังผาตัดเปล่ียนล้ินหัวใจ.” วทิยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2535.

จุฬาภรณ โสตะ. “สวัสดิศึกษา.” พิมพคร้ังท่ี 2. ขอนแกน: ภาควิชาสุขศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2541. ชวนพิศ มีสวสัดิ์. “ความสัมพันธระหวางการรับรู ภาวะสุขภาพ ภาพลักษณ ความวิตกกังวลกับการ ดูแลตนเอง ของหญิงวัยรุนครรภแรก.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกอนามัยครอบครัว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2539.

Page 118: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

106

ณัฐสุภา ฉลาดสุนทรวาที.”ปจจัยท่ีสัมพนัธกับการดูแลตนเองของผูปวยภายหลังการเกิดกลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ท่ีคลินิกโรคหัวใจโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2539.

ดํารง กิจกุศล. “การออกกําลังกาย.” คูมือการออกําลังกายสําหรับประชาชน กรุงเทพมหานคร: เรือนแกวการพิมพ,2527.

ธนวรรณ อ่ิมสมบูรณ. “พฤติกรรมสุขภาพในการปองกันและควบคุมโรคอุจจาระรวง.” วิทยานพินธ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหิดล ,2539. นอมจิตต สกุลพันธ. “ความสัมพันธระหวางการสนับสนุนทางสังคม ปจจัยท่ีเกี่ยวของกับการดูแล สุขภาพตนเองของผูปวยเบาหวาน.” วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วชิาการพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหดิล, 2535. เบญจมาศ กล่ินบํารุง. “การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษาระดับประกาศนยีบัตรวิชาชีพใน วทิยาลัย สังกัดกรมอาชีวศึกษาในภาคใต.” วิทยานพินธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2544. เบญจมาศ เจริญสุข. “ความสัมพันธระหวางปจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของ

ประชาชนวยักลางคน ในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2542.

บุญเยี่ยม ตระกูลวงศ. จิตวิทยาสังคมกับการสาธารณสุข.ในเอกสารการสอนชุดวิชาสังคมวิทยาการ แพทยหนวยท่ี 9-15 สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,

64-65. นนทบุรี : 2528. ประกอบพร สินธุรัตน. “การประเมินการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ในงานสาธารณสุข

มูลฐานเขตเมือง จังหวดัพระนครศรีอยุธยา.” วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต(สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหิดล, 2542. ประภาพร จนินัทุยา.” คุณภาพชีวิตของผูสูงอายุในชมรมทางสังคมผูสูงอายุดินแดง.”วิทยานิพนธ

ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2541.

Page 119: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

107

ปรียารัตน ศักดิ์ณรงค.”การรับรูบทบาทการเปนบิดาของสามีท่ีพาภรรยามาฝากครรภ ศึกษา ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ.” วทิยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2534.

ผองศรี ศรีมรกต.”ผลของการใหคําปรึกษาแบบประคับประคองตอการรับรูภาวะความเจ็บปวย ระดบัความรูสึกมีคุณคาแหงตนและขวัญกําลังใจในผูปวยมะเร็งปากมดลูก ท่ีไดรับรังสีรักษา.”วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2536.

พรทิพา ศุภราศี.”ความสัมพันธระหวางการรับรูตอภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม กับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูปวยภายหลังผาตัดเปล่ียนล้ินหัวใจ.”วทิยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2538.

พรพิมล พงษไทย.”การดูแลสุขภาพตนเองของสตรีวัยหมดประจําเดือน.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกอนามัยครอบครัว บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2543.

พวงรัตน ทวีรัตน. “วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร.”พิมพคร้ังท่ี 8. กรุงเทพมหานคร:สํานักทดสอบทางการศึกษาและจติวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทวิโรฒ, 2543. เพ็ญรุง เกิดสุวรรณ .”ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการดูแลตนเองของสตรีวัยหมดประจําเดือน.”

ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกอนามัยครอบครัว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2541.

ไพบูลย โลหสุนทร. “คูมือสุขภาพอนามยั.” กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526. ไพโรจน พรมพันใจ.“ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพคนงานโรงงานอุตสาหกรรม

จังหวดันครราชสีมา.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหดิล, 2540.

มัลลิกา มัติโก.”การดูแลสุขภาพตนเอง ทัศนะทางสังคมและวัฒนธรรม.” กรุงเทพมหานคร: แสงแดด, 2530.

มัณฑนา อุเทน. “พฤติกรรมสุขภาพเกี่ยวกับการบริโภคอาหารหาบเรแผงลอย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปท่ี 6 โรงเรียนประถมศึกษาสังกดักรุงเทพฯ”. วทิยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2539.

Page 120: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

108

รัชนี กล่ินศรีสุข. “พฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงต้ังครรภท่ีเปนเบาหวาน.” วิทยานิพนธปริญญา วทิยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2540. ลีนา ฐิติเบญจพล. “ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษารวมกับแรงสนับสนุนทางสังคม ในการเลิก บุหร่ีของนักเรียนมัธยมศึกษาชาย จังหวัดนนทบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหิดล, 2537. ลัคนา อุยสอาด.”ปจจัยทางจติวิทยาที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภท่ีมารับ

บริการฝากครรภโรงพยาบาลศูนยนครปฐม จังหวดันครปฐม.” วิทยานพินธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546.

วนลดา ทองใจ. “ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพคนงานสตรีในโรงงานอุตสหกรรม ส่ิงหอจังหวัดปทุมธานี.” วทิยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540. วรางคณา ศิริประกายศิลป.”ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการตัดสินใจในการปองกันโรคเอดสของหญิง

มีครรภ ในจังหวัดสุพรรณบุรี.”วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2537.

วรารัตน รุงเรือง.”ปจจัยท่ีสงผลตอพฤติกรรมการสรางสุขภาพของสตรีวัยผูใหญตอนตน.” วิทยานพินธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2548.

วลิดา ศักดิ์บัณฑิตสกุล. “การสนับสนุนทางสังคมและพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของสตรีท่ีใช แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรมส่ิงทอ จังหวัดสระบุรี.” วิทยานพินธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลแมและเดก็ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวทิยาลัยมหดิล, 2541.

วาริณี เอ่ียมสวัสดิ์.”อาการของภาวะหมดประจําเดือนและปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพวัยหมดประจําเดือน.”วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2541.

วารี สายันหะ.”พฤติกรรมการสรางสุขภาพดานการออกกาํลังกายของประชาชนวยักลางคน ตอนกลาง กิ่งอําเภอบานคา จังหวดัราชบุรี.” ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวทิยาชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศลิปากร,2546.

Page 121: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

109

วิไลวรรณ ทองเจริญ และคณะ.”ปจจัยเส่ียง ความรูและพฤติกรรมการปองกันภาวะกระดูกพรุนของสตรีวัยหมดประจําเดือนและสตรีวัยกลางคน ในกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2539.

วิภาพร ศักดิ์สุริยผดุง.”แรงสนับสนุนทางสังคม จากบุคลากรสาธารณสุข ท่ีมีตอพฤติกรรมการบริโภคของสตรีวัยทอง 2547.” วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

(สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540. ศรีเรือน แกวกังวาล. จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกชวงวัย วัยรุน วัยสูงอายุ พิมพคร้ังท่ี 8. กรุงเทพมหานคร,2545. ศรีธรรม ธนะภูมิ. พัฒนาการทางอารมณและบุคลิกภาพ คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, 2535. สดใส ศรีสะอาด. “ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ จังหวัดอํานาจเจริญ.” วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540. สมจิต หนุเจริญกุล. การดูแลตนเอง ศาสตรและศิลปะในการทางพยาบาล ภาควิชาพยาบาลศาสตร

คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: วี. เจ.พร้ินต้ิง, 2536.

สํานักงานสาธารณสุขอําเภอศรีสวัสดิ์. สรุปผลการดําเนนิงานประจําป. เอกสารสรุปผลการดําเนินงานดานสาธารณสุข กาญจนบุรี: ม.ป.ท. 2543.(อัดสําเนา)

สํานักงานสาธารณสุขอําเภอศรีสวัสดิ์. แบบขอมูลพื้นฐานในพืน้ท่ีรับผิดชอบ ประจําป 2548. ม.ป.ท.,2549. (อัดสําเนา) สุกัญญา ไผทโสภณ. “พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของเจาหนาท่ีสาธารณสุข จังหวัดอุทัยธานี.“ วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอก สุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหดิล, 2540. สุชา จันทรเอม. วัยรุน. กรุงเทพมหานคร: อักษรบัณฑติ,2541. สุทธินิจ หุณฑสาร. “ปจจยัท่ีมีอิทธิพลตอการสงเสริมสุขภาพของสตรีวยัหมดประจําเดือนเขต ชนบท จังหวัดนนทบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2539.

Page 122: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

110

สุธีรัตน แกวประโลม.”ความสัมพันธระหวางความรูสึกมีคุณคาในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวานสูงอายใุนโรงพยาบาลอุตรดิตถ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ.”วทิยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(สาธารณสุขศาสตร)

สาขาวิชาเอกพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2538. สุพร พร้ิงเพริศ.”ความสัมพันธระหวางการรับรูภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรม

การดูแลตนเองของผูปวยภายหลังผาตัดหลอดเลือดแดงโคโรนารี ท่ีมารับบริการท่ีโรงพยาบาลศิริราช.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2538. สุพัฒน ธีรเวชเจริญชัย. ยาและส่ิงเสพยติดใหโทษ. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานชิ, 2534. สุภาณี สันตยากร. “ยาสูบ ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม.” วารสารบุหร่ีกับสุขภาพ 7, 3 (พฤษภาคม 2541) : 71. สุรางค จันทรเอม. จิตวิทยาพัฒนาการ. พมิพคร้ังท่ี 2 . กรุงเทพมหานคร: อักษรบัณฑติ , 2527. สุรพล พยอมแยม. ปฎิบัติการจิตวิทยาในงานชุมชน. กาญจนบุรี: สหายพัฒนาการพมิพ, 2545. สุรีย โอภาสศิริวิทย. “ความสัมพันธระหวางการรับรูและปจจยับางประการกับการดแูลตนเองของ

หญิงต้ังครรภ.”วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2531. สุวลักษณ มีชูทรัพย.”ปจจยัท่ีมีผลตอพฤติกรรมของบิดาในการเล้ียงดบุูตรคนแรก.” วิทยานพินธ

ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2544.

สุวารี สุขุมาลวรรณ.”ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ในโครงการ สาธารณสุขมูลฐาน : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดนครนายก.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกบริหารสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2533.

หวานใจ ขาวพัฒนวรรณ. “พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา หมูบานในจังหวัดนครปฐม.” วิทยานพินธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ประชากรศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543. อภิรยา พานทอง.”ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของสตรีวัยหมดประจําเดือน.”

วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอกพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540.

Page 123: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

111

อรทัย ธรรกันมา.”ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพในหญิงต้ังครรภท่ีมีภาวะเส่ียง.”วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540.

อังคณา นวลยง.”ความสัมพันธระหวางการรับรูเกี่ยวกับโรค การสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงต้ังครรภท่ีมีความดันโลหิตสูงเนื่องจากการต้ังครรภ.” วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2535.

อัมพร โอตระกูล. สุขภาพจิต. กรุงเทพมหานคร: นําอักษรการพิมพ, 2538. อินทราพร พรมปราการ. “ความสัมพันธระหวางการรับรู ภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคมกับ การดูแลตนเองของผูสูงอายุท่ีปวยเปนโรคเบาหวานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวดั อางทอง.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกอนามัยครอบครัว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2541. อุไรวรรณ บุญสาลีพิทักษ. “การปฎิบัติงานตามบทบาทหนาท่ีของอาสาสมัครสาธารณสุขในศูนย

สาธารณสุขมูลฐานชุมชน จังหวัดลพบุรี.”วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกบริหารสาธารณสุข บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยมหดิล, 2542. อุนจิต บุญสม.”ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ.”วิทยานิพนธปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยมหดิล, 2540.

เอ้ือมพร ทองกระจาย.การดูแลสุขภาพตนเอง แนวคดินโยบายและกลยทุธ เพื่อการพัฒนาสาธารณสุข. นครปฐม: ศูนยการศึกษานโยบายสาธารณสุข คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2533.

ภาษาอังกฤษ Cobb , Sidney. Psychosomatic Medicine. New Jersey: Prentice Hall, 1976. Orem, D.E. Nursing : Concepts of practice. New York: Mc Graw-Hill Book,1985. Pender, N.J., et al. Predicting Health-Promoting lifestyles in the workplace. Nursing research

61-64 (1990): 326-332.

Page 124: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

112

ภาคผนวก

Page 125: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

113

ภาคผนวก ก

แบบสัมภาษณท่ีใชสําหรับการศึกษาวิจัย

Page 126: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

114

แบบสัมภาษณ

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี

คําอธิบายประกอบแบบสัมภาษณ

1. แบบสัมภาษณนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใชประกอบการศึกษาวิทยานพินธ ปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวทิยาชุมชน เร่ือง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยเก็บรวบรวมขอมูลท่ีไดจากความรู ความคิดเห็น ตลอดจนขอเท็จจริง เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน ในอําเภอศรีสวัสดิ ์จังหวดักาญจนบุรี

2. ขอมูลท่ีไดรับจากแบบสัมภาษณนี้ ผูวจิัยจะถือเปนความลับ โดยผูตอบไมตองเขียนช่ือและ ท่ีอยูลงในแบบสัมภาษณ เพราะขอมูลท่ีได จะนําไปวเิคราะหและนาํเสนอเปนภาพรวม ไมมีการระบุตัวบุคคลโดยเด็ดขาด จึงขอความรวมมือใหทาน ตอบคําถามตามความเปนจริง และตอบใหครบทุกขอ เพื่อใหไดขอมูลท่ีสมบูรณ และสามารถใชประโยชนในการศึกษาไดจริง

3. แบบสัมภาษณมีจํานวน 14 หนา แบงออกเปน 5 สวน ประกอบดวย สวนท่ี 1 แบบสัมภาษณขอมูลสวนบุคคล จํานวน 6 ขอ สวนท่ี 2 แบบสัมภาษณความรูดานสุขภาพ จํานวน 35 ขอ สวนท่ี 3 แบบสัมภาษณการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ

จํานวน 16 ขอ สวนท่ี 4 แบบสัมภาษณการรับรูภาวะสุขภาพตนเอง จาํนวน 13 ขอ สวนท่ี 5 แบบสัมภาษณพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง จํานวน 29 ขอ ผูวิจัยขอขอบคุณผูใหสัมภาษณทุกทาน ท่ีกรุณาใหความรวมมือในการตอบแบบสัมภาษณการวิจัยในคร้ังนี ้

นายจรุง วรบุตร

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน

ภาควิชาจติวทิยาและการแนะแนว

Page 127: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

115

แบบสัมภาษณ เร่ือง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคน

อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี

สวนท่ี 1 แบบสัมภาษณขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสัมภาษณ คําอธิบาย โปรดทําเคร่ืองหมาย / ในวงเล็บ ( ) ท่ีตรงกับคําตอบของผูใหสัมภาษณ สําหรับ และเติมขอความลงในชองวางใหสมบูรณทุกขอ ผูวิจัย

1. ผูตอบ ( ) 1. เพศชาย ( ) 2. เพศหญิง 01

2. ปจจุบันทานอายุ ( ) 1. อายุ 40-44 ป ( ) 2. อายุ 45-49 ป ( ) 3. อายุ 50-54 ป ( ) 4. อายุ 55-60 ป 02 3. รายไดของทานและครอบครัวในแตละเดือน เปนอยางไร ( ) 1. ไมเพียงพอ

( ) 2. เพียงพอแตไมเหลือเก็บ 03 ( ) 3. เพียงพอและเหลือเกบ็บาง

4. ทานจบการศึกษาสูงสุดระดับใด ( ) 1. ประถมศึกษาหรือตํ่ากวา

( ) 2. มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา 04 ( ) 3. มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา

( ) 4. สูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย 5. ปจจุบันทานประกอบอาชีพหลัก คือ ( ) 1. เกษตรกรรม (ทําไร ทํานา ทําสวน)

( ) 2. การประมง 05 ( ) 3. ธุรกิจทองเท่ียว

( ) 4. อ่ืนๆ (ระบุ) …………………… 6. ภาวะสุขภาพรางกายของทาน ปจจุบัน เปนอยางไร ( ) 1. สมบูรณแข็งแรง ไมมีโรคเร้ือรังประจําตัว 06

( ) 2. มีโรคเร้ือรังประจําตัว

Page 128: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

116

สวนท่ี 2 แบบสัมภาษณความรูดานสุขภาพ คําอธิบาย โปรดใหคําตอบ “ถูก” ในขอท่ีทานเห็นวาถูกตอง และใหคําตอบ “ผิด” ในขอท่ีทานเหน็ วาไมถูกตอง โดยทําเคร่ืองหมาย / ลงในชองทายขอความ

ขอท่ี ขอคําถาม ถูก ผิด สําหรับผูวิจัย

1 เนื้อสัตวตางๆ ไขและถ่ัว มีประโยชนตอรางกายท่ีสําคัญ คือชวยใหรางกายขับถายเปนปกติ

K 1

2 กากใยอาหารในพืชผักและผลไม ไมมีประโยชนตอรางกาย เพราะไมมีสารอาหาร

K 2

3 การกินอาหารในแตละมื้อ ควรเลือกเพยีงอยางเดยีวหรือ เฉพาะท่ีเราชอบก็พอ

K 3

4 การกินไขมันท่ีมาจากพืช จะมีอันตรายตอสุขภาพมากกวา ไขมัน ท่ีมาจากสัตว

K 4

5 ผูท่ีปวยเปนโรคความดันโลหิตสูง ควรงดกินอาหารรสเค็ม K 5

6 โทษภัยของยาฆาแมลงท่ีเจอืปนในอาหาร ท่ีมีตอรางกาย คือทํา ใหอวน

K 6

7 การออกกําลังกายท่ีใหประโยชนตอรางกาย คือจะตองปฏิบัติ อยางนอยสัปดาหละ 3 วันๆละ 30 นาที

K 7

8 การออกําลังกายทุกรูปแบบ ชวยปองกันโรคหัวใจได

K 8

9 ผูท่ีมีอายุมากข้ึน ไมควรออกกําลังกายเพราะอาจเกดิอุบัติเหต ุ หรือ หกลมได

K 9

10 ผูท่ีทํางานเหนื่อยมาท้ังวนัแลว ไมจําเปนตองออกกําลังกายอีก K 10

11 การออกกําลังกายท่ีทําใหปอดและหวัใจทํางานหนักข้ึนกวาเดิม จะทําใหรางกายเส่ือมโทรมเร็วข้ึน

K 11

12 หลังจากออกกําลังกายหรือทํางานจนเหง่ือโทรมกายใหมๆ ควร รีบรับประทานอาหารหรือดืม่น้ําทันที

K 12

Page 129: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

117

ขอท่ี ขอคําถาม ถูก ผิด สําหรับผูวิจัย

13 การสูบบุหร่ีเปนประจํา เปนสาเหตุหนึ่งท่ีทําใหเกิดโรคหัวใจ ขาดเลือด และเหนื่อยหอบเร็ว

K 13

14 ควันบุหร่ี ไมมีอันตรายตอผูอยูใกลชิด

K 14

15 กฎหมายกําหนดใหรานคาหามจําหนายบุหร่ีแกผูท่ีอายตุ่ํากวา 20 ป

K 15

16 การรับประทานผักสดและผลไมสดมากๆ มีประโยชนตอผูท่ี กําลังเลิกสูบบุหร่ี

K 16

17 การดื่มเหลา เปนสาเหตุใหเกิดโรคเบาหวาน

K 17

18 กฎหมายกําหนดใหโฆษณาเหลาและเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลได เฉพาะในชวงเวลา 22.00-05.00 น.เทานั้น

K 18

19 สาเหตุของความเครียด เกดิจากความยากจนในครอบครัวเทานั้น

K 19

20 ผลกระทบของความเครียด คือ ทําใหเกดิภาวะอารมณแปรปรวน

K 20

21 ความเครียด กอใหเกดิความผิดปกติของระบบยอยอาหารได เชน ทองอืดทองเฟอ และอาหารไมยอย เปนตน

K 21

22 ความเครียดเพยีงเล็กนอย มีประโยชนตอรางกายได เพราะจะทําใหชีวติมีความกระตือรือรน

K 22

23 วิธีคลายเครียดท่ีดีท่ีสุด คือการรับประทานยาคลายเครียด K 23

24 การหาทางออกท่ีดีท่ีสุด เม่ือมีความไมสบายใจคือ การพดูคุย หรือปรึกษาหารือกับผูอ่ืนท่ีเราไววางใจ

K 24

25 การสวมหมวกนิรภยัอยางถูกตองขณะขับข่ี คือตองสวมใหพอดี กับศีรษะแตไมจําเปนตองใชสายรัดใตคางก็ได

K 25

26 การสวมหมวกนิรภยั จะชวยลดความรุนแรงจากการบาดเจ็บท่ี ศีรษะและใบหนา เม่ือเกิดอุบัติเหตุขณะขับข่ีรถจักรยานยนต

K 26

Page 130: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

118

ขอท่ี ขอคําถาม ถูก ผิด สําหรับผูวิจัย

27 การดื่มสุรา ทําใหความสามารถในการขับข่ียานพาหนะลดลง

K 27

28 ขณะขับข่ีรถจกัรยานยนต ผูท่ีนั่งซอนทายไมจําเปนตองสวม หมวกนิรภยักไ็ด ไมถือวาผิดกฎหมายราจร

K 28

29 การเปดสัญญาณไฟหนาขณะขับข่ีรถจักรยานยนตตอนกลางวัน เพื่อชวยใหผูอ่ืนมองเห็นเราไดชัดเจนขึ้น

K 29

30 โรคไมติดตอ คือโรคท่ีไมไดเกิดจากเช้ือโรค แตมีสาเหตุ สวนใหญ เกดิจากการปฏิบัติตนในชีวิตประจําวนัท่ีไมถูกตอง

K 30

31 โรคเบาหวานและโรคหัวใจ จัดเปนโรคไมติดตอ

K 31

32 ยุงกนปลองเปนพาหะนําโรคไขเลือดออกมาสูคน

K 32

33 การใชชอนกลางตักอาหาร เปนวิธีหนึ่งท่ีจะชวยยับยั้งการแพร ระบาดของโรคทองรวงทองเสียได

K 33

34 ผูท่ีเปนโรคกระเพาะอาหารอักเสบ หามรับประทานยาแกปวด ลดไขท่ีมีแอสไพรินผสมอยู

K 34

35 ผูท่ีมีปญหาสุขภาพจิต จะไมสามารถรักษาใหหายขาดได

K 35

Page 131: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

119

สวนท่ี 3 แบบสัมภาษณการไดรับการสนบัสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ คําอธิบาย ตอบคําถามโดยทําเคร่ืองหมาย / ลงในชองท่ีตรงกับระดับความเปนจริงท่ีทานไดรับการ สนับสนุน การดูแลชวยเหลือหรือการใหบริการ จาก เจาหนาท่ีสาธารณสุข อาสาสมัคร สาธารณสุข หรือ ผูนําชุมชน ในรอบ 1 เดือนท่ีผานมา ในเรื่องตอไปนี้ อยางไร โดยเลือกตอบเพียงขอละ 1 ตัวเลือก คําตอบมี 3 ตัวเลือก ดังนี้

ไดรับมาก หมายถึง ไดรับการดูแลชวยเหลือเปนประจําหรือบอยคร้ัง (ประมาณสัปดาหละอยางนอย 1 คร้ัง)

ไดรับปานกลาง หมายถึง ไดรับการดูแลชวยเหลือนานๆคร้ัง (ประมาณ 2 สัปดาหตอคร้ัง)

นอยหรือไมเคย หมายถึง ไมเคยไดรับการดูแลชวยเหลือในเร่ืองนั้นๆเลย

ระดับการไดรับการสนับสนุน

ขอท่ี

ในรอบ 1 เดือนท่ีผานมา ทานไดรับการสนับสนุน หรือดูแลชวยเหลือ ในดานตอไปนี้ เพยีงใด มาก ปาน

กลาง นอยหรือ ไมเคย

สําหรับผูวิจัย

1 ไดรับคําแนะนําท่ีเกี่ยวกับวธีิการออกกําลังกาย ท่ี เหมาะสมตอสุขภาพ

SS 1

2 ไดรับคําแนะนําให ลด ละ เลิก การสูบบุหร่ี การดื่มเหลา หรือเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล

SS 2

3 ไดรับคําแนะนําหรือการชวยเหลือ เม่ือมีปญหาหรือ ความไมสบายใจเกิดข้ึน

SS 3

4 ไดรับคําแนะนําเร่ืองการขับข่ีรถใหปลอดภัย

SS 4

5 ไดรับคําแนะนําท่ีเกี่ยวกับการปองกันโรคติดตอ ตางๆในหมูบาน

SS 5

6 ทานไดรับคําแนะนําใหตรวจสุขภาพ เชน วัดความ ดันโลหิต ตรวจเบาหวาน

SS 6

7 ไดรับแจกทรายอะเบทใหใสในน้ํา เพื่อกําจัดลูกน้ํา ยุงลาย

SS 7

Page 132: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

120

ระดับการไดรับการสนับสนุน

ขอท่ี

ในรอบ 1 เดือนท่ีผานมา ทานไดรับการสนับสนุน หรือดูแลชวยเหลือ ในดานตอไปนี้ เพยีงใด มาก ปาน

กลาง นอยหรือ ไมเคย

สําหรับผูวิจัย

8 มีผูท่ีจะพาไปรับการรักษาพยาบาลไดเม่ือทานเกิด การเจ็บปวย

SS 8

9 ไดรับแจกเอกสารหรือแผนพับความรู ท่ีเปน ประโยชนตอสุขภาพ

SS 9

10 ไดรับการข้ึนทะเบียนเปนผูมีสิทธิ ในดานการ รักษาพยาบาล ตามหลักประกันสุขภาพถวนหนา

SS 10

11 เม่ือเจ็บปวยแลวไปรับการรักษาพยาบาล หมอจะ ใหยามากิน

SS 11

12 ไดรับบริการตรวจวดัความดันโลหิตและเบาหวาน

SS 12

13 ไดเขารวมในกิจกรรมรณรงคตางๆทางสุขภาพ อนามัย ซ่ึงเจาหนาท่ีสาธารณสุขหรือ อสม.จัดข้ึน ในหมูบาน

SS 13

14 มีเจาหนาท่ีสาธารณสุข หรือ อสม.มาเยี่ยมเยียน ทานท่ีบาน

SS 14

15 เพื่อนบานมาสํารวจภาชนะขังน้ําในบานทาน เพื่อ สํารวจหาและกําจดัลูกน้ํายงุลาย

SS 15

16 ทุกคร้ังท่ีทานไปช่ังน้ําหนกั วัดความดนัโลหิต หรือ ตรวจหาเบาหวาน เจาหนาท่ีสาธารณสุขจะบอกผล การตรวจและคําแนะนําในการปฏิบัติตัว

SS 16

Page 133: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

121

สวนท่ี 4 แบบสัมภาษณเก่ียวกับการรับรูภาวะสุขภาพตนเอง คําอธิบาย ตอบคําถามโดยใหทําเคร่ืองหมาย / ลงในชองทายขอความที่ตรงกับระดับการรับรู เกี่ยวกับภาวะสุขภาพของทาน วามากหรือนอยเพยีงใด โดยเลือกตอบเพียงขอละ 1 ตัวเลือก คําตอบมี 3 ตัวเลือก ดังตอไปนี ้

มาก หมายถึง ทานรับรูวาขอความนั้น ตรงกับความเปนจริง ในระดับมาก

ปานกลาง หมายถึง ทานรับรูวาขอความนั้น ตรงกับความเปนจริง ในระดับปานกลาง

นอยหรือไมจริงเลย หมายถึง ทานรับรูวาขอความนั้น ตรงกับความเปนจริง ในระดับนอยหรือไมเปนความจริงเลย

ระดับการรับรู

ขอท่ี

ทานรับรูเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของทาน ในดาน

ตอไปนี้ อยางไร มาก ปานกลาง

นอยหรือไมจริงเลย

สําหรับ ผูวิจัย

1 ถึงแมสภาพอากาศจะเปล่ียนแปลงบอย ก็ไมทํา ใหทาน เจ็บปวยไดงายๆ

SP 1

2 ทานคิดวา มีความเปนไปไดท่ีทานจะเจ็บปวย ดวยโรคเบาหวาน ความดนัโลหิตสูง

SP 2

3 ทานรูสึกวาตนเองอวนเกินไป SP 3

4 การดูแลสุขภาพรางกายใหแข็งแรงเปนประจํา ไมเปนเร่ืองยุงยาก

SP 4

5 การสูบบุหร่ี จะชวยใหรางกายรูสึกผอนคลาย หายเหนื่อย

SP 5

6 ทานก็จะออกกําลังกาย เฉพาะเม่ือมีเวลาวาง SP 6

7 ทานมีอาการของโรคกระดูกเส่ือมและขอเส่ือม SP 7

8 ชีวิตประจําวนัของทาน มีความสุขด ี

SP 8

Page 134: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

122

ระดับการรับรู

ขอท่ี

ทานรับรูเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของทาน ในดาน

ตอไปนี้ อยางไร มาก ปานกลาง

นอยหรือไมจริงเลย

สําหรับ ผูวิจัย

9 ปญหาในครอบครัว ไมทําใหทานตองเปนหวง และกังวลใจ

SP 9

10 ทานไมรูสึกกังวลใจเกีย่วกบัสุขภาพ SP 10

11 เม่ือทานเครียดหรือไมสบายใจ มักจะมึนงง ปวดศีรษะ

SP 11

12 มีความรูสึกนอยใจและเศราใจ ท่ีไมมีใครให ความสําคัญหรือยกยองแกทาน

SP 12

13 ตอนกลางคืน ทานจะนอนไมหลับเปนประจํา SP 13

Page 135: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

123

สวนท่ี 5 แบบสัมภาษณเก่ียวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

คําอธิบาย ตอบคําถามโดยทําเคร่ืองหมาย / ลงในชองทายขอความ ท่ีตรงกับการปฏิบัติหรือการกระทํา ของทานวาบอยเพียงใด โดยเลือกตอบเพียงขอละ 1 ตัวเลือก คําตอบมี 3 ตัวเลือก ดังนี ้ ปฏิบัติประจํา หมายถึง ทานปฏิบัติในเร่ืองนั้นๆเปนประจํา สมํ่าเสมอ หรือ ประมาณ 3-7 วัน ตอสัปดาห ปฏิบัติบางคร้ัง หมายถึง ทานปฏิบัติในเร่ืองนั้นๆ เปนบางคร้ัง ไมสมํ่าเสมอ หรือ ประมาณ 1-2 วันตอสัปดาห ไมเคยปฏิบัตเิลย หมายถึง ทานไมเคยปฏิบัติในเร่ืองนั้นๆเลยในหนึ่งสัปดาห

ระดับการปฏิบัติ ขอท่ี

ทานปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพตนเองใน ดานตอไปนี้ อยางไร

ปฏิบัติประจํา

ปฏิบัติบางคร้ัง

ไมเคยปฏิบัติเลย

สําหรับผูวิจัย

พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ 1 ทานลางมือใหสะอาดกอนกินอาหาร

HC 1 2 กอนท่ีจะเลือกซ้ืออาหารแปรรูป เชน อาหาร

กระปอง นม น้ําปลา เปนตน ทานจะดูกอนวา มีเคร่ืองหมาย อ.ย.หรือไม

HC 2

3 เม่ือทานซ้ือผักสด ผลไมสด ทานจะลางให สะอาด ดวยน้าํจํานวนมาก กอนนํามากนิ

HC 3

4 ทานออกกําลังกายทุกสัปดาหๆละ 3 คร้ังๆละ อยางนอย 30 นาที

HC 4

5 ทานตรวจสุขภาพกอนการออกกําลังกายทุกคร้ัง

HC 5

6 เม่ือเสร็จส้ินการออกกําลังกาย ทานจะดื่มน้ํา ทันที

HC 6

7 ท่ีไมดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล เพราะคิดวา มัน ไมไดชวยลดความกลุมใจหรือไมสบายใจ

HC 7

Page 136: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

124

ระดับการปฏิบัติ ขอท่ี

ทานปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพตนเองใน ดานตอไปนี้ อยางไร

ปฏิบัติประจํา

ปฏิบัติบางคร้ัง

ไมเคยปฏิบัติเลย

สําหรับผูวิจัย

8 เม่ือมีปญหาสุขภาพ ทานจะไปพูดคุยกับ เจาหนาท่ีสาธารณสุข หรือ อสม.

HC 8

9 ทานสามารถพูดใหคนอ่ืนเขาใจในความรูสึก และความตองการของทานได

HC 9

10 ทานใหสัญญาณทุกคร้ัง กอนเล้ียวรถ

HC 10

11 ทานสวมหมวกนิรภยัหรือคาดเข็มขัดนิรภยัทุก คร้ัง ท่ีขับข่ีรถ

HC 11

12 กอนขับข่ีรถทุกคร้ัง มีการตรวจเช็คสภาพความ พรอมของรถ เชน เบรก ยาง ไฟ กระจกสอง

HC 12

พฤติกรรมการปองกันโรค 13 ทานปรับปรุงและดแูลบานใหสะอาดเปน

ระเบียบนาอยู

HC 13 14 มีการกําจัดแหลงเพาะพันธุลูกน้ํายุงลายท่ีบาน

ของทาน

HC 14 15 ทานกําจัดขยะมูลฝอยท่ีบาน เพื่อมิใหเกดิการ

หมักหมม สกปรก

HC 15 16 ทานดื่มน้ําสะอาด

HC 16 17 ทานจะปรุงอาหารใหสุกกอนรับประทาน

HC 17 18 ทานจะไมรับประทานอาหารท่ีมีแมลงวันไต

ตอม

HC 18

19

ทานใชชอนกลางในการตักอาหารรับประทาน

HC 19

Page 137: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

125

ระดับการปฏิบัติ ขอท่ี

ทานปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพตนเองใน ดานตอไปนี้ อยางไร

ปฏิบัติประจํา

ปฏิบัติบางคร้ัง

ไมเคยปฏิบัติเลย

สําหรับผูวิจัย

20 ทานสวมรองเทา เม่ือไปเดินในสถานท่ีตางๆ

HC 20

21 ทานไปรับการตรวจวดัความดันโลหิตสูง หรือ เบาหวาน

HC 21

22 ในแตละป ทานไดรับบริการตรวจสุขภาพ ประจําป

HC 22

23 ทานใหความรวมมือกับชุมชน ในการทํากิจกรรม พัฒนาหมูบาน

HC 23

24 ทานพยายามหลีกเล่ียงส่ิงท่ีจะทําใหเกดิการ เจ็บปวยหรือเปนอันตรายตอสุขภาพ

HC 24

25 ทานรับประทานอาหารตรงเวลา

HC 25

26 ทานทําจิตใจใหสดช่ืน ราเริง อารมณดีอยูเสมอ

HC 26

27 ทานรักษาน้ําหนักตวั ใหอยูในเกณฑท่ีพอเหมาะ

HC 27

28 ทานออกกําลังกายท่ีเหมาะสมกับสภาพรางกาย

HC 28

29 ทานรับประทานอาหารจําพวกผักและผลไม

HC 29

Page 138: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

126

ภาคผนวก ข

คาเฉล่ีย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาระดับของแบบสัมภาษณ จําแนกเปนรายดานและรายขอ

Page 139: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

127

ตารางท่ี 23 แสดงคาเฉล่ีย ( X ) คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคาระดับ ของการไดรับการสนับสนุนดานขอมูล ส่ิงของและบริการ ของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี จําแนกรายขอ

ระดับการไดรับการสนับสนุน ขอ ท่ี การไดรับการสนับสนุนขอมูล ส่ิงของและการบริการ

X

S.D. ระดับ

1 ไดรับคําแนะนําท่ีเกี่ยวกับวธีิการออกกําลังกาย ท่ี เหมาะสมตอสุขภาพ

2.08 .606 ปานกลาง

2 ไดรับคําแนะนําให ลด ละ เลิก การสูบบุหร่ี การดื่มเหลา หรือเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล 2.34 .680 มาก

3 ไดรับคําแนะนําหรือการชวยเหลือ เม่ือมีปญหาหรือ ความไมสบายใจเกิดข้ึน 2.01 .599 ปานกลาง

4 ไดรับคําแนะนําเร่ืองการขับข่ีรถใหปลอดภัย

2.25 .665 ปานกลาง

5 ไดรับคําแนะนําท่ีเกี่ยวกับการปองกันโรคติดตอ ตางๆในหมูบาน 2.40 .556 มาก

6 ทานไดรับคําแนะนําใหตรวจสุขภาพ เชน วัดความ ดันโลหิต ตรวจเบาหวาน 2.47 .636 มาก

7 ไดรับแจกทรายอะเบทใหใสในน้ํา เพื่อกําจัดลูกน้ํา ยุงลาย

2.49 .632 มาก

8 มีผูท่ีจะพาไปรับการรักษาพยาบาลไดเม่ือทานเกิด การเจ็บปวย

2.37 .614 มาก

9 ไดรับแจกเอกสารหรือแผนพับความรู ท่ีเปน ประโยชนตอสุขภาพ 2.15 .664 ปานกลาง

10 ไดรับการข้ึนทะเบียนเปนผูมีสิทธิ ในดานการ รักษาพยาบาล ตามหลักประกันสุขภาพถวนหนา 2.67 .561 มาก

11 เม่ือเจ็บปวยแลวไปรับการรักษาพยาบาล หมอจะ ใหยามากิน

2.69 .506 มาก

Page 140: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

128

ตารางท่ี 23 (ตอ)

ระดับการไดรับการสนับสนุน ขอ ท่ี

การไดรับการสนับสนุนขอมูล ส่ิงของและการบริการ

X

S.D. ระดับ

12 ไดรับบริการตรวจวดัความดันโลหิตและเบาหวาน 2.35 .633 มาก

13 ไดเขารวมในกิจกรรมรณรงคตางๆทางสุขภาพ อนามัย ซ่ึงเจาหนาท่ีสาธารณสุขหรือ อสม.จัดข้ึน ในหมูบาน

2.23 .667 ปานกลาง

14 มีเจาหนาท่ีสาธารณสุข หรือ อสม.มาเยี่ยมเยียน ทานท่ีบาน 2.00 .684 ปานกลาง

15 เพื่อนบานมาสํารวจภาชนะขังน้ําในบานทาน เพื่อ สํารวจหาและกําจดัลูกน้ํายงุลาย

2.12 .713 ปานกลาง

16 ทุกคร้ังท่ีทานไปช่ังน้ําหนกั วัดความดนัโลหิต หรือ ตรวจหาเบาหวาน เจาหนาท่ีสาธารณสุขจะบอกผล การตรวจและคําแนะนําในการปฏิบัติตัว

2.51 .595 ปานกลาง

Page 141: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

129

ตารางท่ี 24 แสดงคาเฉล่ีย ( X ) คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคาระดับ ของการรับรูภาวะสุขภาพตน ของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี จําแนกรายขอ

ระดับการรับรู ขอ ท่ี การรับรูภาวะสุขภาพของตน

X

S.D. ระดับ

1 ถึงแมสภาพอากาศจะเปล่ียนแปลงบอย ก็ไมทํา ใหทาน เจ็บปวยไดงายๆ 2.14 .761 ปานกลาง

2 ทานคิดวา มีความเปนไปไดท่ีทานจะเจ็บปวย ดวยโรคเบาหวาน ความดนัโลหิตสูง

2.22 .724 ปานกลาง

3 ทานรูสึกวาตนเองอวนเกินไป

1.93 .716 ปานกลาง

4 การดูแลสุขภาพรางกายใหแข็งแรงเปนประจํา ไมเปนเร่ืองยุงยาก 2.25 .738 ปานกลาง

5 การสูบบุหร่ี จะชวยใหรางกายรูสึกผอนคลาย หายเหนื่อย .199 .760 ปานกลาง

6 ทานก็จะออกกําลังกาย เฉพาะเม่ือมีเวลาวาง

.181 .775 ปานกลาง 7 ทานมีอาการของโรคกระดูกเส่ือมและขอเส่ือม

.202 .847 ปานกลาง

8 ชีวิตประจําวนัของทาน มีความสุขด ี

.216 .679 ปานกลาง

9 ปญหาในครอบครัว ไมทําใหทานตองเปนหวง และกังวลใจ

.212 .661 ปานกลาง

10 ทานไมรูสึกกังวลใจเกีย่วกบัสุขภาพ

.202 .634 ปานกลาง

11 เม่ือทานเครียดหรือไมสบายใจ มักจะมึนงง ปวดศีรษะ .220 .622 ปานกลาง

12 มีความรูสึกนอยใจและเศราใจ ท่ีไมมีใครให ความสําคัญหรือยกยองแกทาน .244 .699 มาก

13 ตอนกลางคืน ทานจะนอนไมหลับเปนประจํา

.242 .730 มาก

Page 142: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

130

ตารางท่ี 25 แสดงคาเฉล่ีย ( X ) คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคาระดับ ของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของประชาชนวัยกลางคน อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี จําแนกรายขอ

ระดับการปฏิบัติ ขอ ท่ี พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

X

S.D. ระดับ

พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ

2.29 .30 ปานกลาง

1 ทานลางมือใหสะอาดกอนกินอาหาร

2.64 .549 มาก

2 กอนท่ีจะเลือกซ้ืออาหารแปรรูป เชน อาหาร กระปอง นม น้ําปลา เปนตน ทานจะดูกอนวา มีเคร่ืองหมาย อ.ย.หรือไม

2.55 .640 มาก

3 เม่ือทานซ้ือผักสด ผลไมสด ทานจะลางให สะอาด ดวยน้าํจํานวนมาก กอนนํามากนิ

2.70 .501 มาก

4 ทานออกกําลังกายทุกสัปดาหๆละ 3 คร้ังๆละ อยางนอย 30 นาที

2.07 .757 ปานกลาง

5 ทานตรวจสุขภาพกอนการออกกําลังกาย

1.70 .736 ปานกลาง

6 เม่ือเสร็จส้ินการออกกําลังกาย ทานจะดื่มน้ําทันที

.203 .742 ปานกลาง 7 ท่ีไมดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล เพราะคิดวา มัน

ไมไดชวยลดความกลุมใจหรือไมสบายใจ 1.92 .833 ปานกลาง

8 เม่ือมีปญหาสุขภาพ ทานจะไปพูดคุยกับ เจาหนาท่ีสาธารณสุข หรือ อสม. 2.26 .643 ปานกลาง

9 ทานสามารถพูดใหคนอ่ืนเขาใจในความรูสึก และความตองการของทานได 2.28 .549 ปานกลาง

10 ทานใหสัญญาณทุกคร้ัง กอนเล้ียวรถ

2.62 .592 มาก 11 ทานสวมหมวกนิรภยัหรือคาดเข็มขัดนิรภยัทุก

คร้ัง ท่ีขับข่ีรถ 2.38 .719 มาก

12 กอนขับข่ีรถทุกคร้ัง มีการตรวจเช็คสภาพความ พรอมของรถ เชน เบรก ยาง ไฟ กระจกสอง 2.37 .697 มาก

Page 143: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

131

ตารางท่ี 25 (ตอ)

ระดับการปฏิบัติ ขอ ท่ี พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

X

S.D. ระดับ

พฤติกรรมการปองกันโรค

2.53 .27 มาก

13 ทานปรับปรุงและดแูลบานใหสะอาดเปน ระเบียบนาอยู

2.60 .536 มาก

14 มีการกําจัดแหลงเพาะพันธุลูกน้ํายุงลายท่ีบาน ของทาน 2.57 .566 มาก

15 ทานกําจัดขยะมูลฝอยท่ีบาน เพื่อมิใหเกดิการ หมักหมม สกปรก 2.55 .579 มาก

16 ทานดื่มน้ําสะอาด

2.80 .453 มาก

17 ทานจะปรุงอาหารใหสุกกอนรับประทาน

2.88 .331 มาก

18 ทานจะไมรับประทานอาหารท่ีมีแมลงวันไตตอม

2.70 .594 มาก

19

ทานใชชอนกลางในการตักอาหารรับประทาน

2.60 .550 มาก

20 ทานสวมรองเทา เม่ือไปเดินในสถานท่ีตางๆ

2.89 .321 มาก

21 ทานไปรับการตรวจวดัความดันโลหิตสูง หรือ เบาหวาน 2.28 .678 ปานกลาง

22 ในแตละป ทานไดรับบริการตรวจสุขภาพ ประจําป 2.15 .713 ปานกลาง

23 ทานใหความรวมมือกับชุมชน ในการทํากิจกรรม พัฒนาหมูบาน

2.47 .575 มาก

24 ทานพยายามหลีกเล่ียงส่ิงท่ีจะทําใหเกดิการ เจ็บปวยหรือเปนอันตรายตอสุขภาพ

2.53 .539 มาก

25 ทานรับประทานอาหารตรงเวลา

2.30 .579 ปานกลาง

Page 144: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

132

ตารางท่ี 25 (ตอ)

ระดับการปฏิบัติ ขอ ท่ี พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

X

S.D. ระดับ

26 ทานทําจิตใจใหสดช่ืน ราเริง อารมณดีอยูเสมอ

2.48 .534 มาก

27 ทานรักษาน้ําหนักตวั ใหอยูในเกณฑท่ีพอเหมาะ

2.30 .601 ปานกลาง

28 ทานออกกําลังกายท่ีเหมาะสมกับสภาพรางกาย

2.31 .593 ปานกลาง

29 ทานรับประทานอาหารจําพวกผักและผลไม

2.59 .548 มาก

Page 145: ณฑ 2550 กษา - Silpakorn Universityself-health care behavior of the middle age residents in Amphoe Srisawat Changwat Kanchanaburi. Samples were 349 middle age residents in

114

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ – นามสกุล นายจรุง วรบุตร ท่ีอยูปจจุบัน บานเลขท่ี 46/16 หมูท่ี 7 บานครอพนัน ตําบลทาไม อําเภอทามะกา จังหวดักาญจนบุรี 71120 ท่ีทํางานในปจจุบัน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอศรีสวัสดิ์ หมูท่ี 3 บานดานแมแฉลบ ตําบลดานแมแฉลบ อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี 71250 ประวัติการศึกษา

พ.ศ.2531 สําเร็จการศึกษา ประกาศนยีบัตรเจาพนักงานสาธารณสุข (พนักงานอนามัย) จาก วิทยาลัยการสาธารณสุขภาคใต จงัหวัดยะลา

พ.ศ.2535 สําเร็จการศึกษา ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

พ.ศ.2546 ศึกษาตอระดบัปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาจิตวิทยาชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร จังหวดันครปฐม ประวัติการทํางาน

พ.ศ.2531 - 2532 เจาพนกังานสาธารณสุขชุมชน 2 ประจําสถานีอนามัยบานสนามแย สํานักงานสาธารณสุขอําเภอทามะกา จังหวัดกาญจนบุรี

พ.ศ.2533 - 2534 เจาพนกังานสาธารณสุขชุมชน 3 ประจําสถานีอนามัยบานกระตายเตน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอทามะกา จังหวัดกาญจนบุรี

พ.ศ.2535 – 2538 เจาพนกังานสาธารณสุขชุมชน 4 (ปฏิบัติงานฝายสงเสริมสุขภาพ) โรงพยาบาลสมเด็จพระปยมหาราชรมณียเขต อําเภอไทรโยค จังหวดักาญจนบุรี

พ.ศ.2538 – ปจจุบัน นักวิชาการสาธารณสุข 5-6 ว. ประจําสํานักงานสาธารณสุขอําเภอศรีสวสัดิ์ จังหวดักาญจนบุรี

133