๑ ภาพรวมพิพิธภัณฑ ในประเทศไทย -...

4
สรุปความโดย ชีวสิทธิบุณยเกียรติ / ตรวจทานโดย อเล็กซานดรา เดนิส การอางอิง: ชีวสิทธิบุณยเกียรติ. “การบรรยาย ๑๓ : ภาพรวมของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑในประเทศไทย โดย ดร. ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล, ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)แหลงเรียนรูออนไลน : มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ. กรกฎาคม ๒๕๕๕. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). <วันที่อางอิงเอกสาร>. < URL>. การบรรยาย ๑๓ : ภาพรวมของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑในประเทศไทย โดย ดร. ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล, ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ( องคการมหาชน) บรรยายเมื่อวันทีสิงหาคม ๒๕๕๔ . ในการบรรยายนีผูบรรยายแสดงใหเห็นภาพรวมของพัฒนาการพิพิธภัณฑในประเทศไทย เพื่อแสดงใหเห็นถึงแนวคิดและลําดับความเปลี่ยนแปลงของพิพิธภัณฑ นอกจากนียังกลาวถึงภาพรวมของวัฒนธรรม วัฒนธรรมพื้นบาน มรดกวัฒนธรรม ที่ปรากฏขึ้นกอนอนุสัญญาวาดวยมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมขององคการยูเนสโก ในชวงทาย ผูบรรยายหยิบยกประเด็นความเชื่อมโยงระหวางพิพิธภัณฑและมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม อะไรคือบทบาทที่ภัณฑารักษพิพิธภัณฑ ผูปฏิบัติงานทางวัฒนธรรม นักวิจัย สามารถมีสวนรวมในการทํางานดังกลาว ทั้งนียกตัวอยางของการทํางานของศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) . ภาพรวมพิพิธภัณฑในประเทศไทย เมื่อกลาวถึงประวัติศาสตรพิพิธภัณฑฉบับทางการ มักเริ่มตนจากชื่ออาคารคลังวัตถุ ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ .. ๒๔๐๒ ในนาม พิพิธภัณฑอาคารดังกลาวจัดเก็บวัตถุสะสมของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว และจัดแสดงใหพระบรมวงศานุวงศ ทูตานุทูต และขาราชการชั้นผูใหญเยี่ยมชม ทั้งนีความหมายของ พิพิธภัณฑหมายถึงวัตถุตางๆ นานา อยางไรก็ดี คําวา มิวเซียมในภาษาอังกฤษ กลายเปนคําเรียกอาคารพิพิธภัณฑที่เริ่มเปดใหประชาชนทั่วไปเขาชม เมื่อ .. ๔๑๗ ในชวงเวลานั้น พิพิธภัณฑเปรียบเสมือนเครื่องหมายของอารยธรรม ที่สะทอนในโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ วัตถุศักดิ์สิทธ และทรัพยสมบัติของราชสํานักและของชาติ อยางไรก็ดี ตั้งแตพุทธทศวรรษ ๒๕๒๐ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เปนสถาบันที่ทําหนาทีจัดหา, จัดประเภท, ขึ้นทะเบียน, และจัดแสดงวัตถุทางโบราณคดีและศิลปวัตถุ รวมทั้งการทําวิจัยและวิเคราะหวัตถุ และจัดแสดงนิทรรศการอยางเปนทางการ ในขณะเดียวกัน พิพิธภัณฑประเภทอื่นๆ เพิ่มจํานวนมากขึ้น ปรากฎการณที่เรียกวา ขาขึ้นของพิพิธภัณฑสัมพันธกับเงื่อนไขหลายประการ เชน ความเจริญทางเศรษฐกิจ, การพัฒนาเมืองและชนบท, การขยายตัวของประชาสังคม, มิติใหมๆ เกี่ยวกับอดีตและมรดก, การทองเที่ยว หรือนโยบายของรัฐ การเติบโตของพิพิธภัณฑขนาดเล็กเปนไปในหลายลักษณะ พิพิธภัณฑจํานวนหนึ่งเปนพิพิธภัณฑที่จัดตั้งขึ้นในวัด เพื่อรําลึกถึงเกจิอาจารยหรือเจาอาวาสทีประกอบวั ตรปฏิบัติทีเหลาสาธุชนนั้นศรัทธา บางเปนแหลงโบราณคดีที่ปรับเปนแหลงเรียนรู บางเปนคลังสะสมขาวของเครื่องในในวัดวาอาราม งานหัตถกรรมพื้นถิ่น งานเครื่องปนดินเผา นอกจากนียังมีพิพิธภัณฑที่บอกเลาอัตลักษณชาติพันธุของกลุชาติพันธุตางๆ ในประเทศไทย เชน พิพิธภัณฑชาวเขา และ พิพิธภัณฑมง ดอยปุย .เชียงใหม, พิพิธภัณฑชาวเลในจังหวัดพังงาและกระบีและพิพิธภัณฑไทยพวนที่จังหวัดนครนายก พิพิธภัณฑเหลานี้ดําเนินการโดยวัด, โรงเรียน, ชุมชน และเอกชน เรื่องเลาในพิพิธภัณฑครอบคลุมเรืองราวของผูคนและความเปนทองถิ่น มากกวาที่จะมุงเนนโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ ดังนั้น ความรูที่ถายทอดในบริบทพิพิธภัณฑ จึงเปนความรูของชาวบานหรือ คนสามัญไมใชความรูเฉพาะทางหรือศิลปะชั้นสูง วัตถุจัดแสดงจํานวนหนึ่งเปนขาวของที่เคยใชในชีวิตประจําวัน และสิ่งของอื่นๆ ที่แตกตางหลากหลาย หรือกระทั่งพิพิธภัณฑออนไลนที่ปรากฏเฉพาะใน พื้นที่เสมือนจริงนี่เองที่แสดงใหเห็นวา วัตถุประสงคของพิพิธภัณฑจึงเปลี่ยนสูการสนับสนุนใหสมาชิกชุมชนปกปองมรดกวัฒนธรรม และนําเสนอสิ่งที่มีคุณของตนเองสูสาธารณะ

Upload: others

Post on 05-Sep-2020

11 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ๑ ภาพรวมพิพิธภัณฑ ในประเทศไทย - SAC...การอ างอ ง: ช วส ทธ บ ณยเก ยรต การบรรยาย

สรุปความโดย ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ / ตรวจทานโดย อเล็กซานดรา เดนิส การอางอิง: ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ. “การบรรยาย ๑๓ : ภาพรวมของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑในประเทศไทย โดย ดร. ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล, ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)” แหลงเรียนรูออนไลน : มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ. กรกฎาคม ๒๕๕๕. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). <วันที่อางอิงเอกสาร>. < URL>.

การบรรยาย ๑๓ : ภาพรวมของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑในประเทศไทย โดย ดร. ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล, ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)

บรรยายเมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๔.

ในการบรรยายนี้ ผูบรรยายแสดงใหเห็นภาพรวมของพัฒนาการพิพิธภัณฑในประเทศไทย เพื่อแสดงใหเห็นถึงแนวคิดและลําดับความเปลี่ยนแปลงของพิพิธภัณฑ นอกจากนี้ ยังกลาวถึงภาพรวมของวัฒนธรรม วัฒนธรรมพื้นบาน มรดกวัฒนธรรม ที่ปรากฏขึ้นกอนอนุสัญญาวาดวยมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมขององคการยูเนสโก ในชวงทาย ผูบรรยายหยิบยกประเด็นความเชื่อมโยงระหวางพิพิธภัณฑและมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม อะไรคือบทบาทที่ภัณฑารักษพิพิธภัณฑ ผูปฏิบัติงานทางวัฒนธรรม นักวิจัย สามารถมีสวนรวมในการทํางานดังกลาว ทั้งนี้ ยกตัวอยางของการทํางานของศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)

๑. ภาพรวมพิพิธภัณฑในประเทศไทย เมื่อกลาวถึงประวัติศาสตรพิพิธภัณฑฉบับทางการ มักเริ่มตนจากชื่ออาคารคลังวัตถุ ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ

พ.ศ. ๒๔๐๒ ในนาม “พิพิธภัณฑ” อาคารดังกลาวจัดเก็บวัตถุสะสมของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว และจัดแสดงใหพระบรมวงศานุวงศ ทูตานุทูต และขาราชการชั้นผูใหญเยี่ยมชม ทั้งนี้ ความหมายของ “พิพิธภัณฑ” หมายถึงวัตถุตางๆ นานา อยางไรก็ดี คําวา “มิวเซียม” ในภาษาอังกฤษ กลายเปนคําเรียกอาคารพิพิธภัณฑที่เริ่มเปดใหประชาชนทั่วไปเขาชม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๗ ในชวงเวลานั้น พิพิธภัณฑเปรียบเสมือนเครื่องหมายของอารยธรรม ที่สะทอนในโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ วัตถุศักดิ์สิทธ และทรัพยสมบัติของราชสํานักและของชาติ

อยางไรก็ดี ตั้งแตพุทธทศวรรษ ๒๕๒๐ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เปนสถาบันที่ทําหนาที่ “จัดหา, จัดประเภท, ขึ้นทะเบียน, และจัดแสดงวัตถุทางโบราณคดีและศิลปวัตถุ รวมทั้งการทําวิจัยและวิเคราะหวัตถุ และจัดแสดงนิทรรศการ” อยางเปนทางการ ในขณะเดียวกัน พิพิธภัณฑประเภทอื่นๆ เพิ่มจํานวนมากขึ้น ปรากฎการณที่เรียกวา “ขาขึ้นของพิพิธภัณฑ” สัมพันธกับเงื่อนไขหลายประการ เชน ความเจริญทางเศรษฐกิจ, การพัฒนาเมืองและชนบท, การขยายตัวของประชาสังคม, มิติใหมๆ เกี่ยวกับอดีตและมรดก, การทองเที่ยว หรือนโยบายของรัฐ

การเติบโตของพิพิธภัณฑขนาดเล็กเปนไปในหลายลักษณะ พิพิธภัณฑจํานวนหนึ่งเปนพิพิธภัณฑที่จัดตั้งขึ้นในวัด เพื่อรําลึกถึงเกจิอาจารยหรือเจาอาวาสที่ประกอบวัตรปฏิบัติที่เหลาสาธุชนนั้นศรัทธา บางเปนแหลงโบราณคดีที่ปรับเปนแหลงเรียนรู บางเปนคลังสะสมขาวของเครื่องในในวัดวาอาราม งานหัตถกรรมพื้นถิ่น งานเครื่องปนดินเผา นอกจากนี้ ยังมีพิพิธภัณฑที่บอกเลาอัตลักษณชาติพันธุของกลุมชาติพันธุตางๆ ในประเทศไทย เชน พิพิธภัณฑชาวเขา และ พิพิธภัณฑมง ดอยปุย จ.เชียงใหม, พิพิธภัณฑชาวเลในจังหวัดพังงาและกระบี่ และพิพิธภัณฑไทยพวนที่จังหวัดนครนายก

พิพิธภัณฑเหลานี้ดําเนินการโดยวัด, โรงเรียน, ชุมชน และเอกชน เรื่องเลาในพิพิธภัณฑครอบคลุมเรื่องราวของผูคนและความเปนทองถิ่น มากกวาที่จะมุงเนนโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ ดังนั้น ความรูที่ถายทอดในบริบทพิพิธภัณฑ จึงเปนความรูของชาวบานหรือ “คนสามัญ” ไมใชความรูเฉพาะทางหรือศิลปะชั้นสูง วัตถุจัดแสดงจํานวนหนึ่งเปนขาวของที่เคยใชในชีวิตประจําวัน และสิ่งของอื่นๆ ที่แตกตางหลากหลาย หรือกระทั่งพิพิธภัณฑออนไลนที่ปรากฏเฉพาะใน “พื้นที่เสมือนจริง” นี่เองที่แสดงใหเห็นวา วัตถุประสงคของพิพิธภัณฑจึงเปลี่ยนสูการสนับสนุนใหสมาชิกชุมชนปกปองมรดกวัฒนธรรม และนําเสนอสิ่งที่มีคุณของตนเองสูสาธารณะ

Page 2: ๑ ภาพรวมพิพิธภัณฑ ในประเทศไทย - SAC...การอ างอ ง: ช วส ทธ บ ณยเก ยรต การบรรยาย

สรุปความโดย ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ / ตรวจทานโดย อเล็กซานดรา เดนิส การอางอิง: ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ. “การบรรยาย ๑๓ : ภาพรวมของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑในประเทศไทย โดย ดร. ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล, ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)” แหลงเรียนรูออนไลน : มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ. กรกฎาคม ๒๕๕๕. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). <วันที่อางอิงเอกสาร>. < URL>.

ผูบรรยายแสดงความเห็นวา ปรากฏการณดังกลาวมีความซับซอน โดยยกตัวอยางแนวทางการทํางานของพิพิธภัณฑแหงหนึ่งในจังหวัดสตูล พิพิธภัณฑดังกลาวจะเปนเครื่องมือหนึ่งในการสื่อสารเรื่องราวของวิถีของมุสลิมใหกับเยาชน ดวยการจัดเก็บเรื่องราวประเพณีและวัฒนธรรมและวิถีชีวิต เยาวชนในปจจุบันไมไดเรียนรูหัตถกรรมทองถิ่น ดังนั้น การจัดแสดงงานหัตถกรรมทองถิ่นดังกลาว เปนโอกาสที่เด็กและเยาวชนจะไดเรียนรูและสืบทอดวัฒนธรรมดังกลาว ฉะนั้นพิพิธภัณฑเล็กๆ เหลานี้ จึงเกิดขึ้นดวยเงื่อนไขของปจจุบัน หรือเพื่อพยายามในการตอบโจทยกับสภาวะความเปนไปในทองถิ่น

๒. ความเขาใจเกี่ยวกับมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมในสังคมไทย ผูบรรยายกลาวถึงแนวคิดเกี่ยวกับการอนุรักษในสังคมไทยที่ปรากฏ

กอนการรับแนวคิดวาดวยพิพิธภัณฑที่รับมาจากประเทศในตะวันตก วัดวาอารามของพุทธศาสนาจํานวนมาก สั่งสมวัตถุขาวของทางศาสนาและของสามัญชน เชน พระพุทธรูป, เศษซากวัตถุที่มีคุณคา, คัมภีร, วัตถุประกอบพิธีกรรม, เครื่องใช สิ่งตางๆ เหลานี้ทรงคุณคาในการถายทอดความรูแขนงตางๆ ทั้งศาสนา, ศิลปะ, งานชาง, การแพทย สูผูคนอีกชั่วอายุหนึ่ง นี่เองที่ชี้ใหเห็นวา พื้นที่ทางวัฒนธรรม เชน ในกรณีของวัด ไมไดแบงแยกวาสิ่งใดเปนวัฒนธรรมวัตถุหรือวัฒนธรรมภูมิปญญา

๒.๑ กรณีพิพิธภัณธวัดไหลหิน จังหวัดลําปาง พิพิธภัณฑแหงนี้สะสมศาสนวัตถุและขาวของตางๆ ที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตของผูคนในทองถิ่น

ในกระบวนการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑทองถิ่น ของศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ชาวบานและนักวิจัยรวมกันจัดทํานิทรรศการที่จะบอกเลาวัฒนธรรมที่มีชีวิต โดยเริ่มตนจากการอภิปรายสิ่งใดที่มีคุณคาและมีความสําคัญกับชุมชน “เหมืองฝาย” เปนหัวขอหนึ่งที่ชาวบานตองการบอกเลาถึง เพราะบานไหลหินตั้งอยูบนพื้นที่ที่เปนภูเขา ดังนั้น การลําเรียงน้ําเพื่อการเกษตรใหกับชาวบานที่อยูไกลแหลงน้ํา จึงมีความสําคัญอยางยิ่ง

ชาวบานพัฒนาระบบเหมืองฝายเพื่อลําเรียงน้ําสูพื้นที่อันหางไกล รวมทั้งการจัดระเบียบทางสังคมในการดูแลเหมืองฝาย ผูอาวุโสจะไดรับการเลือกเปนผูดูแลในการระดมผูที่ใชประโยชน มาทําความสะอาดเหมืองฝายในแตละป รวมทั้งกฎเกณฑตางๆ ในการควบคุมการใชประโยชนน้ําจากแหลงทรัพยากร ในการจัดทํานิทรรศการชุดใหม นักวิจัยและสมาชิกของชุมชนเก็บรวบรวมเนื้อหาและบันทึกความรูเกี่ยวกับระบบเหมืองฝาย จนนํามาสูการออกแบบการจัดแสดงในนิทรรศการ

๒.๒ กรณีหอวัฒนธรรมนิทัศน วัดศรีโคมคํา จังหวัดพะเยา พิพิธภัณฑอนุรักษและจัดแสดงวัตถุทางโบราณคดีและศิลปวัตถุ

ที่สะทอนใหเห็นความเปนทองถิ่นของจังหวัดพะเยา แตเมื่อไมนานมานี้ พิพิธภัณฑคนพบ “อนุทิน” ของพระรูปหนึ่ง ซึ่งมีชีวิตในชวงคริสตศตวรรษที่ ๑๙ ในชวงเวลานั้น สยามประเทศปรับเปลี่ยนระบบการบริหาร ที่อาศัยการรวมศูนย สถานการณดังกลาวกอใหเกิดความไมพอใจ และนําไปสูเหตุการณการกอกบฏขึ้นหลายแหงในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ หนึ่งในเหตุการณที่เกิดขึ้น “กบฏเงี้ยว” (เงี้ยวเปนคําในภาษาไทยเหนือใชเรียก คนที่มาจากพมา กลุมที่เรียกตนเองวา ไทใหญ) ในบันทึกฉบับทางการ กลาวถึงกลุมกบฏเงี้ยวที่บุกเมืองแพรและฆาขาราชการ ในทางตรงขาม เมื่อพิจารณาหลักฐานในระดับทองถิ่น ภาพของเหตุการณแตกตางออกไป ผูคนจํานวนไมนอยที่ไมพอใจกับระบบราชการที่เขามา รวมทั้งสาเหตุอื่นๆ ที่สงผลใหเกิดการลุกฮือของผูคน บันทึกดังกลาวไดรับการถายทอดจากภาษาไทยเหนือสูภาษาไทยกลาง และตีพิมพเพื่อบอกเลามุมมองของทองถิ่นตอเหตุการณ

นอกจากนี้ พิพิธภัณฑจัดเก็บวัตถุที่เชื่อมโยงกับเรื่องราว เชน เสื้อที่เคยเปนของผูนําเงี้ยว ผูที่ถูกกลาวหาวาเปนผูนําการกบฏ และถูกตัดสินประหารชีวิตในทายที่สุด อยางไรก็ดี ชุมชนยังเก็บเสื้อของเขา

Page 3: ๑ ภาพรวมพิพิธภัณฑ ในประเทศไทย - SAC...การอ างอ ง: ช วส ทธ บ ณยเก ยรต การบรรยาย

สรุปความโดย ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ / ตรวจทานโดย อเล็กซานดรา เดนิส การอางอิง: ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ. “การบรรยาย ๑๓ : ภาพรวมของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑในประเทศไทย โดย ดร. ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล, ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)” แหลงเรียนรูออนไลน : มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ. กรกฎาคม ๒๕๕๕. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). <วันที่อางอิงเอกสาร>. < URL>.

พรอมกับเรื่องราวและบันทึกของพระสงฆ เหลานี้สะทอนใหเห็นการรับรูของคนในทองถิ่นกับเหตุการณของการลุกฮือดังกลาว

จากตัวอยางพิพิธภัณฑทั้งสองแหง แสดงใหเห็นเปนอยางดีวา หลายชุมชนในสังคมไทยใหความสําคัญกับเรื่องราวและความรูตางๆ ของผูคนในสังคม หลายครั้งความรูหรือภูมิปญญาเหลานั้นอาจหมดความสําคัญ หรือเลือนหายไปในชีวิตทางสังคมในปจจุบัน แตความรูเหลานั้น ยังคงอยูกับผูคนและขาวของที่พิพิธภัณฑอนุรักษ และสามารถรื้อฟน เมื่อสังคมมองหาความหมายและคุณคาวัฒนธรรมเหลานั้น นี่เองที่ชี้ใหเห็นวา กระบวนการทางวัฒนธรรมในการอนุรักษดํารงอยู กอนที่วาทกรรมของพิพิธภัณฑหรือมรดกแบบตะวันตก จะเผยแพรเขามาสูสังคมไทย

๓. ขอทาทายของพิพิธภัณฑทองถิ่นในวันขางหนา สําหรับพิพิธภัณฑขนาดเล็กๆ ในประเทศไทยที่อยูในความรับผิดชอบของชุมชน วัด หรือโรงเรียน

พิพิธภัณฑเหลานี้มีศักยภาพและความเปนไปไดในการพัฒนาตอไปในวันขางหนา อยางไรก็ดี เงื่อนไขหลายประการเปนปจจัยที่อาจเกื้อหนุนและอาจกลายเปนขอจํากัดของพิพิธภัณฑ ไมวาจะเปนเงินทุนในการทํางาน บุคลากร ความคิด และเวลา ฉะนั้น พิพิธภัณฑทองถิ่นยังไมมีบทสรุป หากแตจะขึ้นหรือลงตามจังหวะในแตละชวงเวลา

ความเขมแข็งของพิพิธภัณฑชุมชนขึ้นอยูกับความรวมมือระหวางชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น วัด ผูปฏิบัติงานทางวัฒนธรรมที่เปนเจาหนาที่ของรัฐ หรือที่เปนอาสาสมัคร และเอกชนที่สามารถใหการสนับสนุนในรูปแบบตางๆ ในหลายกรณี เมื่อผูคนในทองถิ่นมีทัศนคติที่แตกตางกันมากๆ หรือการแขงขันทางการเมืองในทองถิ่น พิพิธภัณฑชุมชนยอมไมไดรับการสนับสนุนจากภาคสวนตางๆ

ความทาทายอีกประการหนึ่งในการทํางาน นั่นคือ งานมรดกมิใชสูตรสําเร็จ ความคิดเห็นของผูคนในพื้นที่เกี่ยวกับการอนุรักษและการฟนฟูวัฒนธรรมแตกตางกันได ตัวอยางเชน “สลากยอม” ซึ่งเปนพิธีกรรมที่หญิงสาวที่มีความพรอมในทางเศรษฐกิจ จะทําบุญขนาดใหญดวยการแตงตนสลากที่ประดับประดาขางของเพื่อถวายแดพระสงฆ อยางไรก็ดี พิธีกรรมดังกลาวหางหายจากสังคมเมืองลําพูน แตในชวงหลายปที่ผานมา ชุมชนหลายแหงไดรื้อฟนพิธีกรรมดังกลาว โดยเฉพาะอยางยิ่งการแตงตนสลากที่มีความสูงหลายๆ เมตร และประดับดวยขาวของที่จะถวายเปนบริขารของสงฆ การแตงตนสลากกลายเปนการแขงขันระหวางชุมชน ในทางหนึ่ง รูปแบบของการรื้อฟนดังกลาวสงเสริมความรวมมือในการทํางานระหวางสมาชิกในชุมชน แตในขณะเดียวกัน ชาวบานบางกลุมไมเห็นดวยกับการทําบุญที่จะตองใชเงินจํานวนมากในการแตงตนสลาก

๔. บทบาทของพิพิธภัณฑกับมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม สําหรับบทบาทของพิพิธภัณฑในการทํางานดานมรดก

ผูปฏิบัติงานวัฒนธรรมควรคํานึงถึงลักษณะเฉพาะของพิพิธภัณฑแตละแหง และความหลากหลายของพิพิธภัณฑที่เปนไปตามบริบทของชุมชนและมรดกวัฒนธรรมในแตละถิ่นที่ และที่สําคัญ การทํางานดานวัฒนธรรมจะตองอาศัยความรวมมือของผูปฏิบัติการทางวัฒนธรรมและเจาของวัฒนธรรมที่จะแบงปนความรู, ทักษะ และความคิดเห็นระหวางกัน ชุมชนจะนิยามวาสิ่งใดคือมรดก? ความสําคัญและคุณคาขององคประกอบทางวัฒนธรรมเปนอยางไร? และไมวาจะเปนวัฒนธรรมทางวัตถุหรือวัฒนธรรมภูมิปญญาเปนมรดกที่ไมสามารถแยกออกจากกันอยางสิ้นเชิง

อนึ่ง การจะสรางความรวมมือระหวางสมาชิกในชุมชนและภาคีตางๆ จําเปนอยางยิ่งที่เราจะตองเขาใจองคประกอบตางๆ ของชุมชน เชน ใครเปนผูมีบทบาทหลักในการตัดสินใจโครงการในแตละดานของชุมชน? หรือสวนสมาชิกหรือสวนฝายใดบางที่เปนถือครองความรูและทักษะทางวัฒนธรรม? นอกจากนี้

Page 4: ๑ ภาพรวมพิพิธภัณฑ ในประเทศไทย - SAC...การอ างอ ง: ช วส ทธ บ ณยเก ยรต การบรรยาย

สรุปความโดย ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ / ตรวจทานโดย อเล็กซานดรา เดนิส การอางอิง: ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ. “การบรรยาย ๑๓ : ภาพรวมของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑในประเทศไทย โดย ดร. ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล, ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)” แหลงเรียนรูออนไลน : มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ. กรกฎาคม ๒๕๕๕. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). <วันที่อางอิงเอกสาร>. < URL>.

ในกระบวนการบันทึกมรดกภูมิปญญา ผูปฏิบัติการทางวัฒนธรรมเลือกใชวิธีการบันทึก ทั้งขั้นตอนและเครื่องมือที่เหมาะสมในการปกปองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม เพื่อใหเปนไปตามวิถีที่เจาของวัฒนธรรมตองการ และการสื่อสารกับสาธารณะภายนอกชุมชน