a-a r::. ,.. a ii ,.. :ja g(i) c:: a,.. i · 2008-12-03 · 1. ผู...

15
> a II (i) a a - - fI) - ,.. > a c:: 'S l (i) I - > - g fI) fI) ,.. Jr::. c: :z - a > fI) -a :J r::. fI) ,.. l:z c: a-a fI) fI) 0 ,.. ,.. c: c: s:: lCQ lCQ 10 10 'E I I I

Upload: others

Post on 27-Jul-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

~

>a ~

II

(i)a

a ~ ­

-fI)

-~

,.. >

ac:: 'S

l (i) •

I -

,~ >- gfI)

fI),..

.,~Jr::.

c: :z

-a

>fI)

-a:J

r::. fI),..

l:z ~

c:

a-a

fI)

fI) 0

,.. ,..

c: c:

~

s::lCQ

lCQ

1

01

0

'E

I I I

Page 2: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

::J r

G)

f;"""" G

w

"G

::J

Ie

:!) l(/)

e "1G

)G

) ':c

lfJ 1G:

::J S

'(=

r G

«

i 'c

e I:;>:

eC5

1G: 1

8

J2

1(/)

(/) ~

"::J (/)

::J :L

e r

2 'C5r

(/) -G

(/)e

G1::J

r J~

(/) IG

«i'

e r

rr

w

Je

r

e (j)

::::l.,.g

((j ::::l

r G

:\}:i

10

«

i:L

CG

: 0

"«i'

C0

r ~

(/)

ihG

) C

r

ih r

'~

e

"::J:::J

-::J G

)"::J

:L r

r :!)

::J ::::l

"G

::J e

I~

'15

10

'::J

1G: 0

w

0 ::::l

l::::l(/)

"I«i

r eG

) J~

::J (/)

I~ r

~

(/) e

1(/) r

r 0

:L r

0 "::J

e i(/)

w

'::::l(/)

((je

'(j)r

I~ ,~

«i

103:

r r

"(/)0

(/) (/)

e G

) r

-«i'

(/) e

h :L

"::J::J

~

G)

:::J ::J

~

'(=

r-

'(/)"1~

::J

3: '::J

~

G

"lCG

) ::J

lfJ«

i (/)

"r

"10

I'~

rr

:!) G

: e

e r e

JS

(/) ::J

lG

e (/)

r1G:

G

0 ::::l

::::> r

:!) 1

0G

e is

G)

e I~

l::::l (/)

I:;>: e

"10 0

1 2::::> iJJ

'G

2 r

'2"::J

'15 G

: e

(/)I::::>

G)

0 r

rG

e

'G

G)

::::l e::

iJJ :::J

10

::::>

(/) G

) (;)

«i

'(f) ::::>

'(j)e

r= ::::l"

r ::J

G

iJJ«

i<lJ

2 iJJ

"::Jr

~

"::JG

: I::J

G:

::::>" 2

(/) "lC

~

I(/)

r ::::>

GG

"::J

w

5 l((j

e :!) ~

i:L

i(; 1

0

10

3: ~

G

"lC

::::>

r 1

0

IG:

I::::> ::::>

r :::J

::J 0

rr

::::> .E

((j

r0

rr

«i

0((j

e 3:

G:

i 2

3: ::J

::J e

G)

w2

1G:i-;;;1

I(/) ':L

(/)

::J "1((j

'G

r «

i "::J

::J e

,r"::::>

"::J C

J::::> :L

0G

i~

,3 ~

~

iJJ 'C

::::> r

lfJ (/)

"lC

::::l" 'G

r

w

'tV

l::::l G

iJJ

(;) l«

i e

f;"""" I::J

«i'

"::J "le

((j

(/) J~

I~ Ie

"1i5 r

~ r

((j r

S

10('Z

w

e

e ::J

:L :::J

C

::J r

::J 1G:

I~ r

r1

0

'(=

«i

0 1

0

0 r

((j~~

:L ::::l

w

Ie1

0 ~

r

':L ::J

3:::::>

(/)s:

r '(G

0

:::J '(/)

r'(/)

1::J r

'w

'(/) - ••

r G

"le

e

(/)G

g «

i (/)

r «

i w

r

r .,Q

0

(/)r

r G

rr

G:

((j G

: e

G)

-(/)

rp

e00

(/),..

:L ::::l

::JC5

10 ::::>

::::> ~

'G"

C

~ "1~

G)

::l 0

e iJJ

e ::::l"

C

«i

r G

e

2 G

)I('Z

(/) :::J

iJJ 'I~

(/) r

r "::J

((j r

s: G

: e

«i

"le

J8

G

e

Page 3: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

.., ~L UU A£)U1U

QlI QI a QlQJadl :::d n11Ltl1113H{3..I3..I'U11t11n111~(;I'UUW"lPIf(n~1f11\1'Y1 6

I IUd d

1~'Vl11\11'U'YI 12 - 13 3..I'U1f13..1 2552

*****************************

~ ~ ~ eJ- ~~~ nl';j~nl>l-l';j::l1llJ ..

J11l"11tJl 3-l'Vll1'Yl~1~~ .

YieJ~ .

<U d ~ <u ..1. I ';j'Vl~ u';j'M-ru~ b1JEJ';jb'Yl';jF1~'Yl .

t 'Yl';j~1';j ~EJ ~ EJ .

e-mail. .

o 'IJ';j::~\lf>1 b!l1~13-lbfl'\.tEJeJ ~\l1'\.t1~tJ o J11FllJ"m~

o J11Fl t 'IJ~blnEJ~

I ~ d I

nElwm'Yl 30 3-l.Fl. 52 'Yll'\.t~:: 600 lJl'Yl Q.I Q.J d I

'Vl~\l1'\.1,'Yl 30 3-l.Fl. 52 'Yll'\.1,~:: 800 lJl'Yl

'ltnAnl>l-lFlru::bnl>l-ln';jF11flln~3-l'Vll1'Ylm~m~tJ\l1'Vl~ ril'\.1,~:: 300 lJl'Yl

15m';jiil';j::l"h~\l'Yl::bU~'\.t

o 111';i::bU'\.l,b~'\.I,~(;) ru \l1'\.1,Fltr\lbl.~::W~l1l l"Irn::bnl>l-ln';j~1~ln1 3-l'Vll1'Ylm~m~~\l1'Vla-l• o rk1bb~m~'\.I, k\l~lfJl'\.t'\.tl3-l m'ai:N:N'\riJ!rurmTnriis:lAnYlLfl'YM'af11iUn ~\'I;t 6

l"Irn::bnl>l-mF11flln~ 3-l'Vl11'YlEJ1~mtlEJ\ll'Vla-l

239 r1'\.1,'\.I,i1tJbbn1ln.~b'Yl'W tl.u:leJ\l ~.b~EJ\llY\3J 50200• o tEJ'\.I,b~M1'\.t Eiml"ll';jtlf)3-l~'\.t ~1'tl13-l'Vll1'Ylm~m~~\l1'Vl~ lWl-hl3-l

m';i«3-J3-Jm1tJlm';iuru-nln~m~mn~ln';iF11~ln~ fl.f\l~ 6

b~'tl~UqJ~ 05-3405-20-106299-3

(~3-l'W1lJbb~\l~Ell1lm';jill';j::b~'\.I,1'\.1,';j::lJlJ'Vl~\lm';i~\l'Yl::bU EJ'\.I,)

O 1a-l~1m';i rI b!l1~13-Jb~'\.I,El eJ ~\l1'\.t1~fJ

a1111'UJ~@BEJliil

fl1~1tl1LA'~]A1aGl{Ln~lJl'

~;EJfl1~1!11~~Lai~LL~~Lt.mu."~nJ'Ln~lJl'

239 fl~~';1tlll.ri"J 9i1'Ua~l't1" .11l1lmilEJ\l ~\l",1Gll~tl\l1..,~ 50200

T't1'A~~/T't1,a1' 0-5394-4066.0-5394-4018-20

Http://Web.agri.cmu.ac.th/agri_semlnar_2009

Page 4: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

1

คําชี้แจงขอกาํหนดในการการเตรียมตนฉบับเพื่อเสนอผลงานวิชาการ ใน “การสัมมนาวิชาการบณัฑิตศึกษาเกษตรศาสตร คร้ังท่ี 6”

การเสนอผลงานภาคบรรยาย (Oral Presentation)

ก. อุปกรณประกอบการบรรยาย 1. ผูเสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายดวย Microsoft Power Point สําหรับเคร่ือง LCD โดยสงเปน

CD ROM ในวันลงทะเบียน

2. ผูนําเสนอมีกําหนดเวลาเสนอผลงานภาคบรรยายเร่ืองละ 15 นาที และเปดโอกาสใหซักถามอีก 5 นาที

รวมเวลา 20 นาที

ข. ขอกําหนดการเตรียมตนฉบับเรื่องเต็ม

1. เรื่องที่เสนอผลงาน เปนบทความวิจัย

2. ภาษา เปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ

3. การพิมพ ตนฉบับของเรื่องเต็มตองพิมพดวยคอมพิวเตอรโดยใชโปรแกรม “ไมโครซอฟเวิรด 2003 (MS Word 2003)” ใช

ตัวอักษร Cordia New ขนาด 14 ตัวอักษรตอนิ้ว (ชื่อเร่ืองและหัวขอหลักใหใช ตัวอักษร Cordia New ขนาด 16 ตัวอักษรตอ

นิ้ว ชื่อผูแตง ที่อยูหรือองคกรที่สังกัด เน้ือหาบทคัดยอทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย รายการบัญชีเอกสารอางอิง เน้ือหา

กิติกรรมประกาศ และเน้ือหาภาคผนวกใหใชตัวอักษร Cordia New ขนาด 12 ตัวอักษรตอนิ้ว) ใช Line Spacing แบบ Multiple

at 1 มีความยาวไมเกิน 8 หนา กระดาษ A4 (จํานวนหนาท่ีกําหนดนี้รวม ชื่อเร่ืองภาษไทยและภาษาอังกฤษ บทคัดยอทั้ง

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เนื้อเร่ือง เอกสารอางอิง กิตติกรรมประกาศหรือคําขอบคุณ (ถามี) และภาคผนวก (ถามี)

4. การเรียงลําดับเนื้อหา 4.1 ช่ือเรื่อง (Title) ควรส้ัน ชัดเจน และตองส่ือเปาหมายหลักของการศึกษาวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยใชตัวอักษา Cordai New ขนาด 16 ตัวอักษรตอนิ้ว 4.2 ช่ือผูเขียนและที่อยู เปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยใชตัวอักษร Cordia New ขนาด 12 ตัวอักษรตอนิ้ว

4.3 บทคัดยอ (Abstract) ควรเปนเนื้อหาที่ส้ัน ชัดเจนและเขาใจงาย โดยรวมเหตุผลในการศึกษาวิจัย อุปกรณ วิธีการ

ตลอดจนผลการศึกษาและสรุปดวย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (แนะนําวาไมควรเกิน 200 คํา) และใหระบุคําสําคัญ

(keywords) ไวทายบทคัดยอแตละภาษาดวย (บทความปริทัศนอาจไมตองมีบทคัดยอ) โดยใชตัวอักษร Cordia New ขนาด 12 ตัวอักษรตอนิ้ว 4.4 คํานํา (Introduction) แสดงความเปนมาและเหตุผลที่นําไปสูการศึกษาวิจัย วัตถุประสงคของการศึกษาวิจัย และอาจ

รวมการตรวจเอกสาร (Review of Literature) ไวดวย (คําบรรยายใชตัวอักษา Cordai New ขนาด 14 ตัวอักษรตอนิ้ว)

4.5 อุปกรณและวิธีการ (Materials and Methods) ใหบอกรายละเอียดวัสดุ อุปกรณที่ใช ตลอดจนวิธีและแบบจําลองการ

ศึกษาวิจัยท่ีชัดเจน และสมบูรณ (คําบรรยายใชตัวอักษา Cordai New ขนาด 14 ตัวอักษรตอนิ้ว)

4.6 ผลการศึกษาหรือผลการทดลอง (Results) ใหบรรยายผลการศึกษาวิจัย พรอมเสนอขอมูลในรูปแบบ ตารางหรือ

ภาพประกอบได โดยตารางหรือภาพ ใหจัดทําเปนภาษาไทยทั้งหมด (ช่ือตาราง ช่ือรูป และตัวอักษรภายในตารางใหใช

ตัวอักษร Cordia New ขนาด 12 ตัวอักษรตอนิ้ว)

Page 5: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

2

4.7 วิจารณผล (Discussion) ควรเช่ือมโยงกับผลการศึกษาวาสอดคลองกับสมมุติฐาน หรือแตกตางไปจากผลงานวิจัยที่มี

ผูรายงานไวกอนหรือไมอยางไรและดวยเหตุใด โดยมีพื้นฐานการอางอิงที่เช่ือถือได วิจารณอาจนําไปรวมกับผลการศึกษาเปนผล

การศึกษาและวิจารณ (Results and Discussion) หรือผูเขียนอาจเขียนการวิจารณผลรวมกับผลการศึกษาหรือผลการทดลอง

(หัวขอลําดับท่ี 4.6) ก็ได (คําบรรยายใชตัวอักษา Cordai New ขนาด 14 ตัวอักษรตอนิ้ว)

4.8 สรุป (Conclusion) ควรสรุปผลที่ไดรับจากการศึกษาวิจัย วาเปนไปตามวัตถุประสงคหรือไม พรอมใหขอเสนอแนะหรือ

ระบุอุปสรรคและแผนงานวิจัยท่ีจะดําเนินการตอไป (คําบรรยายใชตัวอักษา Cordai New ขนาด 14 ตัวอักษรตอนิ้ว)

5. เอกสารอางอิง (References) (บัญชีรายการเอกสารอางอิงใชอักษร Cordia New ขนาด 12 ตัวอักษรตอนิ้ว)

5.1 ในเนื้อเรื่อง ไมควรอางอิงถึงเร่ืองที่ไมเก่ียวของหรือหางไกล ระบบท่ีใชอางอิงคือ ระบบช่ือ และป (Name-and-year System)

ในเอกสารภาษาไทย ใหใชชื่อตัวและป พ.ศ. เชน สมชาย (2545) รายงานวา…หรือ…(สมชาย, 2545) หากมีผูเขียน 2 คน ใหใชเปน

สมชาย และสมหญิง (2547) รายงานวา…หรือ…(สมชาย และสมหญิง, 2547) และถามีผูเขียนต้ังแต 3 คนขึ้นไป ใหใชชื่อคนแรกแลว

ตามดวยคําวา และคณะ เชน สมชาย และคณะ (2546) รายงานวา…หรือ…(สมชาย และคณะ, 2546) ในกรณีเอกสารเปนภาษาอังกฤษ

ใหใชชื่อสกุลและป ค.ศ. เชน Johny (2003)…หรือ…(Johny, 2003) ถาผูเขียนมี 2 คน ใหใชเปน Johny and Walker (2004) …

หรือ…(Johny and Walker, 2004) หากมีมากกวา 3 คน ใหใชเปน Johny et al. (2005)…หรือ…(Johny et al., 2005) สําหรับในบัญชี

เอกสารอางอิง ใหใสชื่อผูเขียนทุกคน หามใชคําวา และคณะ หรือ et al.

5.2 ในบัญชีเอกสารอางอิง ใหเรียงลําดับเอกสารภาษาไทยกอนภาษาอังกฤษ และเลือกเฉพาะเอกสารท่ีเก่ียวของโดยตรง

หรือที่อางถึงในเนื้อเร่ืองเทานั้น โดยเรียงตามลําดับอักษรในแตละภาษา ตามรูปแบบการเขียนมีดังนี้ ก) วารสาร (Journals) รูปแบบ: ชื่อผูเขียน. ปที่พิมพ. ชื่อเร่ือง. ชื่อวารสาร (เขียนเต็มหรือยอก็ได) ปที่(ฉบับที่): เลขหนาเร่ิมตน-เลขหนาท่ี

ส้ินสุด. ตัวอยาง: วันทนา มุทิตา และ ณัฐา ควรประเสริฐ. 2547. เซลลพันธุศาสตรและการถายทอดสีดอของฟวเซีย. วารสารเกษตร 20(1): 10-18.

Barcenas, N.M., T.R. Unruh and L.G. Neven. 2005. DNA diagnostics to identify internal feeders (Lepidoptera:

Tortricidae) of pome fruits of quarantine importance. J. Econ. Entomol. 98(2): 299-306. ข) หนังสือ และตํารา (Books & Textbooks) รูปแบบ: ชื่อผูเขียน. ปที่พิมพ. ชื่อหนังสือ. สํานักพิมพ, เมืองที่พิมพ. จํานวนหนาทั้งหมด. ตัวอยาง: จริยา วิสิทธิ์พานิช ชาตรี สิทธิกุล และ เยาวลักษณ จันทรบาง. 2545. โรคและแมลงศัตรูลําไย ล้ินจ่ี และมะมวง. ธนบรรณการ

พิมพ, เชียงใหม. 308 หนา.

Gullan, P.J. and P.S. Cranston. 2005. The Insects: An Outline of Entomology. 3 rd ed. Blackwell Publishing, Malden.

505 pp. ค) เรื่องยอยในตําราหรือหนังสือที่มีผูเขียนแยกเรื่องกันเขียน และมีบรรณาธิการ รูปแบบ: ชื่อผูเขียน. ปที่พิมพ. ชื่อเร่ืองยอย. หนา เลขหนาเร่ิมตน-เลขหนาที่ส้ินสุด. ใน: ชื่อบรรณาธิการ, (บก.). ชื่อ

หนังสือ. สํานักพิมพ, เมืองที่พิมพ. ตัวอยาง:

Page 6: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

3

ดํารง เวชกิจ และ สมบูรณ ทองสกุล. 2535. เทคนิคการใชสารปองกันกําจัด ศัตรูพืช. หนา 22-42. ใน: สุวัฒน รวยอารีย (บก.).

แมลงและสัตวศัตรูที่สําคัญของพืชเศรษฐกิจและการบริหาร. หางหุนสวนจํากัด ไอเดีย สแควร, กรุงเทพฯ.

Kubo, T. 2003. Molecular analysis of the honeybee sociality. pp. 3-20. In: T. Kikuchi, N. Azuma and S. Higashi (eds.).

Gene, Behaviors and Evolution of Social Insects. Hokkaido University Press, Sapporo ง) วิทยานิพนธ รูปแบบ: ชื่อผูเขียน. ปที่พิมพ. ชื่อเร่ือง. ระดับวิทยานิพนธ. สถาบันการศึกษา. เมืองที่พิมพ. จํานวนหนาทั้งหมด ตัวอยาง: อภินันท มณีพงษ. 2547. ผลของการใชโอโซนตอคุณภาพและสารพิษตกคางหลังการเก็บเก่ียวสมพันธุสายนํ้าผ้ึง. วิทยานิพนธ

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชียงใหม. 100 หนา. จ) เอกสารวิชาการอ่ืน ๆ รูปแบบ: ชื่อผูเขียน หรือหนวยงาน. ปที่พิมพ. ชื่อเร่ืองหรือช่ือหนังสือ. ประเภทของเอกสาร. สถาบันหรือหนวยงานท่ี

จัดพิมพ, เมืองที่พิมพ. จํานวนหนาทั้งหมด. ตัวอยาง: ทวีศักด์ิ ชโยภาส. 2544. แมลงศัตรูปาลมน้ํามันในประเทศไทย. เอกสารวิชาการ. กองกีฏและ สัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร,

กรุงเทพฯ. 126 หนา.

ฉ) ส่ืออิเล็คทรอนิคส รูปแบบ: ชื่อผูเขียน. ปที่พิมพ. ชื่อเร่ือง. (ระบบออนไลน). แหลงขอมูล: ชื่อ Website (วันเดือนปที่สืบคนขอมูล). ตัวอยาง: กรมสงเสริมการเกษตร. 2548. การปลูกผักแบบไมใชดิน (ไฮโดรโปนิกส). (ระบบออนไลน). แหลงขอมูล

0http://www.doae.go.th/proster/nondin/htm (21 เมษายน 2548).

Linardakis, D.K. and B.I. Manois. 2005. Hydroponic culture of strawberries in perlite. (Online). Available:

http://www.schundler.com/strawberries.htm (April 21, 2005).

6. กิตติกรรมประกาศ หรือ คําขอบคุณ (Acknowledgement) อาจมีหรือไมมีก็ได เปนการแสดงความขอบคุณแกผูที่ชวยเหลือในงานวิจัย แตไมไดเปน ผูรวมงานวิจัย (คําบรรยายกิตติกรรมประกาศใชตัวอักษา Cordai New ขนาด 12 ตัวอักษรตอนิ้ว)

7. ภาคผนวก อาจมีหรือไมมีก็ได เปนการแสดงขอมูลหรือตารางเพิ่มเติม (คําบรรยายภาคผนวกใชตัวอักษา Cordai New ขนาด 12 ตัวอักษรตอนิ้ว)

การเสนอผลงานภาคนิทัศน (Poster)

1. การเขียนเรือ่งเต็ม

ตนฉบับของเร่ืองเต็มตองพิมพดวยคอมพิวเตอร ใชตัวอักษร Cordia New ขนาด 14 ตัวอักษรตอนิ้ว ความยาวไม

เกิน 5 หนา กระดาษ A4 รวมบทคัดยอภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยอนุโลมใหใชรายละเอียดขอกําหนดและ

รูปแบบการจัดพิมพ (รูปแบบและขนาดตัวอักษร) เหมือนบทความภาคบรรยาย

Page 7: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

4

2. การเตรียมงานภาคนิทัศนมีดังนี ้

1. ชื่อเร่ืองและผูทําการวิจัย

2. เน้ือหาประกอบดวย บทคัดยอ คํานํา ผลการทดลองและวิจารณ

2.1 บทคัดยอ: ควรเนนถึงสาระสําคัญของการศึกษาโดยเขียนอยางกระชับความ

2.2 คํานํา: อธิบายพื้นฐานหรือท่ีมาของงาน ที่มีการศึกษามากอน และบอกวัตถุประสงคของการวิจัย

2.3 ผลการทดลอง: ควรแบงเปนหัวขอยอยท่ีคัดแลววาสําคัญที่สุด แตละขอบอกผลการคนพบที่สําคัญท่ีสุด ทั้งนี้เพือ่

ความเดนของเร่ืองถาเสนอในลักษณะตารางกราฟ หรือรูปภาพประกอบจะทําใหงายตอการเขาใจมากขึ้น

2.4 วิจารณ: ใหเนนเฉพาะใจความสําคัญของงานท่ีสรุปผลออกมาหรือปญหาและแนวทางในการทํางานวิจัยตอไป

2.5 เอกสารอางอิง: ใหเลือกเฉพาะเอกสารที่เก่ียวของโดยตรงหรือที่อางถึงในเนื้อเร่ืองเทานั้น

3. รายละเอียดของโปสเตอรสําหรับการเสนอภาคนิทัศน

1. บอรดของแตละเร่ืองมีขนาด 90 x 120 ซม (กวาง x สูง)

2. ขนาดตัวอักษรควรมีความสูง 0.8-1.2 ซม เขียนดวยเสนที่หนาไมนอยกวา 1.5 มม. เพื่อจะอานไดงายในระยะ 1

เมตร

3. ตารางหรือกราฟควรมีความสูงไมนอยกวา 20 ซม. ตารางไมแบงชองมากเกินไป กราฟควรมีเสนแสดงอยาง

ชัดเจนไมยุงยากซับซอน และแนะนําใหใชเสนกราฟตางสีหรือลักษณะเสนที่แตกตางโดยมีคําอธิบายท่ีงายและ

ส้ันกะทัดรัด

4. การใชสีประกอบผูเสนอผลงานสามารถตกแตงการแสดงผลงานภาคนิทัศนไดตามที่เห็นสมควร

หมายเหตุ: ผูเสนอผลงานภาคนิทัศนจะตองนําเสนอ 10 นาที และตอบขอซักถามอีก 5 นาที ในชวงเวลาท่ี

คณะกรรมการกําหนด

การพิจารณาผลงาน

คณะกรรมการจัดการประชุม “สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร คร้ังที่ 6” ขอสงวนสิทธิ์ในการดําเนินการ

กับผลงานที่เสนอท้ังภาคบรรยาย (Oral Presentation) และภาคนิทัศน (Poster) ดังนี้

1. พิจารณาจัดหมวดวิชาการตามความเหมาะสม

2. พิจารณาคัดเลือกผลงานที่จะนําเสนอในการประชุมโดยผานความเห็นจากคณะกรรมการฝายวิชาการ

3. พิจารณาความเหมาะสมของเรื่องยอและเรื่องเต็มรวมทั้งเสนอแนะใหปรับปรุงตนฉบับตามความเห็นของ

ผูทรงคุณวุฒิ/คณะกรรมการ

4. บทความที่ถูกเสนอแนะใหมีการปรับปรุงแกไขจากคณะกรรมการฝายวิชาการและไมดําเนินการแกไขหรือให

คําชี้แจงที่ยอมรับไดจะถูกพิจารณาตัดสิทธิ์การนําเสนอและตีพิมพในรายงานการสัมมนา (Proceedings)

5. ไมรับพิจารณาผลงานที่จัดเตรียมไมเปนไปตามรูปแบบที่กําหนด

การตีพิมพ

เม่ือคณะกรรมการวิชาการพิจารณาเห็นชอบและตอบรับใหนําเสนอในท่ีประชุมสัมมนาได บทความและผลงานภาค

นิทัศน (Poster) จะถูกตีพิมพในรายงานการสัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร คร้ังที่ 6 (Proceedings) ทั้งในรูป

เอกสารอิเล็กทรอนิคสบรรจุใน CR-ROM และเอกสารรายงานการสัมมนา

Page 8: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

5

การสงเรื่องเพ่ือนําเสนอผลงาน

ใหสงตนฉบับ 1 ชุด พรอมแผนบันทึกขอมูล โดยสงถึง คณะกรรมการฝายวิชาการจัดสัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษา

เกษตรศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม 50200 หรือสงผานเว็บไซดของคณะเกษตรศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม (http://www.agri.cmu.ac.th/) โดยระบุอยางชัดเจนวาเปนการสงผลงานเพ่ือนําเสนอในภาคบรรยาย (Oral

Presentation) หรือผลงานภาคนิทัศน (Poster)

กําหนดการสงเรื่องเพ่ือนําเสนอผลงาน

บทคัดยอ ผูเสนอผลงานทั้งภาคบรรยายและภาคนิทัศนจะตองสงบทคัดยอทั้งภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ

โดยสงไดที่ [email protected]

เม่ือคณะกรรมการวิชาการไดรับบทคัดยอจะมีหนังสือแจงใหผูนาํเสนอไดทราบ

วันที ่20 ธันวาคม 2551 หมดเขตรับบทคัดยอ

เรื่องเต็ม ใหผูเสนอผลงานสงเร่ืองเต็มทั้งภาคบรรยายและภาคนิทัศน เพื่อใหคณะกรรมการฝายวิชาการ/

ผูทรงคุณวุฒิพิจารณาสําหรับการจัดพิมพในรายงานการประชุมสัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษา

เกษตรศาสตร คร้ังที่ 6 (Proceedings) ของคณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดที่ [email protected]

เม่ือคณะกรรมการวิชาการไดรับบทความฉบับเต็มจะมีหนังสือแจงใหผูนําเสนอไดทราบ

วันที ่ 15 มกราคม 2552 หมดเขตรับเรื่องเต็ม

การตอบรับ คณะกรรมการฝายวิชาการจะแจงผลการพิจารณาและตอบรับใหนําเสนอผลงานภายในวันท่ี 31

มกราคม 2552 และแจงขอเสนอแนะการปรับปรุงแกไขผลงานทางวชิาการภายในวันท่ี 8

กุมภาพันธ 2552

วันที ่ 31 มกราคม 2552 ตอบรับผลงานวันสุดทาย

การแกไข ผูนําเสนอตองแกไขผลงานและสงเร่ืงเต็มที่แกไขแลวใหแกคณะกรรมการฝายวิชาการภายในวนัท่ี

20 กุมภาพันธ 2552

วันที ่ 20 กุมภาพันธ 2552 หมดเขตการรบัเรื่องเต็มฉบับแกไข

Page 9: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

ผลการจําลองสถานการณความเสี่ยงดานเศรษฐกิจในการปลกูขาว และขาวโพดเลี้ยงสัตว ของเกษตรกรในจังหวัดพะเยาและลําปาง

Economic Risk Simulation of Rice and Maize Production of Farmer in Payao and Lampang Provinces

กมล งามสมสุข 1 เบญจพรรณ เอกะสิงห 2 และกุศล ทองงาม 3

Kamol Ngamsomsuke 1, Bebchaphun Ekasingh 2 and Kusol Thong-ngarm 3

1 ภาควิชาเศรษฐศาสตรเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 1 Department of Agricultural Economics, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University

2 ศูนยวิจัยเพื่อเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และภาควิชาเศรษฐศาสตรเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2 Multiple Cropping Center and Department of Agricultural Economics, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University

3 ศูนยวิจัยเพื่อเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 3 Multiple Cropping Center, Chiang Mai University

Abstract This study simulated risk associated with crop cultivation at various locations in Payao and Lampang provinces.

The computer program called Bestfit was used to generate risk function of production inputs. @Risk program was then

applied to simulate probability of being loss from crop cultivation. The study found that farmers in different district had high

probability of being loss in the cultivation of glutinous rice, non-glutinous rice and maize. In general, farmers in Lampang had

higher risk than those living in Payao province. Similarly, farmers located in dry area were riskier than those with better water

accessability. Price of output, yield, wage and fertilizer price were respectively the most important factors affecting the level

of the probability of being loss in crop production.

Keywords: simulation, glutinous rice, non-glutinous rice, maize, probability of being loss, risk

บทคัดยอ

การศึกษานี้ทําการจําลองสถานการณความเสี่ยงในการปลูกพืชของเกษตรกรในพื้นที่ตางๆ ของจังหวัดพะเยาและลําปาง โดยใช

โปรแกรม BestFit เพื่อวิเคราะหหาฟงกช่ันการกระจายตัวหรือ Risk Function ของปจจัยที่ผันผวน และใชโปรแกรม @Risk เพื่อประเมินหรือ

จําลองโอกาสการขาดทุนจากการปลูกพืชของเกษตรกร ผลการศึกษาพบวา ถาคิดตนทุนทุกอยางแลว เกษตรกรในอําเภอตางๆ มีโอกาสการ

ขาดทุนสูงในทุกพืชไมวาจะเปนขาวเหนียว ขาวเจา และขาวโพดเลี้ยงสัตว เกษตรกรในจังหวัดลําปางมีโอกาสขาดทุนสูงกวาเกษตรกรในจังหวัด

พะเยา เกษตรกรที่อาศัยอยูในอําเภอที่มีน้ําอุดมสมบูรณมากกวามักจะมีความเส่ียงในการปลูกพืชในระดับตํ่า ปจจัยที่สงผลกระทบตอโอกาส

การขาดทุนจากการปลูกพืชทั้งสองชนิดของเกษตรกรในพื้นที่ตางๆ มากที่สุด คือ ราคาผลผลิตซ่ึงเปนความเสี่ยงทางดานเศรษฐกิจ ตามดวย

ผลผลิตตอไร อัตราคาจางแรงงาน และราคาปุยเคมี

คําสําคัญ: การจําลองสถานการณ ขาวเหนียว ขาวเจา ขาวโพดเลี้ยงสัตว ความเสี่ยง โอกาสขาดทุน ความเสี่ยง

บทนํา การจําลองสถานการณ (Simulation) สามารถนํามาใชเพื่อประเมินสถานการณความเส่ียงเชิงเศรษฐกิจของ

เกษตรกรในการปลูกพืชและสามารถนํามาวิเคราะหหาโอกาสการขาดทุนจากการปลูกพืชเม่ือเกษตรกรตองเผชิญกับความ

ผันผวนดานผลผลิต ราคาผลผลิต และราคาปจจัยการผลิตบางชนิด เบญจพรรณ และคณะ (2547) ก็ไดนําโปรแกรม

สําเร็จรูป Bestfit and @Risk (Parisade Corporation, 1997, 2002) มาใชประเมินความเส่ียงของการปลูกพืชเศรษฐกิจ

บางชนิดในจังหวดัเชียงใหมและสามารถไดผลการศึกษาที่สะทอนความเส่ียงในการปลูกพืชไดดี

Page 10: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

กมล และคณะ: การสัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คร้ังท่ี 6: 2552

2

อุปกรณและวิธีการ

การวิเคราะหความเส่ียงในจังหวัดพะเยาและลําปาง เพื่อวิเคราะหความเส่ียงทางเศรษฐกิจของเกษตรกรในสภาพแวดลอมตางๆ อยางละเอียดย่ิงขึ้น คณะผูวิจัย ได

ดําเนินการวิเคราะหโดยใชขอมูลทั้งที่ไดจากการสัมภาษณเกษตรกรรายครัวเรือน และขอมูลทุติยภูมิที่รวบรวมไดจาก

สํานักงานเกษตรจังหวัดและสํานักงานพานิชยจงัหวัดของจังหวัดพะเยาและลําปาง ทําการวิเคราะหหาฟงกชันการกระจาย

ตัว (Distribution Function) ของผลผลิตตอไร ราคาผลผลิต และราคาปจจัยการผลิตที่สําคัญๆ คือ ปุยเคมี (สูตร 40-0-0

สูตร 16-20-0 สูตร 15-15-15) น้ํามันเชื้อเพลิง และอัตราคาจางแรงงาน ที่เหมาะสม โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป BestFit แลว

นําฟงกชันการกระจายตัวท่ีวิเคราะหไดดังกลาวมาวิเคราะหหาฟงกชันการกระจายตัวของกําไรสุทธิตอไรโดยใชโปรแกรม

@Risk ที่ทํางานบนโปรแกรม Excel ซึ่งการวิเคราะหแตละขั้นตอนมีรายละเอียดดังนี้

การหาฟงกชันผลผลิต ฟงกชันการกระจายตัวของผลผลิตเฉล่ียตอไรรายอําเภอ หาไดโดยนําขอมูลผลผลิตเฉลี่ยของพืชหลัก คือ ขาว

เหนียวนาป ขาวเจานาป และขาวโพดเล้ียงสัตวที่ไดมาจากสํานักงานเกษตรจังหวัดของแตละจังหวัดในหลายๆ ปเทาท่ีจะ

หาขอมูลได เน่ืองจากขอมูลผลผลิตเฉล่ียที่ไดเปนขอมูลเฉล่ียของเกษตรกรจํานวนมากอยูแลวจึงนํามาวิเคราะหหาฟงกชัน

การกระจายตัว (Distribution Function) ดวยโปรแกรม BestFit ซึ่งโปรแกรม BestFit จะทําการวิเคราะหโดยใชฟงกชันการ

กระจายตัวในรูปแบบตางๆ และเสนอแนะฟงกชันการกระจายตัวท่ีเหมาะสมกับขอมูลมาใหผูใชสามารถเลือกใชดวยการ

จัดลําดับความเหมาะสมดวยคาสถิติ Chi-square หรือ A-K หรือ A-D ผลการวิเคราะหขอมูลฟงกชันการกระจายตัวของ

ผลผลิตเฉล่ียตอไรของขาวเหนียวนาป ขาวเจานาป และขาวโพดเล้ียงสัตว ในจังหวัดพะเยาและลําปาง พบวา ฟงกชันการ

กระจายตัวที่เหมาะสมของผลผลิตเฉล่ียตอไรโดยพิจารณาจากคาสถิติ Chi-Square คือ ฟงกชันแบบ Normal

การหาฟงกชันราคาผลผลิต การหาฟงกชันการกระจายตัวของราคาผลผลิตก็สามารถทําไดโดยใช โปรแกรม BestFit ดวยวิธีเดียวกับการ

วิเคราะหฟงกชันการกระจายตัวของผลผลิตเฉล่ียตอไร ขอมูลที่มีอยูและใชในการวิเคราะหประกอบดวย ราคาผลผลิตพืช

หลัก 3 ชนิดคือ ขาวเหนียวนาป ขาวเจานาป และขาวโพดเล้ียงสัตว ขอมูลที่ใชเปนขอมูลรายเดือน ระหวางป พ.ศ. 2545 -

2549 ในระดับจังหวัด ซึ่งมีอิทธิพลของเงินเฟออยูดวย ดังนั้น กอนทําการวิเคราะหจึงไดนําขอมูลราคาผลผลิตมาปรับคา

ดวยดัชนีราคาผูผลิต (Producer Price Index) ที่มีป 2549 เปนปฐาน สําหรับขาวเหนียวและขาวเจาใชราคาเดือน

พฤศจิกายน - เมษายน สวนขาวโพดเล้ียงสัตวใชขอมูลรายเดือนของเดือนกันยายน - ธันวาคม เนื่องจากเปนราคาท่ี

เกษตรกรขายผลผลิตมาก ผลการวิเคราะหที่ไดพบวา ฟงกชันการกระจายตัวที่เหมาะสม โดยสถิติ Chi-Square เปน

ฟงกชันแบบ Triangle หรือ RiskTriang ดังรายละเอียดในตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 คาเฉล่ียและคาเบ่ียงเบนมาตรฐานที่นํามาใชในฟงกชันการกระจายตัวของผลผลิตแบบ RiskNormal

ขาวเหนียวนาป ขาวเจานาป ขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน

จังหวัด คาเฉล่ีย คาเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

คาเฉล่ีย คาเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

คาเฉล่ีย คาเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

พะเยา 533.2-660.0 17.4-82.16 540.3-655.0 24.3-83.7 610.8-905.5 21.3-289.8

ลําปาง 526.7-618.8 12.3-76.6 486.3-625.0 17.7-70.3 500.0-956.0 7.1-308.3

ที่มา: จากการวิเคราะห

Page 11: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

กมล และคณะ: การสัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คร้ังท่ี 6: 2552

3

การหาฟงกชันการกระจายตัวของราคาปจจัยการผลิต การวิเคราะหเพื่อหาฟงกชันการกระจายตัวของราคาปจจัยการผลิตดําเนินการเชนเดียวกับการหาฟงกชันการ

กระจายตัวของผลผลิตเฉล่ียตอไรและราคาผลผลิต กลาวคือ การทําการวิเคราะหดวยโปรแกรม BestFit โดยการนําราคา

รายเดือนของปจจัยการผลิตสําคัญ คือ ราคาปุยเคมีสูตร 46-0-0, 16-20-0, 15-15-15, ราคานํ้ามันดีเซล และอัตราคาจาง

แรงงาน ซึ่งขอมูลราคาปจจัยการผลิตที่หาไดเปนราคาในระดับประเทศ ต้ังแตป พ.ศ. 2545 - 2549 ซึ่งก็เปนขอมูลที่มี

อิทธิพลของเงินเฟอรวมอยูดวย การวิเคราะหจึงตองนําราคาดังกลาวมาปรับคาโดยการใชดัชนีราคาผูผลิต (Producer

Price Index) หมวดสินคาเกษตรที่มีป 2549 เปนปฐาน แลวนํามาประมาณหาฟงกชันการกระจายตัวโดยใชโปรแกรม

BestFit

สําหรับการวิเคราะหการกระจายตัวของอัตราคาจางแรงงานน้ัน ขอมูลที่ใชวิเคราะหเปนขอมูลรายปในระดับจังหวัด

กอนทําการวิเคราะหหาฟงกชันการกระจายตัวไดนําขอมูลดังกลาวมาปรับคาเงินเฟอโดยดัชนีราคาผูบริโภค (Consumer

Price Index) ผลที่ไดจากการวิเคราะหเม่ือพิจารณาความเหมาะสมโดยใชสถิติ Chi-Square พบวา ฟงกชันการกระจายตัว

ของราคาคาจางแรงงานที่ดีคือฟงกชันแบบสามเหล่ียม (Triangle)

การประเมินโอกาสการเกิดเหตุการณหรือจําลองสถานการณความเส่ียงในการปลูกพืช

การประเมินโอกาสการเกิดขึ้นของเหตุการณหรือการจําลองสถานการณในที่นี้เปนการพิจารณาโอกาสการขาดทุน

จากการปลูกพืชในระดับอําเภอของจังหวัดพะเยาและลําปาง โดยอาศัยแนวคิดตนทุนผลตอบแทนท่ีจะเปล่ียนแปลงไปตาม

โอกาสการเกิดขึ้นของระดับผลผลิต ราคาผลผลิต และราคาปจจัยการผลิต ซึ่งในที่นี้ไดเลือกกําไรสุทธิเปนตัวแปรในการ

แสดงผลการจําลองสถานการณ เม่ือทราบการกระจายตัวของกําไรสุทธิก็จะสามารถหาโอกาสที่กําไรสุทธิที่มีคาติดลบอัน

แสดงถึงระดับความเส่ียงภัย (Risk) ได

กระบวนการวิเคราะหเปนการดําเนินการตอจากการวิเคราะหหาฟงกชันการกระจายตัวของผลผลิตเฉล่ียตอไร

ราคาผลผลิต และราคาปจจัยการผลิตที่ไดดําเนินการมาแลว ซึ่งการวิเคราะหในสวนน้ี ใชโปรแกรม @Risk ที่ทํางานบน

แผนงาน (work sheet) ของโปรแกรม Microsoft Excel ในการทํางานน้ัน โปรแกรม @Risk จะสุมการกระจายตัวของขอมูล

(Input) และนําเอาคาของขอมูลหลายๆ คาที่มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นจากฟงกชันการกระจายตัวของผลผลิตตอไร ราคาผลผลิต

และราคาปจจัยการผลิต มาประมวลผลซํ้าหลายๆ คร้ัง ซึ่งผูใชอาจเลือกวิธีการสุมแบบ Monte Carlo Simulation หรือ

Latin Hypercube Simulation ในการประเมินโอกาสการเกิดขึ้นของเหตุการณ ก็สามารถกระทําไดโดยการเขียนสูตร

คํานวณปจจัยนําเขา(Input) บนโปรแกรม Microsoft Excel จากนั้นเชื่อมโยงเซลตางๆ ที่มี Risk Function แสดงอยูในเซล

แสดงผลลัพธ (ในที่นี้คือ กําไรสุทธิ) ที่อยูบนแผนงานของโปรแกรม Microsoft Excel แลวนําไปวิเคราะหดวยโปรแกรม

@Risk เพื่อคํานวณหาการกระจายตัวของระดับของกําไรสุทธิที่จะเกิดขึ้น และทําการประเมินโอกาสหรือความเส่ียงที่

อาจจะเกิดขึ้นกับพืชชนิดตางๆ โดยพิจารณาจากโอกาสท่ีเกษตรกรจะขาดทุนจากการผลิตพืชตางๆ อนึ่ง ในการจําลอง

สถานการณในระดับอําเภอซ่ึง Risk Function ที่ศึกษาไดขางตนเปนระดับประเทศหรือระดับจังหวัด ทั้งนี้เน่ืองจากไมมี

ขอมูลในระดับอําเภอสําหรับการวิเคราะห ในการวิเคราะหจึงตองมีการปรับคาฟงกชันใหสอดคลองกับขอมูลในระดับพื้นที่

โดยมีสมมติฐานวา การกระจายตัวของขอมูลตางๆ ในระดับอําเภอไมแตกตางไปจากขอมูลในระดับประเทศและระดับ

จังหวัด ดังน้ัน รูปแบบและคาพารามิเตอรตางๆ ของ Risk Function ในระดับอําเภอจะสามารถใชรูปแบบและ

คาพารามิเตอรตางๆ ของ Risk Function ในระดับประเทศและจังหวัดได เพียงแตปรับคาเฉล่ียใหสอดคลองกับคาเฉล่ียที่ได

จากการสํารวจขอมูลภาคสนามกอนนําไปใชในการเขียนสูตรคํานวณหากําไรสุทธิในโปรแกรม Microsoft Excel

Page 12: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

กมล และคณะ: การสัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คร้ังท่ี 6: 2552

4

ผลการศึกษา ผลลัพธจากการจําลองสถานการณโดยใชโปรแกรม @Risk จะไดทั้งกราฟแทงและกราฟพ้ืนที่แสดงการกระจายตัว

ของรายไดสุทธิ และสรุปคาสถิติที่สําคัญดังตัวอยางในภาพที่ 8 ซึ่งแสดงผลการจําลองสถานการณ การกระจายตัวของ

รายไดสุทธิและความนาจะเปนที่เกษตรกรในพ้ืนที่ก่ิงอําเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา จะขาดทุนจากการผลิตขาวเหนียวนา

ปในพื้นที่ราบอาศัยนํ้าฝนสูงถึง 0.61 หรือรอยละ 61 โดยมีกําไรอยูในชวง -854.02 ถึง 1,181.86 บาทตอไร และมีกําไรสุทธิ

เฉล่ียเทากับ -68.93 บาทตอไรหรือขาดทุน 68.93 บาทตอไร (ซึ่งเปนคาเฉล่ียกําไรสุทธิของขอมูลปอนเขา) (รูปที่ 1)

Distribution for Wet Glutinous Rice/BI2

Val

ues

in 1

0^ -3

Values in Thousands

0.000

0.200

0.400

0.600

0.800

1.000

1.200

Mean=-68.92971

-1 -.5 0 .5 1 1.5

0000

-1 -.5 0 .5 1 1.5

61.42% 33.58% 5% 0 .5914

Mean=-68.92971 Mean=-68.92971

Distribution for Wet Glutinous Rice/BI2

Values in Thousands

0.000

0.200

0.400

0.600

0.800

1.000

Mean=-68.92971

-1 -.5 0 .5 1 1.5

00

-1 -.5 0 .5 1 1.5

61.42% 33.58% 5% 0 .5914

-1 -.5 0 .5 1 1.5

Mean=-68.92971

Summary Statistics Statistics Value

Minimum -854.017 Mean -68.9297 Maximum 1181.858 Std Dev 356.9606 Variance 127420.9 Skewness 0.527521 Kurtosis 2.612262 Mode -495.89 Left X 0 Left P 61.42% Right X 591.3536 Right P 95% Diff. X 591.3536 Diff. P 33.58% 5th Perc. -557.009 95th Perc. 591.3536

รูปที่ 1 ตัวอยางผลลัพธจากการจําลองสถานการณดวยโปรแกรม @Risk แสดงถึงการกระจายตัวของรายไดสุทธิและความนาจะ

เปนที่จะขาดทุนจากการผลิตขาวเหนียวนาปในที่ราบอาศัยน้ําฝนของเกษตรกรในก่ิงอําเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา

นอกจากนี้ โปรแกรม @Risk ยังใหผลลัพธที่เปนกราฟแสดงถึงตัวแปรท่ีมีผลตอกําไรสุทธิในระดับตางๆ (รูปท่ี 2)

สามารถสรุปไดวา ราคาผลผลิตซึ่งเปนปจจัยความเส่ียงดานเศรษฐกิจสงผลกระทบตอกําไรสุทธิหรือโอกาสขาดทุนจากการ

ผลิตพืชมากท่ีสุด ตามมาดวยปจจัยดานผลผลิตเฉล่ียตอไร อัตราคาจางแรงงาน และปุยเคมี และสําหรับการปลูกขาวโพด

เล้ียงสัตว ปจจัยดานราคาปุยยูเรียจะเขามามีความสําคัญทดแทนราคาปุยสูตร 16-20-0 ทั้งน้ีเน่ืองจากเกษตรกรมีการใช

ปุยยูเรียเปนหลักในการผลิตขาวโพดเล้ียงสัตวและใชปุยสูตร 16-20-0 เปนหลักในการผลิตขาว ดังน้ัน ผลการจําลอง

สถานการณดานความเส่ียงในการปลูกพืชโดยวิธีนี้ ความเส่ียงจากการผลิตพืชของเกษตรกร (แสดงโดยโอกาสขาดทุน) จึง

มาจากปจจัยความเส่ียง 2 แหลงที่แสดงผลรวมกัน คือ ความเส่ียงจากความแปรปรวนของผลผลิตท่ีเกิดจากปจจัยเส่ียง

ทางดานชีวภาพและกายภาพ เชน ความแหงแลง (รวมถึงขาดแคลนน้ํา) น้ําทวม และโรคและแมลงศัตรูพืชระบาดซ่ึงมีผล

ทําใหผลผลิตเฉล่ียตอไรเปล่ียนแปลงไป และปจจัยความเส่ียงทางดานเศรษฐกิจซึ่งเก่ียวของกับความผันผวนของราคา

ผลผลิตชนิดตางๆ และราคาปจจัยการผลิตอันมีผลทําใหรายไดและตนทุนการผลิตเปล่ียนแปลงไป

Page 13: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

กมล และคณะ: การสัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คร้ังท่ี 6: 2552

5

Regression Sensitivity for Wet Glutinous Rice/BI2

Std b Coefficients

Rainfed Lowland / Price/BC6 .001

Rainfed Lowland / Fertiliz.../AD11 .001

Rainfed Lowland / Urea Pri.../X9-.001

Rainfed Lowland / Yield/BB10-.001

Rainfed Lowland / Fertiliz.../AA11-.001

Rainfed Lowland / Price/BC8 .001

Rainfed Lowland / Fertiliz.../AD14-.001

Rainfed Lowland / Fertiliz.../AD21-.001

Rainfed Lowland / Urea Pri.../X4 .001

Irrigated Upland / Fertili.../AD19 .001

Rainfed Lowland / Urea Pri.../X2-.009

Rainfed Lowland / Fuel Pri.../AN2-.037

Rainfed Lowland / Fertiliz.../AA2-.041

Rainfed Lowland / Wage/AT2-.109

Rainfed Lowland / Yield/BB2 .325

Rainfed Lowland / Price/BC2 .937

-1 -.75 -.5 -.25 0 .25 .5 .75 1

การปลูกขาวเหนียวนาปในพื้นที่กิ่งอําเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา

Regression Sensitivity for Maiz/BI17

Std b Coefficients

Rainfed Lowland / Price/BC3 .003

Rainfed Lowland / Yield/BB10-.003

Irrigated Upland / Wage/AT19-.003

Irrigated Upland / Fuel Pr.../AN16-.003

Rainfed Lowland / Wage/AT18 .003

Rainfed Lowland / Fertiliz.../AD20-.003

Rainfed Lowland / Price/BC12-.004

Rainfed Lowland / Wage/AT9 .004

Rainfed Lowland / Urea Pri.../X14 .004

Irrigated Upland / Fuel Pr.../AN17-.008

Irrigated Upland / Fertili.../AD17-.011

Irrigated Upland / Fertili.../AA17-.012

Irrigated Upland / Urea Pr.../X17-.015

Irrigated Upland / Wage/AT17-.043

Irrigated Upland / Price/BC17 .528

Irrigated Upland / Yield/BB17 .836

-1 -.75 -.5 -.25 0 .25 .5 .75 1

การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา

รูปที่ 2 ตัวอยางกราฟ Tornado แสดงความสําคัญของปจจัยที่มีผลกระทบตอกําไรสุทธิของการปลูกบางชนิดในบางอําเภอของ

จังหวัดพะเยา

เม่ือพิจารณาถึงความเส่ียงในการปลูกพืชรายอําเภอของเกษตรกรในพ้ืนที่จังหวัดพะเยาและลําปาง ผลการจําลอง

สถานการณดังปรากฏในตารางที่ 2-3 แสดงใหเห็นวา เกษตรกรในแตละอําเภอมีความเส่ียงในการปลูกพืชชนิดตางๆ

แตกตางกัน ซึ่งเม่ือพิจารณาโดยรวม (ทุกพืชที่ปลูกในทุกระบบนิเวศน) จะพบวา เกษตรกรในจังหวัดพะเยามีความเส่ียงใน

การปลูกพืชนอยกวาเกษตรกรในจังหวัดลําปาง (โอกาสขาดทุนเพียงรอยละ 29 เม่ือเทียบกับรอยละ 62 ในจังหวัดลําปาง –

ตารางที่ 2 - 3) ผลการศึกษาน้ีสอดคลองกับขอเท็จจริงทางดานสภาพกายภาพของพื้นที่จังหวัดลําปาง (โดยเฉพาะในพื้นที่

อําเภอเถินและแมพริก) ที่มักประสบปญหาความแหงแลงสูงกวาจังหวัดพะเยา

เม่ือพิจารณาเปนรายอําเภอและรายพืชที่ปลูกในระบบนิเวศนที่ตางกัน จะพบวา เกษตรกรท่ีปลูกขาวเหนียวนาป

บนพื้นที่ราบอาศัยนํ้าฝนในอําเภอเมืองและก่ิงอําเภอภูซางของจังหวัดพะเยา และอําเภอสบปราบ แมพริก เถิน และ

หางฉัตรของจังหวัดลําปางมีความเส่ียงตอการขาดทุนสูงมาก (มีโอกาสขาดทุนสุทธิมากกวารอยละ 85) สวนการปลูกขาว

เหนียวนาปบนพื้นท่ีราบอาศัยนํ้าฝนในก่ิงอําเภอภูกามยาวของจังหวัดพะเยา และอําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ก็มีความ

เส่ียงตอการขาดทุนในระดับสูง (มีโอกาสขาดทุนสุทธิมากกวารอยละ 61-77) พื้นที่เหลานี้สวนใหญมีสภาพแหงแลงและมัก

ขาดแคลนน้ํา จึงทําใหมีผลผลิต (ซึ่งเปนแหลงของความเส่ียงที่สําคัญ) อยูในระดับตํ่าและเปนที่นาสังเกตวา เกษตรกรใน

อําเภอเมืองพะเยามีการใชแรงงานในการเพาะปลูกขาวสูงมาก (มากกวา 30 วันทํางานเมื่อเปรียบเทียบกับเกษตรกรใน

อําเภออื่นๆ ซึ่งใชแรงงานไมถึง 20 วันทํางาน) นอกจากนี้ ในบางอําเภอ เชน อําเภอแมใจ เชียงคํา และจุน ของจังหวัด

พะเยา และอําเภอเกาะคา ของจังหวัดลําปางน้ัน เกษตรกรแทบไมมีความเส่ียงในการปลูกขาวเหนียวนาปในพื้นท่ีราบ

อาศัยนํ้าฝนเลย (มีโอกาสขาดทุนไมถึงรอยละ 1 - ตารางที่ 2-3)

ตารางท่ี 2 ผลการจําลองความเสี่ยงในการปลูกพืชบางชนิดรายอําเภอในจังหวัดพะเยา

กําไรสุทธิ โอกาส อําเภอ พืช ระบบนิเวศน

คาตํ่าสุด คาเฉล่ีย คาสูงสุด ขาดทุน กําไร

กิ่ง อ.ภูกามยาว ขาวเหนียวนาป ที่ราบน้ําฝน - 854.02 - 68.93 1,181.86 61.42% 38.58%

ดอกคําใต ขาวเหนียวนาป ที่ราบน้ําฝน - 894.27 725.81 3,097.67 7.05% 92.95%

จุน ขาวเหนียวนาป ที่ราบน้ําฝน - 416.79 1,139.67 3,215.85 0.27% 99.73%

แมใจ ขาวเหนียวนาป ที่ราบน้ําฝน 496.61 1,712.28 3,365.06 0.00% 100.00%

กิ่ง อ.ภูซาง ขาวเจานาป ที่ราบน้ําฝน - 1,229.46 369.32 2,690.28 31.98% 68.02%

ดอกคําใต ขาวเจานาป ที่ราบน้ําฝน - 1,215.76 1,081.94 4,234.22 4.81% 95.19%

เชียงคํา ขาวเจานาป ที่ราบน้ําฝน 891.58 2,380.40 5,046.92 0.00% 100.00%

Page 14: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

กมล และคณะ: การสัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คร้ังท่ี 6: 2552

6

ตารางท่ี 2 ผลการจําลองความเสี่ยงในการปลูกพืชบางชนิดรายอําเภอในจังหวัดพะเยา

กําไรสุทธิ โอกาส อําเภอ พืช ระบบนิเวศน

คาตํ่าสุด คาเฉล่ีย คาสูงสุด ขาดทุน กําไร

เชียงมวน ขาวโพดเลี้ยงสัตว ที่ดอนอาศัยน้ําฝน - 2,137.78 - 398.58 1,224.17 71.77% 28.23%

กิ่ง อ.ภูซาง ขาวโพดเลี้ยงสัตว ที่ดอนอาศัยน้ําฝน - 4,403.52 627.73 5,658.29 31.78% 68.22%

กิ่ง อ.ภูกามยาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว ที่ดอนอาศัยน้ําฝน - 571.64 1,231.40 2,800.15 2.87% 97.13%

ปง ขาวโพดเลี้ยงสัตว ที่ราบน้ําฝน - 1,930.72 334.10 3,385.83 34.81% 65.19%

ดอกคําใต ขาวโพดเลี้ยงสัตว ที่ราบน้ําฝน - 992.72 744.53 2,625.22 12.15% 87.85%

เชียงคํา ขาวโพดเลี้ยงสัตว ที่ราบน้ําฝน - 76.18 1,663.97 2,790.05 0.04% 99.96%

เฉลี่ยรวม 29.41% 70.59%

ที่มา: จากการวิเคราะห

ตารางท่ี 3 ผลการจําลองความเสี่ยงในการปลูกพืชบางชนิดบางอําเภอในจังหวัดลําปาง

กําไรสุทธิ โอกาส อําเภอ พืช ระบบนิเวศน

คาตํ่าสุด คาเฉล่ีย คาสูงสุด ขาดทุน กําไร

เมือง ขาวเหนียวนาป ที่ราบอาศัยน้ําฝน - 2,246.92 - 546.77 1,908.39 77.74% 22.26%

แมทะ ขาวเหนียวนาป ที่ราบอาศัยน้ําฝน - 1,029.98 422.19 3,019.77 33.99% 66.01%

เกาะคา ขาวเหนียวนาป ที่ราบอาศัยน้ําฝน - 343.54 1,045.17 3,413.40 1.40% 98.60%

หางฉัตร ขาวเหนียวนาป ที่ราบชลประทาน - 1,124.39 - 112.31 1,614.89 62.08% 37.92%

เกาะคา ขาวเหนียวนาป ที่ราบชลประทาน - 938.46 701.28 3,385.98 18.75% 81.25%

หางฉัตร ขาวเจานาป ที่ราบอาศัยน้ําฝน - 2,205.86 - 508.89 2,570.57 73.65% 26.35%

แมทะ ขาวเจานาป ที่ราบอาศัยน้ําฝน - 590.22 1,883.50 6,159.44 0.96% 99.04%

เถิน ขาวเจานาป ที่ราบชลประทาน - 823.00 477.15 2,900.44 32.30% 67.70%

เกาะคา ขาวเจานาป ที่ราบชลประทาน - 1,071.66 1,203.78 5,711.87 13.30% 86.70%

หางฉัตร ขาวเจานาป ที่ราบชลประทาน - 235.69 1,380.59 4,215.30 0.41% 99.59%

หางฉัตร ขาวโพดเลี้ยงสัตว ที่ดอนอาศัยน้ําฝน - 2,471.34 - 791.40 407.71 97.35% 2.65%

วังเหนือ ขาวโพดเลี้ยงสัตว ที่ดอนอาศัยน้ําฝน - 1,086.25 1,000.41 2,870.02 11.06% 88.94%

แมทะ ขาวโพดเลี้ยงสัตว ที่ดอนอาศัยน้ําฝน - 1,169.82 1,183.31 2,826.09 10.82% 89.18%

เฉลี่ยรวม 61.79% 38.21%

ที่มา: จากการวิเคราะห

บทสรุป ผลการจําลองสถานการณความเส่ียงในการปลูกพืชของเกษตรกรในอําเภอตางๆ ของจังหวัดเพะเยาและลําปาง

แสดงใหเห็นวา เกษตรกรที่ปลูกขาวและขาวโพดเล้ียงสัตวในอําเภอตางๆ มีโอกาสขาดทุนคอนขางมาก ถาคิดตนทุนทุก

อยางแลว โอกาสการขาดทุนสูงในทุกพืช โดยเกษตรกรในจังหวัดลําปางมีโอกาสขาดทุนสูงกวาเกษตรกรในจังหวัดพะเยา

และเกษตรกรที่อาศัยอยูในอําเภอท่ีมีน้ําอุดมสมบูรณมากกวามีความเส่ียงในระดับตํ่ากวา ปจจัยที่สงผลกระทบตอโอกาส

การขาดทุนจากการปลูกพืชทั้งสองชนิดของเกษตรกรในพื้นท่ีตางๆ มากที่สุด คือ ราคาผลผลิตซึ่งเปนความเส่ียงทางดาน

เศรษฐกิจ ตามดวยผลผลิตเฉล่ียตอไร อัตราคาจางแรงงาน และราคาปุยเคมี สําหรับกลยุทธในการลดความเส่ียง (จากการ

Page 15: a-a r::. ,.. a II ,.. :Ja g(i) c:: a,.. I · 2008-12-03 · 1. ผู เสนอผลงานควรเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายด

กมล และคณะ: การสัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คร้ังท่ี 6: 2552

7

ขาดทุน) ในการปลูกพืชของเกษตรกรจะตองมีลักษณะเฉพาะพ้ืนที่และเฉพาะพืช ซึ่งเกษตรกรอาจทําไดโดยประหยัดตนทุน

เงินสดที่ไมจําเปนเพื่อลดความเส่ียง มีการใชแรงงานแลกเปล่ียนแทนแรงงานจางหรือจัดหาแรงงานท่ีมีคาจางตํ่า ลดการ

พึ่งพาตลาดโดยการผลิตเพื่อการบริโภคในครอบครัว ในขณะที่ภาครัฐอาจใชนโยบายดานคาจางเมื่อพบวาอัตราคาจาง

แรงงานมีสวนชวยลดโอกาสการขาดทุนในการผลิตพืชของเกษตรกรได และท่ีสําคัญคือกลยุทธดานการเพิ่มผลผลิตตอ

หนวยพื้นท่ี ที่หนวยงานภาครัฐควรใหความสําคัญดานการศึกษาวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นท่ีใหมากขึ้น ซึ่งการ

จําลองสถานการณตามวิธีการที่ใชนี้ชี้ใหเห็นวาเกษตรกรเปนผูเผชิญและรองรับความผันผวนจากความเส่ียงในรูปแบบ

ตางๆ พรอมกันนี้ก็ใหขอมูลท่ีเปนประโยชนตอการสรางกลยุทธเพื่อลดความเส่ียงในการปลูกพืชชนิดตางๆ ในพื้นที่ที่

แตกตางกัน

เอกสารอางอิง

เบญจพรรณ เอกะสิงห กุศล ทองงาม ธันยา พรหมบุรมย และนฤมล ทินราช. 2547. การประเมินสภาวะความเสี่ยงจากความแปรปรวนดาน

ผลผลิตและราคาของพืชเศรษฐกิจบางชนิดในจังหวัดเชียงใหม. บทความนําเสนอในที่การสัมมนาระดับชาติเร่ือง ระบบเกษตร

แหงชาติ คร้ังที่ 3 ณ โรงแรมปางสวนแกว จ.เชียงใหม วันที่ 9-11 พฤศจิกายน 2547.

เมธี เอกะสิงห ชาญชัย แสงชโยสวัสด์ิ เฉลิมพล สําราญพงษ ปนเพชร สกุลสองบุญสิริ ประภัสสร พันธสมพงษ ชาฤทธิ์ สุมเหม วัฒนา พัฒน

ถาวร และฉัตรนภา พรหมานนท. 2548. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการระบบสนับสนุนการวางแผนทรัพยากรการเกษตรและ

บริการ ระยะที่ 1 ภาคเหนือตอนบน: การใชทรัพยากรและระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (ระบบกลาง). ศูนยวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิต

ทางเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

Palisade Corporation, 1997. Guide to using BestFit. New York: Palisade Corporation.

Palisade Corporation, 2002. @Risk: Advanced Risk Analysis for Spreadsheets. New York: Palisade Corporation.

คํานิยม บทความนี้เปนสวนหนึ่งของผลการศึกษาในโครงการวิจัย “ระบบสนับสนุนการวางแผนจัดการทรัพยากรเพื่อการเกษตรและบริการ

ระยะที่ 2 ภาคเหนือตอนบน: ระบบการผลิต ความเส่ียง และกลยุทธการปรับตัวของประชากรในภาคเกษตร” ซ่ึงไดรับสนับสนุนทุนวิจัยจาก

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประการสําคัญ บทความนี้เกิดจากความสนับสนุนและผลักดันจากอาจารย ดร.เมธี เอกะสิงห

หัวหนาโครงการวิจัย “ระบบสนับสนุนการวางแผนจัดการทรัพยากรเพื่อการเกษตรและบริการ ระยะที่ 2 ภาคเหนือตอนบน” คณะผูวิจัยจึงใคร

ขอขอบคุณสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และอาจารย ดร.เมธี เอกะสิงห เปนอยางสูง

หมายเหตุ: บทความนี้ไดถูกตัดทอนจากตนฉบับจริงและเพิ่มเติมเนื้อหาบางสวนเพื่อใชเปนตัวอยางในการ

จัดเตรียมตนฉบับสําหรับการเขียนบทความประกอบ “การสัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษา

เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คร้ังที่ 6” ไมสามารถใชอางอิงได