9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa...

35
Marine Smart Patrol การลาดตระเวนเชิงคุณภาพทางทะเล

Upload: yah2527

Post on 09-Jan-2017

71 views

Category:

Environment


0 download

TRANSCRIPT

Marine Smart Patrolการลาดตระเวนเชิงคุณภาพทางทะเล

ปัญหาปัจจยัคกุคามพ้ืนท่ีอนุรกัษท์างทะเล

ระบบการลาดตระเวนเชิงคุณภาพทางทะเลเกิดขึ้นครั้งแรกในภูมิภาค

Marine Smart Patrol

THAI LAND

ความเป็นมาในประเทศไทย• พ.ศ.2556 โครงการ SAMPAN (Strengthening Andaman Marine

Protected Areas Network) เริ่มพัฒนาระบบลาดตระเวนเชิงคุณภาพทางทะเล ด้วยระบบโปรแกรม (MIST) พื้นที่น าร่อง 3 อุทยานฯ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา

• พ.ศ.2557-2559 โครงการ CATSPA (Catalyzing Sustainability of Thailand's Protected Area System) ต่อยอดการพัฒนาระบบลาดตระเวนเชิงคุณภาพทางทะเล ด้วยระบบโปรแกรม (Smart) พื้นที่น าร่อง อุทยานแห่งชาติตะรุเตาและพื้นที่ใกล้เคียง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา เขตห้ามล่าหมู่เกาะลิบง

• พ.ศ.2558 ได้ขยาย ระบบ (Marine Smart Patrol) ไปใช้ในส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 5 นครศรีธรรมราช

• พ.ศ.2559 ได้ขยาย ระบบ (Marine Smart Patrol) บรรจุในหลักสูตรประชารัฐพิทักษ์ทะเล

วตัถุประสงค์-เพ่ือปอ้งกนั ปราบปราม และ ตรวจสอบการลกัลอบท าลายทรัพยากรธรรมชาติในพืน้ท่ีอนรัุกษ์ทางทะเล

- เพ่ือสร้างความเข้มแข็งของระบบลาดตระเวนท่ีสามารถติดตามและประเมินผลได้ในพืน้ท่ีอนรัุกษ์ทางทะเล

ขั้นตอนการเสริมสร้างระบบการลาดตระเวนทางทะเล1. เตรียมความพร้อมและพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่

2. ตดิตัง้ระบบฐานข้อมูล

3.ลาดตระเวนอย่างเป็นระบบ

5.ตดิตามและประเมนิผล

4.รวบรวมข้อมูลและประมวลผล

การด าเนินการของระบบลาดตระเวนเชิงคุณภาพทางทะเล

STEP : 1 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่หลักสูตร

อดทน : ระเบียบวินยั : กล้าหาญ : พิทกัษ์ทะเล

จ ำลองสถำนกำรณ์จริงตรวจค้นจับกุมทำงทะเล

ทฤษฏี : วิชำกำร : แบบทดสอบปฏิบัติ

STEP : 2 ปรับโครงสร้างฐานข้อมูลโปรแกรมการลาดตระเวนทางทะเล

ประชมุ : ปรับโครงสร้างฐานข้อมลูโปรแกรม SMART ทางทะเล

การพัฒนาโครงสร้างฐานข้อมูล (Data model) ในโปรแกรม SMART เพ่ือรองรับการใช้งานกับ Marine Smart Patrol

STEP : 3 อบรมการใช้และติดตั้งระบบฐานข้อมูลโปรแกรม

สมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่าWCS

ตัวอย่างการใช้งานโปรแกรม Marine Smart

STEP : 4 ลาดตระเวนทางทะเลแบบบูรณาการ

ประชมุวางแผนการลาดตระเวนแบบบรูณาการ

ลาดตระเวนแบบบูรณาการครั้งที่ 1

- อุทยำนแห่งชำติตะรุเตำ- อุทยำนแห่งชำติหมู่เกำะเภตรำ- เขตห้ำมล่ำสัตว์ป่ำ หมู่เกำะลิบง

ตรวจค้นทางทะเล- บันทึกแบบฟอร์มลำดตระเวน- ตรวจค้นเรือประมง- ตรวจเรือท่องเที่ยว ด ำเนินกำรเปรียบเทียบปรับ ฝ่ำฝืนค ำสั่ง จนท

ปัจจัยด้านนิเวศ- ถ่ายภาพววัประครัง้แรกในตะรุเตา- พบปะการังฟอกขาว (ตาลงั)

ลาดตระเวนแบบบรูณาการครัง้ที่ 2

1.พบกำรกระท ำผิด มีกำรปิดกั้นแอ่งน้ ำเพื่อลักลอบสูบน้ ำไปใช้

2.แจ้งควำม เรือฟัยรุจ 9 บริเวณเกำะหลี เ ป๊ ะ ค ว ำมผิ ด ฐ ำนขั ด ค ำ สั่ งเจ้ำหน้ำที่ไม่ยอมจ่ำยค่ำธรรมเนียม

3. ส ำรวจสถำนภำพปะกำรังจ ำนวน 8 จุด ยังไม่พบปะกำรังฟอกขำว

4 . ไ ด้ ส ำ ร ว จพ บปู ไ ก่ ก้ ำ ม เ รี ย ว (Gecarcoidea lalandii) ที่ยังไม่เคยมีกำรรำยงำนกำรพบมำก่อนบริเวณเกำะไข่

5. ภัยคุกคำมที่พบคือขยะที่ลอยมำกจำกต่ำงประเทศ บริเวณเกำะไข่

6. พบพื้นที่กัดเซาะบริเวณเกาะอาดัง ทรายขาว

STEP : 5 ติดตามประเมินผลตัวอย่างรายงานการลาดตระเวนทางทะเล

รายงานผลการลาดตระเวนทางทะเล อทุยานแหง่ชาติตะรุเตา

ธันวำคม-มกรำคม 2559เมษำยน 2559

ผลการลาดตระเวนสะสมส าหรับเจ้าหน้าที่

สรุปผลการลาดตระเวนทางทะเล

ขยายผลด าเนินการMarine Smart Patrol บรรจุอยู่ในหลักสูตรประชารัฐพิทักษ์ทะเล

Marine Smart Patrol ประชำรัฐพิทักษ์ทะเล

จบกำรน ำเสนอ

Marine Smart Patrol