- 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน...

23
กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข 2549 - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน ระบบบํารุงรักษา การจัดทําเอกสารและการรายงานสําหรับระบบบํารุงรักษาในโรงพยาบาล ในการดําเนินงานดานบํารุงรักษานีเอกสารที่ใชและการายงานก็เปนสวนหนึ่งที่มี บทบาทสําคัญตอการดําเนินงานมาก ทั้งนี้เพราะขอมูลที่บันทึกไว และผลวิเคราะหที่ไดจาก เอกสาร เราสามารถใชเปนประวัติที่สามารนํามาพิจารณาในเรื่องของการซอมบํารุง การวางแผน การควบคุมและติดตามแกไขปรับปรุงการดําเนินงาน รวมทั้งใชเปนหลักฐานในการบันทึก ผลงานและคาใชจายตาง ที่เกิดขึ้นดวย ซึ่งจะใชเปนแนวทางใหเราทราบวา เรากําลังทําอะไร อยูและควรจะทําอะไรตอไป รูปที20 เอกสารสําหรับงานบํารุงรักษาที่ดีและมีประสิทธิภาพ จะตองถูกเก็บทั้ง ในรูปของไฟลระบบคอมพิวเตอร และพิมพเปนกระดาษควบคูกันเทาทีจําเปน โดยควรมีระบบปองกันขอมูลและสํารองที่มีคุณภาพ บทที

Upload: others

Post on 22-May-2020

12 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

- 82 -

การจัดทําเอกสาร และการรายงาน ระบบบํารุงรักษา

การจดัทําเอกสารและการรายงานสําหรับระบบบํารุงรักษาในโรงพยาบาล ในการดาํเนินงานดานบํารุงรักษานี้ เอกสารที่ใชและการายงานก็เปนสวนหนึ่งที่มี

บทบาทสําคญัตอการดาํเนินงานมาก ทั้งนี้เพราะขอมูลที่บนัทึกไว และผลวิเคราะหที่ไดจากเอกสาร เราสามารถใชเปนประวตัิที่สามารนาํมาพิจารณาในเรือ่งของการซอมบาํรุง การวางแผน การควบคมุและติดตามแกไขปรับปรุงการดําเนินงาน รวมทั้งใชเปนหลักฐานในการบันทึกผลงานและคาใชจายตาง ๆ ที่เกิดข้ึนดวย ซึ่งจะใชเปนแนวทางใหเราทราบวา เรากําลังทาํอะไรอยูและควรจะทําอะไรตอไป

รูปที่ 20 เอกสารสําหรบังานบาํรงุรักษาที่ดีและมีประสิทธิภาพ จะตองถูกเก็บทั้ง ในรูปของไฟลระบบคอมพิวเตอร และพิมพเปนกระดาษควบคูกันเทาที ่ จําเปน โดยควรมีระบบปองกันขอมูลและสาํรองที่มีคุณภาพ

บทที ่

Page 2: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

- 83 -

ประเภทและจํานวนของเอกสารทีจ่ะใชงานนั้นข้ึนอยูกับลักษณะของงานและสภาพการณของหนวยงานแตละแหง แตอยางไรก็ตามก็ไมควรจะมีจํานวนมากเกินไป จะทาํใหเสียคาใชจายมากและสบัสน ควรจัดทําเอกสารเฉพาะที่จําเปนเทานั้น โดยพิจารณาถึงผลที่จะไดจากการทีม่ีขอมูลหรือเอกสารนั้นๆ รวมทั้งศึกษาระบบการดําเนินงานเอกสารที่มอียูแลว จึงนํามาวางระบบงานเอกสารและออกแบบเอกสารใหเหมาะสมกบัหนวยงานนั้นๆ มิฉะนั้นแลวอาจจะกอใหเกิดความยุงยากและตองทาํการแกไขในภายหลังอีก ซึ่งเสียเวลาและคาใชจาย การที่มีขอมลูที่ดแีละถูกตอง มีการจัดเก็บอยางเปนระเบียบ จะทาํใหสามารถตรวจสอบทบทวนแผนงานที่ดาํเนินไปแลวไดอยางสม่าํเสมอ และสามารถติดตามงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายทีว่างไวไดอยางมีประสิทธิภาพ แนวทางการจดัทํา และการควบคมุเอกสาร และขอมูลตามมาตรฐานคุณภาพสากล ในมาตรฐานระบบคุณภาพ โดยเฉพาะที่ใชกับระบบบํารุงรักษาในโรงพยาบาล ตามมาตรฐานสากล (ISO-9000) ไดกําหนดใหมีการจัดทําเปนเอกสารของวิธีการทํางานรวมทั้งผลของการปฏบิตัิตามขอกําหนดตาง ๆ ซึ่งอาจอยูในรปูของกระดาษหรือสื่ออิเลคทรอนิกส แมวามาตรฐานจะไมไดกําหนดใหทุกขอกําหนดตองจัดทําเปนเอกสาร แตการทาํใหเปนเอกสารจะชวยใหการจัดระบบเปนไปโดยสะดวกและทําใหการทําความเขาใจในระบบเปนไปโดยงายและตอเนือ่ง แมวาคนดูแลระบบจะเปลี่ยนไปแตการจัดทําเปนเอกสารทําใหการถายทอด การรักษา รวมทั้งการพฒันาเปนไปไดอยางตอเนือ่งไมสูญหาย

การจัดทําระบบเอกสารควรคํานึงถึงการที่จะสงผลตอการจดัทาํคณุภาพอยางมปีระสทิธิ ผลมากกวาความซับซอน สมบูรณแบบของระบบเอกสารอยางเดียวระบบเอกสารเปนระบบที่เก่ียวของกับทุกคนที่เก่ียวของ จึงตองมีการทาํความเขาใจในการปฏิบตัิตามระบบที่จัดทําข้ึน

ขั้นตอนหลกั

1. การจัดทาํเอกสาร 2. การควบคมุเอกสาร

Page 3: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

- 84 -

1. การจดัทาํเอกสาร 1.1 การกําหนดโครงสรางเอกสาร วธิีการทาํงานทีจ่ัดทําข้ึนเปนเอกสาร จะมีงานชนิดตาง

ๆ ซึ่งมีความแตกตางกันในระดับของพนักงานที่ตองการปฏบิัตติาม ระดับของความสัมพันธของหนวยงานที่เก่ียวของ ดังนั้น การกําหนดโครงสรางของเอกสารจะชวยใหการควบคมุเอกสารเปนไปโดยสะดวก โดยทั่วไปจะกําหนดโครงสรางเอกสารดังนี ้

• คูมือคุณภาพ (Quality Manual) • ข้ันตอนการปฏิบัติงาน (Procedure Manual) • วิธีปฏิบตัิงาน (Work Instruction) • ขอกําหนดเกณฑมาตรฐาน ขอกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ • เอกสารอื่น ๆ เชน แบบฟอรม

1.2 การกําหนดช่ือ รหสั และสถานะของเอกสาร ช่ือ รหัส และสถานะของเอกสารทาํใหการใชและการควบคุมสารสะดวก เปนที่เขาใจไดโดยงายและชัดเจน โดยทั่วไป การกําหนดชือ่ของเอกสาร จะขึ้นตนดวยประเภทของเอกสาร และตามดวยชื่อเรื่องของเอกสารนั้น ๆ เชน ข้ันตอนการปฏบิัติงานเรื่องการซอมเครือ่งเอกซเรย เปนตน การแสดงสถานะของเอกสาร ทําไดหลายรปูแบบ เชน ใชตัวอักษรและตัวเลข การแสดงสถานะของเอกสาร ทาํไดหลายรปูแบบ เชน แสดงถึงการปรับปรุงเอกสารครัง้ที่ วันที่เอกสารมีผลบังคับใช เปนเอกสารตนฉบับหรอืเอกสารสาํเนา

1.3 การจดัทาํคูมือคุณภาพ คูมือคุณภาพเปนเอกสารทีอ่ธิบายภาพรวมของระบบคุณภาพที่ไดจัดทําข้ึนโดยสะทอนใหเห็นถึงความครบถวนตามขอกําหนด คูมือคุณภาพไมมีรูปแบบกําหนดไวอยางแนนอน โดยทั่วไป จะจัดทาํเปน 2 แบบ คอื โดยเรียงลําดับตามกิจกรรมขององคกรหรือเรียงลาํดบัตามขอกําหนด โดยแตละหัวขอควรอางถึงขั้นตอนการปฏบิัติงานที่เก่ียวของไวดวย อยางไรก็ตามการจัดทําคูมือคณุภาพทั้งสองลักษณะ ตองสะทอนใหเห็นถึงแนวคิด ทิศทาง และประสิทธิภาพของระบบไวดวย ขอพึงปฏิบัตใินการจัดทาํคูมอื คือการมีสวนรวมของผูบังคับบัญชาและการตกลงรวมกันของเจาหนาทีร่ะดับบริหาร

Page 4: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

- 85 -

โดยทั่วไปผูอนุมัติใหคูมอืคุณภาพมีผลบังคับใชคอื ผูบริหารสูงสดุขององคกร อาทิเชน กรรมการผูจัดการ ผูจดัการโรงงานเปนตน

1.4 การจดัทาํข้ันตอนการปฏิบตัิงาน ข้ันตอนการปฏิบตังิาน จะกลาวถึงการทํางานแตละขั้นตอนวาใครเปนผูรับผิดชอบในการทําอะไร ทีไ่หน ข้ันตอนการปฏบิัติงานอาจจะอธบิายถึงการทํางานทีต่องมีความสัมพันธมากกวา 1 หนวยงานก็ไดและจะอางอิงถึงวิธีการปฏิบตัิงานทีเ่ก่ียวของในขั้นตอนนั้น ๆ ไวดวย ข้ันตอนการปฏบิตัิงานสามารถจัดทําไดหลายวิธี อาท ิ มอบหมายใหพนักงานคนใดคนหนึ่งหรอืหนวยงานที่เก่ียวของรับไปจัดทาํฉบบัรางขึ้นแลวนํามาเสนอใหทีมงานจดัทําระบบคุณภาพพิจารณา

1.5 การจดัทาํวิธีปฏบิัติงาน (WI) วิธีการปฏบิัติงานเปนวิธีการทํางานโดยละเอียดของงานใด ๆ การจัดทําตองคาํนึงถึงความเขาใจของพนักงานผูปฏิบตัิเปนสาํคัญ ควรทาํใหเขาใจไดงาย ชัดเจน นําไปปฏบิัติได สามารถจัดทาํไดหลายรปูแบบ ทั้งที่เปนตัวอักษร รปูภาพ วิดีโอ หรือ สือ่อิเลคทรอนิกสตาง ๆ วิธีปฏิบัติงานสามารถจัดทําไดหลายวิธี อาทิ มอบหมายใหพนักงานผูปฏิบตัิงานนัน้ หรือผูที่เก่ียวของรับไปจัดทาํฉบับรางขึ้น แลวนําเสนอผูบงัคับบัญชาตามสายงานพิจารณา ในการจัดทําเอกสาร PM และ WI ควรเริ่มจากการเขียนในสิ่งที่ทาํจริง แลวมาพิจารณาวาสิ่งที่ทาํจริงนั้นสอดคลองกับขอกําหนด ISO 9002 และยังตองมีการแกไขปรับปรุงหรอืไม ในกรณีที่ตองปรับปรุงการทาํงานเมื่อปรับปรุงแลวใหพิจารณาทดลองปฏิบัติกอน หากไดผลตามทีท่ี่ตองการแลวจึงแกไขเอกสาร และประกาศใช 2. การควบคุมเอกสาร

การควบคมุเอกสารประกอบดวย 2.1 การจดัทาํแกไข ยกเลิก 2.2 การครอบครอง2.3 การแจกจายและเรียกคืน 2.4 การจดัเก็บ และการทําลาย

Page 5: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

- 86 -

การควบคมุเอกสารมักจะมีการแตงตั้งผูที่รับผิดชอบ เรียกวาเจาหนาทีค่วบคุมเอกสาร การควบคุมเอกสารจะครอบคลุมทั้งเอกสรที่องคกรจัดทาํข้ึนเองและเอกสารจากภายนอกที่นาํมาใชงานในระบบ เชน มาตรฐาน กฎหมาย ขอกําหนดของลูกคา จุดมุงหมายในการจดัทาํเอกสารในงานบํารุงรกัษา

1. เพ่ือใชในการบันทึกขอมูลไวเปนหลักฐาน 2. เพ่ือใชเปนขอมูลในการวางแผนในการปฏิบัติงานในอนาคต 3. ใชในการควบคุมการปฏิบตัิงาน 4. ใชในการติดตามการดําเนนิงานในแตละขั้นตอน 5. เพ่ือใชในการทบทวน วิเคราะหแนวทางแกไข และปรบัปรุงงาน

ขอควรควรคํานึงในการจดัทําเอกสาร

1. จัดทําเอกสารใหตรงตามวตัถุประสงค 2. ไมจัดทาํเอกสารมาก ควรใหมีเอกสารนอยที่สดุเทาที่จําเปน 3. มีความงายตอการกรอกขอความ 4. มีระบบการจดัเก็บ และการไหลเวียนของเอกสาร ที่ไมยุงยากหรือซับซอน

ประเภทของเอกสารที่ใชในงานบํารุงรักษา เอกสารที่สําคัญ ๆ ทีใ่ชในงานบํารงุรักษา มีดังนี้

1. ทะเบียนรายการเครื่อง (Assets Register) 2. ข้ันตอน และวิธีการบาํรุงรกัษา (Work Specifications) 3. ตารางกําหนดการตรวจสอบ (Maintenance Schedule) 4. ใบตรวจสอบสภาพเครือ่ง (Check List) 5. ใบสั่งงาน (Maintenance Request , Job Order , Work Order) 6. ทะเบียนรบัใบสั่งงานรายงานผลการดาํเนินงาน

• รายงานผลการตรวจสอบ และขอเบิกวสัดุ / อะไหล • รายงานผลการบํารุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดของ

Page 6: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

- 87 -

• รายงานผลการปฏิบตัิงานประจําเดอืน 7. ประวัติการบาํรุงรักษา (Maintenance Record)

เอกสารดังกลาวอาจจะกาํหนดรวมใหอยูในใบเดียวกนัก็ได ทั้งนี้ ข้ึนอยูกับลักษณะงานแตละแหงและการออกแบบของแบบฟอรมทีใ่ชงาน นอกจากนีอ้าจจะออกแบบฟอรมเพ่ือเปนหลักฐานอื่นอกีก็ได เชน

- ใบรบัเครือ่งเขาบํารุงรักษาหลังเกิดเหตขัุดของ - ใบสงเครือ่งคืน

ทะเบียนรายการเครื่อง (Assets Register)

คือ รายการเครื่องและสิ่งของตางๆ ที่ตองบาํรุงรักษา (ตามตัวอยางที่ 1 และ 2) ซึ่งควรมีการกําหนดรายละเอียดดังนี้

- ช่ือเครื่อง - รหัส หรือ เลขที่ครุภัณฑ (หมายเลขเครื่อง) - รุน (Model) และหมายเลขของผูผลติ (Serial Number) - สถานที่ หรอื บริเวณที่เครื่องนั้น ๆ ตั้งอยู - วัน เดือน ป ที่ไดรับเครื่อง หรือ ติดตั้งเครื่อง - รายละเอียดของผูผลติ หรือ ผูจําหนาย เปนตน

รายการเครื่องและสิ่งของตางๆ ที่บันทกึนี้ อาจจะแบงหมวดหมูยอยๆ ไดอีก ซึ่งการแบงยอยออกไปนี้อาจจะแบงตามหลักการ ดังนี้

(1) ตามลักษณะการใชงาน เชน แบงเปนฝาย / แผนกตาง ๆ (2) ตามเทคนิคของเครื่องและสิ่งของนั้น ๆ เชน อุปกรณไฟฟา , อุปกรณไฮดรอลกิ (3) ตามวิธีการบํารุงรักษา เชน ซอมโดยบริษัทผูจาํหนาย หรือโดยวิธกีารเปลี่ยนทดแทน หรือโดยวิธีการอื่น ๆ

ขั้นตอน และวิธีการบํารงุรักษา (Work Specifications)

เปนเอกสารทีร่ะบุรายละเอยีดเปนข้ันตอน ในการบํารงุรักษา (ตามตัวอยางที่ 3) ซึ่งอาจจะตองมภีาพแสดงถึงชิ้นสวนตางๆ และรายละเอียดทางเทคนิคควบคูอยูดวย ประโยชน

Page 7: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

- 88 -

ของ Work Specifications นี้ก็คือ จะทาํใหประสิทธภิาพในการทาํงานของชางดีข้ึน เพราะสามารถทาํงานไดอยางถูกตองตามขั้นตอนและวธิีการ และสามารถทํางานทดแทนกันไดโดยปฏิบตัิตามขัน้ตอนตาง ๆ ที่กําหนดไว เวลาในการทํางานก็ลดลง

ตารางกําหนดการตรวจสอบ (Maintenance Schedule)

เปนกําหนดการสาํหรบังานตรวจสอบสภาพเครื่อง งานหลอลื่น และกําหนดการของงานบํารุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive Maintenance) (ตามตัวอยางที่ 4) ขอมูลที่ใชในการจัดทํากําหนดการนี้จะไดมาจากคูมอืของผูผลิตเครื่อง (ซึ่งบางครั้งจะตองปรับปรุงแกไขใหสอดคลองกบัสภาวะของหนวยงานแตละแหง) และขอมูลจากประวัติการบํารุงรักษา (Maintenance Record) กําหนดการทีจ่ัดทําข้ึนนี้ ควรจะไดรับการปรับปรุงแกไขเปนระยะๆ เพ่ือใหเหมาะสมยิ่งขึ้นตามสภาพการณตางๆ ในหนวยงานที่เปลีย่นแปลงไป จากกําหนดการนี้นําไปสูการจดัทําแผนงานบํารุงรักษาตลอดทั้งปตอไป ใบตรวจสอบสภาพเครื่อง (Check List)

เปนเอกสารทีร่ะบุช้ินสวนของเครื่อง หรอืสวนประกอบตาง ๆ ที่วางแผนการตรวจสอบไวแลว (ตามตัวอยางที่ 5) ทั้งนี้ เพ่ือปองกันการหลงลืมสวนใดสวนหนึ่งที่จะตองตรวจสอบ อาจจะมีขอกําหนดเกี่ยวกบัมาตรการความปลอดภัยตางๆ เชน จะตองตัดระบบไฟฟากอนที่จะดําเนินการตรวจสอบ เปนตน ใบตรวจสอบที่ใชสาํหรับงานหลอลืน่เครื่อง ควรมีการกําหนดชนิด/ประเภทของน้ํามันหลอลื่น ปริมาณ จุดหลอลืน่ และความถี่ในการหลอลื่นดวย เมื่อมีการตรวจสอบพบจุดบกพรอง ชํารุด หรือผิดปกติ ผูตรวจสอบควรทําการแกไขใหเรียบรอยในกรณีที่สามารถจะทําได แตในบางกรณีไมอาจปฏิบัตกิารไดก็เขียนใบแจงบํารุงรกัษาหลังเกิดเหตุขัดของขึน้มา ผานเขาไปในระบบใบสั่งงานตามปกติทีป่ฏิบตัอิยูอีกทหีนึ่ง - ใบตรวจสอบสภาพเครื่อง ประจําวัน (ตามตัวอยางที่ 6) - ใบตรวจสอบสภาพเครื่อง ทุก 1000 ช่ัวโมง หรือ 4 เดือน ตอครั้ง (ตามตัวอยางที่ 7)

Page 8: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

- 89 -

ใบสั่งงาน (Maintenance Request , Job Order , Work Order) เอกสารนี้มีความสําคัญทีม่ีสวนเกี่ยวของกับการวางแผน การควบคุมงาน และการ

ติดตามผลงาน (ตามตัวอยางที่ 8 และ 9) เอกสารนีม้ช่ืีอเรียกกันหลายอยาง เชน ใบแจงบํารุงรักษา ใบสงบํารุงรักษา ใบสั่งงานวิศวกรรม เปนตน แบบฟอรมที่ใชงานขึ้นอยูกับความเหมาะสมของระบบงานแตละแหง ขอมูลที่มอียูในใบสั่งงาน ไดแก

- ช่ือเครื่อง และหมายเลขเครื่อง - ฝาย / แผนก - วันและเวลาที่แจงบํารุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดของ - เลขที่ใบสั่งงาน - ปญหา หรือ อาการที่เกิดข้ึน - ลายเซ็นหัวหนางาน - ช่ือของชางผูปฏิบตัิงาน - วันที่เริ่มงานและเสร็จงาน เปนตน

ทะเบียนรับใบสั่งงาน

เปนเอกสารทีใ่ชบันทึกเก่ียวกับการสั่งงานในการบํารุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดของ เพ่ือใชประโยชนในการวางแผน การควบคุมงาน และการติดตามผลงาน (ตามตัวอยางที่ 10)

รายงานผลการดําเนินงาน รายงานผลการตรวจสอบ และขอเบิกวัสด ุ/ อะไหล

เปนแบบรายงานผลจากการตรวจสอบเครื่อง และประมาณการคาใชจาย เพ่ือขอความเห็นชอบในการดําเนนิการบํารุงรักษาตอไป และแจงความประสงคขอเบิก หรอืขอใหจัดหาวัสดุ / อะไหล (ตามตัวอยางที่ 11)

Page 9: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

- 90 -

รายงานผลการบํารุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดของ เปนเอกสารเพื่อสรุปรายงานใหทราบวา ผลการปฏบิัติงานแตละชิ้นงานวา ไดดําเนินงาน

ไปอยางไรบาง , วัสดุ / อุปกรณที่ใช , วันและเวลาทีด่ําเนินการ , ผูดําเนินการ , ขอเสนอแนะตางๆ และลายเซ็นรับงานหลังจากงานเสร็จ เปนตน (ตามตัวอยางที่ 12 และ 13)

รายงานผลการปฏิบัติงานประจําเดอืน

เปนเอกสารสรุปรายงานผลการปฏิบตัิงานในแตละเดอืนวา ไดดาํเนินการอะไรไปบาง จํานวนเทาใด เพ่ือรายงานใหหัวหนาหนวยงานไดรับทราบและพิจารณาสั่งการหรือดาํเนินการในสวนที่เก่ียวของตอไป (ตามตัวอยางที่ 18)

ประวัติการบํารุงรักษา (Maintenance Record)

เปนเอกสารบนัทึกขอมูลเก่ียวกับการบาํรุงรักษาที่ไดดําเนินการไปแลวของเครื่องแตละเครื่อง เพ่ือประโยชนในการวางแผน วิเคราะหรปูแบบการชาํรดุเสียหายของเครื่อง แนวโนมในการใชอะไหล และรวบรวมคาใชจายที่เกิดข้ึน รวมทั้งใชเปนขอมูลในการที่จะจัดซื้อเครือ่งมาใชทดแทนในครัง้ตอไป (ตามตัวอยางที่ 14)

ใบรับเครื่องเขาบํารุงรกัษาหลังเกดิเหตุขดัของ

เปนเอกสารทีท่ําข้ึนเพ่ือใหเปนหลักฐานแกผูสงเครื่องเขาบํารุงรักษาหลังเกิดเหตขัุดของวา ไดรับเครื่องไวเพ่ือดําเนินการบาํรุงรักษาตอไปแลว (ตามตัวอยางที่ 15)

ใบสงเครื่องคืน

เปนเอกสารทีท่ําข้ึนเพ่ือเปนหลักฐานวา ไดสงเครื่องที่ดําเนินการบํารุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดของเสร็จเรียบรอย คืนใหแกเจาของเครื่องหรอืผูรบัผิดชอบเครื่องไปเรยีบรอยแลว (ตามตัวอยางที่ 16) ซึ่งการออกแบบเอกสารนั้น อาจจะกําหนดใหมีการบันทึกแตละขั้นตอนอยูในเอกสารใบเดยีวกันก็ได (ตามตัวอยางที่ 17)

Page 10: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

91

ตัวอยางที่ 1 ทะเบียนรายการเครื่อง (Assets Register)

รายการเครื่อง ผูผลิต หรือ ผูจําหนาย สถานที่ / บริเวณ วัน เดือน ป ลําดับ

ชื่อเครื่อง เลขที่ครุภัณฑ รุน (Model) Ser. No. หาง / ราน /บริษัท ที่อยู / โทรศัพท ที่ตั้งเครื่อง ที่ไดรับ / ติดตั้ง หมายเหตุ

- 66 -

Page 11: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

92ตัวอยางที่ 2 ทะเบียนรายการเครื่อง (Assets Register)

ชื่อเครื่อง เลขท่ีครุภัณฑ ขนาด รุน (Model) Serial No. สถานที่ต้ังเครื่อง วัน เดือน ป ท่ีไดรับ / ติดต้ังเครื่อง ผูจําหนาย ท่ีอยู

โทร. ผูผลิต ท่ีอยู

โทร. อื่น ๆ

รายการอะไหลที่ควรจะมีสํารอง

Part Number ท่ีเก็บใน ลําดับ รายการอะไหล

ของผูผลิต ของคลงัพัสดุ คลังพัสดุ จํานวน หมาย

เหตุ

Page 12: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

93ตัวอยางที่ 3 ขั้นตอน และวิธีการบํารุงรักษา (Work Specifications)

ขั้นตอนและวิธีการบํารุงรักษาเครื่องอัดอากาศของยูนิตทําฟน (ประเภทลูกสูบขนาดเล็กและใชมันหลอลื่น) ระยะเวลา

(เลือกใชระยะเวลาที่สั้นกวา)

สวนของเครื่อง (หรือ รายการ

วิธีการตรวจสอบ และบํารุงรักษา

ทุกวัน ทุก 250 ชั่วโมง

ทุก 1000 ชั่วโมง

ทุก 3000 ชั่วโมง

ขอสังเกต

ตรวจสอบ) กอนใชงาน

เดือนละครั้ง

4 เดือนตอครั้ง

ปละครั้ง

1.1 ตรวจสอบการหลุดหรือหลวมของสลักเกลียว , แปนเกลียว และตะปูควง แลวขันใหแนนดวยประแจ หรือไขควง

1. ความม่ันคงแข็งแรงของตัวเครื่องอัดอากาศ

1.2 สังเกตดู และฟงเสียงวา มีเสียงผิดปกติหรือมีการสั่นผิดปกติหรือไม ขณะเครื่องอัดอากาศกาํลังทํางาน

2. สายพาน

2.1 ตรวจสอบสายพานวาหยอนยานหรือไม หากหยอนยาน ใหขยบัมอเตอรเพื่อใหสานพานตึง

2.2 หากสายพานชํารุด ใหเปลี่ยนสายพานใหม

3. กรองอากาศขาเขาเครื่องอัดอากาศ

3.1 ทําความสะอาดดวยแปรงออน 3.2 หากสกปรกมาก หรือชํารุด ให

เปลี่ยนกรองอากาศใหม

Page 13: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

94 ระยะเวลา

(เลือกใชระยะเวลาที่สั้นกวา)

สวนของเครื่อง (หรือ รายการ

วิธีการตรวจสอบ และบํารุงรักษา

ทุกวัน ทุก 250 ชั่วโมง

ทุก 1000 ชั่วโมง

ทุก 3000 ชั่วโมง

ขอสังเกต

ตรวจสอบ) กอนใชงาน

เดือนละครั้ง

4 เดือนตอครั้ง

ปละครั้ง

4.1 ตรวจดูระดับนํ้ามันท่ีท่ีวัดระดับนํ้ามัน ปกติจะอยูในระดับวงกลมสีแดง หากต่ํากวาพิกัดลางใหเติมนํ้ามันใหอยูในระดับปกติ

4. นํ้ามันหลอลื่น

4.2 เปลี่ยนนํ้ามันหลอลื่น 4.3 ทําความสะอาดแทนเครื่อง และ

ท่ีวัดระดับนํ้ามัน

5. มาตรวัดความดัน (Pressure gauge)

ตรวจดูใหแนใจวา มาตรวัดความดันทํางานเปนปกติ และเข็มชี้ท่ีเลขศูนยเม่ือความดันในถังเก็บลมเทากับศูนย

6. วาลวควบคุมแรงดัน (Pressure control valve)

ตรวจดูท่ีมาตรวัดความดันวา ระหวางการทํางานน้ัน ความดันอยูในเกณฑปกติ

7. สวิตชความดัน (Pressure sensing switch)

ตรวจดูท่ีมาตรวัดความดันวา ระหวางการทํางานน้ัน ความดันอยูในเกณฑปกติ

Page 14: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

95 ขั้นตอนและวิธีการบํารุงรักษาเครื่องอัดอากาศของยูนิตทําฟน (ประเภทลูกสบูขนาดเล็กและใชนํ้ามันหลอลื่น) (ตอ) ระยะเวลา

(เลือกใชระยะเวลาที่สั้นกวา)

สวนของเครื่อง (หรือ รายการ

วิธีการตรวจสอบ และบํารุงรักษา

ทุกวัน ทุก 250 ชั่วโมง

ทุก 1000 ชั่วโมง

ทุก 3000 ชั่วโมง

ขอสังเกต

ตรวจสอบ) กอนใชงาน

เดือนละครั้ง

4 เดือนตอครั้ง

ปละครั้ง

8. วาลวนิลภัย (Safety valve)

ดึงกาน (spindle) ของวาลวนิลภัยเบา ๆ ท่ีความดันสูงสุด (มีเครื่องหมายเปนเสนสีแดงบนที่มาตรวัดความดัน) และตรวจสอบการทํางาน

9.1 ปลอยใหวาลวรบัความดันสูงสดุ เปนเวลา 30 นาที แลวตรวจดวูา ความดันลดลงตํ่ากวา 10% หรือไม

15% สําหรับชนิดท่ีมีท่ีลดอัตราอัตโนมัติ

9. การรั่วของเครื่องอัดอากาศ

9.2 เอาคารไบตและสิ่ง แปลกปลอมออกจากวาลว โดยใชแปรง หากชํารุด ใหเปลี่ยนวาลวใหม

Page 15: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

969.3 ตรวจสอบรอยขดูขีดบนแหวน

และเสื้อสูบ หากมีรอย หรือไมมีสวนเอียง (slanted face) เหลืออยูท่ีริมนอกของแหวน ใหเปลี่ยนใหม

เปลี่ยน แหวน 3 อันในแตละครั้ง

9.4 เอาคารไบตและสิ่ง แปลกปลอมออกจากทอขา

ออกและที่รับทอขาออก โดย ใชแปรง

10.1 เปดวาลวระบายน้ําท้ิง (Drain valve) จากถังเก็บลม (ระบายน้ําท้ิงไดงาย เม่ือความดันในถังเกบ็ลมเทากับ 0.5-1.0 กก./ซม3)

10. ถังเก็บลม

10.2 ทําความสะอาดถังเก็บลม โดยถอดฝาปดออก แลวปดฝาเม่ือทําความสะอาดเสร็จ

Page 16: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

97

ตัวอยางที่ 4 ตารางกําหนดการตรวจสอบ (Maintenance Schedule)

กําหนดการตรวจสอบประจําป 2540 เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ย. ฝายพัสดุและบํารุงรักษา วันสิ้นสัปดาห 3 1

0 17

24

31

7 14

21

28

7 14

21

28

4 11

18

25

2 9 16

23

30

6 13

20

27

โรงพยาบาล………………………………………………………………

สัปดาหที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

เครื่อง ฝาย/แผนก เลขที่ใบตรวจสอบ

เลขที่ครุภัณฑ

ความถี่ (สัปดาห/ครั้ง)

เครื่องอัดอากาศ

กลุมงานทันตกรรม

CL-U-2 4 / / / / / / /

เครื่องนึ่งฆาเชื้อ หนวยจายกลาง CL-A-2 Ster. 24-

94 1 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / /

CL-A-3 Ster. 25-96

2 / / / / / / / / / / / / /

- 72 -

Page 17: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

98ตัวอยางที่ 5 ใบตรวจสอบสภาพเครื่อง (Check List)

เลขท่ี .เครื่อง เลขท่ีครุภัณฑ วันท่ี / / . สถานที่ต้ังเครื่อง . สวนของเครื่อง ผลการตรวจสอบ (หรือ รายการตรวจสอบ)

จุด/ตําแหนงที่ตรวจสอบ วิธีปฏิบัติ 1 2 3 4 5

หมายเหตุ 1. เรียบรอย , ปกติ 2. ปรับแตง 3. ตองซอมหรือเปลี่ยน 4. หลอลื่นหรือเติมนํ้ามัน

5. ตองใหความสนใจ - แจงใหฝายพัสดุและบํารุงรักษาทราบ

Page 18: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

99ตัวอยางที่ 6 ใบตรวจสอบสภาพเครื่อง (Check List)

ใบตรวจสอบสภาพเครื่องประจําวัน

เลขท่ี CL-U-1 เครื่องอัดอากาศของยูนิตทําฟน เลขท่ีครุภัณฑ วันท่ี / / . สถานที่ต้ังเครื่อง กลุมงานทันตกรรม โรงพยาบาล . สวนของเครื่อง ผลการตรวจสอบ (หรือ รายการตรวจสอบ)

จุด/ตําแหนงที่ตรวจสอบ วิธีปฏิบัติ 1 2 3 4 5

1. ระดับนํ้ามันหลอลื่น ท่ีวัดระดับนํ้ามัน ตรวจดูระดับนํ้ามันท่ีวัดระดับ ปกติจะอยูในระดับวงกลมสีแดง หากต่ํากวาพิกัดลางใหเติมนํ้ามันใหอยูในระดับปกติ

2. ระบายน้ําในถังเก็บลมท้ิง

วาลวระบายน้ําท้ิง (Drain valve)

เปดวาลวระบายน้ําท้ิงจากถังเก็บลม (ระบายน้ําท้ิงไดงาย เม่ือความดันในถังเก็บลมเทากับ 0.5-1.0 กก./ซม.3)

3. การทํางานของมาตรวัดความดัน

มาตรวัดความดัน (Pressure gauge) ของถงัเก็บลม

ตรวจดูใหแนใจวามาตรวัดความดันทํางานอยางเปนปกติ และเข็มชี้ท่ีเลขศูนยเม่ือความดันในถังเก็บเทากับศูนย

4. การทํางานของวาลวควบคุมความดัน (Pressure control valve)

มาตรวัดความดัน (Pressure gauge) ของถงัเก็บลม

ตรวจดูมาตรวัดความดันวา ระหวางการทํางานน้ัน ความดันอยูในเกณฑปกติ

5. การทํางานของสวิตชความดัน (Pressure sensing switch)

มาตรวัดความดัน (Pressure gauge) ของถงัเก็บลม

ตรวจดูมาตรวัดความดันวา ระหวางการทํางานน้ัน ความดันอยูในเกณฑปกติ

5. การทํางานของวาลวนิรภัย

วาลวนิรภัย (Safety valve) ดึงกาน (spindle) ของวาลวนิรภัยเบา ๆ ท่ีความดันสูงสุด (มีเครื่องหมายเปนเสนสีแดงบนท่ีมาตรวัดความดัน) และตรวจสอบการทาํงาน

Page 19: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

100สวนของเครื่อง ผลการตรวจสอบ (หรือ รายการตรวจสอบ)

จุด/ตําแหนงที่ตรวจสอบ วิธีปฏิบัติ 1 2 3 4 5

7. อื่น ๆ สังเกตดู และฟงเสียง การทํางานของเครื่องอัดอากาศ

สังเกตดู และฟงเสียงวา มีเสียงผิดปกติ หรือมีการสั่นผิดปกติหรือไม

หมายเหตุ 1. เรียบรอย , ปกติ 2. ปรับแตง 3. ตองซอมหรือเปลี่ยน 4. หลอลื่นหรือเติมนํ้ามัน

5. ตองใหความสนใจ - แจงใหฝายพัสดุและบํารุงรักษาทราบ

Page 20: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

101ตัวอยางที่ 7 ใบตรวจสอบสภาพเครื่อง (Check List)

ใบตรวจสอบสภาพเครื่อง ทุก 1000 ชั่วโมง หรือ 4 เดือนตอครั้ง

เลขท่ี CL-U-2 เครื่องอัดอากาศของยูนิตทําฟน เลขท่ีครุภัณฑ วันท่ี / / . สถานที่ต้ังเครื่อง กลุมงานทันตกรรม โรงพยาบาล . สวนของเครื่อง ผลการตรวจสอบ (หรือ รายการตรวจสอบ)

จุด/ตําแหนงที่ตรวจสอบ วิธีปฏิบัติ 1 2 3 4 5

1. ความม่ันคงแข็งแรงของตัวเครื่องอัดอากาศ

การหลุดหรือหลวมของสลักเกลียว, แปนเกลียว และตะปูควง

ขันใหแนนดวยประแจ หรือไขควง

ตรวจสอบสายพานวาหยอนยานหรือไม หากหยอนยาน ใหขยับมอเตอรเพื่อใหสานพานตึง

2. การหยอนยานของสายพาน

สายพาน

หากสายพานชํารุด ใหเปลี่ยนสายพานใหม

ทําความสะอาดกรองอากาศขาเขาดวยแปรงออน

3. ตรวจสภาพของกรองอากาศขาเขาเครื่องอัดอากาศ

กรองอากาศขาเขา (Air inlet filter)

หากสกปรกมาก หรือชํารุด ใหเปลี่ยนกรองอากาศใหม

เปลี่ยนนํ้ามันหลอลื่น 4. การหลอลื่น นํ้ามันหลอลื่น ทําความสะอาดแทนเครื่อง และที่วัดระดับนํ้ามัน

ปลอยใหวาลวรบัความดันสูงสดุ เปนเวลา 30 นาที แลวตรวจดูวา ความดันลดลงต่ํากวา 10% หรือไม

5.1 วาลวควบคุมแรงดัน (Pressure control valve)

เอาคารไบตและสิ่งแปลกปลอมออกจากวาลว โดยใชแปรง หากชํารุด ใหเปลี่ยนวาลวใหม

5. การรั่วของเครื่องอัดอากาศ

5.2 แหวนและเสื้อสบู ตรวจสอบรอยขดูขีดบนแหวนและเสื้อสูบ หากมีรอย หรือไมมีสวนเอียง (slanted face) เหลืออยูท่ีริมนอกของแหวน ใหเปลี่ยนใหม

Page 21: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

102 5.3 ทอขาออกและที่รับ

ทอขาออก เอาคารไบตและสิ่งแปลกปลอมออกจากทอขาออกและที่รับทอขาออก โดยใชแปรง

6. ทําความสะอาดถังเก็บลม ถังเก็บลม โดยถอดฝาปดถังออก แลวปดฝาเม่ือทําความสะอาดเสร็จ

หมายเหตุ 1. เรียบรอย , ปกติ 2. ปรับแตง 3. ตองซอมหรือเปลี่ยน 4. หลอลื่นหรือเติมนํ้ามัน

5. ตองใหความสนใจ - แจงใหฝายพัสดุและบํารุงรักษาทราบ

ตัวอยางที่ 8 ใบสั่งงาน (Job Order)

ใบสั่งงาน เลขท่ีใบสัง่งาน ชื่อเครื่อง เลขท่ีครุภัณฑ สถานที่ต้ังเครื่อง อาการผิดปกติ / สวนที่ชํารุด (ขัดของ) ชางผูบํารุงรักษา ผูสั่งงาน เริ่มงาน เวลา น. วันท่ี สั่งงาน เวลา น. วันท่ี บํารุงรักษาเสร็จ เวลา น. วันท่ี รวมเวลาทํางาน ชั่วโมง นาที

Page 22: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

กองวิศวกรรมการแพทย คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549

103

ตัวอยางที่ 9 ใบสั่งงาน (Job Order)

ใบสั่งงาน เลขท่ี

เครื่อง เลขท่ีครุภัณฑ สถานที่ต้ังเครื่อง อาการผิดปกติ / สวนที่ชํารุด (ขัดของ) ซอมกอน เมือวันท่ี อาการ ชางผูรับมอบหมายใหดําเนินการบํารุงรักษา …………………………………………………………………………..

(ลงชื่อ) ……………………………. ผูสัง่งาน

เริ่มงาน เวลา น. วันท่ี / / สั่งงาน เวลา น. วันท่ี / / เบิกอะไหล เวลา น. วันท่ี / / ไดรับอะไหล เวลา น. วันท่ี / / เสร็จงาน เวลา น. วันท่ี / / รวมเวลาทั้งหมด ชั่วโมง นาที

Page 23: - 82 - การจัดทําเอกสาร และการรายงาน บทที่ ระบบบํารุงรักษาmedi.moph.go.th/education/colum/cmun3/b10_01.pdf ·

คูมือมาตรฐานการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทยและสาธารณสุข ป 2549ล

- 104 -

ตัวอยางที่ 10 ทะเบียนรับใบสั่งงาน

ทะเบียนรับหนังสือแจงบํารุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดของ / ใบสั่งงาน ประจําปงบประมาณ………. ฝายพัสดุและบํารุงรักษา โรงพยาบาล………………..

เลขที่ วัน เดือน ป หนวยงานผูแจง บํารุงรักษา

หนังสือแจงบํารงุรักษา หลังเกิดเหตุขัดของ

เครื่องที่ตองการบํารุงรักษา หลังเกิดเหตุขัดของ

วัน เดือน ป

(JOB No.) ที่รับ หลังเกิดเหตุขัดของ

เลขที่ ลงวันที่ ชื่อเครื่อง เลขที่ครุภัณฑ

ชางผูบํารุงรักษา หลังเกิดเหตุขัดของ

เริ่มงาน เสร็จงาน

หมายเหตุ