11 biodiversity and conservation.pdf

32
การอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ Biodiversity and Conservation ความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ เราทุกคนตางมีความสัมพันธ และ ตองพึ่งพาความหลากหลายทางชีวภาพใน การดํารงชีวิตประจําวัน ไมทางใดก็ทาง หนึ่ง แมวาบอยครั้งจะไมรูตัวก็ตาม ซึ่ง โดยทั่วไปแลว คนเรามักเห็นความสําคัญ ของความหลากหลายทางชีวภาพ จาก ประโยชนโดยตรงที่เราไดรับ นั่นคือการ นํามาเปนอาหาร แตความจริงแลวความหลากหลายทางชีวภาพนั้นมีบทบาทตาม ธรรมชาติกวางขวางมาก อยางในดานการใหบริการทางนิเวศวิทยา ยกตัวอยางเชน จุลิ นทรียและแบคทีเรีย ชวยยอยสลายขยะใหกลายเปนธาตุอาหารที่จําเปนตอพืช แมลง ชวยผสมเกสรใหดอกไมและพืชผลทางการเกษตร แนวปะการังและปาชายเลนชวย ปกปองชายฝงใหปลอดภัยจากคลื่นลม สิ่งเหลานี้เปนประโยชนที่คนเราไดรับจาก ธรรมชาติโดยไมตองเสียคาบริการใดๆ บอยครั้งจึงพบวาคนเรามองขามความสําคัญของ มันไป ถึงแมวาความกาวหนาทางวิทยาศาสตรยัง ตองพัฒนาอีกมาก เพื่อใหสามารถเขาใจ ความสัมพันธ ระหวางความหลากหลายทาง ชีวภาพ กับการใหบริการทางนิเวศวิทยา แต เปนที่แนชัดแลววาสิ่งที่ความหลากหลายทาง ชีวภาพใหบริการแกเรานั้น หากไมมีการบริหาร

Upload: dezolate-alc

Post on 26-Oct-2015

77 views

Category:

Documents


3 download

DESCRIPTION

11 Biodiversity and Conservation

TRANSCRIPT

1

การอนรุกัษความหลากหลายทางชวีภาพ Biodiversity and Conservation

ความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ

เราทุกคนตางมีความสัมพันธ และตองพึ่งพาความหลากหลายทางชีวภาพในการดํารงชีวิตประจําวัน ไมทางใดก็ทางหนึ่ง แมวาบอยครั้งจะไมรูตัวก็ตาม ซึ่งโดยทั่วไปแลว คนเรามักเห็นความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ จากประโยชนโดยตรงที่เราไดรับ นั่นคือการนํามาเปนอาหาร แตความจริงแลวความหลากหลายทางชีวภาพนั้นมีบทบาทตามธรรมชาติกวางขวางมาก อยางในดานการใหบริการทางนิเวศวิทยา ยกตัวอยางเชน จุลินทรียและแบคทีเรีย ชวยยอยสลายขยะใหกลายเปนธาตุอาหารที่จําเปนตอพืช แมลงชวยผสมเกสรใหดอกไมและพืชผลทางการเกษตร แนวปะการังและปาชายเลนชวยปกปองชายฝงใหปลอดภัยจากคลื่นลม สิ่งเหลานี้เปนประโยชนที่คนเราไดรับจากธรรมชาติโดยไมตองเสียคาบริการใดๆ บอยครั้งจึงพบวาคนเรามองขามความสําคัญของมันไป

ถึงแมวาความกาวหนาทางวิทยาศาสตรยังตองพัฒนาอีกมาก เพื่อใหสามารถเขาใจความสัมพันธ ระหวางความหลากหลายทางชีวภาพ กับการใหบริการทางนิเวศวิทยา แตเปนที่แนชัดแลววาสิ่งที่ความหลากหลายทาง

ชีวภาพใหบริการแกเรานั้น หากไมมีการบริหาร

2

จัดการอยางมีประสิทธิภาพแลว ยอมทําใหเกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ และสงผลกระทบตอมนุษยทุกคนในทุกระดับ ไมวาคนรวยหรือคนจนก็ตาม และในความเปนจริงนั้นผูที่ไดรับผลกระทบจากการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด คือ คนจนและชุมชนทองถิ่น เนื่องจากเปนกลุมคนที่ดํารงชีวิตประจําวันใกลชิดและพึ่งพาความหลากหลายทางชีวภาพ

มากที่สุด และยังอาศัยอยูในพื้นที่ที่เสี่ยงตอการเปลี่ยนแปลงของความหลากหลายทางชีวภาพที่สุดอีกดวย และการที่คนเราเปนสวนหนึ่งของระบบนิเวศ และไมสามารถแยกตัวออกไปโดยไมพึ่งพาธรรมชาติไดนั้น ทําใหการเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพมีผลตอความเปนอยูของคนเรา จากประวัติศาสตรอันยาวนาน 5 พันลานปของโลก สิ่งมีชีวิตบนโลกมีทั้งเกิดขึ้นใหมและสูญพันธุไปตลอดเวลาตามกระบวนการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ตลอด 3.8 พันลานปที่ผานมา มีหลักฐานการเกิดการสูญพันธุครั้งใหญของสิ่งมีชีวิต 5 ครั้งในอดีต แตในประวัติศาสตรของมนุษยชาติเองนั้น พบวาสิ่งมีชีวิตไดมีการสูญพันธุ และเกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด ในยุคปจจุบันนี้ และเกิดขึ้นจากน้ํามือของมนุษยเอง ทั้งจากกิจกรรมทางตรงและทางออม

โดยจากอัตราการสูญพันธุที่ เกิดขึ้นในปจจุบัน โลกจะสูญเสียชนิดพันธุที่มีอยูในปจจุบันไปประมาณรอยละ 20 ภายใน 30 ปขางหนา และรอยละ 50 ของชนิดพันธุภายในสิ้นศตวรรษหนา จากอัตราการสูญเสียที่สูงมาก ทําใหประชาคมโลกเริ่ม

3

หันมาตระหนักถึงความสําคัญและการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ จึงเกิดอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity; CBD) ขึ้นมาในป ค.ศ.1992 โดยมี 197 ประเทศลงนามในการประชุมที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร และมีผลบังคับใชในป ค.ศ.1993 โดยมีเนื้อหาใหคํามั่นสัญญาทางกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ การเงิน การเขาถึงเทคโนโลยี การถายทอดเทคโนโลยี และการแบงปนผลประโยชน ซึ่งนับวา เปนเครื่องมือในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพในอนาคต อนุสัญญาฯ มีวัตถุประสงคทั้งทางดานการอนุรักษและการพัฒนา และยังมีการเชื่อมโยงอยางเหนียวแนน ระหวางความตองการของประชาชนและการอนุรักษ โดยวัตถุประสงคของอนุสัญญาฯ ประการแรก คือ การอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ ประการที่สอง คือ การใชประโยชนองคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน และประการที่สาม คือ การแบงปนผลประโยชนอยางยุติธรรมและเทาเทียมในการใชทรัพยากรพันธุกรรรม

ประเทศไทยไดเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2547 ตลอดระยะเวลาที่ผานมาตั้งแตการลงนามรับรองอนุสัญญาฯ ใน

ป พ.ศ.2535 โดยมีหนวยงานหลัก ที่รับผิดชอบเปนหนวยงานประสานงานอนุสัญญาฯ คือ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งไดมีการดําเนินงานสอดคลองกับพันธกรณีของอนุสัญญาฯ มาอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องการเผยแพรความรู ความตระหนักเกี่ยวกับความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ ประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอนช้ืน และนับวามีความหลาก-

สมัน

4

หลายทางชีวภาพสูงประเทศหนึ่ง แตทรัพยากรสัตวปาของไทยหลายชนิด ไดรับการยืนยันแลววา ไดสูญพันธุไปจากประเทศไทยแลว ไมวาจะเปน สมัน นกชอนหอยใหญ และนกพงหญา นอกจากนั้น แรดชวา กูปรี นกกระสาปากเหลือง นกชอนหอยดํา นกกระเรียน และจระเขปากกระทุงเหว ก็เช่ือวา ไดสูญพันธุจากสภาพธรรมชาติไปแลว ในขณะที่พืชหลายชนิด ตกอยูในสภาวะหายากและใกลจะสูญพันธุ โดยมีการรายงานวาพืชในประเทศไทยประมาณ 400 ชนิด เปนพืชที่มีภาวะใกลจะสูญพันธุ และประมาณ 600 ชนิด เปนพืชหายาก ซึ่งสาเหตุที่สงผลใหเกิดการสูญพันธุมีหลายประการ ไมวาจะเปนการคาสัตวและพืชปาอยางผิดกฎหมาย การรบกวนสภาพที่อยูอาศัยตามธรรมชาติและระบบนิเวศ เชน การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมทั้งปาดิบช้ืนและปาชายเลน การกอสรางอางเก็บนํ้าและเขื่อนพลังนํ้า ความเปนเมือง การทองเที่ยว และภาวะมลพิษ ลวนแตกอใหเกิดการคุกคามตอชีวิตในปา และสงผลตอการลดลงของจํานวนประชากรพืชและสัตวปาทั้งสิ้น

แนวทางการดูแลและรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ การใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต จําเปนตองมีการ

จัดสรรและเลือกใชอยางเปนระบบที่เหมาะสม เนื่องจากสิ่งมีชีวิตตางๆ ในระบบนิเวศเปนทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถสูญเสียหรือหมดไปจากแหลงที่อยูอาศัยในระบบนิเวศได หากมีการบุกรุกหรือการใชประโยชนจากระบบนิเวศนั้นอยางไมเหมาะสม เชน ตัดไมทําลายปา การลาสัตวปา หรือการเก็บพืชพรรณในปาออกมามากเกินควร และการปลอยสารพิษลงในแหลงน้ําธรรมชาติ เปนตน

การใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพจึงควรมีการดูแลเพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable development) คือ ไมเกิดการสูญเสียทรัพยากรชีวภาพอยางสูญเปลา และไมกอใหเกิดการสูญสิ้นของชนิดหรือสายพันธุสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในระบบนิเวศนั้น ซึ่งแนวทางการดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพนั้น สามารถปฏิบัติไดดังนี้

5

1. ปลูกฝงจิตสํานึกของประชากรในชุมชนการปลูกฝงใหประชากรในชุมชนมีความรักทองถิ่น เขาใจถึงความสําคัญของ

ความหลากหลายทางชีวภาพ และมีความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ผสมผสานใหเขากับภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหประชากรในชุมชนสามารถใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติหมดสิ้นไปจากทองถิ่น รวมทั้งยังสามารถชวยกันดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพใหยั่งยืนอยูคูชุมชนสืบไปได

2. การควบคุมดูแลการควบคุมดูแลความหลากหลายทางชีวภาพโดยรัฐอาจเปนการออกกฎหมาย

คุมครองหรือมีการทําขอตกลงรวมกันระหวางประเทศ เพื่อควบคุมดูแลการคาสายพันธุสิ่งมีชีวิตที่เสี่ยงตอการสูญพันธ ตัวอยางเชน การลงนามความรวมมือกันระหวางประเทศในอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศ ซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลจะสูญพันธุ (Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือ อนุสัญญาไซเตส (CITES) ซึ่งทําใหเกิดการควบคุมดูแลการคาขายนําเขาและสงออกพรรณพืชและสัตวที่ใกลสูญพันธุ เพื่อไมใหพืชหรือสัตวสายพันธุดังกลาวถูกทําลายใหสูญพันธุไปได

3. การอนุรักษ

เปนวิธีการปองกันการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชน โดยอาศัยวิธีการอนุรักษปองกันไมใหสิ่งมีชีวิตนั้นถูกรุกรานจนสูญพันธุไป มีการเก็บรวบรวมตัวอยางสิ่งมีชีวิตบางกลุมมาเลี้ยงเอาไว เพื่อศึกษาลักษณะการดํารงชีวิต และการขยายพันธุ เพื่อใหสามารถเพาะพันธุสิ่งมีชีวิตนั้นเพิ่มขึ้นไดในอนาคต

6

4. การสงเสริมเปนการสงเสริมสนับสนุนใหเกิดการควบคุมดูแลรักษาความหลากหลายทาง

ชีวภาพของสิ่งมีชีวิตที่อาจถูกทําลายได โดยการสนับสนุนอาจทําไดหลายวิธี เชน การรณรงคใหตระหนักถึงความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ การใหความรูเกี่ยวกับวิธีการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางเหมาะสม การฝกอบรมแนวทางการอนุรักษธรรมชาติ เปนตน โดยในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงนี้ไดมีการจัดตั้งศูนยวิจัยและฝกอบรมดานการอนุรักษธรรมชาติ (Research and Training Center on Nature Conservation) เพื่อเปนศูนยความรูแกประเทศกลุมอนุภาคลุมแมน้ําโขง ในการพัฒนาและสนับสนุนการถายทอดเทคโนโลยีดานการจัดการพื้นที่อนุรักษ และแนวทางการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพใหแก ประชาชนในทองถิ่น เพื่อเปนแนวทางสงเสริมความรูความเขาใจในการใชประโยชนจากทรัพยากที่มีอยูในพื้นถิ่นลุมแมน้ําโขงอยางเหมาะสม

5. การทดแทนในธรรมชาติระบบนิเวศที่ถูกบุกรุกและทําลายความหลากหลายทางชีวภาพ จะ

เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนท่ีจนสามารถกลับมาเปนระบบนิเวศที่สมดุลดังเดิมได แตการเปลี่ยนแปลงแทนที่นั้นอาจตองใชระยะเวลายาวนานหลายรอยป แตมนุษยจะสามารถมีสวนชวยใหระบบนิเวศเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ไปสูจุดสมดุลไดเร็วขึ้น ดวยการปลูกพืชที่เปนแหลงอาหารและที่อยูอาศัยของสัตวตางๆ ในระบบนิเวศทดแทนระบบนิเวศเดิมที่ถูกทําลายลงไป เชน การสรางแนวปะการังเทียม การปลูกปา เปนตน

7

ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย สิ่งมีชีวิตในโลกนี้มีประมาณ 5 ลานชนิด ในจํานวนนี้มีอยูในประเทศไทย

ประมาณรอยละเจ็ด เมื่อเทียบสัดสวนกับจํานวนประชากร พบวาประเทศไทยมีความร่ํารวยอยางมากในดานความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิตในประเทศไทยมีความหลากหลายมาก เนื่องจากมีสภาพทางภูมิศาสตรที่หลากหลายและแตละแหลงลวนมีปจจัยที่เอื้อตอการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต นับตั้งแตภูมิประเทศแถบชายฝงทะเล ที่ราบลุมแมน้ํา ที่ราบลอนคลื่น และภูเขาที่มีความสูงหลากหลายตั้งแตเนินเขาจนถึงภูเขาที่สูงชันถึง 2,400 เมตรจากระดับน้ําทะเล ประเทศไทยจึงเปนแหลงของปาไมนานาชนิด ไดแก ปาชายเลน ปาพรุ ปาเบญจพรรณ ปาดิบ และปาสนเขา

การเพิ่มของประชากรทําใหมีการบุกเบิกปาเพิ่มขึ้น การใหสัมปทานปาไมที่ขาดการควบคุมอยางเพียงพอ การตัดถนนเขาพื้นที่ปา การเกษตรเชิงอุตสาหกรรม การแพรของเทคโนโลยีที่ใชทําลายปาไดอยางรวดเร็ว การครอบครองที่ดินเพื่อเก็งกําไร เปนตน พื้นที่ปาไมซึ่งเคยมีมากถึงประมาณ 2.7 แสนตารางกิโลเมตร หรือประมาณรอยละ 53 ของพ้ืนที่ประเทศไทยในป พ.ศ. 2504 เหลือเพียงประมาณ 1.3 แสนตารางกิโลเมตร หรือประมาณรอยละ 26 ในป พ.ศ. 2536 แสดงวาพื้นที่ปาไมลดลงเทาตัวในชวงเวลา 32 ป และสวนใหญ เกิดขึ้นกับปาบนภูเขาและปาชายเลน ยังผลใหพืชและสัตวสูญพันธุ

การทําลายปากอใหเกิดวิกฤตการณทางธรรมชาติเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แหลงน้ําที่เคยอุดมสมบูรณ เริ่มลดนอยลง ผืนปาที่เหลืออยูไมสามารถซับน้ําฝนที่ตกหนัก เกิดปรากฏการณน้ําทวมฉับพลัน ยังผลใหเกิดความเสียหายแกเศรษฐกิจ บานเรือน และความปลอดภัยของชีวิตคนและสัตวเปนอันมาก เชน เหตุการณน้ําทวมที่ อําเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช

เหตุการณพายุเกยถลมจังหวัดชุมพร และเหตุการณน้ําทวมในที่ตางๆ เปนตน

8

ปญหาความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย จึงเปนปญหาใหญและเรงดวนที่จะตองชวยกันแกไขดวยการหยุดยั้งการสูญเสียระบบนิเวศปาทุกประเภท การอนุรักษสิ่งที่เหลืออยู และการฟนฟูปาเสื่อมโทรมใหกลับคืนสูสภาพปาที่มีความหลากหลายทางชีวภาพดังเดิม เพราะความหลากหลายเหลานั้น เปนพื้นฐานของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอยางยั่งยืน

สังคมไทยมีพื้นฐานมาจาก สังคมเกษตรกรรม และเกษตรกรรมแบบดั้งเดิมตองพึ่งพาธรรมชาติเปนหลัก วัฒนธรรมไทยหลายอยางผูกพันกับการแสดงออกซึ่ งความกตัญูตอผูมีพระคุณในการเพาะปลูก คนไทยแตโบราณกาลจึงมีความออนนอมตอธรรมชาติและผูกพันกับธรรมชาติอยางแยกกันไมออก นับวาคนไทยมีพื้นฐานเชิงวัฒนธรรมพรอมมูลอยูแลว

แมว าการศึกษาสมัยใหมจะมีการ เรี ยนรูเกี่ยวกับวิชาการและเทคโนโลยีที่กาวหนา แตการใชเทคโนโลยีและวิชาการอยางไมเขาใจหลักการและความสําคัญของสิ่งแวดลอม ยอมนําสังคมไปสูหายนะในระยะยาว แมวาในระยะสั้นจะดูเหมือนวามีความเจริญรุงเรืองก็ตาม

การอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ในที่ประชุมสหประชาติวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา (United Nations

Conference on Environment and Development) หรือการประชุมสุดยอดสิ่งแวดลอมโลก (Earth Summit) เมื่อวันที่ 5 – 14 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ณ กรุงริโอ เด จาไนโร ประเทศบราซิลนั้น ไดมีการลงนามในอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biodiversity, CBD) และประเทศไทยก็ไดรวมลงนามและรับรองอยางเปนทางการดวย อนุสัญญานี้เปนความตกลงระหวางประเทศดานสิ่งแวดลอมที่ถือกําเนิดจากความพยายามของประชาคมโลกที่ตองการใหมีความรวมมือระหวางประเทศ

9

ระหวางหนวยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชนและระหวางประชาชนทั่วโลกในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพและการใชประโยชนจากระบบนิเวศ ชนิดพันธุและพันธุกรรมอยางยั่งยืน อนุสัญญาฯ นี้ไดตระหนักดีวา ความยากจนในประเทศกําลังพัฒนาเปนสาเหตุหนึ่งของการทําลายสภาพแวดลอมธรรมชาติ แตกระนั้นก็ดี อนุสัญญาฯ ไดวางกรอบการดําเนินงานเพื่อใหประเทศตางๆ สามารถอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศของตนเองไดมากที่สุดเทาที่จะทําไดและตามความเหมาะสม

การดําเนินงานเพื่อพิทักษรักษาความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย

เนื่องจากผูปฏิบัติในทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ทั้งเกษตรกร ชาวประมง เจาของที่ดิน ตลอดจนบริษัทเอกชน ภาคธุรกิจ และผูประกอบการตางๆ ลวนดําเนินงานและกิจกรรมที่สงผลกระทบตอความหลากหลายทางชีวภาพ รัฐบาลจึงตองมีบทบาทเปนผูนําในการดําเนินงานเพื่อพิทักษและคุมครองความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะจากการกําหนดนโยบายและกฎระเบียบที่ เหมาะสมในการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพไดกําหนดใหภาคีอนุสัญญาฯ ตองจัดทํากลยุทธและแผนปฏิบัติการความหลากหลายทางชีวภาพแหงชาติ (National biodiversity strategies and action plans – NBSAPs) และผสานกลยุทธและแผนปฏิบัติการดังกลาวเขาสูนโยบายและแผนระดับชาติของภาคสวนอื่นๆ โดยเฉพาะภาคปาไม ภาคการเกษตร ภาคการประมง ภาคพลังงาน การคมนาคมขนสง การวางผังเมือง และในสวนพันธกรณีอื่นๆ ภายใตอนุสัญญาฯ อันรวมถึง:

1. การจําแนกระบุและติดตามตรวจสอบองคประกอบที่สําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งจําเปนตองไดรับการอนุรักษและใชประโยชนอยางยั่งยืน

2. การจัดตั้งพื้นที่คุมครอง เพื่ออนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ และสงเสริมการพัฒนาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รอบบริเวณพื้นที่ดังกลาว

10

3. การฟนฟูระบบนิเวศที่เสื่อมสภาพ และสงเสริมการคุมครองชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม โดยดําเนินงานรวมกับชุมชนในทองถิ่น

4. การปองกันการนําเขา ควบคุมและกําจัดชนิดพันธุตางถิ่นที่อาจเปนภัยคุกคามระบบนิเวศ ถิ่นที่อยูอาศัย หรือชนิดพันธุอื่นๆ

5. การควบคุมความเสี่ยงจากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม อันเปนผลมาจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม

6. การสงเสริมการมีสวนรวมของสาธารณชน โดยเฉพาะในการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมจากโครงการพัฒนา ที่อาจเปนภัยคุกคามตอความหลากหลายทางชีวภาพ

7. การใหการศึกษาและเสริมสรางความตระหนักแกประชาชน เกี่ยวกับความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และความจําเปนในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ

11

อนสุญัญาทีเ่กีย่วของกับการอนรุักษ ความหลากหลายทางชวีภาพ

กฎหมายระหวางประเทศที่มีบทบัญญัติในเชิงการอนุรักษความหลากหลายทาง

ชีวภาพมีมากมายหลายฉบับ แตหนังสือเลมนี้จะมุงเนนเฉพาะอนุสัญญาฉบับที่มีความสําคัญมีภาคีอยูมากพอสมควร และมีเจตนารมณที่มุงในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพโดยตรง นอกจากนี้ยังเปนอนุสัญญาที่ประเทศไทยเปนภาคี หรือสนใจที่จะเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาเหลานี้ในอนาคต โดยที่อนุสัญญาเหลานี้โดยภาพรวมๆ จะเห็นไดวามีบทบัญญัติครอบคลุมในหลายเรื่อง แตพอจะประมวลใหแคบไดวาอนุสัญญาเหลานี้จะเปนการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพใน 2 ลักษณะ คือ

การอนุรักษชนิดพันธุ (Species conservation) การอนุรกัษแหลงทีอ่ยูอาศยั (Habitat conservation)

การอนุรักษชนิดพันธุนั้น กลไกทางกฎหมายที่ใชก็คือการกําหนดบัญชีรายชื่อชนิดพันธุที่ตองการจะอนุรักษ (Listing species into appendices) โดยจะมีการกําหนดหลักเกณฑหรือบรรทัดฐาน (Criteria) วาจะใชอะไรเปนเกณฑในการกําหนดรายชื่อชนิดพันธุของสัตวหรือพืชในบัญชีรายชื่อ เชนอนุสัญญาไซเตส (CITES) จะเนนสัตวหรือพืชที่ใกลสูญพันธุ (Endangered species) ในขณะที่อนุสัญญาบอนน (Bonn Convention) จะเนนสัตวที่มีการอพยพยายถิ่น เปนตน สําหรับ การอนุรักษแหลงที่อยูอาศัย ก็เชนเดียวกัน กลาวคือกลไกทางกฎหมายที่ใชก็จะเปนการกําหนดพื้นที่คุมครอง (Protected Areas) หรือพื้นที่สงวน (Reserved Areas) ตางๆ โดมีกฎเกณฑหรือบรรทัด

12

ฐานที่แตกตางกันออกไป สุดแลวแตเจตนารมณของอนุสัญญาแตละฉบับ เชน อนุสัญญาแรมซาร (Ramsar Convention) จะเนนถึงการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ํา (wetlands) ในขณะที่อนุสัญญาคุมครองมรดกโลก (World Heritage Convention) จะมุงเนนถึงแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรมและแหลงมรดกโลกทางธรรมชาติ ซึ่งแหลงมรดกโลกทางธรรมชาตินั้นจะมีความหลากหลายทางชีวภาพพอยูมาก

1. อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity, 1992-CBD) อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ เปนเครื่องมือระหวางประเทศที่มีบทบาทสําคัญยิ่งในการเผยแพรความรูและเสริมสรางความตระหนักเกี่ยวกับความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ ทําใหในปจจุบันนักวิชาการ ผูเช่ียวชาญ ผูกําหนดนโยบาย และสาธารณชนทั่วไปเริ่มตื่นตัวและใหความสนใจในประเด็นคุณคาและบริการจากความหลากหลายทางชีวภาพมากขึ้น

อนุสัญญาฯ มีพันธะที่ชัดเจนในการจัดทํานโยบาย มาตรการ และแผนปฏิบัติการเพื่อการอนุรักษและใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน และสรางเวทีการเจรจาหารือระหวางประเทศ ซึ่งผูแทนจากรัฐบาล องคกรพัฒนาเอกชน สถาบันการศึกษา หนวยงานคนควาวิจัย และภาคเอกชนที่เกี่ยวของ ไดมาพบปะหารือกัน และแลกเปลี่ยนความคิดและแลกเปลี่ยนประสบการณเกี่ยวกับการดําเนินงานตามนโยบาย มาตรการ และแผนดังกลาว

13

ความเปนมาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

ในป พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) ไดมีการยกรางอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพขึ้น โดยองคกรพัฒนาเอกชน IUCN (The World Conservation Union) และในป พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ไดรับการลงนามจาก 157 ประเทศ ในการประชุมสหประชาชาติวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา (United Nations Conference on Environment and Development; UNCED) ในระหวางวันที่ 5-14 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ณ ริโอ เดอ จาเนโร สหพันธสาธารณรัฐบราซิล หลังจากนั้น อนุสัญญาฯ ไดเปดใหลงนามจนถึงวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2536 ซึ่งมี 167 ประเทศ และสหภาพยุโรป ไดลงนามรับรองในอนุสัญญาฯ

วัตถปุระสงคของอนสุญัญาวาดวยความหลากหลายทางชวีภาพ

อนุสัญญาฯ กําหนดวัตถุประสงคไว 3 ประการ คือ เพื่ออนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ ใชประโยชนองคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน แบงปนผลประโยชนที่เกิดจากการใชทรัพยากรพันธุกรรม เปนความตกลงระหวางประเทศฉบับแรกที่ครอบคลุมทุกแงมุมของความหลากหลายทางชีวภาพครอบ คลุมการอนุรักษทั้งชนิดพันธุ พันธุกรรม และระบบนิเวศ

เนื้อหาอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

ประเทศภาคีจะตองจัดทํานโยบาย มาตรการ และแผนการดําเนินงานขึ้นเองโดยอนุสัญญาฯ ไดเตรียมกลไกการเงิน ไดแก กองทุนสิ่งแวดลอมโลก (Global Environment Facility; GEF) ไวสนับสนุนการดําเนินงานดังกลาวของประเทศกําลังพัฒนา เพื่อใหสัมฤทธิ์ผลดังวัตถุประสงคของอนุสัญญาฯ ทั้งนี้อนุสัญญาฯ ไดวางพันธกรณีเพื่อใหการดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคหลัก 3 ประการ โดยเนื้อหาของ

14

อนุสัญญาฯ ประกอบดวยสามสวน ไดแก (1) อารัมภบท (2) มาตรา 42 มาตรา และ (3) ภาคผนวก ซึ่งมีผลผูกพันทางกฎหมาย

ประเทศภาค ี

ประเทศไทยเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ในลําดับที่ 188 และอนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2547 ซึ่งจนถึงปจจุบัน (เดือนพฤษภาคม 2551) มีประเทศภาคีอนุสัญญา 193 ประเทศ

2. อนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดปาและพืชปาที่ใกลจะสูญพันธุ (Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora, 1973-CITES)

CITES เปนคํายอของอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศ ซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลจะสูญพันธุ (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือที่เรียกกันทั่วไปวา อนุสัญญาวอชิงตัน (Washington

Convention) เนื่องจากในป พ.ศ. 2516 IUCN (The World Conservation Union) ไดจัดการประชุมนานาชาติขึ้น ณ กรุงวอชิงตัน ดี ซี สหรัฐอเมริกา เพื่อรางอนุสัญญาไซเตส มีผูเขารวมประชุมรวม 88 ประเทศ และมีประเทศผูลงนามรับรองอนุสัญญาฯ 21 ประเทศ โดยอนุสัญญาฯ เริ่มมีผลบังคับใชเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2518 ภายหลังจากที่ประเทศผูรวมลงนามใหสัตยาบันครบ 10 ประเทศ

15

อนุสัญญาไซเตสมีเปาหมายและเจตนารมณเพื่อการอนุรักษทรัพยากรสัตวปาและพืชปาในโลก โดยเนนทรัพยากรสัตวปาและพืชปาใกลสูญพันธุหรือถูกคุกคามอันเนื่องมาจากการคาจนอาจเปนเหตุใหสูญพันธุไดในอนาคต โดยการสรางเครือขายทั่วโลกในการควบคุมการคาระหวางประเทศ ทั้งสัตวปาและพืชปา ตลอดจนผลิตภัณฑ ทั้งนี้อนุสัญญาไซเตสไมควบคุมการคาภายในประเทศสําหรับชนิดพันธุทองถิ่น (Native species)

สาระสาํคญัของอนสุญัญา

เพื่อควบคุมการสงออกนําเขา หรือการนําสงตอไปเพื่อการคาซึ่งชนิดพันธุของพืช และสัตวที่ระบุไวในบัญชีหมายเลข 1, 2 และ 3 ของอนุสัญญา มีสาระสําคัญ ดังนี้

1. ชนิดพันธุแนบทายบัญชีหมายเลข 1 เปนชนิดพันธุที่หามทําการคาโดยเด็ดขาด ยกเวนกรณีพิเศษเพราะเปนสัตวชนิดที่ใกลจะสูญพันธ การนําเขาหรือสงออกตองไดรับการยินยอมจากประเทศที่จะนําเขากอน ประเทศที่สงออกจึงจะออกใบอนุญาตสงออกให การพิจารณาใหนําเขาหรือสงออกของทั้ง 2 ประเทศ ตองคํานึงถึงความอยูรอดของชนิดพันธุนั้นๆ เปนความสําคัญหากไมปฏิบัติตามนี้จะถือวาเปนการกระทําที่ไมถูกกฎหมาย ตัวอยางชนิดพันธุที่แนบทายบัญชีนี้ ไดแก จระเขน้ําจืด จระเขน้ําเค็ม ชางเอเชีย กลวยไมหายากบางชนิด ฯลฯ

2. ชนิดพันธุแนบทายบัญชีหมายเลข 2

เปนชนิดพันธุที่ที่ยังไมถึงกับใกลจะสูญพันธุอนุญาตใหทํา ก า รค า ได แตต อ งม ีก า รควบค ุม ไม ให เ ก ิดความเสียหาย หรือลดจํานวนของชนิดพันธุนั้นอยางรวดเร็ว โดยประเทศที่สงออกตองออกหนังสืออนุญาตเพื่อการสงออก และรับรองวาการสงออกแตละครั ้งนั ้นจะไม

16

กอใหเกิดความเสียหายตอการดํารงชีวิตของชนิดพันธุนั้นในธรรมชาติ ตัวอยางชน ิด พ ัน ธุ ไ ด แ ก นกแก ว นิ ่ม ช ะ มด พ ืช ป ร ะ เ ภทหม อ ข า ว ห ม อ แ ก ง ล ิง (Nepenthes spp.) เปนตน

3. ชนิดพันธุแนบทายบัญชีหมายเลข 3

เปนชนิดพันธุที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมายของประเทศใดประเทศหนึ่งแลวขอความรวมมือกับประเทศภาคีดวยกันใหชวยดูแล การสงออกตองไดรับการอนุญาต และมีหนังสือรับรองเพื่อการสงออกจากประเทศถิ่นกําเนิด วาจะไมกอใหเกิดความเสียหายตอความอยูรอดตามธรรมชาติของชนิดพันธุนั้นๆ เชน กวาง Black Buck ของประเทศเนปาล เปนตน

ระบบการควบคมุการสงออกและนาํเขาซึง่ชนิดพชืหรอืสัตวตามอนสุญัญา

อนุสัญญานี้มีวัตถุประสงคเพื่อติดตอรวมมือประสานงานในการดําเนินการควบคุมการคาการสงออกสัตวปาและพืชปาระหวางประเทศ เพื่อมิใหเกิดการทําลายลางอยางไมมีขอบเขต ในปจจุบันมีประเทศตางๆ ประมาณ 110 ประเทศทั่วโลกไดเขารวมภาคี อนุสัญญานี้จะใหความคุมครองตอชนิดพันธุที่ใกลจะสูญพันธุ โดยมีขอตกลงระหวางประเทศภาคีอนุสัญญาในการกําหนดมาตรการควบคุม การนําเขา การสงออก ตลอดจนการนําผ านแดนและการบรรจุหีบหอ เพื่ อการขนสงชนิดพัน ธุนั้ นๆ เพื่ อมิ ใหกระทบกระเทือนเกิดความเสียหายหรือเสียชีวิต และมีการกําหนดชนิดพันธุแนบทายเปน 3 บัญชีดังกลาว

17

การสงออกและนําเขาซึ่งชนิดพืชและสัตวตามอนุสัญญาฯ ถูกควบคุมโดยเลขาธิการไซเตส ซึ่งมีศูนยบันทึกและวิเคราะหขอมูลการนําเขา-สงออกชนิดพืชและสัตวระหวางประเทศภาคี มีช่ือวา TRAFFIC (Trade records Analysis of Flora and Fauna in Commerce) หรือเรียกวา WTMU (Wildlife Trade Monitoring Unit) หากมีขอสงสัยทางไซเตสจะติดตอกับคณะกรรมการฝายปฏิบัติการ (Management Authority) ของประเทศผูสงออกหรือนําเขา

การดาํเนนิงานของประเทศไทยเกีย่วกบัไซเตส ประเทศไทยไดสงผูแทนเขารวมประชุมและรับรองอนุสญัญาในป พ.ศ. 2518 และไดใหสัตยาบัน ในวันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2526 โดยเปนสมาชิกอันดับที่ 80 ตอมาในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2527 กรมปาไมไดเชิญสวนราชการที่เกี่ยวของประชุมเพื่อแบงความรับผิดชอบ โดยไดพิจารณา แบงหนาที่ความรับผิดชอบดังนี้

กรมปาไม รับผิดชอบ เรื่องสัตวปา

กรมวิชาการเกษตร รับผิดชอบ เรื่องพืชปา กรมประมง รับผิดชอบ เรื่องปลาและสัตวปา

18

3. อนุสัญญาวาดวยการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ํา (Ramsar Convention on Wetlands of International Importance as Waterfowl Habitat, 1971)

อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมนํ้า หรืออนุสัญญาแรมซาร (Ramsar Convention) ตามชื่อสถานที่จัดใหมีการประชุมเพื่อรับรองอนุสัญญาในวันที่ 2 กุมภาพันธ ป พ.ศ. 2514 (ค.ศ.1971) คือ เมืองแรมซาร ประเทศอิหราน อนุสัญญานี้เปนขอตกลงระหวางรัฐบาล ซึ่งกําหนดกรอบการทํางานสําหรับความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อรวมมือในการอนุรักษแหลงที่อยูอาศัย ที่เปนพื้นที่ชุมนํ้า โดยมีวัตถุประสงคเริ่มตนเนนการดําเนินการดานการอนุรักษและการใชประโยชนพื้นที่ชุมนํ้าเพื่ออนุรักษถิ่นที่อยูอาศัยของนกน้ําตอมาขอบเขตการดําเนินการของอนุสัญญาฯ ไดขยายใหกวางขึ้นโดยเนนการอนุรักษและการใชประโยชนของพื้นที่ชุมนํ้า อยางชาญฉลาดในทุกๆ ดาน ตลอดจนเพื่ออนุรักษและยับยั้งการสูญหายของพ้ืนที่ชุมนํ้าในโลก อนุสัญญาฯ มีผลบังคับใชเมื่อ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2518 (ค.ศ.1975) ตามเงื่อนไขวาดวยอนุสัญญาฯ จะมีผลบังคับใชเมื่อประเทศตางๆ เขารวมเปนภาคี 7 ประเทศ ขณะนี้นับถึง พ.ศ. 2551 มีประเทศตางๆ จากภูมิภาคทั่วโลกเขารวมเปนภาคีทั้งสิ้น 158 ประเทศ

การเปนภาคีอนุสัญญาแรมซาร

ทําใหมีการอนุรักษและยับยั้งการสูญเสียของพื้นที่ชุมนํ้าในแตละภูมิภาคของโลก

ลดปญหาความขัดแยงในการอนุรักษและการใชประโยชนพื้นที่ชุมนํ้าระหวางประเทศตลอดจน สิ่งมีชีวิตตางๆ ในพื้นที่รวมทั้งฝูงนกนํ้าที่อพยพตามฤดูกาลไปอยูในประเทศตางๆ ทั้งนี้ เนื่องจาก อนุสัญญาฯ ระบุวาภาคีจะตองรวมมือในการจัดการพื้นที่ชุมนํ้าและสิ่งมีชีวิตในพื้นที่ที่ใชรวมกัน

19

ทําใหมีการอนุรักษและการใชประโยชนพื้นที่ชุมนํ้าและสิ่งมีชีวิตในพื้นที่ที่ใชอยางฉลาด เนื่องจาก อนุสัญญาฯ ระบุหนาที่ที่ภาคีจะตองกระทํา คือ ใหคํานึงถึงการอนุรักษพื้นที่ชุมนํ้าในการกําหนด แผนการใชที่ดินและแผนการจัดการระดับชาติ ซึ่งการดําเนินการตามแผนการจัดการระดับชาติ ซึ่ง การดําเนินการตามแผนนี้ จะเปนการสงเสริมการใชประโยชนอยางฉลาดตลอดจนทําใหมีพื้นที่ชุมนํ้าที่ ตองสงวนรักษาไว

การเปนภาคีอนุสัญญาแรมซาร จะทําใหภาคีประเทศตางๆ ไดรับขาวสารขอมูลและคําแนะนําที่ทันสมัยเกี่ยวกับพื้นที่ชุมนํ้า และขอคิดเห็นตางๆ โดย เฉพาะอย า งยิ่ ง ใน เ รื่ อ งกา ร ใชประโยชนพื้นที่ ชุมนํ้าอยางชาญฉลาด ทั้งนี้ ซึ่งอาจจะนํามาประยุกตใชในการอนุรักษและการแกไขปญหัาความเสื่อมโทรมของพื้นที่ชุมนํ้าของประเทศไทยตอไป

ประเทศไทยไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาแรมซารเลําดับที่ 110 ซึ่งพันธกรณีของอนุสัญญาฯ มีผลบังคับใชวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2541 ปจจุบันประเทศไทยยังมีพื้นที่ชุมนํ้าที่มีความสําคัญระหวาประเทศ (Ramsar Site) จํานวน 11 แหงพื้นที่รวมประมาณ 2,257,830 ไร

20

พื้นทีช่มุน้าํระหวางประเทศของไทย

1. พื้นที่ชุมน้ํา พรุควนขี้เสียนในเขตหามลาสัตวปาทะเลนอย จังหวัดพัทลุง 2. พื้นที่ชุมนํ้าเขตหามลาสัตวปาบึงโขงหลง จังหวัดหนองคาย 3. พื้นที่ชุมนํ้าดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม 4. พื้นที่ชุมนํ้าปากแมนํ้ากระบี่ จังหวัดกระบี่ 5. พื้นที่ชุมนํ้าเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย จังหวัดเชียงราย 6. พื้นที่ชุมนํ้าเขตรักษาพันธุสัตวปาเฉลมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโตะแดง) จังหวัดนราธิวาส 7. พื้นที่ชุมนํ้าอุทยานแหงชาติหาดเจาไหม-เขตหามลาสัตวปาหมูเกาะลิบง – ปากนํ้าตรัง จังหวัดตรงั 8. พื้นที่ชุมนํ้าอุทยานแหงชาติแหลมสน-ปากแมนํ้ากระบุรี – ปากคลองกะเปอรจังหวัดระนอง 9. พื้นที่ชุมนํ้าอุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง จังหวดัสุราษฏรธานี 10. พื้นที่ชุมนํ้าอุทยานแหงชาติอาวพังงา จังหวัดพังงา 11. พื้นที่ชุมนํ้าเขาสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขนัธ

4. อนุสัญญาวาดวยการอนุรักษชนิดพันธุที่มีการอพยพยายถิ่น (Bonn Convention on Conservation of Migratory Species of Wild Animal, 1979)

อนุสัญญาวาดวยการอนุรักษชนิดพันธุที่มีการอพยพยายถิ่น หรือที่เรียกกันวา The Bonn Convention หรือ CMS มีวัตถุประสงค เพื่อการอนุรักษทั้ งชนิดพันธุบนบก (Terrestrial species) ชนิดพันธุในทะเล (Marine species) ชนิดพันธุของนกที่มี

21

การอพยพยายถิ่น (Avian migratory species) ซึ่งการอนุรักษดังกลาวจะรวมทั้งการอนุรักษแหลงที่อยูอาศัยของชนิดพันธุครอบคลุมไปทั่วโลก (Wildlife habitats on a global scale) เนื่องจากการอพยพยายถิ่นของนกบางชนิดจะอพยพจากทวีปหนึ่งไปอีกทวีปหนึ่ง อนุสัญญาฉบับนี้มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2526 มีประเทศตางๆ เปนภาคีจํานวน 46 ประเทศ (นับถึง 1 กรกฎาคม 2548) ครอบคลุมทวีปอเมริกา ทวีปอเมริกาใต และอเมริกากลาง ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป สําหรับประเทศในทวีปเอเชียที่เปนภาคีประกอบดวยประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถาน ประเทศฟลิปปนส ประเทศซาอุดิอาระเบีย และประเทศศรีลังกา สําหรับประเทศไทยยังไมไดเปนภาคีของสัญญาฉบับนี้

ภาคีของอนุสัญญาฉบับนี้จะรวมกันดําเนินการในการอนุรักษชนิดพันธุที่มีการอพยพยายถิ่น และการอนุรักษแหลงที่อยูอาศัยของชนิดพันธุดังกลาว โดยดําเนินการจัดการคุมครองอยางเครงครัด (Strict protection) ตอชนิดพันธุอพยพยายถิ่นที่ใกลจะสูญพันธุ (Endangered migratory species) ที่มีรายชื่ออยูในบัญชี 1 (Appendix I) และโดยการจัดการและการอนุรักษชนิดพันธุอพยพยายถิ่นที่มีรายชื่ออยู ในบัญชี 2 (Appendix II) ของอนุสัญญาฉบับนี้ โดยมีขอตกลง (Agreement) เฉพาะเรื่อง และโดยการดําเนินการใหความรวมมือในการศึกษาวิจัย (research activities)

สาระสาํคญัของอนสุญัญา อนุสัญญาฉบับนี้ ไดกําหนดชนิดพันธุอพยพยายถิ่นที่ใกลสูญพันธุ จํานวน 55

ชนิดพันธุ (Species) ไวในบัญชี 1 (Appendix I) อันไดแก นกกระสาไซบีเรีย (Siberean crane) นกอินทรียหางยาว (white tail eagle) เตากระ (Hawksbill turtle) สิงโตทะเลเมดิเตอรเรเนียน (Mediterra -nean monk seal) เปนตน สําหรับชนิดพันธุที่พบในประเทศไทย และอยูในบัญชี 1 (Appendix I) ไดแก เตากระ (Eretmochelys imbricata) และปลาบึก (Pangasianodon gigas) ฯลฯ

สําหรับบัญชี 2 (Appendix II) นั้นกําหนดชนิดพันธุอพยพยายถิ่นที่ตองการความรวมมือจากนานาชาติ โดยมีขอตกลง (Agreement) เฉพาะเรื่อง ภายใตอนุสัญญาฉบับนี้

22

ซึ่งขอตกลงดังกลาวอาจจะเปนไปในลักษณะของขอตกลงที่เปนทางการ เชน ขอตกลงท่ีเปนขอผูกพันที่เครงครัดตามกฎหมาย (Legally binding treaties) จนถึงขอตกลงที่ไมมีลักษณะเปนทางการ (Less formal memorandum of understanding) สําหรับขอตกลงที่เปนทางการนั้นจะตองดําเนินการในเรื่องการใหความรวมมือในแผนการจัดการและการอนุรักษชนิดพันธุ การอนุรักษและฟนฟูแหลงที่อยูอาศัยของชนิดพันธุ การควบคุมมิใหมีการรบกวนตอการอพยพยายถิ่น รวมมือในการทําวิจัยและตรวจสอบ รวมทั้งการใหความรูแกประชาชนทั่วไปและการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางภาคี

5. อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของโลก (Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage, 1971)

อนุสัญญาคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทาง

ธรรมชาติ เรียกสั้นๆ วา “อนุสัญญาคุมครองมรดกโลก” ถูกกําหนดขึ้นจากความพยายามของนานาชาติเพื่อหยุดยั้งความสูญสลายเสื่อมโทรมของแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติอันทรงคุณคาที่ตั้งอยูในประเทศตาง ๆ ทั่วโลก อนุสัญญาฯ ไดรับการรับรองจากรัฐสมาชิกขององคการการศึกษาวิทยาศาสตร และวัฒนธรรม แ ห งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก ในการประชุมใหญสมัยสามัญครั้งที่ 17 ณ กรุงปารีสประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 โดยอนุสัญญามีผลบังคับใชในป พ.ศ. 2518

วัตถุประสงค การสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศในการคุมครองและอนุรักษมรดกทาง

วัฒนธรรมและทางธรรมชาติใหดํารงคุณคาความโดดเดนเปนมรดกแหงมวลมนุษยชาติทั้งในปจจุบันและอนาคตตลอดไป

23

มรดกโลกในภาวะอันตราย ในกรณีมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติในบัญชีรายช่ือแหลงมรดกโลก

ไดรับการคุกคามจากการดําเนินการใดๆ เชน โครงการพัฒนา การสงคราม การเสื่อมโทรมของธรรมชาติและสภาพแวดลอม ฯลฯ จนมีแนวโนมชัดแจงหรือแอบแฝงวากําลังเผชิญหนากับภาวะอันตราย อนุสัญญาก็กําหนดใหพิจารณาขึ้นทะเบียนเปน “แหลงมรดกโลกในภาวะอันตราย” แนวทางการปฏิบัติตามอนุสัญญา 1. มรดกทางวัฒนธรรม

มาตรา 1 แหงอนุสัญญาคุมครองมรดกโลกไดนิยามความหมายของมรดกทางวัฒนธรรมตามวัตถุประสงคของอนุสัญญาฯ ไว ดังนี้

อนุสรณสถาน (Monuments)

หมายถึง ผลงานทางสถาปตยกรรม ผลงานประติมากรรม หรือ จิตรกรรมติดที่สวนประกอบหรือโครงสรางของหลักฐานทางโบราณคดี จารึกถ้ําที่อยูอาศัย และรองรอยหลากหลายผสมผสานรวมกัน ซึ่งคุณคาและความสําคัญโดดเดนทางประวัติศาสตร ศิลปะ หรือวิทยาศาสตร

กลุมอาคาร (Groups of Buildings) หมายถึง กลุมของอาคารที่เช่ือมตอกันหรือแยกจากกันเพราะลักษณะของสถาปตยกรรม หรือลักษณะที่เหมือนกันหรือที่จัดวางดานภูมิทัศน ซึ่งมีคุณคาโดดเดนทางประวัติศาสตร ศิลปะ หรือวิทยาศาสตร

24

แหลง (Site) หมายถึง ผลงานการกระทําของมนุษย หรือผลงานผสมผสานของธรรมชาติและมนุษย และบริเวณที่รวมถึงแหลงโบราณคดี ซึ่งมีคุณคาโดดเดนทางประวัติศาสตรสุนทรียศาสตร ชาติพันธุวิทยาหรือมานุษยวิทยา 2. มรดกทางธรรมชาติ

มาตรา 2 แหงอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก ไดนิยามความหมายของมรดกทา งธ ร รมชาติ ต ามวั ตถุ ป ร ะ ส งค ข อ งอนุสัญญาฯ ไว ดังนี้

สภาพธรรมชาติที่ มี ลักษณะทาง

กายภาพและชีวภาพอันมีคุณคาเดนชัดในดานสุนทรียศาสตรหรือวิทยาศาสตร

สถานที่ซึ่งมีสภาพทางธรณีวิทยาและภูมิประเทศที่ไดรับการศึกษาวิเคราะหแลววาเปนถิ่นที่อยูอาศัยของพรรณพืชและพันธุสัตวซึ่งถูกคุกคาม และมีคุณคาทางวิทยาศาสตรหรือการอนุรักษ

แหลงธรรมชาติอันมีคุณคาโดดเดนทางวิทยาศาสตร หรือความงามตามธรรมชาติ ซึ่งจะไดรับการพิจารณาใหอยูในบัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลกทางธรรมชาติไดในกรณีที่คุณลักษณะโดดเดน

25

แหลงมรดกโลกของประเทศไทย

มรดกทางธรรมชาติ 1. เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญ-หวยขาแขง 2. ปาดงพญาเย็น-เขาใหญ

มรดกทางวัฒนธรรม 1. แหลงโบราณคดีบานเชียง จังหวัดอุดรธานี 2. อุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา 3. อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กําแพงเพชร

บญัชีรายชือ่เบือ้งตนแหลงมรดกของไทย มรดกทางวัฒนธรรม 1. ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินพนมรุง ปราสาทหินเมืองต่ํา และเสนทางสายวัฒนธรรมขอม2. อุทยานประวัติศาสตรภูพระบาท3. วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร4. วัดสุทัศนและเสาชิงชา 5. วัดราชนัดดารามวรวิหาร 6. พระปฐมเจดีย

มรดกทางธรรมชาติ 1. พื้นที่อนุรักษชายฝงและทะเลอันดามัน 2. อุทยานแหงชาติแกงกระจาน 3. ปาเทือกเขาเพชรบูรณ

26

6. อนสุัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเล (United National Convention on the Law of the Sea: UNCLOS, 1982)

อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ถือวาเปนกฎหมายแมบททางทะเลที่วางกฎเกณฑเกี่ยวกับการใชทองทะเลของโลก มีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดระเบียบกฎหมายทางทะเลและมหาสมุทรนี้ โดยคํานึงถึงอํานาจอธิปไตยของรัฐทั้งปวงตามควร ซึ่งการดําเนินงานภายใตอนุสัญญาฉบับนี้จะอํานวยความสะดวกตอการสื่อสารระหวางประเทศและจะสงเสริมการใชประโยชนทางทะเลและมหาสมุทรโดยสันติ โดยที่การใชประโยชนทรัพยากรแหงทะเลและมหาสมุทรจะตองเปนไปอยางเที่ยงธรรมและมีประสิทธิผลตลอดจนจะตองมีการอนุรักษทรัพยากรที่มีชีวิตของทะเลและมหาสมุทร และการศึกษา การคุมครอง และรักษาสิ่งแวดลอมทางทะเลดวย

ปจจุบัน ประเทศไทยยังไมไดใหสัตยาบันในการเขาเปนภาคีอนุสัญญาดังกลาว

แตเมื่อคราวการประชุมสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ครั้งที่ 1 (The First United Nations Conference on the Law of the Sea – UNCLOS I) ระหวางวันที่ 24 กุมภาพันธ – 27 เมษายน พ .ศ . 2501 (ค .ศ . 1958) ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอรแลนด ที่ประชุมสมัชชาใหญสหประชาชาติไดยอมรับอนุสัญญา 4 ฉบับ ไดแก

1) อนุสัญญาวาดวยทะเลอาณาเขตและเขตตอเนื่อง (Convention on the Territorial Sea and the Contiguous Zone)

2) อนุสัญญาวาดวยทะเลหลวง (Convention on the High Seas) 3) อนุสัญญาวาดวยการทําประมงและการอนุรักษทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลหลวง

(Convention on Fishing and Conservation of the Living Resources of the High Seas)

4) อนุสัญญาวาดวยไหลทวีป (Convention on the Continental Shelf)

27

อนุสัญญาฯ เหลานี้มักเรียกรวมๆ วา “อนุสัญญากรุงเจนีวาวาดวยกฎหมายทะเล” อนุสัญญาฯ ทั้งสี่ฉบับนี้ ประเทศไทยไดลงนามเมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2501 (ค.ศ.1958) และใหสัตยาบันเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) และไดมอบสัตยาบันสารตอเลขาธิการองคการสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 อนุสัญญาฯ จึงมีผลบังคับใชสําหรับประเทศไทย ตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2511 เปนตนมา (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 86 ตอนที่ 44 วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2512) บทบัญญัติของอนุสัญญาฯ ในสวนที่วาดวยการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมทางทะเลอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 มีบทบัญญัติเกี่ยวของกับการอนุรักษและใชประโยชนทรัพยากรดังนี้

- การอนุรักษทรัพยากรในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ - การอนุรักษทรัพยากรในเขตทะเลหลวง - การคุมครองและรักษาสิ่งแวดลอมทางทะเล

อยางไรก็ตาม รัฐบาลไทยโดยกระทรวงการตางประเทศและกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กําลังเรงรัดดําเนินการเพื่อใหสัตยาบันการเขาเปนภาคีอนุสัญญาดังกลาว เพื่อประโยชนของประเทศที่จําเปนตองมีสวนรวมกับนานาชาติอยางเทาเทียม และรักษาผลประโยชนของประเทศในทะเลหลวง

ปจจุบันกระทรวงการตางประเทศและกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กําลังเรงรัดดําเนินการเพื่อใหสัตยาบันการเขาเปนภาคีอนุสัญญาดังกลาว

28

7. ความตกลงอาเซียนวาดวยการอนุรักษธรรมชาติ (The ASEAN Agreement on the Conservation of Nature and Natural Resources 1985) สืบเนื่องจาก Manila Declaration, 1981 ในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมของภูมิภาค ASEAN ไดตระหนักถึงความสําคัญของสภาพแวดลอมทางชีวภาพ กายภาพ และสังคม เพื่อวัตถุประสงค ในการพัฒนาอยางยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน ภาคีจักตองผูกพันในการกําหนดใหมีกฎหมายในการบังคับใชกหมายเพื่ อการคุมครองสิ่งแวดลอม การพัฒนาโครงการใหความรูสิ่งแวดลอม รวมทั้งการปฏิบัติตามโครงการสิ่งแวดลอมอาเซียน ตอมา Bangkok Declaration, 1984 ไดเรียกรองใหมีการขยายความรวมมือในระดับภูมิภาคในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม โดยมีวัตถุประสงคของปฏิญญานี้จะเนนเรื่องการผนวกเรื่องสิ่งแวดลอมเขาไปในแผนการพัฒนา แนวทางในการปฏิบัติจะดําเนินการใหทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียนจัดการสิ่งแวดลอมไปในทิศทางเดียวกัน ไมวาจะเปนเรื่องสิ่งแวดลอมทางทะเล สิ่งแวดลอมในเมืองอุตสาหกรรม การศึกษาและการฝกอบรม นอกจากนี้ปฏิญญาฉบับนี้ยังกําหนดใหภาคีมีกฎหมายที่เหมาะสมตอการพัฒนาและการจัดการสิ่งแวดลอม รวมทั้งการใหความรวมมือระหวางภาคีดวย บทบัญญัติของ ASEAN Agreement จะเปนการกําหนดแนวทางปฏิบัติครอบคลุมสิ่งแวดลอมทุกประเภทโดยแบงเปนหมวด ดังนี้

หลักการทั่วไปของการอนุรักษและการพัฒนา การอนุรักษชนิดพันธุและระบบนิเวศ การอนุรักษขบวนการนิเวศวิทยา การดําเนินการวางแผนสิ่งแวดลอม การดําเนินการสนับสนุน

29

กลไกการเผยแพรขอมลูขาวสารดานความหลากหลายทางชีวภาพ(Clearing-House Mechanism)

สถานภาพปจจุบันและอนาคตของความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย อยูในภาวะที่กลาวไดวา ลอแหลมอยางยิ่ง เนื่องจากการเปนประเทศกําลังพัฒนา และมีความตองการใชทรัพยากรธรรมชาติสูงมากในทุกระดับของสังคม แตความพยายามในการอนุรักษของประเทศไทยไมสามารถที่จะทันการณตออัตราการทําลาย อีกทั้งหลายๆ ปจจัยเอื้ออํานวยตอการใชประโยชน ความหลากหลายทางชีวภาพอยางสิ้นเปลืองทั้งสิ้น ในขณะที่ปจจัยที่เอื้ออํานวยตอการอนุรักษและใชประโยชนอยางยั่งยืนยังไมพอเพียง ปจจัยสําคัญคือขาดฐานขอมูลทางความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนั้นการจัดทําฐานขอมูลทางความหลากหลายทางชีวภาพจึงเปนเรื่องที่มีความจําเปน เนื่องจากฐานขอมูลดังกลาวจะสามารถชวยใหผูที่สนใจ และตองการรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ สถานภาพของความหลากหลายทางชีวภาพในปจจุบัน ไดรับทราบขอมูลไดอยางทั่วถึง

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในฐานะหนวยประสานงานกลางของอนุสัญญาฯ (National focal point) เล็งเห็นถึงความสําคัญของการเผยแพรขอมูลขาวสารความหลากหลายทางชีวภาพ โดยไดดําเนินการถายทอดขอมูลตามหลักการของกลไกการเผยแพรขอมูลขาวสารของอนุสัญญาฯ นอกจากนี้ ยังทําหนาที่เอื้ออํานวยการเสาะหาและเขาถึงแหลงขอมูลความหลากหลายทางชีวภาพและความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทยรวมถึงหนวยงานที่เกี่ยวของและเปนกลไกการเผยแพรขอมูลพื้นฐานทั้งในประเทศและตางประเทศ

รูปแบบกลไกการเผยแพรขอมลูขาวสาร

กลไกการเผยแพรขอมูลขาวสาร (Clearing-House Mechanism) ในประเทศไทย จําเปนตองคํานึงถึงสถานภาพการจัดการและการถายทอดขอมูลความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศเปนหลัก โดยรูปแบบกลไกการเผยแพรขอมูลขาวสาร กําหนดขึ้นบนพื้นฐานของระดับการถายทอดและการเขาถึงขอมูลในประเทศที่ไดจัดทําและพัฒนาแลว

30

การพัฒนากลไกการเผยแพรขอมูลขาวสารในประเทศไทยอาจดําเนินการไดตามแนวทางดังนี้ คือ

1. การเสาะหาและจดัทาํบญัชรีายชื่อขอมูลและผูรบัผดิชอบ การสํารวจ เสาะหา และจัดทําบัญชีรายชื่อขอมูล และผูรับผิดชอบจัดการขอมูล

ดังกลาวจึงเปนสิ่งจําเปน เพื่อประกันวาแหลงขอมูลที่สําคัญจะไดถูกใชประโยชนและเช่ือมโยงเครือขาย เพื่ออํานวยการเขาถึงแหลงขอมลูไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. พฒันาเครอืขายขอมลูความหลากหลายทางชวีภาพ การพัฒนาเครือขาย เพื่อเอื้ออํานวยการเขาถึงและถายทอดขอมูลยอมเปนไปได

แตทั้งนี้ การพัฒนาเครือขายจําเปนตองตอบสนองความพรอมของขอมูล เพื่อใหการถายทอดขอมูลเปนไปไดสูงสุด

3. การประเมินความตองการขอมูลและเทคโนโลยี ผลจากการประเมินความตองการของขอมูลและเทคโนโลยีของเครือขายขอมูล

ความหลากหลายทางชีวภาพ ควรนําไปใชในการพัฒนาการเขาถึงขอมูล และเทคโนโลยีที่ตองการ เชน การแยกขอมูลที่อาจอยูรวมกันเพื่อใหการนําไปใชงายขึ้น การใหการสนับสนุนการพัฒนาระบบเก็บรวบรวมขอมูลเฉพาะดาน เปนตน

4. การถายทอดเทคโนโลย ีกลไกการเผยแพรขอมูลขาวสารอาจไมสามารถทําหนาที่ถายทอดเทคโนโลยีทุก

ประเภทได และนาจะจํากัดบทบาทของตน และเอื้ออํานวยการเขาถึงเทคโนโลยีที่สามารถใชไดโดยไมเสียคาตอบแทน ไดแก เทคนิคและกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ใชในการศึกษาวิจัย และการอนุรักษทรัพยากรชีวภาพ เปนตน

31

ความรวมมอืเพือ่ความอยูรอดของความหลากหลายทางชีวภาพ

ในอนาคตอันใกลนี้ สิ่งมีชีวิตจํานวนไมนอยกวารอยละ 20-50 ของทั้งหมดที่มีอยู

ในปจจุบันกําลังจะสูญหายตายจากเราไปอยางไมมีทางไดกลับคืนมา ซึ่งสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ เหลานั้นเปรียบเสมือนรากฝอยที่คอยพยุงลําตนที่เหมือนเปนตัวมนุษยใหสามารถดํารงชีวิตเผาพันธุตอไปได เมื่อรากฝอยที่คอยค้ําจุนลําตนถูกทําลายจากพิษภัยของลําตนเสียเองแลว ลําตนนั้นจะยืนยงอยูตอไปไดอยางไร ฉันใดก็ฉันนั้น สภาพสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติที่หลากหลายดวยสิ่งมีชีวิตนานาชนิดที่ประกอบขึ้นเปนโลกสิ่งมีชีวิตจะคงดํารงอยูตอไปไดตามคลื่นแหงวิวัฒนาการถึงแมวาจะไมมีมนุษยอยูดวยภายในระบบ แตมนุษยจะไมสามารถดํารงอยูตอไปไดอยางแนนอน หากปราศจากความหลากหลาย ทางชีวภาพที่ทําหนาที่เปนหลักค้ําจุนสังคมมนุษยตลอดมาทุกยุคทุกสมัยจนกระทั่งถึงจุดวิกฤตในขณะนี้ เราจะไมคิดจะทําอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้เพื่ออนาคตของลูกหลานเหลนตอไปในภายภาคหนาเลยเชียวหรือ........

32

เอกสารอางองิ

สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม. 2539. อนุสัญาและกฎหมายระหวางประเทศที่ เกี่ยวของกับความหลากหลายททางชีวภาพ. ดร.ฤทธิ์ วัฒนชัยยิ่งเจริญ . ชีวิตกับสิ่งแวดลอมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต . พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพ ฯ: อักษรเจริญทัศน. http://www.swu.ac.th/royal/book2/b2c1t1.html http://learners.in.th/file/adinanhttp://dmcr.foreign.tripod.com/id19.html http://www.tungsong.com/Environment/Bio/Visut/Bio_02.asp