Ùüöó Üó Ý×ÜîÖì`Ü ì ÷üì öê`ó ó íõèædìaÜë îðüéòfiÜÙúÜð ì...

83
ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น วัดฝ่งคลอง (ไทยพวน) ตาบลเกาะหวาย อาเภอปากพลี จังหวัดนครนายก โดย นางสาวจันทิมา ศรีไกรยุทธ สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต ภาควิชาการพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรRef. code: 25595805036067DIK

Upload: others

Post on 07-Feb-2021

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อพิพิธภณัฑ์ท้องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก

    โดย

    นางสาวจันทิมา ศรีไกรยุทธ

    สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต ภาควิชาการพัฒนาชุมชน

    คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2559

    ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อพิพิธภณัฑ์ท้องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก

    โดย

    นางสาวจันทิมา ศรีไกรยุทธ

    สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต ภาควิชาการพัฒนาชุมชน

    คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2559

    ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • A STUDY OF TOURIST’ S SATISFACTION ON WAT FANG KLONG THAI-PUAN TRADITIONAL MUSEUM TAMBON KO WAI

    AMPHOE PAK PHLI NAKHON NAYOK PROVINCE

    BY

    MISS JUNTIMA SRIKRAIYOOT

    A MINOR THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF SCIENCE

    IN COMMUNITY DEVELOPMENT DEPARTMENT OF COMMUNITY DEVELOPMENT

    FACULTY OF SOCIAL ADMINISTRATION THAMMASAT UNIVERSITY

    ACADEMIC YEAR 2016 COPYRIGHT OF THAMMASAT UNIVERSITY

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • (1)

    หัวข๎อสารนิพนธ์ ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก

    ชื่อผู๎เขียน นางสาวจันทิมา ศรีไกรยุทธ ชื่อปริญญา พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต สาขาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย การพัฒนาชุมชน สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์ อาจารย์ ดร. อัจฉรา ชลายนนาวิน ปีการศึกษา 2559

    บทคัดย่อ การศึกษา เรื่อง “ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง

    (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก” มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีผลตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุํมตัวอยํางที่ใช๎ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักทํองเที่ยวที่เข๎ามาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ในเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2560 ซึ่งมีขนาดกลุํมตัวอยําง จ านวน 204 คน เครื่องมือที่ใช๎ในการเก็บข๎อมูล คือ แบบสอบถาม และประมวลผลข๎อมูลด๎วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูปทางสถิติ โดยสถิติที่ใช๎ในการวิจัย คือ คําร๎อยละ และคําเฉลี่ย ผลการศึกษาพบวํา ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่เข๎ามาเยี่ยมพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง ในภาพรวมทั้ง 5 ด๎าน ได๎แกํ ด๎านสถานที่และอาคาร ด๎านการบริการ ด๎านการประชาสัมพันธ์ ด๎านวัตถุสิ่งของ และด๎านการจัดแสดงและนิทรรศการ มีคําเฉลี่ยอยูํในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด๎าน พบวํา นักทํองเที่ยวมีความพึงพอใจในด๎านสถานทีแ่ละอาคาร ในระดับมาก และมีความพึงพอใจ ในด๎านการบริการ ด๎านการประชาสัมพันธ์ ด๎านวัตถุสิ่งของ รวมถึงด๎านการจัดแสดงและนิทรรศการ ในระดับปานกลาง ข๎อเสนอแนะที่ได๎จากการศึกษา ควรมีการสํงเสริมและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่นท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ให๎มีความนําสนใจ ความทันสมัยตํอสถานการณ์ทางสังคม เพ่ือให๎นักทํองเที่ยวเกิดความประทับใจแล๎วมีความประสงค์กลับมาเยี่ยมชม

    ค าส าคัญ: ความพึงพอใจ, พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น, นักทํองเที่ยว

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • (2)

    Minor Thesis Title A STUDY OF TOURIST’ S SATISFACTION ON WAT FANG KLONG THAI-PUAN TRADITIONAL MUSEUM TAMBON KO WAI AMPHOE PAK PHLI NAKHON NAYOK PROVINCE

    Author Miss Juntima Srikraiyoot Degree Master of Science in Community Development Department/Faculty/University Community Development

    Social Administration Thammasat University

    Minor Thesis Advisor Auschala Chalayonnavin, Ph.D. Academic Year 2016

    ABSTRACT

    The objective of the research “Tourist’ Satisfaction on Wat Fang Klong Thai-Puan Traditional Museum Tambon Ko Wai Amphoe Pak Phli Nakhon Nayok Province” is to carry out a quantitative study of tourist’ satisfaction towards Wat Fang Klong Thai-Puan Traditional Museum Tambon Ko Wai Amphoe Pak Phli Nakhon Nayok Province. Participants in the study are 204 tourist visitors of Wat Fang Klong Thai-Puan Traditional Museum Tambon Ko Wai Amphoe Pak Phli Nakhon Nayok Province between April-May 2017. The method of study is surveys and data are processed using a statistic analysis program. Statistics used in the study are in percentages and mean averages. The study revealed the overall level of tourist’ satisfaction on Wat Fang Klong in 5 aspects: location and buildings, service, public relations, attractions, shows and exhibitions are at the moderate level on average. A more specific individual analysis revealed that the satisfaction on location and buildings are high, while service, public relations, attractions and shows and exhibitions are at the moderate level.

    Keywords: satisfaction, traditional museum, tourist

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • (3)

    กิตติกรรมประกาศ

    สารนิพนธ์ฉบับนี้ส าเร็จลุลํวงไปด๎วยดี เนื่องจากได๎รับความกรุณา การชี้แนะที่เป็นประโยชน์จาก อาจารย์ ดร. สิริยา รัตนชํวย ประธานกรรมการสอบสารนิพนธ์ โดยเฉพาะอาจารย์ ดร. อัจฉรา ชลยานนาวิน กรรมการและอาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์ ที่ให๎ความรู๎ ค าแนะน า ค าปรึกษา ตลอดจนปรับปรุงแก๎ไขข๎อบกพรํองตําง ๆ ด๎วยความเอาใจใสํเป็นอยํางดี ผู๎ศึกษาขอกราบขอบพระคุณทุกทํานเป็นอยํางสูง มา ณ โอกาสนี้

    ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร. ชาญวิทย์ เทียมบุญประเสริฐ ที่เสียสละเวลาในการตรวจแบบสอบถามให๎มีความสมบูรณ์ยิ่งมากขึ้น และเจ๎าหน๎าที่ อาจารย์ ที่เกี่ยวข๎องในพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ที่ให๎ความชํวยเหลือ การประสานงาน การอ านวยความสะดวกในการเก็บข๎อมูล เพ่ือให๎งานวิจัยส าเร็จลุลํวงเป็นอยํางดี รวมถึงอาจารย์ เพ่ือนรํวมงาน ที่มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒทุกคนที่ให๎ก าลังใจ ความเอาใจใสํเป็นอยํางดี

    ขอบพระคุณ อาจารย์ เจ๎าหน๎าที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ทุกทําน และเพ่ือน ๆ ชาว CD10 ในความมิตรภาพที่ดี ความชํวยเหลือตําง ๆ รวมถึงก าลังใจที่ดีตํอกัน และขอขอบพระคุณเจ๎าของเอกสารและงานวิจัยทุกทําน ที่ผู๎ศึกษาค๎นคว๎าได๎น ามาอ๎างอิงในการท าวิจัย จนกระทั่งงานวิจัยฉบับนี้ส าเร็จลุลํวงไปได๎ด๎วยดี

    หากผลการศึกษานี้บกพรํองประการใด ผู๎ศึกษาขอน๎อมรับไว๎เพ่ือปรับปรุง แก๎ไขในการศึกษาครั้งตํอไป

    นางสาวจันทิมา ศรีไกรยุทธ

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • (4)

    สารบัญ

    หน๎า บทคัดยํอภาษาไทย (1) บทคัดยํอภาษาอังกฤษ (2) กิตติกรรมประกาศ (3) สารบัญตาราง (7) สารบัญภาพ (8)

    บทที่ 1 บทน า 1

    1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1 1.2 ค าถามการวิจัย 5 1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 5 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 5 1.5 นิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ 6 1.6 ประโยชน์ที่ได๎รับ 6

    บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข๎อง 7

    2.1 แนวคิดเก่ียวกับความพึงพอใจ 7 2.1.1 ลักษณะความพึงพอใจ 8 2.1.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ 9 2.1.3 ทฤษฎีในเรื่องตัวชี้วัดของความพึงพอใจ 10

    2.2 แนวคิดเก่ียวกับพิพิธภัณฑ์และพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น 12 2.2.1 ประเภทของพิพิธภัณฑ์ 12 2.2.2 องค์ประกอบของพิพิธภัณฑ์ 14

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • (5)

    2.2.2.1 สถานที่และอาคารพิพิธภัณฑ์สถาน 14 2.2.2.2 วัตถุสิ่งของ 16 2.2.2.3 การจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถาน 18

    2.2.3 หน๎าที่ของพิพิธภัณฑ์ 21 2.2.4 พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่นหรือพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ๎าน 23

    2.2.4.1 พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น 23 2.2.4.2 ขั้นตอนการจัดท าพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น 23

    2.3 แนวคิดพิพิธภัณฑสถานกับการประชาสัมพันธ์ 27 2.4 แนวคิดเก่ียวกับการบริการ 31 2.5 ประวัติเป็นมาของพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ๎าน วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย 33

    อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 2.6 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข๎องความพึงพอใจ 36 2.7 กรอบแนวคิด 37

    บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 38

    3.1 กลุํมประชากร 38 3.2 เครื่องมือที่ใช๎ในศึกษา 38 3.3 วิธีการเก็บรวบรวมข๎อมูล 39 3.4 การวิเคราะห์ข๎อมูล 40 3.5 สถิติที่ใช๎ในการวิเคราะห์ 40 3.6 วิธีการน าเสนอข๎อมูล 40 3.7 การ Try out กับกลุํมทดลอง 40 3.8 การตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม 41

    บทที่ 4 ผลการศึกษา 42

    4.1 ข๎อมูลพ้ืนฐานของนักทํองเที่ยวที่มีตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) 42 ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก

    4.2 เหตุผลในการเข๎าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) 45 ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • (6)

    4.3 ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) 46 4.3.1 ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีผลตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง 46

    (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 4.3.1.1 ความพึงพอใจในด๎านสถานที่และอาคารของนักทํองเที่ยว 46 4.3.1.2 ความพึงพอใจในด๎านวัตถุ 48 4.3.1.3 ความพึงพอใจในด๎านการจัดแสดงและนิทรรศการ 49 4.3.1.4 ความพึงพอใจในด๎านการประชาสัมพันธ์ 51 4.3.1.5 ความพึงพอใจในด๎านการบริการ 52

    บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข๎อเสนอแนะ 56

    5.1 สรุปผลการศึกษา 56 5.2 อภิปรายผล 59 5.3 ข๎อเสนอแนะของผู๎ศึกษา 63 5.4 ข๎อเสนอแนะตํอการศึกษาครั้งตํอไป 63

    รายการอ๎างอิง 64 ภาคผนวก 66 ประวัติผู๎เขียน 70

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • (7)

    สารบัญตาราง

    ตารางที่ หน๎า 4.1 จ านวนร๎อยละของนักทํองเที่ยว แจกแจงตามลักษณะทางประชากร โดยจ าแนกตาม 44

    เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได๎ และภูมิล าเนา 4.2 แสดงจ านวนของนักทํองเที่ยว โดยจ าแนกตามเหตุผลในการเข๎าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ 46

    ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 4.3 จ านวนร๎อยละ คําเฉลี่ย คําเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในด๎านสถานที่ 47

    และอาคาร 4.4 จ านวนร๎อยละ คําเฉลี่ย คําเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในด๎านวัตถุสิ่งของ 48 4.5 จ านวนร๎อยละ คําเฉลี่ย คําเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในด๎านการจัดแสดง 50

    และนิทรรศการ 4.6 จ านวนร๎อยละ คําเฉลี่ย คําเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจใน 51

    ด๎านการประชาสัมพันธ์ 4.7 จ านวนร๎อยละ คําเฉลี่ย คําเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในด๎านการบริการ 53 4.8 ภาพรวมคําเฉลี่ย คําเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอ 54

    พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก รวมทั้งหมด 5 ด๎าน

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • (8)

    สารบัญภาพ ภาพที่ หน๎า

    2.1 กรอบแนวคิดการวิจัย 37

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 1

    บทที่ 1 บทน า

    1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

    ปัจจุบัน การทํองเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทส าคัญตํอการพัฒนาเศรษฐกิจในหลายประเทศ เป็นแหลํงที่มาของรายได๎ในรูปเงินตราของประเทศ ให๎เกิดการสร๎างงาน สร๎างรายได๎ ลดการวํางงาน และกระจายความเจริญไปสูํภูมิภาค สํงผลให๎มีประชาชนมีงานท าและมีสภาพความเป็นอยูํที่ดีข้ึน ในขณะเดียวกันประเทศไทยให๎ความส าคัญกับอุตสาหกรรมการทํองเที่ยวเป็นอยํางมาก เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่กํอให๎เกิดผลประโยชน์ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล๎อม ซึ่งบทบาททางด๎านเศรษฐกิจในชํวงหลายปีที่ผํานมาจะมีความเดํนชัด เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่ท ารายได๎ที่ส าคัญให๎ประเทศเป็นล าดับต๎น โดยเฉพาะการน าเงินตราตํางประเทศเข๎ามาใช๎จํายในระบบเศรษฐกจิของประเทศ (ฉันทัช วรรณถนอม, 2552, น. 1)

    ดังจะเห็นได๎จากสถานการณ์การทํองเที่ยวของนักทํองเที่ยวตํางประเทศที่เดินทางเข๎ามาในประเทศไทย ในชํวงวันหยุดยาว วันที่ 1-18 ธันวาคม 2559 โดยมีจ านวนนักทํองเที่ยว จ านวน 1,649,901 คน ขยายตัวร๎อยละ 0.63 จากชํวงเวลาเดียวกันของปีที่ผํานมา ซึ่งกํอให๎เกิดรายได๎จากนักทํองเที่ยว 87,052.23 ล๎านบาท ขยายตัวร๎อยละ 4.70 จากชํวงเวลาเดียวกันของปีที่ผํานมา ทั้งนี้ นับตั้งแตํวันที่ 1 มกราคมจนถึงปัจจุบันมีนักทํองเที่ยว จ านวน 31.18 ล๎านคน กํอให๎เกิดรายได๎ 1.56 ล๎านล๎านบาท ขยายตัวร๎อยละ 9.26 และ 12.98 จากชํวงเวลาเดียวกันของปีที่ผํานมา (ศูนย์ข๎อมูลขําวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ์, 2546, น. 1) ท าให๎มีเงินหมุนเวียนในประเทศและมีเงินตราตํางประเทศที่เข๎ามามากมาย ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนและกระตุ๎นให๎เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่น าไปสูํการยกระดับคุณภาพชีวิต สร๎างความมั่นคงให๎แกํของประชาชนในประเทศด๎วย รวมถึงประเทศไทยเป็นประเทศที่มีแหลํงทํองเที่ยวที่สวยงาม อุดมสมบูรณ์ การคมนาคมที่สะดวก มีวัฒนธรรมประเพณีที่มีความโดดเดํนเป็นเอกลักษณ์ประจ าชาติ มีศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน รวมถึงมีพิพิธภัณฑ์จ านวนมาก เพ่ือเป็นแหลํงเรียนรู๎ตลอดชีวิตของทุกคน (Thailand Top Vote, 2548, น. 1) ซึ่งรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ในมาตราที่ 46 มาตราที่ 81 และมาตราที่ 289 ได๎ให๎ความตระหนักในเรื่องภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทยเป็นอยํางมาก โดยให๎บุคคลชุมชน องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ได๎รํวมกันปกป้อง ฟ้ืนฟู ศิลปวัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท๎องถิ่น พร๎อมทั้งให๎การศึกษา ความรู๎ สํงเสริมคุณธรรม ในการปลูกจิตส านึกในการอนุรักษ์ ภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของท๎องถิ่น ซึ่งพระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ พ.ศ. 2542 และมาตรา 25

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 2 ได๎ให๎ความส าคัญ ภาครัฐต๎องมีการสํงเสริมให๎มีการจัดตั้งแหลํงการเรียนรู๎ตลอดชีวิตทุกรูปแบบอยํางมีประสิทธิภาพและเกิดความพอเพียงตามความต๎องการของสังคม ซึ่งแหลํงเรียนรู๎ตลอดชีวิต มีได๎หลากหลายรูปแบบดังที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ อาทิเชํน ห๎องสมุดประชาชน หอศิลปะ สวนพฤกษศาสตร์ ตลอดจนแหลํงเรียนรู๎ในรูปแบบพิพิธภัณฑ์ ค าวํา “พิพิธภัณฑ์” ได๎เกิดขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล๎าเจ๎าอยูํหัว รัชกาลที่ 4 ทรงเป็นผู๎บัญญัติ ค านี้ขึ้นมาใช๎ เนื่องจากพระองค์ทํานทรงไปศึกษาเลําเรียนที่ประเทศยุโรป แล๎วน าองค์ความรู๎ที่ไปศึกษามาพัฒนาประเทศ แล๎วมีการสร๎าง “พระท่ีนั่งประพาสพิพิธภัณฑ์” ในปัจจุบันนี้ตั้งอยูํในบริเวณ พระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท เป็นพิพิธภัณฑ์แหํงแรกในประเทศไทย และให๎ค าจ ากัดความของพิพิธภัณฑ์ไว๎วํา เป็นสถาบันที่มีการจัดตั้งขึ้น เพ่ือบริการในการรับใช๎สังคม ให๎ประชาชนได๎เข๎ามาใช๎ประโยชน์ ในการศึกษาหาความรู๎ ค๎นคว๎าวิจัย เกิดความประทับใจและความเพลิดเพลินในการเข๎ามาเยี่ยมชม รวมถึงเป็นสถานที่เก็บรวบรวม สิ่งของเครื่องใช๎ตําง ๆ อาทเิชํน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และวัตถุสิ่งของที่จัดแสดงตําง ๆ ที่มีคุณคํา เพ่ือในการสงวนรักษา อนุรักษ์มรดกให๎มีการสืบทอดตํอไป จากที่กลําวมานี้ พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวภูมิพลอดุลยเดช ได๎มีพระราชทานกระแสพระราชด ารัส ชํวงในคราวเสด็จพระราชด าเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานเจ๎าสามพระยา ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2504 ไว๎วํา ไมํวําประเทศชาติหรือภายในชุมชนต๎องมี พิพิธภัณฑ์ เป็นสถานที่เก็บรักษาทรัพยากรวัฒนธรรมที่มีคุณคําและเป็นประโยชน์ในการศึกษา รวมถึงเป็นสํวนรวมของชาติไมํใชํของชาติใดชาติหนึ่ง แตํถ๎าไมํมีการอนุรักษ์ มีการซื้อขายไปยังตํางประเทศหรือประเทศอ่ืน ๆจะสํงผลให๎ประเทศชาติเราต๎องไปศึกษาพิพิธภัณฑ์ที่ตํางประเทศเป็นอันแนํแท๎ ซึ่งเป็นสิ่งสะท๎อนให๎เห็นวํา ทํานทรงมีความหํวงใยและตระหนักให๎คนในประเทศชาติได๎เห็นถึงคุณคําของพิพิธภัณฑ์ โดยชํวยกันรวบรวมรักษา โบราณวัตถุตําง ๆ ที่เป็นของประเทศชาติแล๎วน ามาจัดสร๎างพิพิธภัณฑสถานในประเทศชาติจะเป็นการที่ดีที่สุด (สายัณต์ ไพรชาญจิตร์, 2547, น. 69)

    ดังนั้นพิพิธภัณฑ์จึงเป็นแหลํงเรียนรู๎ที่ส าคัญ เนื่องจากเป็นแหลํงรวบรวม สงวนรักษา การให๎องค์ความรู๎ ความเข๎าใจในหลาย ๆ ด๎าน เชํน ความเข๎าใจเรื่องประวัติศาสตร์ มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ ให๎คนในชาติและคนภายนอกมีความเข๎าใจในบ๎านเมืองและท๎องถิ่นได๎อยํางถูกต๎อง รวมถึงเป็นสถานที่จัดแสดงหลักฐานส าคัญของมนุษย์ ธรรมชาติ ส าหรับในการศึกษา ค๎นคว๎า หาความรู๎ และความเพลิดเพลินบันเทิงใจ (นวลลออ ทินานนท,์ 2547, น. 7)

    ในปัจจุบันนี้เราจะพบวํา พิพิธภัณฑ์มีอยูํจ านวนมากมาย อยูํทั่วทุกภูมิภาค ทั้งในระดับ ชาติ ระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด รวมถึงระดับท๎องถิ่น เนื่องจากปัจจุบันกระแสวิวัฒนาการทางสังคมก าลังเข๎าสูํประชาคม หรือยุคที่สังคมมีบทบาทในการจัดการตนเองมากกวําที่จะพ่ึงพารัฐอยํางแตํกํอน พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่นจึงต๎องมีภาระหน๎าที่ในการเป็นดังคลังทางภูมิปัญญาของชุมชนที่ยังต๎องเรียนรู๎เพ่ือเพ่ิมเติมศักยภาพในการด ารงชีวิตและปรับปรุงตนเองให๎เข๎ากับสภาพแวดล๎อมและสถานการณ์สังคมที่

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 3 มีการเปลี่ยนแปลงไปอยํางมีดุลยภาพในทางด๎านวัตถุและด๎านจิตใจ (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2544, น. 7) ดังนั้นแล๎ว พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น จึงความหมายถึง เป็นสถานที่เก็บ รวบรวม สงวนรักษา มรดกทางภูมิปัญญา เปรียบเสมือนคลังความรู๎ ให๎คนในท๎องถิ่นได๎ทราบเรื่องราวประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชุมชน เพ่ือให๎สมาชิกในชุมชนเกิดการมีสํวนรํวมในการศึกษา ค๎นคว๎าวิจัย การวางแผนการจัดแสดงนิทรรศการ การสงวนรักษาอนุรักษ์วัตถุโบราณ การเผยแพรํ รวมถึงการฟ้ืนฟูพลังของชุมชนให๎สามารถจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมในพิพิธภัณฑ์ของชุมชนตนเองได๎ จะสามารถท าให๎คนในชุมชนมีความมั่นใจ ภาคภูมิใจ ความรู๎สึกความเป็นเจ๎าของ รวมถึงมีความรักความหวงแหงในความเป็นรากเหง๎าของชุมชน และมีความพร๎อมที่จะรักษาและถํายทอดมรดกทรัพยากรทางวัฒนธรรมท๎องถิ่นไปยังลูกหลานตํอไป สุดท๎ายแล๎วพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น เป็นเครื่องมืออยํางหนึ่ง ที่น าไปสูํการสร๎างองค์ความรู๎ ฟ้ืนฟูภูมิปัญญาท๎องถิ่น เพ่ือพัฒนาชุมชนให๎คนในชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองได๎อยํางแท๎จริง (พิชานัน อินโปธา, 2541, น 1)

    พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) เป็นประเภท พิพิธภัณฑ์สถานประจ าเมืองหรือท๎องถิ่น ที่อยูํในชุมชนของชาวพวน ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก โดยพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่นแหํงนี้ มีการรวบรวมเครื่องมือเครื่องใช๎พ้ืนบ๎าน และเครื่องใช๎ที่ใช๎ประจ าวัน ในชํวงเวลาที่ผํานมา แม๎วําสิ่งของเหลํานั้นในปัจจุบันก็ยังทั้ งที่ใช๎อยูํ และหมดความจ าเป็นในการใช๎งานแล๎ว ถือได๎วําเป็นภูมิปัญญาของชาวบ๎านในการคิดค๎นประดิษฐ์สิ่งเหลํานี้ขึ้นมาในการใช๎ด ารงชีวิต และมีเสื้อผ๎า การแตํงกาย ผ๎าทอโบราณชองชาวไทยพวนในอดีตที่เคยใช๎กันมา อายุนับร๎อยปี ที่แสดงให๎เห็นถึงเอกลักษณ์ในความเป็นไทยพวนที่ชัดเจน ซึ่งพิพิธภัณฑ์พื้นบ๎าน วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ได๎กํอตั้งปี 2541 โดยพระครูวิริยานุโยค (สมบัติ บุญประเสริฐ) เจ๎าอาวาสวัดฝั่งคลอง ทํานมีความตระหนักถึงคุณคําและความส าคัญของมรดกทางวัฒนธรรมของท๎องถิ่น โดยจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ชุมชนเป็นแหลํงเรียนรู๎ วิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมของชาวไทยพวนให๎สํงตํอไปยังลูกหลาน (ศูนย์มานุษวิทยาสิรินธร, 2547, น. 84)

    ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ๎าน วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ได๎รับการยกฐานะให๎เป็นสํวนหนึ่งของ “ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดฝั่งคลอง” แหลํงเรียนรู๎ทางวัฒนธรรมที่มีความพร๎อมและมีศักยภาพ เป็นศูนย์กลางรวบรวมองค์ความรู๎เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) และพระบรมวงศานุวงศ์ ทรงงานในพ้ืนที่จังหวัดนครนายก โดยข๎อมูลเกี่ยวกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชุมชน ไทยพวนและของท๎องถิ่น ท าให๎พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอ ปากพลี จังหวัดนครนายก เป็นแหลํงเรียนรู๎ที่ส าคัญ อันมีความเกี่ยวข๎องกับคนในชุมชน ท าให๎คนรุํนหลังได๎ทราบถึงประวัติของท๎องถิ่น ประเพณี วิถีชีวิต วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท๎องถิ่น รวมถึงความเป็นมาของบรรพบุรุษที่สืบทอดมาหลายชั่วอายุคน และเป็นสถานที่ในการศึกษา ค๎นคว๎าข๎อมูล การ

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 4 แลกเปลี่ยนเรียนรู๎ เพ่ือสํงเสริมการตํอยอดทางศิลปวัฒนธรรมให๎เกิดคุณคําและเกิดคุณประโยชน์ตํอชุมชนและสังคม

    ประการที่ส าคัญ พิพิธภัณฑ์วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก แหํงนี้เกิดขึ้นโดย พระครูวิริยานุโยค (สมบัติ บุญประเสริฐ) เจ๎าอาวาสวัดฝั่งคลองปัจจุบัน และคนในชุมชน มีความประสงค์ในการจัดท าและด าเนินการพิพิธภัณฑ์แหํงนี้ ให๎เป็นสถานศึกษาเรียนรู๎แกํประชาชนทุกกลุํมวัยสามารถเข๎ามาศึกษาหาความรู๎ได๎ตลอดเวลา ซึ่งคนในชุมชนมีสํวนรํวมในการจัดการ ดูแลรักษา และอนุรักษ์ภูมิปัญญาวัฒนธรรมท๎องถิ่น สํงผลให๎คนในชุมชนมีความส านึก รักบ๎านเกิด มีความรู๎สึกความเป็นเจ๎าของให๎พิ พิธภัณฑ์แหํงนี้ เป็นแหลํงทํองเที่ยวที่เป็นมรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่ทรงคุณคํา มีความเป็นเอกลักษณ์ รวมถึงมีการสํงเสริมเผยแพรํภาพลักษณ์วัฒนธรรมภูมิปัญญาท๎องถิ่นให๎แกํคนรุํนหลังตํอไป

    ด๎วยเหตุนี้ ผู๎ศึกษามีการเล็งเห็นถึงความส าคัญของการให๎การบริการ ให๎ความรู๎ ของพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ในด๎านตําง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให๎นักทํองเที่ยวที่มาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ได๎ตระหนักเห็นถึงคุณคําและให๎ความส าคัญของภูมิปัญญาวัฒนธรรมที่เป็นมรดกตกทอดมายังคนรุํนหลังได๎อนุรักษ์รักษาให๎คงอยูํตลอดไป และให๎เป็นแหลํงเรียนรู๎ในการให๎การศึกษาแกํประชาชนทุกกลุํมวัยและทุกประเภท รวมถึงให๎นักทํองเที่ยวที่มาเยี่ยมเกิดความประทับใจในการมาพิพิธภัณฑ์แหํงนี้แล๎วมีความประสงค์ได๎กลับมาเยี่ยมชมอีก

    ดังนั้นแล๎ว ในการสํงเสริมภาพลักษณ์ให๎ความส าคัญกับการทํองเที่ยว เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให๎มีความมั่นคง ควรให๎ความส าคัญในการพัฒนาและปรับปรุงพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) แหํงนี้ ในด๎านตําง ๆ อาทิเชํน ด๎านสถานที่อาคาร ด๎านวัตถุสิ่งของ ด๎านการจัดแสดงนิทรรศการ ด๎านการประชาสัมพันธ์ และในด๎านการบริการ เพ่ือให๎รองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในปัจจุบัน และภาครัฐได๎ให๎ความส าคัญในการพัฒนาปรับปรุงแหลํงเรียนรู๎ทางวัฒนธรรม ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาที่ดีงามของประเทศให๎มีความนําสนใจและทรงคุณคําตลอดไป ดังนั้นแล๎วผู๎ศึกษาจึงมีความสนใจวิจัยเรื่องความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก มาวิเคราะห์ข๎อมูลเพ่ือน ามาปรับปรุงและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ให๎ตรงตามความต๎องการของนักทํองเที่ยวตํอไป

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 5 1.2 ค าถามการวิจัย

    ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่เข๎ามาชมพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เป็นอยํางไร

    1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา

    1. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีผลตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก

    1.4 ขอบเขตของการศึกษา

    การศึกษาครั้งนี้ ผู๎ศึกษาก าหนดขอบเขตการศึกษาดังนี้ ขอบเขตด้านเนื้อหา การศึกษาระดับความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง

    (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก จ านวน 5 ด๎าน อันประกอบด๎วย 1. ด๎านสถานที่และอาคาร หมายถึง ความพึงพอใจของ นักทํองเที่ยวที่มีตํออาคาร

    สถานที่ตัวอาคารของพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) อาทิเชํน สภาพแวดล๎อม ห๎องน้ า ที่จอดรถ และจุดพักผํอน

    2. ด๎านวัตถุสิ่งของ หมายถึง ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอวัตถุสิ่งของในพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) อาทิเชํน วัตถุสิ่งของที่จัดแสดง ป้ายประกอบค าบรรยาย บรรยากาศห๎องจัดแสดง และหุํนจ าลอง

    3. ด๎านการจัดแสดงและนิทรรศการ หมายถึง ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอการจัดแสดงหรือนิทรรศการของพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) อาทิเชํน การจัดแสดงมีความสัมพันธ์ตํอเนื่องกัน การจัดแสดงมีความเป็นระเบียบ

    4. ด๎านการประชาสัมพันธ์ หมายถึง ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) อาทิเชํน การประชาสัมพันธ์ขําวสาร เวลาเปิด-ปิด การแสดงกิจกรรม

    5. ด๎านการบริการ หมายถึง ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอการบริการของเจ๎าหน๎าที่ของพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) อาทิเชํน การปฏิบัติตํอนักทํองเที่ยวของเจ๎าหน๎าที่ และคุณลักษณะของเจ๎าหน๎าที่ในการบริการแกํนักทํองเที่ยว

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 6

    ขอบเขตด้านพื้นที่ พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัด

    นครนายก ขอบเขตประชากร นักทํองเที่ยวที่มาทํองเที่ยวพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) รวมทั้งสิ้น 204 คน ขอบเขตด้านเวลา ระยะเวลา เดือนเมษายน-เดือนพฤษภาคม 2560

    1.5 นิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ

    1. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู๎สึกที่ได๎รับการตอบสนองความต๎องการของนักทํองเที่ยวที่มีตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ซึ่งแบํงออกเป็น 5 ด๎าน ได๎แกํ 1) ด๎านอาคารและสถานที่ 2) ด๎านวัตถุสิ่งของ 3) ด๎านการจัดแสดงและนิทรรศการ 4) ด๎านการประชาสัมพันธ์ 5) ด๎านการบริการ

    2. นักทํองเที่ยว คือ ผู๎ที่มาทํองเที่ยวพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ในชํวงเวลา เดือนเมษายน-เดือนพฤษภาคม 2560

    3. พิพิธภัณฑ์ คือ พิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก

    1.6 ประโยชน์ที่ได้รับ

    1. ได๎ทราบความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั ่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เพ่ือน ามาพัฒนาและปรับปรุงพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ให๎สอดคล๎องกับความต๎องการของนักทํองเที่ยวมากยิ่งข้ึน

    2. เพ่ือเป็นการปลูกจิตส านึกให๎คนในชุมชน มีความรัก ความหวงแหง ความภาคภูมิใจ ในการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ที่ดีงามสืบตํอไป

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 7

    บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

    การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง

    (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย อ าเภอปากพลี ผู๎ศึกษาได๎ท าการ ทบทวน แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข๎อง ท าให๎เกิดความชัดเจนในสาระที่เกี่ยวข๎องกับวิจัย และสามารถน าไปเป็นกรอบในการศึกษาตลอดจนสามารถน ามาสร๎างเป็นเครื่องมือที่ใช๎ในการเก็บรวบรวมข๎อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ซึ่งผู๎ศึกษาได๎ท าการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวกับกับการศึกษาไว๎ดังตํอไปนี้

    2.1 แนวคิดเก่ียวกับความพึงพอใจ 2.2 แนวคิดเก่ียวกับพิพิธภัณฑ์และพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น 2.3 แนวคิดเก่ียวกับการบริการ 2.5 ประวัติความเป็นมาของพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ต าบลเกาะหวาย

    อ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข๎อง 2.7 กรอบแนวคิด

    2.1 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ

    ในปัจจุบันไมํวําจะเป็นภาคสํวนของรัฐหรือภาคสํวนเอกชน ได๎ให๎ความส าคัญ ในเรื่องความพึงพอใจ เป็นสิ่งส าคัญในการท างาน เนื่องจากถ๎าบุคคลมีความรู๎สึกที่ดี มีความสุขในการปฏิบัติงานและได๎รับผลตอบแทนจะสํงผลให๎บุคคลนั้นเกิดความมุํงมั่นและมีก าลังใจในการท างาน รวมถึงงานจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด๎วย ซึ่งความพึงพอใจได๎มีผู๎นิยามไว๎หลากหลาย ดังรายละเอียดตํอไปนี้ และความพึงพอใจ

    Wolman (1973, p. 384) กลําววํา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู๎สึก (feeling) มีความสุขเมื่อคนเราได๎รับผลส าเร็จตามจุดมุํงหมาย (goals) ความต๎องการ (wants) หรือแรงจูงใจ (motivation) ซ่ึงมีความสอดคล๎องกับ ดรีเวอร์ (Drever, 1993, p. 256) ได๎กลําวไว๎วํา ความพึงพอใจ หมายถึง เป็นสภาวะความรู๎สึกท่ีได๎รับความประสบความส าเร็จตามความมุํงหมายที่วางไว๎ โดยการบรรลุความส าเร็จต๎องมีแรงกระตุ๎นของความต๎องการหรือความมุํงหมายของความรู๎สึกของบุคคลนั้น และมีความไมํสอดคล๎องกับแนวคิดของ สมยศ นาวีการ (2554, น. 39) ได๎กลําว ความพึงพอใจวําไว๎ ความพึงพอใจเป็นได๎ทั้งความรู๎สึกทางบวกและความรู๎สึกทางลบ ภายใต๎สถานการณ์ในคําตอบแทน ถ๎าบุคคลนั้นได๎รับการชมเชย

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 8 ยกยํองจะสํงให๎บุคคลมีความพึงพอใจทางบวก แตํขณะที่ บุคคลได๎รับการโดนต าหนิ ถูกการลงโทษจะสํงผลให๎บุคคลมีความพึงพอใจในทางลบ

    จากการนี้ขอสรุปวํา ความหมายของความพึงพอใจ เป็นความรู๎สึกของมนุษย์ที่แตกกันออกไปในแตํละบุคคล ซึ่งมีสาเหตุมาจากสถานการณ์หรือสิ่งแวดล๎อมในขณะนั้น โดยจะสะท๎อนออกมาในความรู๎สึกทางบวกและความรู๎สึกทางลบ ถ๎าบุคคลนั้นได๎รับรางวัลจะมีความรู๎สึกทางบวก หรือถูกลงโทษจะมีความรู๎สึกทางลบ เกิดข้ึนมาทันที

    2.1.1 ลักษณะความพึงพอใจ

    ความพึงพอใจ เป็นความรู๎สึกทางบวกของบุคคลที่มีตํอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งในชีวิตประจ าวันบุคคลมีการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลในสังคมและสิ่งแวดล๎อมที่รอบตัว ท าให๎แตํละคนมีประสบการณ์ ความคาดหวังกับสิ่งที่ได๎รับแตกตํางกันไป เมื่อบุคคลได๎รับการตอบสนองที่คาดเอาไว๎ เมื่อนั้นก็เกิดความพึงพอใจ แตํหากไมํได๎รับการตอบสนองที่คาดเอาไว๎ ก็จะกลายเป็นความไมํพึงพอใจ ความพึงพอใจขึ้นอยูํกับความรู๎สึกของบุคคลที่ได๎รับหรือไมํได๎รับการตอบสนองที่คาดเอาไว๎

    ความต๎องการที่ได๎รับการตอบสนองตามที่คาดหวัง หรือมากกวําที่คาดหวังจะกลายเป็นระดับความคาดหวังใหมํที่มีผลตํอความพึงพอใจในครั้งตํอไป โดยหมุนเวียนตามดังภาพ

    ภาพที ่2.1 การเกิดความพึงพอใจของบุคคล

    จากการที่กลําวมานี้ขอสรุปวํา ลักษณะความพึงพอใจเป็นความรู๎สึกของบุคคลที่มีความต๎องการหรือความคาดหวังอยํางใดอยํางหนึ่ง แล๎วมีแรงผลักดันให๎การกระท าของบุคคลให๎บรรลุเป้าหมายที่วางไว๎ เมื่อบรรลุเป้าหมายหรือความต๎องที่วางไว๎จะสํงให๎บุคคลเกิดความพึงพอใจ

    ความต๎องการ ความคาดหวัง

    แรงผลักดัน (พฤติกรรม/การกระท า)

    เป้าหมาย

    ความพึงพอใจ (ผลสะท๎อนกลับ)

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 9

    2.1.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ ในสังคมจะเห็นได๎วําการที่บุคคลมีความพึงพอใจในการท างานหรือเข๎ารํวม

    กิจกรรมตําง ๆ ในสังคม ต๎องเกิดแรงจูงใจมากระตุ๎นให๎บุคคลเกิดความรู๎สึกดีในการเข๎ารํวมกิจกรรมหรือในการท างาน โดยมีนักทฤษฎีหลายทํานได๎กลําวถึง ทฤษฎีแรงจูง ดังรายละเอียดตํอไปนี้

    ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s Theory of Motivation) มาสโลว์ มีความเชื่อวําความต๎องการของมนุษย์ไมํมีสิ้นสุดหรือมีความต๎องการอยูํเสมอ เมื่อมนุษย์ได๎รับสิ่งที่ พึงพอใจแล๎ว ยังต๎องการสิ่งอ่ืน ๆ มาตอบสนองตํอไปเรื่อย ๆ ซึ่งความต๎องการของมนุษย์ มาสโลว์ ได๎มีการล าดับขั้นจากต่ าไปสูํไปยังล าดับขั้นสูงสุดได๎ ดังตํอไปนี้

    ขั้น 1 ความต๎องการในทางรํางกาย (Physiological Needs) เป็นความต๎องการขั้นพ้ืนฐานของมนุษย์ อาทิเชํน คนเราต๎องการอากาศเพ่ือหายใจ ต๎องการนอนหลับพักผํอน ต๎องการน้ าและอาหาร หลีกเลี่ยงความเจ็บปวด รวมถึงความต๎องการทางเพศเป็นที่ชุมนุมของความต๎องการพ้ืนฐานทุกประเภท ถ๎าหากมนุษย์ยังไมํได๎รับการตอบสนองในขั้นแรก เป็นสิ่งที่ยากที่จะพัฒนาไปล าดับขึ้นตํอไป

    ขั้น 2 ความต๎องการความปลอดภัยและความมั่นคง (The Safety and Security Needs) หากตอบสนองความต๎องการของมนุษย์จากขั้นที่หนึ่งแล๎ว โดยเริ่มมีความต๎องการในด๎านความปลอดภัย ต๎องการการปกป้อง เพ่ือลดบรรเทาความกลัวหรือความกังวล รวมถึงต๎องการบ๎านที่ปลอดภัยและงานที่ม่ันคง

    ขั้น 3 ความต๎องการความผูกพันหรือการยอมรับ (The Love and Belonging Needs) หลังจากได๎รับการตอบสนองจากขั้นที่สองแล๎วจะเป็นความต๎องการในเรื่องความรักและความผูกพัน โดยแตํละคนอยากมีคนรัก อยากเป็นที่รักของทุกคน กลัวการอยูํคนเดียวและไมํได๎การยอมรับจากสังคม ซึ่งในความต๎องการในขั้นนี้จะแสดงออกด๎วย มีความต๎องการแตํงงาน การมีครอบครัวและการเป็นสมาชิกในการเข๎ารํวมกิจกรรม

    ขั้น 4 ความต๎องการได๎รับความนับถือยกยํอง (The-Esteem Needs) เป็นความต๎องการยกยํองแบบต่ าและแบบสูง ความต๎องการแบบต่ า คือ ต๎องการความเคารพจากผู๎อ่ืน ต๎องมีหน๎ามีตาหรือชื่อเสียงในสังคม สํวนความต๎องการแบบสูง คือ เป็นความต๎องการความเคารพตัวเอง แสดงได๎จาก เป็นคนที่มีความม่ันใจ ต๎องการชนะ สามารถยืนได๎ด๎วยตนเอง

    ขั้น 5 ความต๎องการในการประสบความส าเร็จในชีวิต (Self-Actualization Needs) เป็นความต๎องการของมนุษย์ที่เป็นขั้นสูงสุด คือ ความต๎องการที่จะประสบความส าเร็จในชีวิต ซึ่งข้ันความต๎องการข้ันที่ 5 นี้ ใชํวําทุกคนจะสามารถประสบความส าเร็จถึงขั้นนี้ได๎ มาสโลว์ได๎กลําวไว๎วํา มีเพียง 2-3% ของคนบนโลก ที่สามารถวําตัวเองประสบความส าเร็จในชีวิตและเป็นอยํางที่เป็นในชีวิต

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 10

    จากที่กลําวมานี้ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ มีความสอดคล๎องหรือมีความใกล๎เคียงกับทฤษฎีความต๎องการที่แสวงหาของ McClelland คือ ทฤษฎีนี้ได๎กลําวไว๎วํา การที่บุคคลมีแรงจูงใจให๎ประสบความส าเร็จในชีวิต ซึ่งไมํได๎หวังรางวัลเป็นผลตอบแทน แตํเป็นความต๎องการในการให๎งานออกมาดีที่สุดและบรรลุความส าเร็จที่คาดไว๎ โดยมีความเชื่อวํา ถ๎าบุคคลประสบความส าเร็จแล๎วจะมีแรงกระตุ๎นให๎งานอ่ืน ๆ ประสบความส าเร็จตามมา ซึ่งทฤษฎีนี้ได๎อธิบายถึง คุณลักษณะการมีแรงจูงใจ ไว๎ 3 ประการ ได๎แกํ

    1. ความต๎องการในเรื่องของอ านาจ (need for power) การที่บุคคลมีอ านาจสูงหรือเหนือกวําคนอ่ืน มีความต๎องการให๎คนอ่ืนสรรเสริญ ยกยํอง เชิดชู และต๎องการเป็นผู๎น า บุคคลเหลํานี้จะมีความวิตกกังวลเรื่องอ านาจมากกวําเรื่องการท างานให๎มีคุณภาพ

    2. ความต๎องการในเรื่องของความผูกพัน (need for affiliation) บุคคลมีการความสัมพันธ์กับผู๎อื่น โดยให๎ผู๎อื่นเกิดการยอมรับให๎เป็นสมาชิกสํวนหนึ่งของกลุํม บุคคลเหลํานี้จะชื่นชอบในการรักษาความสัมพันธ์ที่ดีระหวํางกัน มีความยินดีในการให๎ความรํวมมือแตํไมํชอบการตํอสู๎หรือการ แข็งขัน

    3. ความต๎องการในเรื่องของความส าเร็จ (need for achievement) เป็นความปรารถนาของบุคคลทุกคนที่ต๎องการประสบความส าเร็จ บุคคลเหลํานี้จะชอบการแขํงขัน ชอบงานท๎าทาย มีการวางเป้าหมายหรือก าหนดเป้าหมายที่แนํชัดแล๎วต๎องท าให๎ประสบความส าเร็จดังที่วางไว๎ และมีความรับผิดชอบตํองานสูง กล๎าเผชิญกับสิ่งตําง ๆ รวมถึงไมํเกรงกลัวในความล๎มเหลวในชีวิต

    จากทฤษฎีของมาสโลว์และทฤษฎีของ McClelland จะพบวํา มีลักษณะใกล๎เคียงกัน ในสังคมของมนุษย์ที่เกิดมาทุกคน ยํอมมีการปฏิสัมพันธ์ มีการชํวยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน เพ่ือให๎ผู๎อ่ืนเกิดการสรรเสริญ ยกยํอง เชิดชู รวมถึงการเป็นที่การยอมรับของสังคม และสิ่งสุดท๎ายมนุษย์ทุกคนต๎องการประสบความส าเร็จในชีวิต

    2.1.3 ทฤษฎีในเรื่องตัวชี้วัดของความพึงพอใจ มนุษย์ทุกคนยํอมมีเจตคติตํอสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่แตกตํางกันออกไป ฉะนั้นจะวัดความ

    พึงพอใจของบุคคลที่มีความรู๎สึกตํอสิ่งนั้น ไมํสามารถวัดได๎โดยตรง อาจสังเกตจากพฤติกรรมที่บุคคลได๎แสดงกระท าออกมาตํอสถานการณ์นั้น ๆ ฉะนั้นการวัดความพึงพอใจสามารถท าได๎หลายวิธี อาทิเชํน

    1. การใช๎แบบสอบถาม เป็นวิธีที่นิยมใช๎กันมากที่สุด โดยขอความรํวมมือกลุํมบุคคลที่ต๎องการวัดและแสดงความคิดเห็นลงในแบบฟอร์มที่ก าหนดไว๎ ซึ่งข๎อดีของการใช๎แบบสอบถาม คือ มีความสะดวก รวดเร็วในการส ารวจ สํวนข๎อเสีย ความพึงพอใจเป็นสภาวะที่มีความตํอเนื่อง ไมํสามารถบอกจุดเริ่มต๎นหรือสิ้นสุดความพึงพอใจได๎ แบบสอบถามจึงนิยมสร๎างแบบมาตรวัดของลิเคร์ทในการวัดทัศนคติ โดยให๎ผู๎ตอบได๎แสดงความคิดเห็นวํามีความเห็นด๎วยหรือไมํเห็นด๎วย มากน๎อยเพียงใด ซึ่งจะให๎ผู๎ตอบแบบสอบถามได๎เลือกตอบในแตํละข๎อความ 5 ชํวง คือ เห็นด๎วย

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 11 มากที่สุด เห็นด๎วย เฉย ๆ ยังไมํได๎ตัดสินใจ และไมํเห็นด๎วย ในการขณะเดียวกันการใช๎แบบสอบถามผู๎ตอบแบบสอบถามต๎องอํานออกเขียนได๎ และมีความสามารถในการคิดเป็นด๎วยเชํนกัน

    2. การสัมภาษณ์ เป็นวิธีหนึ่งที่ต๎องอาศัยหรือเทคนิคและความช านาญพิเศษของผู๎สัมภาษณ์ท่ีต๎องจูงใจของผู๎ถูกสัมภาษณ์ในการตอบค าถามให๎ตรงวัตถุประสงค์และมีความข๎อเท็จจริงแกํผู๎สัมภาษณ์ การวัดความพึงพอใจด๎วยวิธีการสัมภาษณ์เป็นวิธีที่ประหยัด และผู๎สัมภาษณ์สามารถอธิบายค าถามให๎ผู๎ตอบเข๎าใจได๎ การสัมภาษณ์สามารถใช๎กับกลุํมตัวอยํางที่อํานเขียนหนังสือไมํได๎ แตํมีข๎อเสีย คือ การสัมภาษณ์ต๎องใช๎เวลามาก และอาจมีความผิดพลาดในการสื่อความหมาย

    3. การสังเกต เป็นวิธีการที่ได๎จากการสังเกตพฤติกรรม เชํน การสังเกตกริยาทําทาง การพูด สีหน๎า และความถี่ของการมาขอรับบริการ โดยกํอนการรับบริการ ขณะรอรับบริการ และหลังจากการรับบริการไปแล๎ว การวัดโดยวิธีนี้จะต๎องกระท าอยํางจริงจังมีแบบแผนที่แนํนอน จึงจะสํงผลให๎การวัดมีประสิทธิภาพ และมีความนําเชื่อถือ

    ดังนั้น การวัดความรู๎สึกของบุคคลที่มีตํอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สามารถกระท าได๎โดยใช๎แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ และการสังเกต สิ่งเหลํานี้จะบํงบอกได๎วําบุคคลมีความพึงพอใจตํอสถานการณ์หรือเหตุการณ์เพียงใด โดยสุดท๎ายแล๎ว สามารถสรุปได๎วํา ความพึงพอใจของนักทํองเที่ยวที่มีตํอพิพิธภัณฑ์ท๎องถิ่น วัดฝั่งคลอง (ไทยพวน) ใน 5 ด๎าน คือ ด๎านสถานที่และอาคาร ด๎านวัตถุสิ่งของ และด๎านการจัดแสดงนิทรรศการ มาจากงานวิจัยของ จิราพัชร์ เชี่ยวจินดากานต์ (2556, น. 14-17) ได๎กลําวไว๎ องค์ประกอบของพิพิธภัณฑ์ สามารถแบํงออกเป็น อาคารและสถานที่ วัตถุสิ่งของ และการจัดแสดงหรือกลยุทธ์ในการน าเสนอ สํวนด๎านการประชาสัมพันธ์ มาจากแนวคิดพิพิธภัณฑสถานกับการประชาสัมพันธ์ของ จิรา จงกล (2532, น. 155) ที่กลําวไว๎วํา พิพิธภัณฑ์จะประสบความส าเร็จลุลํวงนั้น ขึ้นอยูํกับการประชาสัมพันธ์ เนื่องจากการประชาสัมพันธ์ เป็นสถาบันที่เกี่ยวข๎องกับประชาชนทุกระดับและสํงผลให๎ประชาชนได๎รู๎จักพิพิธภัณฑ์มากขึ้น ในขณะที่ด๎านการบริการ มาจากแนวคิด การบริการของ รวีวรรณ โปรยรุํงโรจน์ (2551, น. 3-5) ได๎กลําวไว๎วํา การบริการเป็นการด าเนินกิจกรรมของบุคคลหนึ่งหรือหนํวยงานหนึ่ง ได๎อ านวยความสะดวก ชํวยเหลือ หรือตอบสนองความต๎องการให๎กับบุคคลหรือกลุํมบุคคล โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให๎บุคคลหรือกลุํมบุคคลได๎รับความพึงพอใจ แล๎วกลับมาใช๎บริการซ้ าอีก โดยน างานวิจัยมาให๎เห็นถึงความสอดคล๎องแล๎วเห็นถึงความส าคัญของการบริการของ สุรชัย ทุหมัด (2556, น. 66-67) ได๎ท าการศึกษาความพึงพอใจของผู๎รับบริการพิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย จ านวน 4 ด๎าน คือ ด๎านสถานที่ ด๎านนิทรรศการ ด๎านการบริหารจัดการ และด๎านเจ๎าหน๎าที่ให๎บริการ และงานวิจัยของ นพดล อินทร์จันทร์ (2554, น. 26) ได๎ท าการศึกษาวิจัย การส ารวจความพึงพอใจของผู๎ใช๎บริการหอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ านวน 4 ด๎าน คือ ด๎านกระบวนการขั้นตอนการ ให๎บริการ-ด๎านเจ๎าหน๎าที่ผู๎ให๎บริการ ด๎านการอ านวยความสะดวก และคุณภาพ การให๎บริการ

    Ref. code: 25595805036067DIK

  • 12 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์และพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น

    การเรียนรู๎ของมนุษย์สามารถแสวงหาความรู๎ได๎ไมํจ ากัดเฉพาะอยูํแตํเพียงห๎องเรียนเทํานั้น มนุษย์สามารถแสวงหาความรู๎ได๎จากสถานที่ตําง ๆ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร๎างขึ้น ซึ่งแหลํงเรียนรู๎ที่เราสามารถเข๎าไปศึกษาหาความรู๎ในแขนงตําง ๆ เพ่ิมขึ้นจากการศึกษาในห๎องเรียนทั้งยังมีความส าคัญในฐานะที่เป็นสถานที่เก็บรวบรวมวัตถุทางธรรมชาติ วัตถุทางวิทยาศาสตร์ วัตถุทางศิลปกรรม วัตถุทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี สถานที่กลําวมา คือ พิพิธภัณฑ์นั้นเอง

    ในค าวํา ในเชิงสากล พิพิธภัณฑ์ นั้นหมายถึง เป็นสถานที่เก็บรวบรวมของมีคํา ของเกํา จ าพวกโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ วัตถุทางธรรมชาติ ทางวิทยาศ�