เหตุแห่งการเลือกจับอย่างจ...

1
โปรตีนกลุ่มไคเนส (Protein Kinase) เป็น เป้าหมายของยารักษาโรคหลายชนิดโดยเฉพาะ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ และโรคที่เกิดจากการอักเสบ โปรตีนไคเนสซึ่งมีมากกว่า 500 ชนิดใน Human Genome จึงเป็นกรณีศึกษาที่เหมาะสมในการ สังเคราะห์ความรู้ทั้งจากรูปร่างของแอคทีฟไซต์ และอันตรกิริยาภายในที่เกิดขึ้นอันมีผลต่อการจับ แบบจาเพาะหรือจับโดยไม่เลือกของสารที่ยับยั้ง โปรตีนไคเนส งานวิจัยนี้นาไปสู่การออกแบบ โครงสร้างของสารใหม่ โดยลดผลข้างเคียงที่เกิด จากความไม่จาเพาะของยาลง ระเบียบวิธีที่สร้าง ขึ้นช่วยให้การออกแบบสารยับยั้งโปรตีนไคเนส เป็นไปอย่างมีทิศทางและมีประสิทธิภาพมากขึ้น และยังมีเว็บเซอร์วิส (MAHORI.org) ที่พัฒนาขึ้นสาหรับใหข้อมูลเกี่ยวกับพันธะเคมีที่เกิดขึ้นระหว่าง fragment ของ สารเคมีกับโปรตีนที่พบใน Protein Data Bank อีกด้วย พัฒนาโปรแกรมขึ้นโดยใชข้อมูลจาก Distance Matrix ที่วัดระยะจากตาแหน่ง เอกลักษณ์ของกรดอะมิโนใน แอคทีฟไซต์ เพื่อใช้วิเคราะห์ รูปร่างแอคทีฟไซต์ของ เอนไซม์ที่ส่งผลต่อการจับกับ โปรแกรม SIMFONEE ทีพัฒนาขึ้นยังสามารถค้นหา อะตอมที่จาเป็นสาหรับตัว ยับยั้งไคเนสส่วนใหญ่ในการ เข้าจับกับแอคทีฟไซต์โดย อาศัยการซ้อนทับภาพสามมิติ จากโครงสร้างผลึกโปรตีน ระเบียบวิธีวิจัย บทนา เหตุแห่งการเลือกจับอย่างจาเพาะหรือจับโดยไม่เลือกของตัวยับยักรณีศึกษาจากโปรตีนไคเนสจับกับสตอโรสปอริน References: 1. Tanramluk D, et al. Chemical Biology & Drug Design. 2009; 74(1): 16-24. 2. Gong SS, et al. Biochemical Society Transactions. 2009;37:727-733. 3. Frye SV. Nature Chemical Biology. 2010;6:159-161. 4. Djung JF, et al. Bioorganic & Medicinal Chemistry. 2011;19:2742-2750. 5. McIver EG, et al. Bioorganic & Medicinal Chemistry Letters. 2012;22(23):7169-7173. Contact: สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล (MB) และศูนย์ปฏิบัติการด้านชีววิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์แบบบูรณาการ (ICBS) มหาวิทยาลัยมหิดล, Email: [email protected] ตัวยับยั้งไดโดยระบุบริเวณ ของแอคทีฟไซต์ที่มีความผัน แปรไปตามชนิดของโปรตีน ไคเนส รวมถึงปัจจัยที่ทาให้ สารยับยั้งจับกับโปรตีนไคเนส แตกต่างกันจากข้อมูลระยะ ระหว่างอะตอมและชนิดของ อะตอมภายในโครงสร้าง ประสิทธิภาพของตัวยับยั้ง (สตอโรสปอริน) นักวิจัยยาก็สามารถ ปรับปรุงโครงสร้างยาให้มีความจาเพาะต่อโปรตีนไคเนสชนิดนั้นๆ ได้ โดยเว็บไซต์ MAHORI สามารถจุดประกายความคิดให้นักเคมี ในการออกแบบสารยับยั้งชนิดใหม่จากข้อมูล fragment ของยา องค์ความรู้ที่ได้เหล่านี้มีการนาไปใช้แล้วสาหรับการออกแบบยา ในกลุ่มสารยับยั้งโปรตีนไคเนส ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายใน การออกแบบยาให้มีประสิทธิภาพดีขึ้นและมีผลข้างเคียงน้อยลง วิทยานิพนธ์นี้นาไปสู่การตีพิมพ์ในวารสาร 3 ฉบับและได้รับการ อ้างถึงในวารสารนานาชาติรวม 36 ครั้ง เช่น การนาหลักการที่ได้ ไปออกแบบสารยับยั้งไคเนสที่มีความจาเพาะมากขึ้นสาหรับยา รักษาโรคหัวใจ (Djung et al., 2011) และโรคที่เกิดจากการ อักเสบซึ่งสารที่สังเคราะห์ตามหลักการดังกล่าวมีความจาเพาะต่อ โปรตีนไคเนสเป้าหมายสูงขึ้น 70 เท่า (McIver et al., 2012) อีกทั้งยังนาไปสู่ความคิดที่จะใช้สตอโรสปอรินเพื่อเป็น probe molecule อันจะเป็นประโยชน์ต่องานวิจัยทางชีวเคมี (Frye, 2012) นอกจากนี้แล้วระเบียบวิธีในวิทยานิพนธ์นี้ยังได้วางแบบ แผนสาหรับการพัฒนาคุณสมบัติของตัวยับยั้งเอนไซม์ในกลุ่มอื่นๆ ที่เป็นเป้าหมายของยาได้ในอนาคต SIMFONEE Atom Arrays Gatekeeper Tyr 122 Met 120 Glu 170 SIMFONEE Residue Arrays Gatekeeper+2 Unmoved cluster Cluster expansion Induced fit of Gly 50 Cluster contraction ตาแหน่งที่ทาให้ยาจับได้อย่างจาเพาะ 40 crystal structures from 16 kinases. Ki(nM) 8 30 6 50 20 11 15 (Gatekeeper +2) F Y F Y Y Y R 2 hydrogen bonds 170 127 Adenine Residue Array Staurosporine Residue Array Adenine Atom Array Staurosporine Atom Array ประโยชน์ที่ได้รับ 37.5% 58% 50% 75% จากการซ้อนทับเอนไซม์ด้วยโปรแกรม SIMFONEE พบว่า บางอะตอมมีตาแหน่งที่อยู่ซ้าๆ ซึ่งเป็นตาแหน่งที่จาเป็น สาหรับ ATP และสารสตอโรสปอรินในการจดจาแอคทีฟไซต์ และพบตาแหน่งที่มีการเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกันเมื่อ จับกับยา ทาให้เราทราบว่าจะสามารถออกแบบยาใหม่ที่มี การจับกับโปรตีนอย่างจาเพาะเจาะจงโดยมีหมู่ฟังก์ชันเพิ่ม ออกไปในทางใดได้บ้าง โดยการคานวณว่าทิศทางใดที่จะ ส่งผลให้ยาจับได้ดี เพื่อให้นักเคมีทาการสังเคราะห์ต่อไป

Upload: hoangthuan

Post on 16-Mar-2018

220 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เหตุแห่งการเลือกจับอย่างจ …mucc.mahidol.ac.th/~mbduangrudee/NRCT_ThesisAward_Thai.pdf · โปรตีนกลุ่มไคเนส

โปรตนกลมไคเนส (Protein Kinase) เปนเปาหมายของยารกษาโรคหลายชนดโดยเฉพาะโรคมะเรง โรคหวใจ และโรคทเกดจากการอกเสบ โปรตนไคเนสซงมมากกวา 500 ชนดใน Human Genome จงเปนกรณศกษาทเหมาะสมในการสงเคราะหความรทงจากรปรางของแอคทฟไซตและอนตรกรยาภายในทเกดขนอนมผลตอการจบแบบจ าเพาะหรอจบโดยไมเลอกของสารทยบยงโปรตนไคเนส งานวจยนน าไปสการออกแบบโครงสรางของสารใหม โดยลดผลขางเคยงทเกดจากความไมจ าเพาะของยาลง ระเบยบวธทสรางขนชวยใหการออกแบบสารยบยงโปรตนไคเนสเปนไปอยางมทศทางและมประสทธภาพมากขน

และยงมเวบเซอรวส (MAHORI.org) ทพฒนาขนส าหรบใหขอมลเกยวกบพนธะเคมทเกดขนระหวาง fragment ของสารเคมกบโปรตนทพบใน Protein Data Bank อกดวย

พฒนาโปรแกรมขนโดยใชขอมลจาก Distance Matrix

ทวดระยะจากต าแหนงเอกลกษณของกรดอะมโนในแอคทฟไซต เพอใชวเคราะห

รปรางแอคทฟไซตของเอนไซมทสงผลตอการจบกบ

โปรแกรม SIMFONEE ทพฒนาขนยงสามารถคนหาอะตอมทจ าเปนส าหรบตว

ยบยงไคเนสสวนใหญในการเขาจบกบแอคทฟไซตโดย

อาศยการซอนทบภาพสามมตจากโครงสรางผลกโปรตน

การจบโดยไมเลอกของยาท าใหเกดผลขางเคยง

ต าแหนงทท าใหยาเกดการจบโดยไมเลอก

Equation: Log Kd = 44.8193 + 0.0221 ×(D104,122)

2

-0.2573 × D120,122

- 5.8864 × D70,170

+ 0.1768 × (D70,170)2

+ 0.2544 × D71,170

where: SD = 0.2781, R2 = 0.8276, R = 0.9097

-1

0

1

2

3

4

-1 0 1 2 3 4

log K

i,S

TU

(predic

ted)

log Ki,STU

ระเบยบวธวจย

บทน า ผลการทดลอง

เหตแหงการเลอกจบอยางจ าเพาะหรอจบโดยไมเลอกของตวยบยงเอนไซม: กรณศกษาจากโปรตนไคเนสจบกบสตอโรสปอรน

ผท ำวทยำนพนธ ดร.ดวงฤด ธำรร ำลก อำจำรยทปรกษำ Professor Sir Tom L Blundell

References: 1. Tanramluk D, et al. Chemical Biology & Drug Design. 2009; 74(1): 16-24. 2. Gong SS, et al. Biochemical Society Transactions. 2009;37:727-733. 3. Frye SV. Nature Chemical Biology. 2010;6:159-161.

4. Djung JF, et al. Bioorganic & Medicinal Chemistry. 2011;19:2742-2750. 5. McIver EG, et al. Bioorganic & Medicinal Chemistry Letters. 2012;22(23):7169-7173.

Contact: สถาบนชววทยาศาสตรโมเลกล (MB) และศนยปฏบตการดานชววทยาศาสตรคอมพวเตอรแบบบรณาการ (ICBS) มหาวทยาลยมหดล, Email: [email protected]

ตวยบยงได โดยระบบรเวณของแอคทฟไซตทมความผนแปรไปตามชนดของโปรตนไคเนส รวมถงปจจยทท าใหสารยบยงจบกบโปรตนไคเนส แตกตางกนจากขอมลระยะระหวางอะตอมและชนดของอะตอมภายในโครงสราง

เมอทราบต าแหนงทท าใหยาจบไดอยางจ าเพาะ จากแผนภาพโครงสรางสามมตทงในดานของทศทางและต าแหนงของการเกดอนตรกรยาภายในแอคทฟไซตของเอนไซมทสอดคลองกบประสทธภาพของตวยบยง (สตอโรสปอรน) นกวจยยากสามารถปรบปรงโครงสรางยาใหมความจ าเพาะตอโปรตนไคเนสชนดนนๆ ได โดยเวบไซต MAHORI สามารถจดประกายความคดใหนกเคมในการออกแบบสารยบยงชนดใหมจากขอมล fragment ของยา

องคความรทไดเหลานมการน าไปใชแลวส าหรบการออกแบบยาในกลมสารยบยงโปรตนไคเนส ชวยประหยดเวลาและคาใชจายในการออกแบบยาใหมประสทธภาพดขนและมผลขางเคยงนอยลง วทยานพนธนน าไปสการตพมพในวารสาร 3 ฉบบและไดรบการอางถงในวารสารนานาชาตรวม 36 ครง เชน การน าหลกการทไดไปออกแบบสารยบยงไคเนสทมความจ าเพาะมากขนส าหรบยารกษาโรคหวใจ (Djung et al., 2011) และโรคทเกดจากการอกเสบซงสารทสงเคราะหตามหลกการดงกลาวมความจ าเพาะตอโปรตนไคเนสเปาหมายสงขน 70 เทา (McIver et al., 2012) อกทงยงน าไปสความคดทจะใชสตอโรสปอรนเพอเปน probe molecule อนจะเปนประโยชนตองานวจยทางชวเคม (Frye, 2012) นอกจากนแลวระเบยบวธในวทยานพนธนยงไดวางแบบแผนส าหรบการพฒนาคณสมบตของตวยบยงเอนไซมในกลมอนๆ ทเปนเปาหมายของยาไดในอนาคต

SIMFONEE Atom Arrays

Gatekeeper

Tyr122 Met120

Glu170

SIMFONEE Residue Arrays

Gatekeeper+2

Unmoved cluster Cluster expansion Induced fit of Gly50 Cluster contraction

Adenine residue array

ต าแหนงทท าใหยาจบไดอยางจ าเพาะ

40 crystal structures from 16 kinases.

Ki(nM)

8

30

6

50

20

11

15

(Gatekeeper +2)

F

Y

F

Y

Y

Y

R

2 hydrogen

bonds

170 127

Adenine Residue Array Staurosporine Residue Array

Adenine Atom Array Staurosporine Atom Array

ประโยชนทไดรบ

37.5% 58% 50% 75%

จากการซอนทบเอนไซมดวยโปรแกรม SIMFONEE พบวาบางอะตอมมต าแหนงทอยซ าๆ ซงเปนต าแหนงทจ าเปนส าหรบ ATP และสารสตอโรสปอรนในการจดจ าแอคทฟไซต

และพบต าแหนงทมการเคลอนตวไปในทศทางเดยวกนเมอจบกบยา ท าใหเราทราบวาจะสามารถออกแบบยาใหมทมการจบกบโปรตนอยางจ าเพาะเจาะจงโดยมหมฟงกชนเพมออกไปในทางใดไดบาง โดยการค านวณวาทศทางใดทจะสงผลใหยาจบไดด เพอใหนกเคมท าการสงเคราะหตอไป