อิเล็กโทรสโคป (electroscope)

16
ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26 A

Upload: somporn-laothongsarn

Post on 28-May-2015

24.735 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

ครูสมพร เหล่าทองสารโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26

A

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

อิเล็กโทรสโคป เป็นเครื่องมือส าหรับตรวจสอบไฟฟ้าสถิต มี 2 ชนิด (1) อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิท (pith ball electroscope) ประกอบด้วยลูกกลม ท าด้วยโฟมฉาบด้วยโลหะ ตัวลูกกลมแขวนด้วยเส้นด้ายเล็กๆ ดังรูป

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

ขั้นตอนในการใช้อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิท เพื่อตรวจสอบวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าหรือไม่ ถ้ามีประจุจะเป็นประจุชนิดใด ดังนี้(1) ท าให้ลูกพิทเป็นกลางทางไฟฟ้า(2) น าวัตถุที่ต้องการตรวจสอบมาวางใกล้ๆ ลูกพิทแล้วสังเกตการเบี่ยงเบนของลูกพิท

A

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

1. ถ้าลูกพิทไม่เบี่ยงเบนแสดงว่าวัตถุ A ไม่มีประจุ

A

ผลการทดสอบ

2. ถ้าลูกพิทเบนเข้าหาวัตถุ Aแสดงว่าวัตถุ A มีประจุ

A

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

ผลการทดสอบ

3. ถ้าลูกพิทเบนออกจากวัตถุ A แสดงว่าลกูพิทยังไม่เป็นกลางทางไฟฟ้า

A

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

(3) วิธีการตรวจสอบชนิดของประจุบนวัตถุ A โดยให้ประจุไฟฟ้าที่ทราบชนิดแล้วแก่ลกูพิท แล้วน าวัตถุที่ต้องการตรวจสอบมาวางใกล้ๆ ลกูพิทอีกแล้วสังเกตการเบี่ยงเบนของลูกพิท

+ +++

1. สมมติให้ประจุบวกแก่ลูกพิท

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

2. ถ้าลูกพิทเบนเข้าหา แสดงว่าวัตถุ A มีประจุชนิดตรงกันข้ามกับลูกพิท (ประจุลบ)

A+ +++– – –– – –

3. ถ้าลูกพิทเบนออก แสดงว่าวัตถุ A มีประจุชนิดเดียวกันกับลูกพิท (ประจุบวก)

A+ ++++ +

+ + + +

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) (2) อิเล็กโทรสโคปแบบแผ่นโลหะ (leaf electroscope) ประกอบด้วย

แกนโลหะด้านในเชื่อมติดกับจานโลหะชนิดเดียวกันกับปลายล่างแท่งโลหะ มีแผ่นโลหะบางๆ ติดไว้ ดังรูป

จานโลหะ

แกนโลหะ

แผ่นโลหะบาง

กล่องพลาสติก

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) เมื่อน าวัตถุที่มีประจุมาใกล้จานโลหะของอิเล็กโทรสโคป แผน่โลหะบาง

ของอิเล็กโทรสโคปจะกางออก ดังรูป

วัตถุแผ่นโลหะบาง

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) ขั้นตอนในการใช้อิเล็กโทรสโคปแผ่นโลหะ เพื่อตรวจสอบวัตถุว่ามีประจุ

ไฟฟ้าหรือไม่ ถ้ามีประจุจะเป็นประจุชนิดใด (1) ท าให้แผ่นโลหะเป็นกลางทางไฟฟ้า (2) น าวัตถุที่ต้องการตรวจสอบประจุมาว่างใกล้ๆ จานโลหะ แล้วสังเกตการกางของแผ่นโลหะ

วัตถุแผ่นโลหะบาง

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

แผ่นโลหะหุบแสดงว่าเป็นกลาง

จานโลหะ

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

แผ่นโลหะไม่กาง แสดงว่าวัตถุ A ไม่มีประจุ

A

ผลการทดสอบ

แผ่นโลหะกางออก แสดงว่าวัตถุ A มีประจุ

A

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

(3) ให้ประจุที่ทราบชนิดแก่จานโลหะด้านบน แล้วน าวัตถุที่ต้องการตรวจสอบชนิดของประจุมาวางใกล้ๆ จานโลหะอีกครั้งหนึ่ง แล้วสงัเกตการการหรือหุบของแผ่นโลหะด้านล่าง

++ ++

1. สมมติให้ประจุบวกแก่จานโลหะ

+++

++

+

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

ถ้าวัตถุ A มีประจุบวก (ชนิดเดียวกัน) แผ่นโลหะจะกางออกมากขึ้น

++ ++

+++

++

+

A+ + +

++ + +

ผลการทดสอบ

(–) (–)

(+)(+)

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

ถ้าวัตถุ A มีประจุลบ (ชนิดตรงกันข้าม) แผ่นโลหะจะหุบเข้า

++ ++

+++

+++

A

ผลการทดสอบ

(–)(–)

– ––

– – ––

(+)(+)

ครูสมพร เหลา่ทองสาร

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

หนังสือสารอ้างอิง

นิรันดร์ สุวรัตน.์ ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1-2. ส านักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา : กรุงเทพฯ, 2552.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม ฟิสิกส์ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. โรงพิมพ์คุรุสภา : กรุงเทพ, 2554.

ครูสมพร เหลา่ทองสาร