งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

54
รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : . ดร. กฤษ เพิ่มทันจิตต ( ถอดเทป 9-11 . .44) 1/ 54 ถอดเทปอ. ดร . กฤช 9-11 . .44 ( เอกสารจาก CD) ระบบเศรษฐกิจไทย เปนวิชาที่วาดวยปจจัยและสภาพแวดลอมทางการบริหาร โดยมทีจุดประสงคดังนี1. มุงศึกษาทฤษฎีแลแนวคิดทางเศรษฐกิจ ทั้งในระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับ สากล ซึ่งมีอิทธิพลตอการพัฒนาระบบเศรษฐกิจไทย 2. ศึกษาผลการวิจัยที่สําคัญเกี่ยวกับการวิเคราะหระบบเศรษฐกิจของไทย 3. ศึกษาปญหาการพัฒนาเศรษฐกิจ และมาตรการของรัฐบาลในการแกปญหา รวมทั้งการ พัฒนาเศรษฐกิจ และอิทธิพลของสิ่งแวดลอมทางเศรษฐกิจที่มีผลตอการตัดสินใจของ ผูบริหาร 4. เพื่อที่จะพัฒนาใหคนที่จะเปนนักบริหารทุกระดับ มีความสามารถในการวิเคราะห สภาวะการณทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคม ใหเขาใจและสามารถนํามาประยุกตใช ในการบริหาร การดําเนินชีวิตประจําวัน รวมทั้งความสามารถในการวินิจฉัยขอมูล ขาวสารตางๆ ระบบเศรษฐกิจในฐานะที่เปนระบบสังคม ในการพิจารณาระบบเศรษฐกิจในฐานะที่เปนระบบสังคมนั้น สืบเนื่องมาจากลักษณะ พิเศษของประเทศไทยหรือประเทศอื่นๆ ที่จัดอยูในกลุมประเทศโลกที3 ซึ่งประเทศในกลุมนี้มี แบบแผนของวัฒนธรรมอันเกิดขึ้นจากความหลากหลายทางชีวภาคที่แตกตางไปจากสังคมตะวันตก ซึ่งเปนที่มาของการพัฒนาความชํานาญเฉพาะอยาง และเปนที่มาของแบบแผนของความเชื่อและ คานิยมรวม ซึ่งในที่สุดก็กลายมาเปนแบบแผนของการดําเนินชีวิตรวมกัน เมื่อเปนเชนนี้แลวทฤษฎี เศรษฐศษสตรแนวทุนนิยมที่สรางขึ้นมาในสังคมตะวันตก นับตั้งแตอดัม สมิธ ซึ่งสรางขึ้นมาเพื่อ วิเคราะหสถานการณในสังคมตะวันตก มีฐานคติและแฝงคํานิยามของสังคมตะวันตก เมื่อทฤษฎีนีถูกนําเขามาใชโดยไมไดผานการทดสอบวามีความสามารถประยุกตใชไดหรือไม จึงนํามาซึ่งการ อานสถานการณที่ผิดพลาด ตัวอยางเชน นับตั้งแตป . . 2540 จนถึงยุคสมัยของรัฐบาลนายชวน หลีกภัย ไดมีการเขาโครงการ IMF และไดนําเอาทฤษฎีเศรษฐศาสตรแนว Neo Classic มาเปน พื้นฐานในการอานคํานวณสถานการณ มีการเพิ่มทุนใหกับธนาคารและสถาบันการเงินจนเกิด สถานการณที่เรียกวา สภาพคลองลนระบบ ซึ่งเปนการอานสถานการณหรือระบบเศรษฐกิจไทย แบบผิดๆ ทั้งนี้เพราะความเปนระบบทุนนิยมพวกพองของระบบทุนนิยมแบบไทย เมื่อธนาคารเพิ่ม ทุนสํารองแลว แตกลับเกิดภาวะกับดักสภาพคลอง ทั้งนี้ทั้งนั้นก็เกิดจากการใชทฤษฎีทาง

Upload: saw-linux

Post on 29-Jul-2015

858 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 1/54

ถอดเทปอ.ดร.กฤช 9-11 พ.ย.44 (เอกสารจาก CD)

ระบบเศรษฐกิจไทย เปนวิชาท่ีวาดวยปจจัยและสภาพแวดลอมทางการบริหาร โดยมทีจุดประสงค ดังน้ี

1. มุงศึกษาทฤษฎีแลแนวคิดทางเศรษฐกิจ ท้ังในระดับทองถ่ิน ระดับชา ติ และระดับสากล ซ่ึงมีอิทธิพลตอการพัฒนาระบบเศรษฐกิจไทย

2. ศึกษาผลการวิจัยท่ีสําคัญเก่ียวกับการวิเคราะหระบบเศรษฐกิจของไทย 3. ศึกษาปญหาการพัฒนาเศรษฐกิจ และมาตรการของรัฐบาลในการแกปญหา รวม ท้ังการ

พัฒนาเศรษฐกิจ และอิทธิพลของสิ่งแวดลอมทางเศรษฐกิจท่ีมีผลตอการตัดสินใจของผูบริหาร

4. เพ่ือท่ีจะพัฒนาใหคนท่ีจะเปนนักบริหารทุกระดับ มีความสามารถในการวิ เคราะหสภาวะการณทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคม ใหเขาใจและสามารถนํามาประยุกตใชในการบริหาร การดําเนินชีวิตประจําวัน รวมท้ังความสามารถในการวิ นิจฉัยขอมูลขาวสารตางๆ

ระบบเศรษฐกิจในฐานะท่ีเปนระบบสังคม ในการพิจารณาระบบเศรษฐกิจในฐานะท่ีเปนระบบสังคม น้ัน สืบเ น่ืองมาจากลักษณะพิเศษของประเทศไทยหรือประเทศอ่ืนๆ ท่ีจัดอยูในกลุมประ เทศโลกท่ี 3 ซ่ึงประ เทศในกลุม น้ีมีแบบแผนของวัฒนธรรมอันเกิดข้ึนจากความหลากหลายทางชีวภาคท่ีแตกตางไปจากสังคมตะวันตก ซ่ึงเปนท่ีมาของการพัฒนาความชํานาญเฉพาะอยาง และเปนท่ีมาของแบบแผนของความเ ช่ือและคานิยมรวม ซ่ึงในท่ีสุดก็กลายมาเปนแบบแผนของการดําเนินชีวิตรวมกัน เมื่อเปนเชนน้ีแลวทฤษฎีเศรษฐศษสตรแนวทุนนิยมท่ีสรางข้ึนมาในสังคมตะวันตก นับต้ังแตอดัม สมิธ ซ่ึงสรา งข้ึนมา เ พ่ือวิเคราะหสถานการณในสังคมตะวันตก มีฐานคติและแฝงคํานิยามของสังคมตะวันตก เมื่อทฤษฎี น้ีถูกนําเขามาใชโดยไมไดผานการทดสอบวามีความสามารถประยุกตใชไดหรือไม จึงนํามาซึ่ งการอานสถานการณท่ีผิดพลาด ตัวอยางเชน นับต้ังแตป พ.ศ. 2540 จนถึงยุคสมัยของรัฐบาลนายชวน หลีกภัย ไดมีการเขาโครงการ IMF และไดนําเอาทฤษฎี เศรษฐศาสตรแนว Neo Classic มา เปนพ้ืนฐานในการอานคํานวณสถานการณ มีการเพ่ิมทุนให กับธนาคารและสถา บันการเงินจนเ กิดสถานการณท่ีเรียกวา สภาพคลองลนระบบ ซ่ึงเปนการอานสถานการณหรือระบบเศรษฐกิจไทยแบบผิดๆ ท้ังน้ีเพราะความเปนระบบทุนนิยมพวกพองของระบบทุนนิยมแบบไทย เมื่อธนาคารเ พ่ิมทุนสํารองแลว แตกลับเ กิดภาวะกับดักสภาพคลอง ท้ัง น้ีท้ัง น้ันก็เ กิดจากการใชทฤษฎีทาง

Page 2: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 2/54

เศรษฐศาสตรท่ีไมเหมาะสมมาวินิจฉัยหรือวิเคราะหสถานการณ และระบบเศรษฐกิจของไทยสวนหน่ึง ยังไดรับการสนับสนุนโดยระบบเศรษฐกิจใตโตะหรือระบบเศรษฐกิจใต ดิน (Underground Economy) ซ่ึงก็คือเงินท่ีไดจากการทําธุรกิจผิดกฎหมาย เชน การคายาเสพติด การคาประ เวณี บอนการพนัน ฯลฯ ผนวกกับเงินในภาคเศรษฐกิจท่ีไมเปนทางการ ซ่ึงก็คือ บุคคลผู ซ่ึงประกอบอา ชีพท่ีไมไดเสียภาษีใหกับรัฐ เชน พอคาแมคาท่ัวไป หาบเร แผงลอย ซ่ึงเงินจากแหลงน้ีมีมูลคา เ ทียบเทาไดกับมูลคาของ GDP ของประเทศไทย ฉะน้ัน ส่ิงเหลาน้ีจึงเปนส่ิงท่ีนักเศรษฐศาสตรตะวันตกมองไมเห็น จึงเปนเหตุใหเกิดการวินิจฉัยสถานการณทางเศรษฐกิจท่ีผิดพลาด ดังน้ัน ในการพิจารณาระบบเศรษฐกิจ จึงจําเปนท่ีจะตองพิจารณาในบริบทของสังคมท้ังมวล จะมองเพียงระบบเ พีย งดานเดียวไมได ตองพิจารณาในทรรศนะท่ีกวางขวางกวาเศรษฐศาสตรแบบด้ังเดิม

เศรษฐศาสตรแบบดั้งเดิม (Traditional Economics) คือ ทฤษฎีเศรษฐศาสตรแนว Classic และ Neo Classic ซ่ึงบุคคลท่ีเปนผูริเร่ิมกอต้ังสํานักความคิดน้ีคือ อดัม สมิธ (Adam Smith) ต้ังแตป ค.ศ. 1776 โดยมีหลักสําคัญ 3 ประการ คือ

1. Invisible Hand ความหมายของ Invisible Hand ในทางภาษาคือ “มือท่ีมองไม เ ห็น” แตความหมายในทางเทคนิคหมายถึง “การปรับตัวของกลไกตลาดโดย อัตโนมั ติ เ พ่ือกอใหเกิดความมีสมดุล หรือดุลยภาพ แตความหมายโดยลึกก็คือการแสดงให เ ห็นถึงอิทธิพลของปรัชญาหรือลัทธิเสรีนิยม ท่ีมีตอแนวคิดท่ีวาดวย Invisible Hand ซ่ึงปรัชญาของเสรีนิยมกลาววา บุคคลในสังคมพึงมีสิทธิเสรีภาพในการดํา เ นินการใดๆ และเช่ือวาผลรวมของสวนบุคคลตางๆ ท่ีมีเสรีภาพในการดํารงชีวิต จะนําไปสูการเปนสังคมท่ีดี (Good Society) ในหลักการน้ี หากคิดในเชิงยุทธศาสตรก็คือ ตองมีความกระตือรือรนในการแสวงหากําไรสูงสุด หรือกระตือรือรนในการบริโภค ซ่ึงก็คือกิเลสน่ันเอง ระบบทุนนิยมจะอยูไดหรือพัฒนาตอไป คนในสังคมจะตองมีกิเลส

2. Laissez Faire คือ การแทรกแซงของรัฐบาลเขาไปในกลไกของระบบเศรษฐกิจหรือกลไกของการแสวงหาประโยชนสวนบุคคลใหนอยท่ีสุด ไมควรเขามาแทรกแซงในกลไกตลาด และเปนท่ีมาของนโยบายแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization)

3. Division of Labor คือ การแบงงานกันทํา ซ่ึงทําใหเกิดการพัฒนาความชํานาญเฉพาะอยาง

ดังน้ัน การวิเคราะหระบบเศรษฐกิจไทย จึงคิดแบบแยกสวนไมได จะตองวิ เคราะหทุกบริบท ดังน้ี

1. บริบทของสังคมท้ังมวลของประเทศ 2. บริบทระหวางประเทศ (International or Regional context) 3. บริบทของโลก (Global context)

Page 3: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 3/54

ระบบสังคม หมายถึง ความสัมพันธท่ีพ่ึงพาตอกันระหวางปจจัยทางเศษรฐกิจ กับปจจัย ท่ีไมใชเศรษฐกิจตางๆ ซ่ึงปจจัยนอกขอบเขตเศรษฐกิจประกอบดวย

1. ทัศนคติท่ีมีตอวิถีชีวิต (ชีวทัศน) หรือทัศนคติท่ีชอบบริโภค ทัศนคติท่ีชอบรวยแบบฉาบฉวย ทําใหเกิดขาดดุลบัญชีเดินสะพัด เงินไหลออกนอกประเทศ มีการกู เ งินสูงข้ึน ขอสินเช่ือโดยมีมูลคาทรัพยสินคํ้าประกันนอย หรือทัศนคติของชาวตา งจังหวัดท่ีอพยพเขามาในกรุงเทพฯ ทําใหเกิดการวางงานหลายๆ รูปแบบ ปญหาแรงงานตา งชา ติท่ีเขามาในประเทศ ซ่ึงเปนท่ีมาของปญหาสังคมและการเมือง ในท่ีสุดตา งจังหวัดจะเหลือแตคนแกและเด็ก ทําใหขาดกําลังท่ีจะพัฒนาเกษตรกรรมใหเขมแข็ง

2. ขาดการใหความเคารพยกยองคนท่ีเกง ขาดการสงเสริมทางดานวิจัยและพัฒนา คนเกงคนดีมักจะไมไดรับการยกยอง แตไปยกยองคนผิด ทําใหเศรษฐกิจไทยดํา เ นินไปดวยทุนตางชาติท่ีปราศจากการถายโอนเทคโนโลยี ตองพ่ึงพาเทคโนโลยีตา งชา ติ และขาดการพัฒนาเทคโนโลยีของตนเอง

3. ความเหมาะสมของโครงสรางทางการบริหารและระบบขององคการขนาดใหญ ท้ังภาครัฐและเอกชน มีความซื่อสัตย หรือใชอํานาจหนาท่ีในการบริหารงานหรือไม

4. แนวคิดทางศาสนา มีผลตอระบบเศรษฐกิจ เชน ศาสนา พุทธ ยึดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง และสงผลกระทบตอระบบทุนนิยม ซ่ึงจะ เปนภูมิ คุม กันทางเศรษฐกิจใหกับคนท่ีปฏิบัติตามหลักการดังกลาว

5. ความซื่อสัตยในการใชอํานาจหนาท่ี (Intregity) ในหนวย งานภาครัฐและเอกชน มีความฉอฉล ไมซ่ือสัตย ขาดจริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics) จนทําใหเกิดภาวะท่ีไมไววางใจกัน

6. ตัวบุคคลท่ีเขาไปดํารงตําแหนงทางสถาบันทางการเมืองในระดับตา งๆ ไม ซ่ือสัตยสุจริต ขาดวิสัยทัศน ซ่ึงวิสัยทัศนของผูนํามีสวนสํา คัญมาก เชน มา เลเซีย สิงคโปร สงเสริมใหมีการใชระบบ IT แตของประเทศไทย ผูนํายังขาดวิสัยทัศนในเร่ืองดังกลาว

7. ระดับการมีสวนรวมของประชาชนท่ีมีผลกระทบทําใหบางโครงการลาชาออกไป และทําใหระบบเศรษฐกิจเสียโอกาสได เชน กรณีการสรางเข่ือนแกงเสือเตน หรือกรณีการสรางโรงไฟฟาบานหินกรูด ท่ี จ.ประจวบคีรีขันธ ซ่ึงยังไมมีขอยุติว าสงผลกระทบตอประการังหรือไม บางคร้ังการมีสวนรวมอาจทําใหเกิดการชะลอตัว แตการมีสวนรวมมากๆ ก็จะมีสวนดีมากกวา คือจะทําใหโครงการเ กิดผลกระทบนอย เพราะจะตอง

Page 4: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 4/54

พิจารณาอยางรอบคอบ และเจาของโครงการก็จะตองมีความรับผิดชอบตอผลกระทบท่ีเกิดข้ึนดวย

8. ความยืดหยุนหรือความแข็งแกรง (Rigidity) ของชนช้ันทางเศรษฐกิจและทางสังคมซึ่ ง

คารล มารกซ ไดกลาวไวเมื่อ 100 กวาปท่ีแลววา “ชนช้ันใดเขียนกฎหมายก็เพื่อชนช้ันน้ัน” เมื่อชนช้ันนายทุนครองอํานาจ กลุมนายทุนก็ไดรับผลประโยชน

นักเศรษฐศาสตรการเงินรวมสมัยไดกลาวเสริมวา ระบบทางเศรษฐศาสตรถูกสรา งข้ึนเ พ่ือรับใชชนช้ันเชนเดียวกับทฤษฎีทางสังคมศาสตร เชน ทฤษฎีโครงสรา งหลวมของ John Embree ดังน้ัน ความยืดหยุนและความแข็งแกรงของชนช้ันทางเศรษฐกิจและสังคม จึงมีผลตอระบบเศรษฐกิจเพราะมักจะบัญญัติกฎเกณฑตางๆ เพ่ือผลประโยชนของชนช้ันของตนเอง

นอกจากน้ัน เรายังตองทําความเขาใจระบบเศรษฐกิจในระดับภูมิภ าค ในระดับระหวา งประเทศและระดับโลกดวย โดยจะตองพิจารณาวาองคการและกฎเกณฑตางๆ ท่ีควบคุมเก่ียวกับการช้ีนําของระบบเศรษฐกิจโลกถูกกําหนดข้ึนมาอยางไร ใครเปนผูควบคุม และใครไดประโยชนมากท่ีสุด

จากกฎเกณฑดังกลาว IMF และธนาคารโลก อเมริกาจะเปนผูถือหุนใหญ วิ ธีการตัดสินใจหรือการ vote จะเปนการ vote แบบถวงนํ้าหนัก ซ่ึงหมายถึงใครถือหุนมากก็มีสัดสวนในการโหวตมาก ดังน้ันการโหวตมักจะข้ึนอยูกับอเมริกาเปนสวนใหญ องคประกอบหลักท่ีจะศึกษาในสวนน้ี คือ สวนท่ี 1 หลักการและแนวคิดตางๆ สวนท่ี 2 ปญหาและนโยบายตางๆ ภายในประเทศ สวนท่ี 3 ปญหาและนโยบายตางๆ ในระดับระหวางประเทศ สวนท่ี 4 ความเปนไปไดแลโอกาสสําหรับความสําเร็จในอนาคต คือการแสวงหาแนวทาง ในการพัฒนาประเทศ

สวนท่ี 1 1. หลักการและแนวคิดตางๆ 1.1 เศรษฐศาสตรสถาบันและการพัฒนา

1.1.1 วิกฤตตมยํากุงไปสูวิกฤตเอเชีย บทความใน Financial Time ฉบับวันจันทรท่ี 12 มกราคม 2541 ไดอธิบาย ถึงความลม เหลว

และสับสนของภาวะเศรษฐกิจและการเงินของประเทศตามขอบเอเชียแปซิฟก โครงการระบุถึงจุดความสําคัญของภาวะวิกฤตท่ีนําไปสูความลมเหลวจนยากท่ีจะแกไข วิกฤติท่ีเ กิดข้ึนคือระบบการเงินท่ีแบกรับภาระจนเกินกําลังของกลุมประเทศอาเซียน ซ่ึงเปนเสือเศรษฐกิจท่ีเ ติบโตข้ึนอยา ง

Page 5: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 5/54

รวดเร็ว มีท้ังหมด 4 ตัว คือ เกาหลีใต ฮองกง ใตหวัน และสิงคโปร สวนประเทศไทยก็กํา ลังจะ เปนเสือตัวท่ี 5 ของเอเชีย โดยการพยายามผลักดันใหเปน NICS วิกฤติตางๆ มีการกอตัวมาเปนระยะๆ

ในป 2527 ภาคเอกชนเร่ิมกอหน้ีตางประเทศมากเกินไป มีการกูเงินโดยสรางอุปสงค เ ทียม ใชอสังหาริมทรัพยเปนเคร่ืองคํ้าประกันเงินกูและเครดิต และมีการปนราคา ทํา ใหราคา บิดเ บือนจากราคาท่ีแทจริง มีการบริโภคท่ีเกินความจําเปน (Over Consumption) ซ่ึงเรียกวาระบบทุนนิยมแบบด้ังเดิม

ในหลายประเทศรวมท้ังประ เทศไทยตองเผชิญกับภาวะทุนนิยมแบบด้ังเ ดิม เปน Crony Capitalism เชน กรณีของธนาคารกรุงเทพพาณิชยการ (BBC) ธนาคารใหปลอย เ งินยืมใหนักการเมืองท่ีมีธุรกิจเก่ียวเน่ืองกัน โดยมีหลักทรัพยท่ีตํ่ากวาสินเช่ือท่ีขอ ขาดการวิ เคราะหความเปนไปไดของโครงการท้ังผูขอกูและผูใหกู

ประเทศท่ีเติบโตอยางรวดเร็วจึงเขาสูวิกฤตการณเปนระยะๆ เชน ในสมัยพลเอกเปรม ติณ สุณลานนท ไดวางระเบียบวินัยทางการเงินการคลังไว และแกไขฟนฟูระบบเศรษฐกิจอยา งรวดเ ร็ว มีการทํา Re-Financing มีนโยบายตะกราเงิน ทําใหประเทศไทยปลอดจากอิทธิพลของธนาคารโลกระยะหน่ึง

ในสมัยรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหวัณ เร่ิมทุมปจจัยนําเขา มีการปนราคา ท่ีดินให สูง ข้ึน จนตลาดหุนกลายเปนคาสิโน ไมใชตลาดท่ีระดมทุนอยา งแทจ ริง ทํา ให ทีอัตราการเ ติบโตทางเศรษฐกิจท่ีสูงท่ีสุดในโลก แตเปนการวางกับดักหายนะอีกคร้ังหน่ึง

ในสมัยท่ีนายธารินทร นิมมานเหมินทร ดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ไดนําเอานโยบายเสรีการเงินมาใชทามกลางความไมพรอมของประเทศไทย และไดยกเลิกการปริวรรตเงินตราไปตามตะกราเงินท่ีกําหนดข้ึนมาในสมัยรัฐบาลของพลเอกเปรมฯ นําเอาเงินบาทไทยไปยึดติดกับเงินตราตางประเทศ ทําใหเงินบาทไทยไมมีเสถียรภาพ ซ่ึงทําใหงายตอการแสวงหากําไรโดยการโจมตีคาเงิน

ในวันท่ี 25 มิถุนายน 2540 ปาฏิหารยทางเศรษฐกิจของเอเชียและไทยสิ้นสุดลง คาของเงินถูกโจมตีจนตองลอยตัวเงินบาท ทําใหหลายๆ คนรํ่ารวย แตประชาชนคนไทยสวนใหญได รับความเจ็บปวด ซ่ึงนายนุกูล ประจวบเหมาะ ไดกลาววา การท่ีธนาคารแหงประ เทศไทยไปทุม กับการตอตานการโจมตีคาเงินบาทของจอรช โซรอส เปนการกระทํา ท่ีโง เขลา เบาปญญา และอาจมี Hidden Agenda ดวย

เมื่อเศรษฐกิจไทยประสบภาวะวิกฤตเศรษฐกิจและรัฐบาลเขามาบริหารประ เทศ เ ราจะ เ ห็นอาชญากรทางเศรษฐกิจเพราะกฎหมายของไทยลาสมัยเกิดข้ึน มีการจัดต้ังบริษัท Paper Company ข้ึน โดยบริษัทดังกลาวจะดําเนินการขอภาษีมูลคาเพ่ิม (VAT) คืนเปนจํานวนหลายหมื่นลานบาท แตในความเปนจริงมูลคาการสงออกของสินคาเปนเพียงการสรางดัชนีเทาน้ัน บางคร้ังสงเปนตูคอนเทนเนอรเปลาๆ ก็ยังมี เมื่อนํามาเปนพ้ืนฐานในการวินิจฉัยทางเศรษฐกิจจึงผิดพลาด

Page 6: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 6/54

เมื่อวันท่ี 27-28 ตุลาคม 2540 นสพ. ฐานเศรษฐกิจไดนําเสนอบทความ ท่ีเ รียกวา “อเม ริกันอันตราย แฉแผนลับพิฆาตเอเชีย” โดยใชเครือขายท่ัวโลกมุงทําลายกลุมอาเซียน

คําถาม ทําไมไทยจึงเปนเปาหมายแรก ทําไมบริษัท MUDY และ S&P จึงลดอันดับความนาเช่ือถือของไทยอยางรวดเร็ว

คําตอบ ส่ิงท่ีจะตองคิดถึง คือ 1. ไทยมีนักการเมืองขายชาติหรือไม 2. ไทยมีนักวิชาการขายชาติหรือไม 3. ไทยมีขาราชการขายชาติหรือไม การโจมตีคาเงินของนายจอรจ โซรอส เมื่อวิเคราะหใหดีแลวมีเบ้ืองหลัง ไมวาจะ เปนไทย

สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย หรือเปนประเทศยากจนเปนปราการดานหนา ท่ีอเม ริกาจะทําลายเศรษฐกิจของประเทศเหลาน้ีเสียกอน เพ่ือสกัดก้ันการหยุดยั้งความเจริญเ ติบโตทางเศรษฐกิจของกลุมอาเซียน และพันธมิตรในเอชีย คือ จีน ญ่ีปุน ฮองกง และออสเตรเลีย

คําถาม ทําไมตองทําลายประเทศไทยกอน คําตอบ เพราะไทยมีไสศึกอยู เชนเดียวกับในสมัยกรุงศรีอยุธยาแตกคร้ังท่ี 1 ท่ีมีเจาพระยาจักรีเปนไสศึก คร้ังท่ี 2 มีนายทองอินทรเปนไสศึก อาจารยถือวาเมื่อไทยเขาโครงการ IMF เหมือนกับกรุงศรีอยุธยาแตก เพราะไทยมีไสศึก ซ่ึงสาเหตุท่ีมาทําลายประเทศไทยกอน ไดแบงความคิดออกเปน 2 สวน คือ

1. เพราะปจจัยภายในประเทศ ประเทศไทยจะถูกวิพากษวิจารณความออนแอของคนไทย และกลไกการบริหารของคนไทย

2. เปนเพราะปจจัยภายนอก นักวิชาการเศรษฐศาสตรสายการเมืองไดมองวา มันมีแผนยุทธศาสตร เชน กรณี นสพ. ฐานเศรษฐกิจเสนอแนวคิดวา การเกิดวิกฤตทางการเงินหรือวิกฤตตมยํากุงน้ัน มีสาเหตุมาจากปจจัยภายนอก (ตามแผนภาพท่ีแนบในเอกสารเคาโครงคําบรรยาย เร่ือง ระบบเศรษฐกิจในฐานะ ท่ีเปนระบบสังคม หนา 23 เ ร่ือง แผนยุทธศาสตรการทลายตลาดเงินเอเชียของอเมริกา)

Page 7: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 7/54

แผนยุทธศาสตรการทลายตลาดเงินเอเชียของอเมริกา

วิกฤตการณทางการเงินหรือวิกฤตการณตมยํากุงน้ัน มีสาเหตุมาจากปจจัยภายนอกไดแก 1. จะเห็นวาการเกิดองคกรความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางภูมิภ าคตา งๆ เ กิดข้ึนมา เ พ่ือเปน

รูปแบบหน่ึงของการกีดกันทางการคา โดยอเมริกาต้ังกลุมสนธิสัญญาการคา เสรีอเม ริกา เหนือข้ึน คือกลุม NAFTA ซ่ึงประกอบดวย อเมริกา แคนาดา เม็กซิโก ชิลี รวม ท้ังประ เทศลา ตินอเมริกา

2. อเมริกาวางแผนโจมตีคาเงินบาท โดยนายบิล คลินตัน , จอรจ โซรอส และ รมต. คลัง ไดรวมการวางแผนเพ่ือจะควบคุมเศรษฐกิจโลก หรือสรางสิ่ ง ท่ี เ รียกวา One World Economic Order คือการจัดระบบเศรษฐกิจของโลกใหเปนหน่ึง

3. หลังจากน้ันไดเปดประชุม APEC คือมีการประชุมระหวางอาเซียนกับ NAFTA เ พ่ือสลาย ข้ัวอาเซียนและตัดกําลังสหภาพยุโรป

นาฟตา = สหรัฐอเมริกา + แคนาดา + เม็กซิโก + ชิล ี+ (ลาติน

สหรัฐอเมริกา เอเปก = อาเซียน +

นาฟตา ื่ ี

การคาเสร ีแกตต/องคการการคาโลก เสรีทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เงินบาทลอยตวั

สถาบันจัดอันดับของสถาบันการเงิน

นายโซรอส ไอเอ็มเอฟ มูดี้ส เอส แอนด

สลายขั้วอาเซียน และตัดกําลังสหภาพยุโรป

จะสรางกฎตางๆ แชแข็งไทย

ใหเศรษฐกิจโต ชา 2-3 ป

ไทยเสียเงิน 23,400 ลาน เหรียญสหรัฐ ในการทําสว็อป

ทําลายสถาบันการเงินไทย วา 5 ธนาคารจะลม

ทําลายสถาบัน การเงินไทย โดยลดเกรดธนาคารไทย

ประเทศไทย

กลุมอาเซียน

ส่ีเหลี่ยมเศรษฐกิจ จีน (ฮองกง) ญ่ีปุน ออสเตรเลีย

1

2

3

4

5

6

7 9 10 11 8

12 13

Page 8: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 8/54

4. นายจอรจ โซรอส โจมตีคาเงินบาทเปนระลอกๆ ซ่ึงไทยก็ไดใชกองทุนสํารองระหวางประ เทศตอสูจนเกือบหมด และไทยตองสูญเสียเงิน 23,400 ลานเหรียญสหรัฐในการทํา SWAP

5. ใชเสรีภาพทางเทคโนโลยีเขามาจัดอันดับ โดย MUDY และ S&P เขามาจัดอันดับของประเทศไทยบอยข้ึน ทําลายความนาเช่ือถือของสถาบันการเงินไทย วา 5 ธนาคารจะลม

6. IMF สรางกลไกตางๆ เพ่ือแชแข็งระบบเศรษฐกิจไทย ใหเศรษฐกิจโตชา 2-3 ป (ซ่ึง เปนยุทธศาสตรทําลายตลาดเงินของเอเชีย โดยสหรัฐอเมริกา)

ซ่ึงท้ังหมดน้ีเปนแผนท่ีเกิดข้ึนท้ังส้ิน หลังจากน้ันจึงเกิดส่ิงตา งๆ ข้ึน ในชวงน้ัน มหา ธีร วิจารณอเมริกาวา และจอรจ โซรอส วาเปนโจรสลัด และเสนอวาควรมีการจัดระบบการควบคุมในการท่ีกลุมกองทุนท้ังหลายท่ีมาแสวงหากําไรจากตลาดทุนและตลาดเงินในประเทศท่ียากจน

ใน นสพ. ฐานเศรษฐกิจตอมาก็ลงขาวตอเ น่ืองวา “USA อันตราย ภาค 2 ระวังฝร่ังยึดประเทศ” โดยแฉแผนกลยุทธของสหรัฐอเม ริกาซึ่ งใชจอรจ โซรอสทําลาย แลวให IMF เขาชวยเหลือ

คําถาม มีมูลเหตุอะไรท่ีอเมริกาจะตองทําลายระบบเศรษฐกิจของเอเชีย สาเหตุ การบอนทําลายเอเชียมีความเปนระบบและมีมูลเหตุท่ีสําคัญหลายประการ นักวิชาการของ Harvard คือ โจเซฟ จอฟฟ ไดวิเคราะหอิทธิพลไดวิเคราะหอิทธิพลและบทบาทของอเม ริกา ท่ีไดรักษาความเปนมหาอํานาจหน่ึงเดียวโดยไรคูแขง มีบทความท่ีตีพิมพในวารสาร Foreign Affairs ฉบับเดือนกันยายน 1997 ช่ือวา “How America Does it?” วิเคราะหวาอเม ริกาใช อํานาจอะไรระหวาง 2 อํานาจ คือ

1. อํานาจกระดาง หรือ อํานาจแข็ง (Hard Power) หมายถึงกํา ลังพล ขีปนาวุธ อาวุธยุทโธปกรณตางๆ

2. อํานาจละมุน (Soft Power) เปนอํานาจแหงเศรษฐกิจและวัฒนธรรม อเมริกาใหความสําคัญกับอํานาจแข็งนอยลงในการดําเนินนโยบายตางประเทศ แตใหความ

สนใจอํานาจสูงสุดท่ีปรากฏอยูจริง น่ันคือ “อํานาจเงินตรา (Currency Power)” นอกจากน้ันก็ยังมีการซื้อตัว โดยการใหทุนเพ่ือใหเยาวชนของประเทศตางๆ ท่ัวโลกท่ีมีลักษณะท่ีเปนผู นํา ไปกลอมเกลาใหคิดอยางอเมริกา ใชชีวิตแบบอเมริกัน เพ่ือตอไปจะไดรับใชอเมริกา สาเหตุท่ีอเมริกายึดเอเชีย เอเชียเปนยุทธศาสตรของการลาอาณานิคมทางเศรษฐกิจระดับโลก เพราะวิวัฒนาการข้ันสูงสุดของระบบทุนนิยมท่ีทุนการเงินเขามามีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ ทํา ให เ กิดเปนจักรวรรดินิยมสมัยใหม ท่ีตองการทําใหโลกเปนหน่ึงเดียว ในชวง 2-3 ปท่ีผานมา พ.อ.ถนัด คอมันต กลาววิจารณ

Page 9: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 9/54

อเมริกาในท่ีประชุมสหประชาชาติวา อเมริกาไดดําเนินนโยบายแทรกแซงกิจการภายในประเทศไทย เชน การบีบใหมีการแกไขกฎหมายตางๆ เพ่ือประโยชนตอบริษัทขามชา ติของอเม ริกา ออกกฎหมายเพ่ือปกปองทรัพยสินทางปญญา ตองการใหประเทศตางๆ ในเอเ ชีย เปดตลาดการคา เ พ่ือเปดโอกาสใหบริษทขามชาติเขามายึดครองตลาดเอเ๙ย ท้ังน้ีมีสาเหตุท่ีสําคัญคือ

1. การลมสลายของสหภาพโซเวียตในป ค.ศ. 1991 ซ่ึงเปนสาเหตุใหสงครามเย็นยุ ติ เ ดิมไทยถูกกําหนดใหเปนปราการดานหนาในการตอตานการขยายตัวของคอมมิว นิสตในอินโดจีน ไทยจึงไดรับความชวยเหลือทางการเงินจากอเม ริกา สามารถกูในอัตราดอกเบ้ียตํ่า ระยะเวลาใชคืนระยะยาว แตปจจุบันอเมริกาไมมีคูแขงแลว

2. อเมริกาและยุโรปตองเสียดุลการคาจํานวนมากใหกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย 3. ความหวาดระแวงท่ีอเมริกามีตอจีน ซ่ึง เปนประ เทศคอมมิว นิสต ท่ีใหญ ท่ีสุดท่ียัง

เหลืออยู เพราะหากจีนมีการปรับตัวและพัฒนาทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว และหากจีนกับญ่ีปุน และประเทศอ่ืนๆ ในอาเซียนผนึกกําลังกันได อาเซียนจะกลายเปนผูสามารถกําหนดชะตากรรมเศรษฐกิจโลกแทนอเมริกาและยุโรป และจะเปนตัวนําภัย เศรษฐกิจมาสูอเมริกา

4. จอหน ไนทบริค เสนอผลงานช่ือ MEGA – TREND of ASIA (แนวโนมท่ียิ่งใหญของเอเชีย) คนพบวาคนจีนเปนผูประกอบการท่ีเปนเลิศท่ีสุดในโลก ทุนตางๆ ในประเทศก็มีวิวัฒนาการมาจากภาษีอากรบอนเบ้ีย จีนสามารถสรางโครงขา ย (Network) เพราะวัฒนธรรมของคนจีนคือการจัดองคกร สมาคมตางๆ ซ่ึงจะเปนทักษะของคนจีนท่ีคนชาติอ่ืนไมคอยมี และแนวทางในการบริหารคือแนวทางท่ีใหการหลอหลอมเขาดวย กัน และถาหากจีน ญ่ีปุน และประเทศอ่ืนๆ ในอา เซียนผนึกกํา ลังกันจะได เปนฐานอันสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่งการเกิดปญหา การเสียดุลการคาอันมหาศาลระหวางอเม ริกา ประเทศในยุโรปตะวันตกกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย

ภายหลังธนาคารโลกแลกเปล่ียนจุดยืน โดยบอกวาจะตอง Ball to Basic ซ่ึงธนาคารโลกวิจารณ IMF วาขาดความสนใจในปญหาทางสังคม และใหสัมภาษณวาส่ิงท่ี IMF ทํา กับประ เทศตางๆ ท่ีเขาโครงการเปนส่ิงท่ีผิด เพราะนักเศรษฐศาสตรของ IMF ไมเขา ใจสถานการณ ท่ีแทจ ริงของประเทศตางๆ รวมท้ังไทยดวย จะเห็นไดจาก นายมหาธีร โมฮัมหมัด ของมาเลเซีย ไมทําตามนโยบายของ IMF แตก็สามารถแกไขปญหาระบบเศรษฐกิจของมาเลเซียใหฟนจากวิกฤตได

สวนของประเทศไทยน้ันฟนตัวยาก เน่ืองจาก 1. เนนการแกไขปญหาเสถียรภาพเงินบาท แตไมไดฟนฟูเศรษฐกิจ ขณะน้ีมีหน้ีถึง 3.7

ลานลานบาท รวมท้ัง Real Sector ท่ีลมเลิกไป ดัชนีตางๆ ก็ไมใชดัชนีท่ีแทจริง

Page 10: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 10/54

2. ผูท่ีแกไขปญหาของไทย ท้ังธนาคารชาติ รมต.คลัง และท่ีปรึกษา ขาดความเขา ใจในปญหาการนํานโยบายเศรษฐกิจมหภาคไปปฏิบัติ ไมเขาใจภาพรวม และมีแนวคิดแบบแยกสวน คือ แบงคดี เศรษฐกิจดี ซ่ึงเปนวิธีการคิดท่ีผิด

3. ผูบริหารประเทศขาดความเขาใจในปญหาเร่ืองของ LAGS คือ 1) ความลาชาในการรับรูปญหาหรือสถานการณ (Recognitive Lags) และไม รีบ

แกปญหา เชน กรณี IMF ยอมรับในชวงไมก่ีเดือนท่ีผานมาวาอานสถานการณ ผิดไปจนในท่ีสุด บิล คลินตัน และโทน่ี แบลร ก็บอกวา IMF ไมโปรงใส และรัฐสภาพของอเมริกาก็วิพากษวิจารณ IMF และธนาคารโลก วา จะตองมีการปรับโครงสรางและจุดมุงหมายใหม เพราะมีขอสรุปจากรัฐสภาของสหรัฐอเม ริกาวา IMF ไมสามารถแกวิกฤตของเอเชีย เมื่อ IMF ดําเนินนโยบายผิดพลาด ปญหาของความลาชาก็เกิดข้ึน คือ ความลาชาในการรับรู

2) ความลาชาในการบริหาร (Administrative Lags) เมื่อเกิดความลาชา ในการรับรูปญหา จะทําใหมีความลาชาในการบริหาร การกําหนดมาตรการหรือบทบัญญัติทางเศรษฐกิจตางๆ ต้ังแตการออก พรก. 3 ฉบับ ท่ีเพ่ิมอํานาจใหกระทรวงการคลังในการกอหน้ีสาธารณะเพ่ิมข้ึนเพราะปญหาความลาชา ในการบริหาร หน้ีภาวะ NPL เกิน

3) ความลาชาท้ังหมดน้ีจะสงผลกระทบตอ Inpack Lags ทําใหเศรษฐกิจไมฟนตัว

สรุป

จากหนังสือพิมพผูจัดการฉบับวันท่ี 24 เมษายน 2543 บอกวา อันท่ีจริงแลว เศรษฐกิจไทยยังไมฟน ดัชนีตางๆ ก็สรางข้ึนมาได หน้ีสาธารณะและเอกชนท่ีกอข้ึนมา ก็เ กินกวาคร่ึงของ GDP หรือผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ และท่ีสําคัญคือขาดความเขาใจในวัฏจักรธุรกิจทุนนิยม การขาดความเขาใจในวัฏจักรธุรกิจของระบบทุนนิยม นักเศรษฐศาสตรชาว รัสเซีย ได เ ก็บขอมูลสถิติ 200 ป พบวาระบบทุนนิยมมีวัฏจักรแนนอนคือ

Inpack Lags

Administrative L

Inpack Lags

รับรูชา

บริหารชา กําหนดมาตรการ นโยบายตาง ๆลาชา

เศรษฐกิจไมฟน

Page 11: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 11/54

+ วัฏจักรขาข้ึน

+ วัฏจักรขาลง วัฏจักรขาข้ึนและวัฏจักรขาลงจะมีชวง 60 ป แลวจะเกิดสงครามคร้ังหน่ึง ซ่ึงในชวง 60 ป ก็จะมี 30 ปยอย ในสวนของประเทศไทย ในสมัยพลเอกเปรมฯ ก็เกิดสภาวะ เศรษฐกิจตกตํ่า โดยพลเอกเปรมฯ ก็บริหารงานแบบหามรุงหามคํ่า ประสานงานแบบจริงจัง ใชคนเปน ใหระบบเศรษฐกิจไทยฟนตัวข้ึน ในสมัยพลเอกชาติชายฯ เขามาเปนรัฐบาลตอก็เกิด ภาวะการขยายตัว (Expansion) แตพลเอกชาติชายฯ ไดทําใหระบบเศรษฐกิจขยายตัวมากข้ึน จนถึงจุดภาวะท่ีเรียกวา Boom และเมื่อเ กิด รสช. ก็เปนชวง Bust เกิด recession ถดถอยประมาณ 6 – 7 % ในสมัยพลเอกชวลิตฯ ก็ถดถอยลงมาถึง 7.5 - 8.5 % และนายอํานวย วีรวรรณ ก็ออกมาแถลงวามีบริษัท 18 มงกุฎจัดต้ังบริษัทกระดาษ (Paper Company) ข้ึน นําหลักฐานท่ีสงออก รวม ท้ังสงตู Container เปลาออกก็มี แลวนําหลักฐานท่ีสงออกข้ึนมาขอ VAT และสิ่ ง ท่ี เปนผลผลิตก็ถูกประมวลเขาไปในตัวรายไดประชาชาติ (GDP) อยางไรก็ตาม ขณะน้ันภาวะเศรษฐกิจยังไม ติดลบ แตเมื่อรัฐบาลชุดน้ีมาบริหาร ระบบเศรษฐกิจก็ถกถอยลงอีกจนติดลบลงมา เ ร่ือยๆ จนถึง 0.4 และนายธารินทรฯ บอกวาจะทําใหเศรษฐกิจฟนตัวเปนรูปตัว V ใหไดภายใน 6 เดือน ในความเปนจริง ในวงจรธุรกิจของระบบทุนนิยมจะมีภาวะคือ Depression (ภาวะตกตํ่า ) คือถาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจด่ิงจนสุดจะเกิดภาวะ Depression ท่ีเรียกวา Trough ซ่ึงอาจารยกฤชไดบัญญัติไววาเปนภาวะทรงตัวในระดับกนเหว จนกวาจะคิดนวัตกรรมท่ีเหมาะสมท่ีจะทํา ใหเศรษฐกิจขยายตัวข้ึนมาใหมได และอาจารยมีความเห็นวาเศรษฐกิจไทยยังไมฟน ถึงแมจะฟนก็เปนการฟนหลอกหรือท่ีวุฒิสภาบอกวาเปนการฟนตัวอยางออนแอพรอมท่ีจะกลับไปสูภ าวะวิกฤตอีก และกับดักท่ีสําคัญคือ หน้ีสาธารณะ 3.7 ลานลานบาท รวม ท้ังสัญญา ท่ีนากลัว คือ การท่ีจะรวม พ.ร.บ. 2 ฉบับ คือ พ.ร.บ. เงินตรากับ พ.ร.บ. ธนาคารแหงประเทศไทย เพ่ือท่ีจะเอาเงินกนถุงมาใช แตถาหากรัฐบาลชุดน้ีระดมผูมีความสามารถ ก็จะสามารถชวยได (แตจ ริงๆ แลว รัฐบาลเหมือนมี Hidden Agenda จะเห็นไดวาเมื่อมีการประมูลสินทรัพยของ ปรส. คร้ังแรกตา งชา ติได รับประโยชน และหลังจากน้ันทุนตางชาติก็คอยๆ เขามา รวมท้ัง จอรจ โซรอสดวย และอีกไมนาน รัฐวิสาหกิจก็ถูกขาย) ในชวงท่ีผานมา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสท่ีเตือนสติวา การจะถอยหลังเขาคลองซักระยะหน่ึงก็ไมเปนไร และอาจารยกฤชก็เรียกรองวา ณ จุดน้ีเปนจุดท่ีดีท่ีเราควรจะปรับความคิดกันใหม เพ่ือหันมาดูความไดเปรียบ โดยเปรียบเทียบท่ีแทจริงของเรา เราจะมา พัฒนาระบบเศรษฐกิจไปตามแนวทางของเราโดยอาศัยวิถีแหงเอเชีย วิถีแหงไทย และอาจารยก็แสวงหาอยูวาจะมีวิธีอะไรท่ีสามารถสรางภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจ เชน เศรษฐกิจพอเ พีย ง หากนําไปปฏิบัติ

Page 12: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 12/54

ประมาณ 20 – 30 ลานคน จะทําใหสามารถฟนตัวและอยูอยางพอเ พีย ง เชน ระบบสหกรณออมทรัพย สหกรณการเกษตร เปนตน

1.1.2 การศึกษาดานการเศรษฐศาสตรและการพัฒนา จะเปนการศึกษาดานทฤษฎี (โดยดูรายละเอียดในบทความ ท่ี 1 ในเอกสารประกอบการ

สอน เปนบทความของ TODARO และเศรษฐศาสตรของ อ.วิ นิต ทรงประทุม ) เศรษฐศาสตรมีหลายแขนง เชน

- เศรษฐศาสตร New Classic - เศรษฐศาสตรพัฒนา หรือเศรษฐศาสตรสถา บัน (Development Economic

หรือ Institutional Economic) ซ่ึงมีฐานคติตางกัน - เศรษฐศาสตรการเมือง (Political Economic)

การท่ีจะเขาในเศรษฐศาสตรพัฒนา ซ่ึงเปนแขนงใหมของสาขาวิชาการทางเศรษฐศาสตรและเศรษฐศาสตรการเมือง Todaro กลาววา จะตองเขาใจเศรษฐศาสตรสาขาอ่ืนกอน อดัม สมิธ เปนนักพัฒนาคนแรกท่ีเสนอผลงานเรียกวา ความมั่ ง ค่ังของประชาชา ติ (The Wealth of the Nation) ตีพิมพในเศรษฐศาสตร 1776 โดยกลาววาการพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี ซ่ึงมีหัวใจท่ีสํา คัญ 2 ประการ คือ

1. Invisible Hand คือ บุคคลใดๆ ก็ตาม ถาไดรับการสนับสนุนให ดํา เ นินการใดๆ เ พ่ือแสวงหาผลประโยชนสวนตนหรือกําไรสูงสุด ผลรวมของสวนบุคคลท่ีดํา เ นินการดังกลาวจะกอใหเกิดผลประโยชนของสังคมสูงสุดเชนกัน

2. Laissez Faire หมายถึง Lay your hand of me น่ันคือ การท่ีรัฐเขาแทรกแซงในกลไกของการแสวงหาผลประโยชนสวนตนของบุคคลใหนอยท่ีสุด ไมควรเขามาแทรกแซงในกลไกตลาด รัฐควรจะกํากับดูแลอยูหางๆ

เพ่ือท่ีจะใหทราบเศรษฐศาสตรการพัฒนา จึงตองทําความ เขา ใจ โดย เปรียบเ ทียบกับเศรษฐศาสตรอ่ืนๆ ดวย

เศรษฐศาสตรแบบดังเดิม หมายถึง เศรษฐศาสตรท่ีมีวิวัฒนาการมาจากเศรษฐศาสตรแนว Classic อดัม สมิธ , เดวิท ริกกาโด และจอหน สจวต มิล ท่ีไดเสนอทฤษฎีความได เปรียบ โดยเปรียบเทียบการคาเสรี ซ่ึงเปนทฤษฎีในศตวรรษท่ี 19 แลว ตอมา ก็ไดมี ผู นํามาสรา งเปน Neo Classical Economic หลังจากน้ัน ลอรด เดน ก็เสนอทฤษฎีท่ีวาดวยการใชนโยบายการคลังในการกระตุนการจางงาน

เศรษฐศาสตรแบบด้ังเดิม เสนอหลักการและตัวแบบท่ีเก่ียวของกับ

Page 13: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 13/54

1. การจัดสรรทรัพยากรการผลิตท่ีหายาก ใหมีประสิทธิภาพและมีตนทุนท่ีตํ่าท่ีสุด 2. การเติบโตท่ีดีท่ีสุดและนาพอใจท่ีสุด (Optimum Growth) ของทรัพยากรการผลิตเ พ่ือ

ผลิตและกอใหเกิดสินคาและบริการใหขยายตัวมากยิ่งข้ึนในชวงเวลาใดเวลาหน่ึง 3. เสนอภาพลักษณหรือคุณสมบัติของระบบทุนนิยมกาวหนาท่ีต้ังอยูบนฐานคติตางๆ คือ

1) กลไกตลาดสมบูรณ (Perfect Market Mechanism) หมายถึงราคาถูกกําหนดโดยจุดดุลยภาพ (Equilibrium ของ Demand Supply) โดย ท่ีผูผลิตและผูบริโภคตา งก็รูขอมูลท่ีสมบูรณทําใหเลือกได ในสวนของไทยมีกลไกตลาดท่ีไมสมบูรณ จะเห็นไดจากมีปรากฎการณท่ีขอใหรัฐแทรกแซงราคาออย ราคาขาว ราคายาง ฯลฯ แสดงวามีความไมสมบูรณในกลไกตลาดของไทย

2) อํานาจอธิปไตยของผูบริโภค หมายถึง ผูบริโภคมีอํานาจเปน Price Market (เปนผูกําหนดราคา) และผูผลิตสินคาก็จะตองผลิตสินคาและบริการเพ่ือตอบสนอง

3) มีการปรับตัวของสินคาและบริการโดยอัตโนมัติ เชน ขณะน้ีราคา นํ้ามันปรับตัวโดยอัตโนมัติ

4) ในโลกทุนนิยมกาวหนาน้ัน ขอวินิจฉัยหรือการตัดสินใจหรือขอวิ นิจฉัยของการคํานวณเก่ียวกับอัตราประโยชนสวนเกิน (Marginal Utility) และผลกําไรสวนเ กินของเอกชน ในประเทศจะมีลําดับความสําคัญบางอยาง ทําใหไมสามารถคํานวณไปตามหลักการของระบบทุนนิยมได

5) ผลลัพธท่ีมีดุลยภาพของตลาดการผลิตและทรัพยากรของไทยไมมี 6) Economic Rationality (ความสมเหตุสมผลทางเศรษฐกิจหรือระบบตลาด) คือการ

ดําเนินการใดๆ ในการระดมทุนในการผลิตสินคาบริการจะตองมุ งไปสู ปสภ . มีตนทุนถึงแมวาจะมีการปลดคนงานออกเ พ่ือเปล่ียนแปลงสัดสวนของทุนกับแรงงานใหม ทําใหสามารถทํางานกับคูแขงขันได ซ่ึงในทางเศรษฐศาสตร ถือวาสมเหตุสมผล แตคนท่ีถูกปลดจะกลายเปนปญหาในรอบป ในอเม ริกามีมาตรการ สวัสดิการตางๆ สําหรับคนท่ีถูกปลด หรือทํางานไมได แตในประเทศไทยไมมี

7) การตัดสินใจทางเศรษฐกิจจะต้ังอยูบนพ้ืนฐานของการมุ งไปสูการแสวงหาหรือปกปองประโยชนสวนตน

เศรษฐศาสตรการเมือง (Political Economy) เศรษฐศาสตรการเมืองเปนเศรษฐศาสตรท่ีศึกษา วิเคราะหกระบวนการตา งๆ ทางสังคมและสถาบันซ่ึงกลุมชนช้ันนําทางเศรษฐกิจและการเมืองมีอิทธิพลครอบงําการจัดสรรทรัพยากรการผลิตท่ีหายากท้ังในอดีต ปจจุบัน และอนาคต ซ่ึงกระบวนการดังกลาวน้ันอาจจะทํา เ พ่ือประโยชน

Page 14: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 14/54

ของกลุมตนโดยเฉพาะ หรือเพ่ือประชาชนสวนใหญ เ พ่ือสรา งความชอบธรรมให กับกลุมของตนเอง เพ่ือใหกลุมของตนเองอยูรอด หรือเพ่ือตอบสนองตอคะแนนเสียงของตนในอนาคต Todaro ไดกลาววา เศรษฐศาสตรการเมืองน้ัน ศึกษาความสัมพันธระหวา งการเมืองกับเศรษฐกิจ โดยมีจุดเนนเปนพิเศษท่ีบทบาทของอํานาจในการวิ นิจฉัย ส่ังการทางเศรษฐกิจ นักเศรษฐศาสตรการเมืองจะใชปรัชญาวัตถุนิยมทางประวัติศาสตรวิเคราะหความสัมพันธของกลุมชนช้ันท่ีมีความขัดแยงกันแตละยุคแตละสมัย กรณียุคทุนนิยมถือวานอกจากทุนซ่ึงกลุม ทุนตา งๆ มีวิวัฒนาการไป กลุมทุนนิยมท่ีมีวิวัฒนาการข้ันสูงสุดคือ กลุมทุนการเงิน ซ่ึงมี อํานาจทุนมากท่ีสุด การวิเคราะหทางประวัติศาสตรช้ีใหเห็นถึง Actors (ตัวละครทางเศรษฐกิจตางๆ) ไมไปวิ เคราะห ท่ี demand กับ supply เพียงอยางเดียว เศรษฐศาสตรพัฒนา (Development Economics) Todaro ไดศึกษาวิเคราะหและเสนอทฤษฎีตางๆ ท่ีเก่ียวกับ

1. การจัดสรรทรัพยากรการผลิตท่ีหายากท่ีมีอยู ใหเกิดประสิทธิภาพและมีความ เ ติบโตอยางยั่งยืนในหวงเวลาใดเวลาหน่ึง

2. นักเศรษฐศาสตรพัฒนาศึกษากลไกทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสถา บันท้ังภาครัฐและเอกชนท่ีจําเปนตอการนํามาซึ่งการปรับปรุงระดับการดํารงชีวิตสําหรับคนท่ียากจนขาดแคลนอาหารและไมรูหนังสือของประชากรในทวีปอาฟริกา เอเ ชีย และละ-ตินอเมริกา

ฐานคติของเศรษฐศาสตรแบบด้ังเ ดิม เปนฐานคติท่ีวาดวย Perfect Market กับ Perfect

Competition คือ กลไกตลาดสมบูรณและการแขงขันแบบสมบูรณ แตนักเศรษฐศาสตรพัฒนามีฐานคติวา

1. ตลาดสินคาและทรัพยากรมีกลไกตลาดท่ีไมสมบูรณ 2. ความไมสมบูรณเน่ืองจาก ขอมูลขาวสารท่ีมีอยูอยางจํากัด ระหวางผูผลิตและผูบริโภค 3. การเปล่ียนแปลงโครงสรางหลักๆ ท่ีเกิดข้ึนในระบบสังคมและระบบเศรษฐกิจจะ

เปล่ียนแปลงในสถานการณท่ีไมมีดุลยภาพ 4. การประมาณการทางเศรษฐศาสตรถูกครอบงําโดยลําดับความสําคัญทางการเมืองและ

สังคม 5. ในระดับสวนบุคคล ครอบครัว ชนเผา ศาสนา หรือขอพิจารณาของชนเผา อาจจะมี

ความสําคัญเหนืออรรถประโยชนใชสอยสวนบุคคล หรือการคํานวณเ ก่ียว กับการแสวงหากําไรสูงสุดสวนตน

Page 15: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 15/54

ดังน้ัน เศรษฐศาสตรพัฒนาจึงเก่ียวกับการกําหนดหรือการสรา งเ งื่อนไขทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม การเมือง เพ่ือกอใหเกิดผลกระทบตอการเปล่ียนแปลงทางโครงสรา งและสถา บันอยา งรีบเรงของกลุมชนสวนใหญ

ฐานคติหรือหลักการท่ีแตกตางกัน ท่ีทําใหเศรษฐศาสตรพัฒนาแตกตา งจากเศรษฐศาสตรแนวนีโอคลาสสิค คือ เศรษฐศาสตรแนวนีโอคลาสสิค รัฐจะเขาไปแทรกแซงในกลไกตลาดนอยท่ีสุด เปนรัฐทุนนิยม (Capitalist State) ทําหนาท่ีจัดเก็บภาษีสวนเกินท่ีเกิดข้ึนจากการสะสมทุนของเอกชน นักเศรษฐศาสตรพัฒนามองเห็นความสําคัญของบทบาทรัฐบาลอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ งในการวินิจฉัยส่ังการทางเศรษฐศาสตรแบบบูรณาการ เพ่ือนําไปสูการแปลงสภาพระบบเศรษฐกิจ นอกจากน้ีนักเศรษฐศาสตรพัฒนามีความเช่ือเหมือนนักเศรษฐศาสตรการเมืองคือ การยอมรับในลักษณะพิเศษของระบบเศรษฐกิจของประเทศตางๆ เปนท่ีมาของหลักการท่ีวา เศรษฐศาสตรตา งๆ มีความเปนสากลอยางแทจริงนอยมาก ไมเหมือนกฎเกณฑ Scientific Law ท่ีไมวาจะสรางในเวลาใด สถานท่ีไหน ก็สามารถอธิบายได

ทําไมตองศึกษาเศรษฐศาสตรพัฒนา Todaro ต้ังคําถามไว 20 คําถามเพ่ือเปนกรอบแนวคิดสําหรับการศึกษาดานการพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ซ่ึงในท่ีน้ีจะยกตัวอยางเพียง 3 คําถาม คือ

1. ความหมายท่ีแทจริงของการพัฒนาคืออะไร มีเคร่ืองมือช้ีวัดอะไรท่ีสามารถสรางข้ึนมาเพ่ืออธิบายสถานภาพของความเปนประเทศท่ีพัฒนาแลว และท่ีสําคัญคือ รูไ ดอยา งไร วามีการพัฒนา

2. แหลงท่ีมาของความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศและระหวา งประ เทศ คืออะไร เกิดข้ึนมาจากปจจัยภายนอกหรือปจจัยภายใน ใครเปนผูไดรับผลประโยชนและทําไม ทําไมกลุมหน่ึงไดรับประโยชนและอีกกลุมหน่ึงเสียประโยชน

3. ทฤษฎีการพัฒนาท่ีมีอิทธิพลมากท่ีสุด คือทฤษฎีอะไร และใชได ดีหรือไม ความดอยพัฒนาเปนปรากฏการณท่ีถูกชักนําจากเงื่อนไขภายในหรือภายนอก

บทบาทท่ีสําคัญของคุณคาหรือคานิยม (Values) ในเศรษฐศาสตรพัฒนา นักเศรษฐศาสตรพัฒนาตองการใหเขาใจวา เศรษฐศาสตรเปนสังคมศาสตรตองเ ก่ีย วของกับการวินิจฉัยของมนุษย และระบบสังคมท่ีมนุษยจัดต้ังองคกรในการดํา เ นินกิจกรรมตา งๆ เ พ่ือตอบสนองความจําเปนข้ันพ้ืนฐานทางดานวัตถุ (Basic Material Needs) และตอบสนองความตองการท่ีไมใชวัตถุ (Nonmaterial Wants)

เมื่อเศรษฐศาสตรเปนสังคมศาสตรแลว เร่ืองราวในการศึกษาวิ เคราะหจึงมีรากฐานในบริบทของสังคมไมสามารถยืนยันหรืออางสิทธ์ิ เพ่ือเปนกฎเกณฑทางวิทยาศาสตรและอา งสิทธ์ิใน

Page 16: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 16/54

ความเปนสากลได เพราะฉะน้ันการวิจัยและการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรจึงไมสามารถแยกหรือลอยตัวจากบริบททางสถาบันสังคมและการเมือง

นักเศรษฐศาสตรหรือนักปรัชญาจึงถือวาเปนส่ิงจําเปนและจุดเ ร่ิมตนท่ีจะตองยอมรับวาฐานคติท่ีวาดวยคานิยมเชิงจริยธรรมหรือเชิงนามภาพ ท่ีเก่ียวของกับส่ิงพึงปรารถนาหรือส่ิงไม พึงปรารถนา ส่ิง ท่ีควรจะ เปนหรือส่ิงท่ีไมควรจะ เปน เปนจุดเดนพิเศษของวิชาการทางดานเศรษฐศาสตร แนวคิดหรือกระบวนทัศนของการพัฒนาเศรษฐกิจ และการกอใหเกิดภาวะทันสมัย (Modernization) สะทองฐานคติท่ีวาดวยคานิยมท้ังโดยนัยและโดยชัดแจงเก่ียวกับจุดมุงหมายท่ีพึงปรารถนา เพ่ือบรรลุส่ิงท่ีทานมหาตม คานธี เรียกวา การตระหนักถึงศักยภาพของมนุษย ดังน้ัน Concept ในการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือไปสูสังคมท่ีกาวหนา (Modernization) จึงอยูภายใตจุดมุงหมายตางๆ ไดแก

1. แนวคิดหรือจุดมุงหมายท่ีกลาวน้ี มาจากความเทาเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคม (Economic and Social Equity)

2. การขจัดปญหาความยากจน (Elimination Poverty) 3. การสงเสริมการศึกษาสากล (Universal Education) 4. การยกระดับการดํารงชีวิต 5. เอกราชของชาติ 6. การสรางภาวะทันสมัยแกสถาบันตางๆ 7. การมีสวนรวมทางการเมืองและเศรษฐกิจ 8. ประชาธิปไตยในระดับรากแกว เชน การปกครองทองถ่ินในรูปแบบตาง 9. การพ่ึงตนเอง 10. การมีสัมฤทธ์ิผลในตัวบุคคล

- คานิยมเชิงอัตถวิสัยเก่ียวกับส่ิงท่ีปรารถนา และสิ่งท่ีไมปรารถนา - คานิยมน้ีจะแตกตางจากคานิยมตางๆ ท่ีต้ังอยูบนพ้ืนฐานจากคนกลุมนอยหรือเ พ่ือ

คนกลุมนอย เชน ก. การเชิดชูหรือสักการะทรัพยสินสวนบุคคล นับถือเ งินตรา เปนพระ เจา

(Money is God) ข. สิทธิสวนบุคคลในการสะสมความมั่งค่ังสวนตัวโดยไมมีขอบเขตจํากัด ค. การธํารงหรือสงวนไวซ่ึงโครงสรางชนช้ันท่ีไมเทาเทียมกัน และสถา บัน

ทางสังคมท่ีมีลําดับช้ันแบบด้ังเดิม

Page 17: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 17/54

ง. การอางสิทธิโดยธรรมชาติท่ีบัญญัติข้ึนมาใหคนบางคนมีสิทธิในการนํา ขณะท่ีผูอ่ืนเปนผูตาม เชน ความคิดของลัทธิคอมมิวนิสต พระเจา บัญญัติใหคนผิวขาวเปนผูปกครอง คนผิวเหลืองและผิวดําเปนผูถูกปกครอง

ฐานคติท่ีวาดวยคานิยมเปนองคประกอบท่ีสําคัญจําเปนสําหรับการวิเคราะหเศรษฐกิจและนโยบายเศรษฐกิจ เพราะฉะน้ันเศรษฐศาสตรจึงไมสามารถปลอดจากคา นิยม (Value –Free) นอกจากน้ียังแฝงดวยอุดมการณทางการเมือง ดังน้ัน ความมีเหตุผลหรือความ แมนตรงของการวิเคราะหทางเศรษฐกิจตางๆ ตลอดจนความถูกตองของการบัญญัติทางเศรษฐกิจ ท่ีปรากฏมาในรูปของนโยบาย มาตรการ กลยุทธ กฎหมาย ท้ัง พรบ. และอนุบัญญัติ จึงควรมีการประ เมินคาภายใตฐานคติท่ีวาดวยคานิยมดังกลาว ถาเราวินิจฉัยคานิยมได เราสามารถทํานายไดเลยวากลุมใดได รับประโยชน

ความหมายของการพัฒนา สวนใหญนักเศรษฐศาสตร หรือนักวางแผนพัฒนา ก็จะสรางมาตรวัดทางเศรษฐกิจ ข้ึนหรือสรางเคร่ืองช้ีวัด (Indicator) มาตรวัดทางเศรษฐกิจแบบดั้งเดิม

มาตรวัดทางเศรษฐกิจ ท่ีมีสวนครอบงําการพัฒนาในบริบททุนนิยมมักใชมาตรวัดแบบด้ังเดิม ซ่ึงสวนหน่ึงดูท่ีการพัฒนาเทากับสมรรถนะของระบบเศรษฐกิจท้ังประ เทศท่ีกอให เ กิดการเพ่ิมข้ึนของรายไดประชาชาติ หรือผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศในอัตราท่ีมากวารอยละ 5 ตอปข้ึนไป

สูตร Y = I + C + G + (X – M)

Y = รายไดรวมของประเทศ I = investment (มูลคาการลงทุน) C = Consumption (การบริโภค) G = Government (การใชจายของรัฐบาลในรูปของงบประมาณรายจาย) X = มูลคาในการสงออก M = มูลคาในการนําเขา

การพัฒนาในแบบด้ังเดิม คือ การวัดสมรรถนะของระบบเศรษฐกิจในการผลิตสินคาและบริการในอัตราท่ีเพ่ิม หรืออาจวัดจากอัตราการเติบโตของรายไดตอหัว หรือรายไดประชาชา ติตอหัว การวัดการอยูดีกินดีทางเศรษฐกิจของประชากรโดยรวม ดูท่ีระ ดับและอัตราการเ ติบโตของรายไดประชาชาติตอหัวท่ีแทจริง อัตราความเติบโตทางดานการเงินของรายไดประชาชา ติตอหัวลบ

Page 18: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 18/54

อัตราเงินเฟอ และอาจวัดอีกลักษณะหน่ึงท่ีสินคาและบริการ โดย ศึกษาวา สินคาและบริการมีจํานวนเทาไร ท่ีเพียงพอตอการบริโภค และการลงทุนของประชากรหน่ึงคนโดยเฉล่ีย สรุปไดวากลยุทธการพัฒนามุงไปสูการพัฒนาอุตสาหกรรมอยา งเรง รีบ ทํา ให เ กิดการละเลยภาคเกษตรกรรมและการพัฒนาชนบท เมื่อมีการประเมินผลก็ทราบวามีปญหาโดย เฉพาะปญหาทางสังคม ดูไดจากการลดลงของรายไดของคนยากจน และความดอย พัฒนา มาตรวัดทางเศรษฐกิจตางๆ จึงถูกเสริมดวยมาตรวัดทางสังคม (Social Indicator) ซ่ึงวัดจาก จํานวนป ท่ีอยู ในโรงเรียนโดยเฉล่ีย จํานวนคนท่ีอานออกเขียนได ฯลฯ กอน ค.ศ. 1970 เช่ือกันวา การพัฒนาในรูปของความเติบโตของรายไดประชาชาติตอหัว จะไหลรินไปสูมวลชนในรูปของงานและโอกาสทางเศรษฐกิจอ่ืนๆ หรือกอให เ กิดผลกระทบตัว คูณ (Multiple Effect) เชน การเพ่ิมทุน จะทําใหเกิดการเพ่ิมการจางงาน เกิดการขยาย ตัวของการผลิต เพ่ิมโอกาสทางเศรษฐกิจอ่ืนๆ เพ่ิมการเติบโตทางสังคม และเพ่ิมปริมาณการผลิตสินคา – บริการ ท้ังน้ีเพ่ือเปนการกระจายผลประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคมให เ ติบโตข้ึน (ตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร) ดังน้ันปญหาสังคมจึงเกิดข้ึนในหลายๆ ดาน ไดแก ความยากจน การวางงาน การกระจายรายไดซ่ึงรัฐใหความสําคัญนอยกวาความเติบโตทางเศรษฐกิจ

ทัศนะทางเศรษฐกิจใหมเก่ียวกับการพัฒนา 1. Professor Dudley Seer

ใน ค.ศ. 1970 การพัฒนาการทางเศรษฐกิจไดรับการนิยามใหมในฐานะท่ีเปนการขจัดหรือแกไขปญหาความยากจน ความไมเทาเทียมกัน และการวา งงาน ภายในบริบทของระบบเศรษฐกิจท่ีกําลังเติบโต Prof. Dudley Seers ไดมีการเรียกรองใหมีการหา คํา นิย ามใหมของการพัฒนาภายใตกรอบปญหา 3 ประการ

1. อะไรเกิดข้ึนกับความยากจน 2. อะไรเกิดข้ึนกับการวางงาน 3. อะไรเกิดข้ึนกับความไมเทาเทียมกันในสังคม

2. Denis Goulet Denis Goulet เสนอผลงานวา เมื่อประสบกับภาวะดอยพัฒนา กอใหเกิดวัฒนธรรมของ

ความยากจนข้ึนมา เน่ืองมาจากความเสื่อมถอยหรือความไรสมรรถภาพของสวนบุคคลและสังคม ในการเผชิญหนากับปญหาความไมรูหนังสือ ความยากจน และความเจ็บไขไดปวย ความยากจนท่ีเร้ือรังเปนความทารุณโหดรายถวนหนา

3. Edgar Owen

Page 19: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 19/54

พ.ศ. 2530 Owen ใหคํานิยามของคําวาการพัฒนาใหมวาการพัฒนาควรเปนการพัฒนาของคน ไมใชการพัฒนาของสิ่งของ เพราะการวัดความเจ ริญเ ติบโตทางเศรษฐกิจ เปนการวัดท่ีส่ิงของ วัดท่ีปริมาณสินคาและบริการท่ีผลิตข้ึนไดในอัตราท่ีเพ่ิมไมสะทอนท่ีคน ดังน้ันการพัฒนาคือการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของมนุษย

คุณคาหลัก 3 ประการของการพัฒนา ภายใตองคประกอบสากลของการมีชีวิตท่ีดี 1. Sustenance (The Ability to meet basic needs) วิธีการยังชีพ หรือการบํา รุงเ ล้ีย งชีพ

หรือความสามารถตอบสนองตอความจําเปนพ้ืนฐาน (To have enough in order to be more) สอดคลองกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลท่ี 9

2. Self – esteem (To be a person) การเปนบุคคลท่ีไดรับการเคารพนับถือในตัว 3. Freedom from Servitude (To be able to choose) ความมีเสรีภาพ ความสามารถใน

การเลือกส่ิงตางๆ ได โดยไมมีการผูกขาด มีโอกาสเทาเทียมกัน

วัตถุประสงค 3 ประการของการพัฒนา 1. เพ่ือเพ่ิมพูนความพอเพียงและการขยายปจจัยในการดํารงชีวิตข้ันพ้ืนฐาน 2. เพ่ือยกระดับการดํารงชีวิต เชน การมีรายไดเพ่ิม มีงานมากเพียงพอ การศึกษาดีข้ึน 3. เพ่ือขยายขอบขายของทางเลือกทางเศรษฐกิจและสังคมแกบุคคลและประเทศชา ติ เ พ่ือ

เปนอิสระจากการบังคับ พ่ึงพาท้ังจากบุคคลและจากรัฐ

สรุป 1. คุณคาหลัก 3 ประการ เปนพ้ืนฐานสําคัญของการกําหนดจุดประสงคของการพัฒนา

กําหนดบทบัญญัติตางๆ ทางเศรษฐกิจ แผนงาน นโยบาย และกฎหมายของรัฐ 2. เศรษฐศาสตรการพัฒนา ขยาย ตัวมาจากเศรษฐศาสตรแบบด้ังเ ดิม (Traditional

Economics) และเศรษฐศาสตรการเมือง (Political Economics) ซ่ึงใหความสํา คัญกับท้ังกลไกทางเศรษฐกิจ สังคมและสถาบัน ท้ังน้ีเพ่ือสภาพการดํารงชีวิตท่ีดีข้ึนของคนยากจนในประเทศท่ี 3

3. เศรษฐศาสตร เปนสังคมศาสตรท่ีมีคานิยมในการนําเสนอ ดังน้ันการระบุถึงธรรมชา ติ ลักษณะ ความหมายของการพัฒนาตองทําอยางระมัดระวัง

4. แตละประเทศมีความแตกตางในโครงสราง ลักษณะพ้ืนฐานทางการเมือง เศรษฐกิจ อุดมการณ สังคม การพัฒนา จึงตองคํานึงถึงความแตกตางของปจจัยเหลาน้ี

1.2 โครงสรางตางๆ ท่ีหลากหลายและลักษณะสามัญของชาติกําลังพัฒนา 1.2.1 การจัดประเภทบางประการของประเทศกําลังพัฒนา แบงไดเปน 4 ประเภท คือ

Page 20: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 20/54

1. Low-Income Countries (LICs) ประเทศท่ีรายไดเฉล่ียของประชากรตอหัว ตํ่ากวา 20,000 บาท

2. Middle-Income Countries (MICs) ประเทศท่ีรายไดเฉล่ียของประชากรตอหัว ตํ่ากวา 50,000 บาท แตสูงกวา 30,000 บาท

3. Newly Industrializing Countries (NICs) ประเ ทศท่ีมี เกณฑ ตา งๆ ตาม ท่ีมาตราฐานกําหนด เชนสัดสวนของมูลคาภาคอุตสาหกรรม รายได เฉ ล่ียของประชากร ตลอดจนความพรอมเพรียงตางๆ

4. Organization of Petroleum Exporting Countries (OPEC) ประเทศท่ีสงออกผลิตภัณฑปโตรเลียม มีท้ังหมด 13 ประเทศ

1.2.2 โครงสรางของระบบเศรษฐกิจโลกท่ี 3 พิจารณาจากองคประกอบ 7 ประการ ดังน้ี

1. ขนาดและระดับรายได ของระบบเศรษฐกิจโลกท่ี 3 มีความสัมพันธ กันหรือไม เชน ประเทศท่ีมีพ้ืนท่ีใหญ คนในชาติน้ันตองมีรายไดสูง ในท่ีสุดไดขอสรุปวา ขนาดทางกายภาพมิไดอธิบายหรือเปนปจจัยท่ีทําใหระดับรายไดของคนในประเทสมากหรือนอย

2. ภูมิหลังทางประวัติศาสตรและการเปนอาณานิคม - เอเชีย อาฟริกา และละตนอเมริกา เปนอาณานิคมของประเทศตะวันตก จึงได รับอิทธิพลแนวคิดจากประเทศเจาอาณานิคม

- ประเทศไทยมีนโยบายเปดทางการเงิน ต้ังแตสมัยจอมพลสฤกด์ิ มีการกูหน้ียืม สิน สงเสริมตางชาติเขามาลงทุน ต้ังแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับท่ี 3 เ ร่ิมนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิต มุงสงออก สมัยนายกชวน 1 มีการเปดกวา ง นํานโยบาย BIBF มาใช ไทยจึงถูกบูรณาการเขากับเศรษฐกิจทุนนิยมโลก ในท่ีสุดเราก็เปนอาณานิคมทางเศรษฐกิจสมัยใหมของตางชา ติ ระบบทุนนิยมของทย เปนระบบทุนนิยมแบบพ่ึงพาซึ่งระบบเศรษฐกิจดําเนินไปดวยลําแขงของตางชาติ

3. ทรัพยากรทางกายภาพและมนุษย 3.1 ทรัพยากรทางกายภาพ มีผลตอการไดเปรียบ เ สีย เปรียบ และแนวทางในการ

กําหนดบทบัญญัติทางเศรษฐกิจตางๆ และทําใหโครงสรา งเศรษฐกิจแตกตา งกัน ไทยเรามีทรัพยากรธรรมชาติอยางมหาศาล แตเรากลับไมหันมา ดูส่ิงน้ี เ ราอย ากเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม เชน เรามีความหลากหลายทางพันธุกรรม ท่ีทํา ใหขาวมีนับรอยสายพันธุ แตเราไมสามารถคนพบพันธุขา ว ท่ีมีผลผลิตตอไร สูง ตนทุนตํ่า และปจจุบันเราสูญเสียความชํานาญในการปลูกขา ว มา ชํานาญในการสงออกแรงงาน ขายแรงงานไปประเทศตางๆ แทน เปนความผิดพลาดอยา งมาก

Page 21: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 21/54

ถึงแมวาแรงงานเหลา น้ันจะนํา เ งินตราตา งประ เทศเขามา เปนจํานวนมาก นอกจากน้ีไทยเรายังมีความหลากหลายของชนิดพันธุ ทําใหปาดิบแลงมีไมยืนตนประมาณ 54 ชนิด ปาเต็งรังมีไมยืนตนประมาณ 31 ชนิด และปาดิบช้ืนมีไมยืนตนมากกวา 100 ชนิด กอใหเกิดความหลายหลายของระบบนิเวศน ซ่ึงเปนท่ีอยูอา ศัยของสิ่งมีชีวิต การท่ีไทยมีปาธรรมชาติแตกตางกันมากกวา 10 ประเภท นับต้ังแตปาชายเลนไปจนถึงปาดงดิบ ประเทศไทยต้ังอยูในเขตรอนช้ืน เปนท่ีพักพิงอา ศัยของพรรณไมจํานวนมาก สรรพสัตวนานาชนิดและจุลินทรียมากมายมหาศาล จุ ลินทรียมีความสําคัญตอชีวภูมิศาสตร เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในเขตอบอุนและเขตหนาว ซ่ึงสภาพแวดลอมในบริเวณน้ัน มิไดเอ้ืออํานวยใหส่ิงมี ชีวิตหลายชนิดดํารงชีวิตอยูรอด ประเทศเหลาน้ันจึงมีความหลากหลายทางชีวภาพนอยกวาประเทศเรา ไทยเรามีพืชพันธุประมาณ 15,000 ชนิด คิดเปนรอยละ 8 ของพันธุ พืชท่ัวโลก ในขณะท่ีประเทศในยุโรปเหนือ เชน นอร เ วย และสวี เดน มีพันธุ พืชประมาณ 1,800 ชนิดเทา น้ัน แ ตสามารถสง ออกเฟอร นิเ จ อร ท่ีมี ช่ือเ สีย ง เชนเดียวกัน ประเทศไทยมีสัตวท่ีมีกระดูกสันหลัง สัตวเล้ียงลูกดวยนม นก สัตว สัตวเล้ือยคลาน และสัตวสะเท้ินนํ้าสะเท้ินบก สัตวบนภู เขา รวมแลวประมาณ 1,625 ชนิด ในขณะท่ีนอรเวยและสวีเดนมี 299 และ 328 ชนิด ตามลํา ดับ ในทองทะเลไทย พบวามีปลาทะเลไทยประมาณไมตํ่ากวา 2,000 ชนิด คิดเปนรอยละ 10 ของท่ัวโลก หอยประมาณ 2,000 ชนิด สัตวไมมีกระดูกสันหลังอ่ืนๆ รวมกันอีกประมาณ 11,900 ชนิด แตไทยเราใครอยากเปนฐานการไขนอตช้ินสวนตางๆ ท่ีสงมาจากประเทศอุตสาหกรรมใหเปนสินคาสําเร็จรูป

3.2 ทรัพยากรมนุษย เปนพ้ืนฐานสําคัญท่ีสุดของการพัฒนาอันประกอบดวย จํานวนประชากร และคุณภาพของประชากร

4. ความสําคัญเปรียบเทียบระหวางรัฐกับเอกชน สืบเน่ืองจากการกอตัวของระบบทุนนิยม ประเทศโลกท่ี 3 ท่ีมีการจัดต้ังองคการข้ึนมาผลิตสินคาและบริการ ใหบริการโดยรัฐสวนหน่ึง อีกสวนหน่ึงกระจายอํานาจให กับเอกชน ในกิจการท่ีรัฐเ ห็นสมควร ระบบเศรษฐกิจแบบน้ีเรียกวา ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economic System) คือรัฐบาลและเอกชน ตา งก็เปนเจาของทรัพยากรการผลิต แตตองดูสัดสวนวาทรัพยสินของรัฐท่ีมีอยูในองคกรของรัฐตางๆ ท่ีทําใหธุรกิจสินคาท่ีเปนทุน มีสัดสวนเปนเทาไหรของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับสัดสวนของเอกชน

5. โครงสรา งอุตสาหกรรม ตองพิจารณ าวาการผลิตสินคา อุปโภคและบริโภ ค อุตสาหกรรม การผ ลิตสินคา ท่ีเ ปนทุนมี สัดส วนอย า งไร ของ ประเ ทศไท ย อุตสาหกรรมสินคาท่ีเปนทุนมีสัดสวนตํ่ามาก สวนใหญผลิตสินคาอุปโภคบริโภค จึง

Page 22: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 22/54

เกิดการพ่ึงพาสินคาท่ีเปนทุนจากตางชาติเขามาอยางมหาศาล เกินกวารอยละ 50 ของ GDP

6. การพึ่งพาภายนอกทางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม ประเทศไทยเปนตัวอยา งของระบบทุนนิยมพ่ึงพาโดยแทจริงสมบูรณไมวาทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และสังคม กอใหเกิดการตกเปนอาณานิคมทางปญญาของตางชาติ

7. โครงสรางทางการ เมืองอํานาจและผลประโยชน สวนใหญกลุมนาย ทุน กลุมผลประโยชนตางๆ เขามามีบทบาทยึดอํานาจรัฐเพ่ือขยายโอกาสทางผลประโยชนของกลุมตน จึงมีบทบาทตอการกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ

1.2.3 ลักษณะสามัญของชาติกําลังพัฒนา

1. มาตรฐานการดํารงชีพตํ่า รายไดประชากรตํ่า ความไมเสมอภาคสูง อนามัยไมมีมาตร-ฐาน และการศึกษาอยูในระดับตํ่า

2. ระดับการผลิต (Productivity) ตํ่า 3. อัตราการเติบโตของประชากรสูง และภาวะการพ่ึงพา (Dependency burdens) สูง 4. ระดับการวางงาน และการวางานแอบแฝง (Underemployment) สูงข้ึนเร่ือยๆ 5. การพ่ึงพาผลผลิตทางการเกษตรและการสงออกจํานวนมาก ของประเทศไทยมูลคาการ

สงออกจํานวนมากไมไดอยูท่ีสินคาการเกษตร เพราสินคาเกษตรสงออกจํานวนมากแตมูลคากลับตํ่ากวามูลคาการสงออกอุปกรณอิเ ล็กทรอนิกส คอมพิว เตอร และเคร่ืองใชไฟฟา สวนขาวมีมูลคาการสงออกเ พีย งรอยละ 3.5 ของมูลคาการสงออกท้ังหมด

6. ถูกครอบงํา (Dominance) พ่ึงพา (Dependence) และดอยความสามารถในการปองกันตนเอง (Vulnerability) การเปนอาณานิคมทางเศรษฐกิจของตา งชา ติ ทํา ให เ รา ถูกครอบงําในกระบวนการตางๆ แมแตกระบวนการโครงสรา งสวนบน เชน สถา บันการเมือง การออกกฎหมายตางๆ การนํานโยบายไปปฏิบัติ เอ้ือประโยชนตอตา งชา ติ การพ่ึงพาท่ีเปนมหาอํานาจและดํา เ นินนโยบายตามฝร่ัง ทํา ให เ ราไมสามารถใชนโยบายสมดุลแหง อํานาจ เ กิดความ ดอยโอกาสในการปองกันตนเอง และความสัมพันธระหวางประเทศ

1.3 ทฤษฎีการพัฒนาตาง ๆและการวิเคราะหเปรียบเทียบ

1.3.1 ทฤษฎีการพัฒนาการเศรษฐกิจ กระแสหลัก 4 แนวทาง การศึกษาทฤษฎีเพ่ือท่ีจะทราบวาทฤษฎีตางๆ น้ันมีฐานคติอะไร แฝงคา นิยมหรือคุณคา

อะไร และมีความลําเอียงของผลประโยชนไปสูใคร

Page 23: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 23/54

ในบทความของ Torado ในสวนท่ีวาดวย Theory of Development เปนการศึกษ าวรรณกรรมทางเศรษฐศาสตรท่ีเก่ียวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ พบวาถูกครอบงํา โดยสํา นักความคิดหรือกระแสทฤษฎี 4 กระแส คือ

1. ทฤษฎีข้ันตอนแบบเสนตรง 2. ตัวแบบการเปล่ียนแปลงทางโครงสราง 3. การปฏิวัติพ่ึงพาระหวางประเทศ 4. การตอตานการปฏิวัติแนวนีโอคลาสสิค

1.3.2 ทฤษฎีความเติบโตขั้นตอนแบบเสนตรง (The Linear – Stages Theory) ใน ค.ศ. 1950 และตน ค.ศ. 1960 นักทฤษฎีในยุคน้ันพิจารณากระบวนการในฐานะที่ เปน

อนุกรมของข้ันตอนความเติบโตทางเศรษฐกิจ ท่ีมีความตอเ น่ืองสัมพันธ ข้ันตอนเหลา น้ันทุกประเทศตองผานอยางหลีกเล่ียงไมได ทฤษฎีข้ันตอนแบบเสนตรงมีนักวิชาการท่ีเก่ียวของคือ

. Rostow’s stages of Growth : Rostow เสนอผลงาน Non Communist Manifesto เ พ่ือตอตานคอมมิวนิสต ท่ี Karl Marx ไดเสนอไวในผลงาน The Communist Manifesto โดย Rostow เสนอวา ท่ี Karl Marx ไดกลาววาสังคมตองผานสังคมคอมมิวนิสตบุพกาล มาสู สังคมทาส จากสังคมทาส มาสูสังคมศักดินานิยม จากศักดินานิยมเปนพ้ืนฐานไปสูทุนนิยม และในท่ีสุด สังคม ท่ีปรารถนาคือสังคมแบบสังคมนิยม และท่ีปรารถนาท่ีสุดคือสังคมแบบคอมมิวนิสต แต Rostow มองวาการพัฒนาจะเกิดข้ึนไดก็ตอเมื่อประเทศน้ันมีปริมาณท่ีเหมาะสมของสัดสวนเงินออม (Saving) และการลงทุน (Investment)

แนวคิด การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศดอยพัฒนาไปสูประ เทศพัฒนาได น้ันตองมีการเปล่ียนแปลงอยางตอเน่ือง ตามลําดับ 5 ข้ันตอน คือ

ข้ันตอนท่ี 1 การเปนสังคมแบบด้ังเดิม (The Traditional Society) ข้ันตอนท่ี 2 Pre Conditions to Take – off มีการพัฒนาแลวตองมีการวางเงื่อนไข

เบ้ืองตนสําหรับการทะยานออก ข้ันตอนท่ี 3 การทะยานออก (Take – off) เร่ิมมีการลงทุน สงเสริมเอกชนในการลงทุน

เงินออมภาคเอกชนไมเพียงพอและเทคโนโลยีตํ่า รัฐก็ดําเนินการกูเงินจากตางชาติ หรือไมก็สงเสริมตางชาติใหเขามาลงทุน

ข้ันตอนท่ี 4 การขับเคล่ือนไปสูการมีวุฒิภาวะ (Drive to maturity) ระบบเศรษฐกิจมีกลไกในการพัฒนาของตนเองอยางยั่งยืน

ข้ันตอนท่ี 5 สังคมอุดมโภคา (Mass Consumption Society) สังคม ท่ีมี สินคาและบริการตอบสนองความตองการไดมากท่ีสุด

Page 24: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 24/54

. The Harrod – Domar Growth Model : แนวคิดของ Harrod Domar ความเติบโตของการพัฒนาประเทศ มีหลักการสําคัญคือ การสะสมทุนท้ังภายใน

และภายนอกประเทศ เพ่ือใหมีการพัฒนาท่ีรวดเร็ว ฉะน้ันประเทศตางๆ ท่ีเจริญข้ึนไดจึง ข้ึนอยู กับเงินออม ประเทศท่ีมีเงินออมมาก เศรษฐกิจจะเติบโตเร็ว เพราะวากลไกของระบบเศรษฐกิจตองมีการลงทุนเพ่ิม เมื่อทุนเพ่ิมจะนําไปสูการเติบโตทางเศรษฐกิจ ขณะเดียวกันก็ตองรักษาระดับรายไดประชาชาติใหอยูในสัดสวนท่ีเหมาะสม แนวคิดน้ีเนนท่ี Capital Stack

1.3.3 ตัวแบบการเปล่ียนแปลงทางโครงสราง (Structural Change Models) ค.ศ. 1970 ตัวแบบน้ีเขามามีบทบาทแทนตัวแบบชนิดเสนตรง เนนกลไกซึ่งจะทําใหระบบ

เศรษฐกิจของชาติท่ีดอยพัฒนาเปล่ียนแปลงโครงสรา งการเกษตรยังชีพไปสู เ ศรษฐกิจใหม อันประกอบดวย ภาคอุตสาหกรรมและบริการขนาดใหญ ทฤษฎี น้ีวาดวยแบบแผนของการเปล่ียนแปลงโครงสราง มีการใชทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรท่ีทัยสมัยและการวิ เคราะหทางสถิติเ พ่ือพยายามท่ีจะแสดงใหเห็นถึงการพัฒนาภายในกระบวนพัฒนาของการเปล่ียนแปลงทางโครงสรา ง ซ่ึงประเทศท่ีกําลังพัฒนาจะตองดําเนินการ ถาตองการใหประสบความสําเร็จในการกอให เ กิดความเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วและยั่งยืน

แบงเปน 2 ทฤษฎียอย คือ

1. The Lewis Theory of Development Lewis ได เสนอแนวความคิด Two Sectors Model ตัวแบบแรงงานสวนเกินของ 2 สาขาการผลิตของระบบเศรษฐกิจประ เทศท่ีกําลังพัฒนาวา

- สาขาเกษตรท่ีมีแรงงานสวนเกิน หากเคล่ือนยายแรงงานสวนเ กินน้ีไปจากสาขาเกษตร ก็จะไมทําใหผลผลิตลดลง

- สาขาการผลิตในภาคอุตสาหกรรมซึ่งอยู ในชุมชนเมือง สามารถรองรับการเคล่ือนยายแรงงานจากภาคเกษตรได ทําใหเกิดการเพ่ิมการจางงานและเพ่ิมผลผลิต

2. การเปล่ียนแปลงทางโครงสราง และแบบแผนการพัฒนา (Structural Change and

Pattern of Development) Hollis B Cheneng ศึกษา รูปแบบการพัฒนาโลกท่ี 3 ภายหลังสงครามและมีผลงานเสนอการเปล่ียนแปลงทางโครงสรา ง เสนอเอกลักษณ ตัวแบบการพัฒนา แบบแผนการพัฒนา จากดอย พัฒนาไปสูการพัฒนา จะ เ ห็นการเปล่ียนแปลงดังน้ี

1. มีการเคล่ือนยายจากภาคเกษตรกรรมไปสูภาคอุตสาหกรรม 2. การเจริญเติบโตเปนไปตามธรรมชาติ 3. มีการพัฒนาคุณภาพชีวิต

Page 25: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 25/54

4. ความตองการของผูบริโภค เปล่ียนจากจุดเนนในการผลิตอาหาร ไปสูการผลิตสินคาและบริการ

5. ชุมชนเมืองขยายใหญข้ึน 6. มีการลดขนาดของครอบครัวและประชากร 7. เนนการพัฒนาการศึกษาวาจะเปนปจจัยสําคัญของการพัฒนาประชากร

1.3.4 การปฏิวัติพึ่งพาระหวางประเทศ (The International – Dependence Revolution) เกิดข้ึนระหวางป ค.ศ. 1970 มีแนวทางท่ีกาวหนา มองดูความสัมพันธในเร่ืองของอํานาจ ท้ัง

ภายในประเทศและภายนอกประเทศ นักทฤษฎีพ่ึงพาดําเนินการศึกษาวิจัย และวิ เคราะหในเ ชิงวิจารณ

1. ศาสตราจารย ดร. กฤช เปนนักทฤษฎีพ่ึงพา วิจารณวาการท่ีประเทศไทย ถูกครอบงําโดยนโยบายการพัฒนาจากธนาคารโลก และรัฐบาลสหรัฐอเมริกา การไหลเขามาโดยการลงทุนของตางชาติ การกูหน้ีสาธารณะจากธนาคารโลก ทํา ให รัฐบาลไทยไมสามารถกําหนดแนวทางการพัฒนาท่ีเหมาะสมสําหรับตนเอง ในท่ีสุดรัฐก็มีขอจํา กัดในการสรางกระบวนการพัฒนาท่ีสมเหตุสมผล เพราะผลพวงหรือผลประโยชนของการพัฒนาตกอยูท่ีคนกลุมนอยคือ กลุมทุนขามชา ติ กลุม ทุนในประเทศท่ีเ ก่ีย วของตลอดจนกลุมทุนนายหนา สวนภาระท่ีเกิดข้ึนผลักให กับคนสวนใหญของประ เทศ และในท่ีสุดเกิดเปนอาณานิคมทางเศรษฐกิจสมัยใหมของประเทศท่ีเจริญแลว

2. The False Paradigm Model นักทฤษฎีพ่ึงพาวิเคราะหวา การขอความชวย เหลือทางเทคนิคจากตางชาติในรูปท่ีปรึกษา นําเอาแบบแผนหรือทฤษฎีท่ีผิดพลาดมาใช พวกน้ีจะไมเขาใจสถานการณท่ีแทจริง เชน IMF ไมเขาใจสถานการณในประเทศไทย จึงใหยาผิด และยาก็ใชกับกรอบเดิมๆ ท่ีใชมาท่ัวโลก

3. The Dualistic – Development Thesis : แนวคิดการพัฒนาแบบทวิลักษณ นักทฤษฎีพ่ึงพากลุมน้ีพยายามแสดงใหเห็นถึงภาพลักษณและลักษณะของสังคมดอย พัฒนา ท่ีมีลักษณะทวิลักษณวา การพัฒนาไปตามแนวท่ีไดรับอิทธิพลจากตางชา ติหรือตะวันตก แสดงใหเห็นถึงภาพท่ีทันสมัยคือภาพอุตสาหกรรมในเมือง และภาพท่ีลาหลังคือชนบท ลักษณะทวิลักษณอีกอยางคือความรํ่ารวยและความยากจน มี 2 ลักษณะในระบบเดียว แตนักทฤษฎีพ่ึงพาบางคนกลาววา เมื่อประ เทศดอย พัฒนา ดํา เ นินการคา ระหวา ง

ประเทศกับประเทศท่ีพัฒนาแลว กอใหเกิดการแลกเปล่ียนท่ีไมเทาเทียมกัน ดังน้ันนักทฤษฎี พ่ึงพาจึงมักแสดงใหเห็นถึงความจําเปนของการกําหนดนโยบายใหมเพ่ือขจัดปญหาความยากจน สงเสริมใหมีการจางงานท่ีหลากหลาย และท่ีสําคัญมุงไปสูการพัฒนาท่ีต้ังอยูบนพ้ืนฐานการพ่ึงพาตนเอง

Page 26: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 26/54

1.3.5 การตอตานการปฏิวัติแนวนีโอคลาสสิค (The Neoclassical Counterrevolution) ทฤษฎีน้ีมองดูหรือมีจุดเนนท่ีช้ีใหเห็นถึง

1. บทบาทท่ีมีประโยชนของตลาดเสรี (Free Market) 2. การเปดระบบเศรษฐกิจแบบเปด (Open Economy) 3. การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) 4. การลดบทบาทของรัฐ 5. สงเสริมการสรางเสถียรภาพของคาเงิน 6. ผอนคลายกฎระเบียบท่ีเขมงวดเพ่ือเอ้ือตอการลงทุนของตางชาติ

ปจจุบัน IMF ADB และกลุมกองทุนท้ังหลายท่ีกอต้ังข้ึนมาโดยประเทศท่ีพัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ถูกครอบงําโดยเศรษฐศาสตรแนวน้ี ความลมเหลว ท่ีจะพัฒนาของประเทศกําลังพัฒนาตางๆ ไมใชเกิดข้ึนมาจากพลังภายนอกและภายใน หรือกลุมทุนจากภายนอกและภายใน แตเปนผลลัพธท่ีเกิดมาจากการท่ีรัฐบาลดําเนินบทบาทท่ีแทรกแซงเขามาในกลไกตลาดมากเ กินไปและมีการกําหนดกฎหมายและระเบียบท่ีครอบคลุมระบบเศรษฐกิจมากเกินไป

1.3.6 ทฤษฎีการเติบโตแนวใหม : การเกิดของแนวทางท่ีหา (The New Growth Theory ; An Emerging Fifth Approach

ปลาย ค.ศ. 1980 ตน ค.ศ. 1990 นักเศรษฐศาสตรแนวนีโอคลาสสิค และนักเศรษฐศาสตรพัฒนา เร่ิมตนพัฒนาทฤษฎีน้ี โดยพยายามท่ีจะปรับปรุงและขยายทฤษฎีความเติบโตแบบด้ังเ ดิมไปในแนวทางท่ีสามารถอธิบายวา ทําไมบางประเทศจึงมีการพัฒนาอยา งรวดเ ร็วและบางประ เทศประสบภาวะชะงักงัน มีสาเหตุมาจากอะไร พวกน้ีมีแนวคิดท่ีแตกตา งจากนักเศรษฐศาสตร ท่ีตอตานการปฏิวัติในแนวทางนีโอคลาสสิคท่ีมีฐานคติเปนสากลเหมือนกันทุกประเทศ ถึงแมวาพวกน้ีมีความเช่ือในเร่ืองตลาดเอกชนหรือตลาดเสรี แตยังยอมรับวา รัฐบาลยังมีบทบาทสํา คัญในกระบวนการพัฒนา

1.3.7 ทฤษฎีการพัฒนาตางๆ : การประนีประนอมความแตกตาง 1.3.8 ตัวแบบเศรษฐกิจ – การเมืองของระบบทุนนิยมแบบพ่ึงพาภายใตระบบทุนนิยม : กรณี

ประเทศไทย

Page 27: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 27/54

สวนท่ี 2 ปญหาและนโยบายภายในประเทศ

ถาเราทําความเขาใจทฤษฎีและสามารถเลือกใชทฤษฎีท่ีเหมาะสม การอานสถานการณหรือการระบุปญหาซึ่งเปนข้ันตอนแรกๆ ของกระบวนการบริหาร ข้ันตอนน้ีมีความสําคัญมากเพราะ เมื่อเลือกใชทฤษฎีในการวิเคราะหปญหาผิด อานสถานการณผิดก็จะนําไปสูการกําหนดจุดมุ งหมาย ท่ีผิดพลาด เพราะในการบริหารโดยเฉพาะการวางแผนตองมีการกําหนดจุดมุ งหมาย หลังจากท่ีวิเคราะหและระบุปญหาแลว

ประเทศไทยมีการใชพ้ืนฐานทฤษฎีท่ีผิดพลาดในการวิเคราะหปญหา มองแบบแยกสวนไมมองแบบรวมท้ังหมด จึงนําไปสูการกําหนดเจตจํานงกับ IMF ท่ีผิด ทํา ใหนโยบายหรือมาตรการผิดพลาดคลอยตามไปดวย เชน มาตรการ 14 สิงหาคม 2541 มีจุดมุ งหมายใหธนาคารเ พ่ิมทุนแตกอใหเกิดความไรประสิทธิผลในการปลอยสินเช่ือ ถึงแมวาวาจะมีการเพ่ิมทุนแลว สืบเ น่ืองมาจาก NPL ท่ีมีอยางมหาศาลกอใหเกิดกับดักสภาพคลอง และสถาบันการเงินถึงแมวา จะ เ พ่ิม ทุนแลวแตสถาบันการเงินก็เปนกับดักของสภาพคลอง ผลลัพธท่ีซอนเรนคือการเปล่ียนแปลงสินทรัพยของคนไทยใหเปนของตางชาติ ตางชาติเขามาควบคุมสถาบันการเงิน ซ่ึงระบบทุนนิยมในยุคน้ีถือวา ทุนการเงินมีวิวัฒนาการสูงสุดและกาวหนาท่ีสุดในระบบทุนนิยม วิถีชีวิตของคนไทยจึงถูกครอบงําโดยทุนเหลาน้ี ความเติบโต ความยากจน และการกระจายรายได Growth Controversy : ความเติบโต ความยากจนและการกระจายรายได

สูตรสําเร็จของการพัฒนาท่ีเกิดข้ึนภายใตกรอบของทฤษฎี ข้ันตอนแบบเสนตรง ตัวแบบการเปล่ียนแปลงทางโครงสราง การปฏิวัติพ่ึงพาระหวางประเทศ และการตอตานการปฏิวั ติแนวนี-โอคลาสสิค การพัฒนาตองประกอบดวย เ งินและคําปรึกษา ซ่ึง เปนกรอบแนวคิดท่ีครอบงํานักการเมือง การพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจ ถามีสมรรถนะกอใหเกิดการเติบโตของรายไดประชาชาติหรือผลิตภัณฑมวลรวมเกินกวารอยละ 5 ตอป ถือวามีประสิทธิภาพซ่ึงเปนจุดมุ งหมายสูงสุดของระบบเศรษฐกิจทุนนิยม เช่ือกันวาความเทาเทียมกันของสังคมจะ เ กิดข้ึนตองอยูภ าย ใตกรอบของการเติบโตทางเศรษฐกิจ ถาเรายอนไปอานแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับท่ี 1 จะกลาว ถึงวา ถาประเทศไทยสามารถกอใหเกิดความเติบโตทางเศรษฐกิจไดแลวจะนํามาซึ่ งความยุ ติธรรมทางสังคม

ในทศวรรษ 1950 – 1960 นักเศรษฐศาสตรและนักวางแผนไมใหความสนใจ เ ร่ืองการกระจายรายไดนัก เพราะมีความเช่ือวา การกระจายรายไดข้ึนอยูกับความเติบโตทางเศรษฐกิจโดยการไหลรินของผลประโยชน Trickle down effect

Page 28: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 28/54

ในกลางป ค.ศ. 1960 ซ่ึงเปนชวงกลางแผนพัฒนา เศรษฐกิจฯ ฉบับท่ี 2 และจากการประเมินผลแผนก็เกิดภาวะงงงันเชิงประจักษวาทําไมเศรษฐกิจเจริญเติบโต แตระ ดับรายไดลดลง หรือเกิดความยากจนท้ังในเชิงสมบูรณ และเชิงสัมพันธ ดังน้ี

1. ความยากจนเชิงสมบูรณ (Absolute Poverty) คือ มีการสรางเสนความยากจน (Poverty Line) ข้ึน เชน มีการสรางเสนความยากจนท่ี 20,000 บาทตอป ถาใครมีรายได ตํ่ากวาเสนน้ัน จะถือวายากจน แลว ก็หา อัตราสวนวา เปนอัตราสวนรอยละ เทา ไรของประชาชนท้ังประเทศ

2. การวัดโดยเชิงสัมพันธ (Reality Poverty) มีหลายลักษณะคือ การเปรียบเทียบระหวา งกลุม เชน อัตราสวนของรายไดคนรวยและคนจน หรือคนเมืองกับคนชนบท เปน 5:1 , 10:1 , 15:1 การวัดช้ันของรายได (Income Class) วา เปน High Income Class, Middle Income Class, Low Income Class วามีสัดสวนของประชาชนท่ีอยูเทาไหร เชนในชวงเดือน เม.ย. มีการสํารวจสํามะโนประชากร คาดวาเปนการประ เมินรายไดของกลุมตัวอยาง ซ่ึงหลังจากน้ันอาจจะมีขอมูลเก่ียวกับการกระจายรายได

3. การกระจุกตัวของรายได เชน คนรวยรอยละ 20 ของคนท้ังประเทศ เปนเจาของคนท้ังประเทศ เปนเจาของสัดสวนของรายไดรวมเทาไร ในชวงท่ีเกิดภาวะงงงันเชิงประจักษ ซ่ึงตรงกับในชวงท่ีเร่ิมแผน 3 นักเศรษฐศาสตรช่ือ Kunetch (เปนนักเศรษฐศาสตรสายสถาบัน Institutional Economics หรือ Development Economics) ซ่ึงแตกตา งจากนักเศรษฐศาสตรแนว Neo Classic คือ นักเศรษฐศาสตรพัฒนา / นักเศรษฐศาสตรสถา บันจะมุงไปท่ีคนกลุมใหญ และเช่ือวารัฐบาลจะตองมีบทบาทท่ีสํา คัญในการบูรณาการการตัดสินใจทางเศรษฐกิจจะ Laissez Faire ไมได

Kunetch เสนอสมมุติฐานตัว U คือความแตกตางของรายไดขึ้นอยูกับความเจริญเติบโตทางเศรษกิจไปตามอนุกรมของเวลา (ความแตกตางกันของรายได)

Kunetch เช่ือวา ความยุติธรรมในการกระจายรายไดจะกอใหเกิด ตอเมื่อประเทศน้ันๆ สามารถทําใหระบบเศรษฐกิจมีประสิทธิภาพไปตามอนุกรมเวลา

ระดับ

ตัวแปร X

Y

ระดับความแตกตาง

ของรายได

ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ

Page 29: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 29/54

- เปนการศึกษาตัวแปร 2 ตัว คือ ตัวแปร Y หรือแกน Y หมายถึง ระดับความแตกตา งของรายไดจากระดับตํ่าสุดไปจนถึงระดับสูงสุด ซ่ึงเปนตัวแปรตาม

- ตัวแปร X หรือแกน X หมายถึง การพัฒนาการทางเศรษฐกิจของประ เทศในชวงเวลาใดเวลาหน่ึงไปตามอนุกรมของเวลา (Time Series)

สมมติฐานตัว U คือ ความแตกตางของรายไดข้ึนอยูกับระดับการขยาย ตัวหรือความเ ติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศน้ันๆ (X Y)

เมื่อมีความเติบโตทางเศรษฐกิจ จะเกิดความแตกตางกันของรายได โดยรายไดจะลดลง ซ่ึงสมมติฐานตัว U บอกวาเปนเร่ืองปกติในจุดเร่ิมตนท่ีมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การมีความแตกตา งกันของรายไดมากข้ึนจะเปนสัญญาณวาระบบเศรษฐกิจกําลังจะกาวไปสูความยั่งยืน จนถึงจุดหน่ึงเมื่อระบบเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ความแตกตางกันของรายไดมากข้ึน ก็จะมีการผกผัน เกิดโมเมนตัมในการเหวี่ยงตัวลงตามระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ท่ีตอเ น่ือง จนในท่ีสุดจะลดลงไปจนถึงระดับตํ่าท่ีสุด

คําถาม ในบริบทของสังคมไทย เราอยูตรง ณ จุดใดของกราฟดังกลาว ซ่ึงสมมติฐานน้ียังไมสามารถพิสูจนได เพราะประเทศไทยเสีย Momentum ในการพัฒนามาเปนระยะๆ และเปนไปตามสิ่ ง ท่ีอาจารยเรียกวา Business Cycle

วัฏจักรธุรกิจของระบบทุนนิยม ซ่ึงมีขาข้ึนและขาลง อาจารยไดใช Business Cycle น้ีในการอธิบายวิเคราะหวินิจฉัยวาระบบเศรษฐกิจไทยยังไมฟน ไทยยังอยูในระดับทรงตัวหรือภาวะซบเซาในระดับกนเหว การท่ีดัชนีข้ึนมาเปนเพียงเอาดัชนีตัวเดียวมาสรา ง ไมไดวัดแบบสมบูรณ คือไมไดเอาตัวแปรอ่ืนๆ มาพิจารณาประกอบสมมติฐาน Goodness จึงไมไดรับการพิสูจนหรือยืนยันวาถูกตองในบริบทของประเทศไทย

ในประเทศไทย เมื่อพิสูจนตามสมมติฐาน U จะเปนดังน้ี 1. ความแตกตางกันของรายไดระหวางคนรวยและคนจน ขอมูลท่ีอยู ในบทความ ช่ือ

“ปญหาความยากจนและการพัฒนาประเทศ” อาจารยวิเคราะหไวดังน้ี ประมาณ พ.ศ. 2520 ความแตกตางกันของรายไดระหวาคนรวยและคนจน = 5:1 ป 2535 นายวิจิตร สุขพินิจ ผูวาฯธนาคารแหงประ เทศไทย ก็ได เปดเผยขอมูลเชนเดียวกัน สัดสวนของายไดระหวางคนรวยและคนจน = 12:1 ป 2538 อาจารยไดวิเคราะหความแตกตางกันของรายไดระหวางคนรวยและคนจน = มากวา 15:1

Page 30: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 30/54

ปจจุบัน หากมีการประมาณการก่ึงเดาโดยพิจารณาจากแนวโนม เชน คนตกงาน คนวางงานมากข้ึน คนจนมีเพ่ิมข้ึนและมีสัดสวนของรายไดระหวางคนรวยและคนจนหางกันมากข้ึน ท้ังน้ีเพราะปญหาโครงสรางไมไดรับการแกไข

2. มีการกระจุกตัวของรายได (จากขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติในเคาโครงของการบรรยายหนา 25)

สัดสวนรายไดของระชากรจําแนกตามกลุม 20% ถึงจนสุด 20%

2518/19 2523/24 2528/29 2531/32 2533/34 2534/35 2535/36 2536/37

ร ว ย สุ ด 20%

49.26 51.47 55.63 55.01 56.48 - - -

รว ย ตอ ม า

20%

20.96 20.64 19.86 20.30 20.11 - - -

ป า นก ล า ง 20%

14.00 13.38 12.09 12.20 11.92 - - -

จ น ต อ ม า 20%

9.73 9.10 7.89 7.98 7.44 - - -

จนสุด 20% 6.05 5.41 4.55 4.51 4.05 - - -

ร ว ย สุ ด 40%

70.22 72.11 75.49 75.31 76.59 76.39 76.66 76.75

จนสุด 60% 29.78 27.89 24.51 24.69 23.41 23.61 23.34 23.25

ท่ีมา : สํานักงานสถิติแหงชาติ จากขอมูลดังกลาว แสดงถึงทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยวา การกระจายรายไดเลวลง ในรูปของ รวยกระจุก จนกระจาย เชน

- ในป พ.ศ. 2518-2519 รวยสุดรอยละ 20 เปนเจาของสัดสวนของรายได 49.26% จนสุดรอยละ 20 เปนเจาของสัดสวนของรายได 6.05%

- ในป พ.ศ. 2533-2534 รายไดของประชากรกลุมรวยสุดรอยละ 20 เพ่ิมเปน 56.48%

Page 31: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 31/54

รายไดของประชากรกลุมจนสุดรอยละ 20 ลดลงเปน 4.05% เมื่อเปรียบเทียบกลุมรวยสุด 40% จนสุด 60%

- ในป พ.ศ. 2518-2519 รวยสุดรอยละ 40 เปนเจาของสัดสวนรายได 70.22% และเ พ่ิมเปน 76.75% ในป 2536-2537 ซ่ึงในชวงน้ันราคาการเกษตรยังไมตกตํ่ามากนัก

- ในป พ.ศ. 2818-2519 จนสุดรอยละ 60 เปนเจาของรายได เ พีย ง 29.78% และลดลงเหลือ 23.25% ในป 2536-2537

จากขอมูลเบ้ืองตน เมื่อนํามาพยากรณหรือคาดการณผลลัพธท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต จะ เ ห็นวาความแตกตางการกระจุกตัวของรายไดลดลง หรือเพ่ิมข้ึนอยูในคนกลุมนอย แสดงวากลไกทางเศรษฐกิจการเมืองเอ้ือประโยชนตอคนกลุมนอย ชนช้ันใดเรียนกฎหมายก็เพ่ือชนช้ันน้ัน

สหรัฐอเมริกาเปนประเทศทุนนียมกาวหนาท่ีมีการกระจุกตัวของรายไดในอัตรา ท่ีสูงกวาประเทศไทยมาก ประมาณวากลุมคนรวยรอยละ 10 เปนเจาของสัดสวนของรายไดของอเม ริกาไมตํ่ากวารอยละ 85 หมาความวาการกระจุกตัวของรายไดท่ีเปนความเหล่ือมลํ้ามากกวาของไทย แตของไทยจะเอาภาษีของคนจนไปโอบอุมคนรวย แตในอเมริกา โดยระบบแลวการจัดเ ก็บภา ษีจะนําไปจุนเจือผูเสียเปรียบทางสังคม

ตัวแบบท่ีใชวิเคราะหปรากฏการณของวิกฤตการณทางสังคมและการปฏิวัติ มีการนําปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนในอดีตมาสรา งเปนตัวแบบท่ีเ รียกวา J-curve of Crisis

Revolution คือ Curve ของตัว J วิกฤตการณและการปฏิวัติทางสังคม แกน X คือ แกนท่ีกลาวถึงอนุกรมของเวลา แกน Y คือ แกนท่ีกลาวถึงความจําเปนในการตอบสนองตอความจําเปนตอการดํารงชีวิตในสังคม (Nics Satisfaction) ซ่ึงจะมี 2 ลักษณะ คือ

1. Expected Needs Satisfaction ประชาชนคาดหวังวาเขาจะไดรับการตอบสนอง Needs อยางตอเน่ือง / เพ่ิมข้ึน

2. Actual Needs Satisfaction การไดรับการตอบสนองในความเปนจริง

NS

O T

Page 32: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 32/54

J-Curve กลาววา เมื่อมนุษยในสังคมไดรับการตอบสนองในความเปนจ ริงท่ีมีชองวางหางจากความคาดหวัง เมื่อหางมากข้ึน ลักษณะของ Curve จะเหมือนตัว J และเมื่อถึงระดับหน่ึงจะเกิดวิกฤติการณทางสังคมหรือการปฏิวัติสังคม

สาเหตุของการเกิดปญหาความยากจนและการกระจายรายได ท่ีไม เปนธรรม : การวิ เคราะหโครงสรางและประวัติศาสตร (อานบทความเร่ืองปญหาความยากจนและการพัฒนาประเทศในหนังสือ PA 603 ระบบเศรษฐกิจ

ไทย หนา 593-666) ปญหาของความยากจน เปนปญหาของโครงสรา งเ ชิงประวั ติศาสตร (โครงสรา งคือความสัมพันธของกลุมชนช้ันตางๆ ทางเศรษฐกิจตา งๆ ในระบบการเมืองไทย ) ประกอบกับโครงสรางภายในประเทศและความสัมพันธระหวา งระบบเศรษฐกิจไทย กับระบบเศรษฐกิจการเมืองโลก และระบบทุนนิยมโลก รวมท้ังโครงสรางท่ีถูกกําหนดข้ึนมา เชน โครงสรา งสวนบน คือกฎหมายตางๆ ท่ีบัญญัติข้ึนมา จะเอ้ือประโยชนตอชนช้ันท่ีมีอํานาจในสังคมน้ันๆ ในบทความ น้ี อาจารยสรุปวา ถา โครงสรา งของกลุมคนตา งๆ ในสังคมไมมีการเปล่ียนแปลง ปญหาความยากจนหรือความแตตางกันของรายได ก็จะไมสามารถแกไขไดอยา งเด็ดขาด ผลลัพธในอดีต ปจจุบัน และแนวโนมในอนาคตในระบบสังคมโลกแบบมี ช้ันภูมิ (The World Straitlaced Society) เปนตัวแบบในการกระจายรายไดท่ีแตกตางกัน โดยมีการศึกษา ตัวแปร 2 ตัวแปร คือ X และ Y ตัวแบบสังคมโลกแบบมีช้ันภูมิ (The World Straitlaced Society) วิเคราะหโดยการสรางตัวแปรข้ึนมาเพ่ืออธิบายสาเหตุและผลกระทบ ตัวแปร 2 แบบ คือ ตัวแปร Y คือ ability to appropriate surplus value (ความสามารถในการชวงชิงหรือไดมาซ่ึงสวนเกินในสังคมของกระบวนการสะสมทุน ผลประโยชนของการพัฒนา) เปนตัวแปรตาม ตัวแปร X คือ ระยะทางท่ีมีประสิทธิผลจากศูนยกลางของอํานาจ (เปนตัวแปรอิสระ) Y = F (Xi) ตัวแปร X จะเปนศูนยกลางอํานาจ สามารถจําแนกเปนตัวแปรยอยๆ ตางๆ 1. ศูนยกลางอํานาจทางการเมือง (Political Power) : ใกลผูมีอํานาจทางการเมือง พวกกลุมทุนท่ีทํา

การสนับสนุนนักการเมืองใหเขาไปทําหนาท่ีแทน ซ่ึงพวกนาย ทุนมีหนา ท่ีสงเ งินสนับสนุน และพรรคการเมืองเองก็มีความตองการเปนศูนยกลางอํานาจเพ่ือเปนการเพ่ิมสมรรถนะ อํานาจ และ ผลประโยชนจากมูลคาสวนเกิน

2. ศูนยกลางอํานาจทางเศรษฐกิจ (Economic Power) : ใกลแหลงเงินทุน ฐานะเศรษฐกิจ ดี ผูมีหนาท่ีและมีอํานาจในพหุภาคี เชน IMF , ธนาคารโลก , ADB โอกาสท่ีจะชวยใหกลุม ทุนของตัวเองไดประโยชนจากการสะสมทุนขามชา ติ และถาชวย ทุนการเงินในประเทสมีความ

Page 33: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 33/54

เช่ือมโยงกัน นายทุนของอเมริกา จะทําใหเกิดกระบวนการชวงชิงใหไดมาซึ่ งผลประโยชน ซ่ึงเปน Mutual Benefit (ผลประโยชนรวม)

3. ศูนยกลางอํานาจทางเทคโนโลยี (Technology Power): ผูท่ีควบคุมเทคโนโลยีจะมีอํานาจตอรองมาก เปนการเพ่ิมขีดความสามารถในการไดมา และชวงชิงซ่ึงผลประโยชน ซ่ึงแหลงสํา คัญทางเทคโนโลยีท่ีไทยตองพ่ึงคืออเมริกาและญ่ีปุน เน่ืองจากไทยขาดการพัฒนาเทคโนโลยีท่ี เปนของตนเอง เพราะระบบเศรษฐกิจของไทยเปนระบบท่ีพ่ึงพาเทคโนโลยีจากตา งชา ติสูง ทํา ใหไทยตองตกเปนเบ้ียลางอเมริกาและญ่ีปุน

4. ศูนยกลางอํานาจทางกฎหมาย (Legal Power) : “ชนช้ันใดบัญญัติกฎหมายยอมใหผลประโยชนแกชนช้ันน้ัน” ซ่ึงไทยก็มีการรับผลประโยชนมาจากบริษัทขามชาติของอเมริกาหรือตา งชา ติท่ีมีการแกไขเพ่ิมเติมหรือปรับปรุงกฎหมายเพ่ือเอ้ือประโยชนตอบริษัทขามชา ติ เชน การประมูลสินทรัพย ปรส. บริษัทขามชาติก็ไดรับผลประโยชนจากการเปนท่ีปรึกษา กําหนดมาตรฐานและราคาทรัพยสินตางๆ และแปลงตัวไปประมูลเองในราคาท่ีตํ่า ธนาคารก็เชนเ ดียว กัน ไดมีการแกไขปรับปรุงกฎหมายเพ่ือเอ้ืออํานวยผลประโยชนตอบริษัทขามชา ติ เชน กฎหมายสงเสริมการลงทุน

5. ศูนยกลางของอํานาจทางขอมูลขาวสาร : การไดรับขอมูลขาวสารเก่ียวกับงานของรัฐ

ดังน้ันการกระจายผลประโยชนของสังคมจะข้ึนอยูกับ 1) สังคมโลกแบบมีช้ันภูมิ ซ่ึงหมายถึงในกระบวนการสะสมทุนในบริบทเศรษฐกิจการเมืองโลก

และเมื่อจําแนกกลุมชนช้ันในบริบทของสังคมโลก หรือระบบเศรษฐกิจการเมืองของไทย กับระบบทุนนิยมโลก จะประกอบดวย

1. บริษัทขามชาติ (International Capitalism) 2. นายทุนในชาติ (Bourgeois Professional) 3. กลุมชนช้ันกลาง 4. ผูขายแรงงานกาย 5. เกษตรกร (Peasants)

X (ศูนยกลางอํานาจ )

ความสามารถในการชวงชิงกําไร

High

X1 X2 X3 X4 X5

กราฟ : แสดงการกระจายรายไดแตกตางกันในสังคมโลกอยางมีชั้นภูมิ

Page 34: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 34/54

นักเศรษฐศาสตรชาวอินเดีย ซ่ึงสอนเศรษฐศาสตรในอเมริกา ไดพยากรณระบบทุนนิยมจะลมสลายในป ค.ศ. 2010 และเงินจะไมเปนท่ีมาของแหลงอํานาจอีกตอไป และตอไปจ ริยธรรมจะเปนตัวสําคัญ และอาจารยกลาววาหากเราเติมจิตวิญญาณของความมีมนุษยธรรมให กับระบบทุนนิยม จะทําใหระบบทุนนิยมอยูไดอีระยะหน่ึง น่ันคือ นาย ทุนไมควรละโมภ หรือมี กิเลสมากจนเกินไป 2) หลักการท่ีวาดวยการกระจายผลประโยชนในสังคม มี 3 หลักการคือ

1. ใครมีความสามารถเทาไรก็ทําไป แตละไดรับประโยชนไปตามสิทธิของตนเอง น่ันคือระบบศักดินา โดยจะไดรับสิทธิและประโยชนจากท่ีดินท่ีตนเองมีอยูตามหลักศักดินา หรือสิทธิทางการเมืองและสังคม

2. ระบบทุนนิยมและสังคมนิยมใชหลักการท่ีวา ใครมีความสามารถเทาไรก็ทําไป แตจะไดรับประโยชนไปตามงานท่ีทํา (Distribution according to work)

3. ใครมีความสามารถเทาไรก็ทําไป แตจะเอาประโยชนไปตามความจําเปนในการดํารงชีวิตเทาน้ัน (Distribution according to needs)

ดังน้ัน หลักการทฤษฎีมูลคาของระบบทุนนิยม คือ การใชทฤษฎีแบบ Exchange Value โดยวิธีการผลิตแบบทุนนิยมก็คือ การตีราคาคาจางแรงงานไปตางานที่ทํา จึงมีการตีราคาคาจางแรงงานแตกตางกัน 3) เนนการสะสมทุน และชนช้ันนายทุนแสดงใหเห็นวิวัฒนาการของเมืองในแนวด่ิง เพราะมีการ

เพ่ิมพูนมูลคาในการใชท่ีดิน ซ่ึงสังคมทุนนิยมเปนสังคมท่ีมี ลํา ดับช้ัน ดังน้ันแรงงานรับจา งหรือผูใชแรงงานจะอยูเปนชนช้ันลางสุด และจะมีเปนช้ันๆ สูงข้ึนไปต้ังแตผูขายแรงงาน (Blue Collar) จนกระท่ังถึง White Collar, นักบริหารมืออา ชีพ (Professional) และพวกนาย ทุนตามลําดับ

4) ความขัดแยงทางชนช้ันกับรัฐ : ใหนายทุนยึดครองอํานาจรัฐ ไมวาจะเปนในรูปแบบใดก็ตาม 5) ภาวะแปลกแยกท่ีเกิดข้ึนในกระบวนการผลิตแบบทุนนิยม ซ่ึงมีลักษณะเปน Mass Production

เชน ในสายการผลิต คนงานหน่ึงๆ จะมีทักษะในการผลิตช้ินสวนเพียงแบบเดียว ภาวะแปลกแยกคือ คนงานในทุนนิยมขาดการพัฒนาทัษะในฐานะท่ีสรางผลงานได เปนช้ินเปนอัน และปญหาท่ีเกิดข้ึนคือ จิตวิทยา เชน เกิดจิตวิทยาโรงงาน จิตวิทยาอุตสาหกรรม

6) คนกลุมนอยมีอํานาจมากในกระบวนการยุติธรรมในการกระจายรายได จึงเ กิดความไม เทาเทียมกัน (The quality)

7) เกิดการกดข่ีทางเพศ (Sexism) เปนระบบท่ีขายจริยธรรมทางเพศมากท่ีสุด 8) ความรังเกียจผิวสี หรือการเหยียดผิว (Racism)

Page 35: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 35/54

9) ความไรสมเหตุสมผลในกระบวนการผลิต เอาผลประโยชนจากธรรมชา ติ สรา งมลภาวะพิษกับธรรมชาติ (The Rape of Nature) เชนมีการปลอยสารมลพิษตางๆ จนกระ ท่ังปจจุ บันไดมีการประชุมกลุมประเทศอุตสาหกรรมวาจะกําจัดสารคารบอนไดออกไซดในราคาเทาไหร

10) ดําเนินลัทธิจักรวรรดินิยม (Neo Imperialism) คือการสรางอาณานิคมทางเศรษฐกิจในประเทศท่ีออนแอกวา

11) ระบบทุนนิยมเปน 2 ระบบท่ีมีวัฏจักรทางเศรษฐกิจ (Economic Circle) มีท้ังขาข้ึนและขาลง หนาท่ีในทางเศรษฐกิจของรัฐบาลในการสงเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการกระจายรายได

การสงเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการกระจายรายได (ศึกษาจาก “หนา ท่ีในทางเศรษฐกิจของรัฐบาล : เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม : 2535) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับตางๆ กับจุดมุงหมายในการแกไขปญหาความยากจน

และการกระจายรายได การกระจายผลการพัฒนาประเทศไทย ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 1 ถึงแผน 6 มีขอสรุปวาการกระจายรายไดไมดีข้ึน แมแตในแผน 6 พลเอกเปรมฯ ใหมีการกําหนดพ้ืนท่ี 36 จังหวัดเปนพ้ืนท่ียากจน โดยใชแนวคิดท่ีเรียกวา Place Poverty (ความยากจนในพ้ืนท่ี) เปนพ้ืนฐานในการแกไขปญหาความยากจนในพ้ืนท่ี 36 จังหวัด โดยกําหนดกลุมเปาหมาย (Group Target) ท่ีจะดูแลเปนพิเศษไมใหการกระจายรายได เลวลง 6 กลุม ไดแก

1. เกษตรกรยากจน 2. แรงงานรับจางภาคเกษตร 3. ผูประกอบอาชีพสวนตัวขนาดเล็ก หรือธุรกิจขนาดยอม 4. ลูกจางเอกชน 5. ขาราชการและพนักงานของรัฐ 6. กลุมท่ีชวยเหลือตนเองไมได โดยใหกลุมเปาหมายสามารถดํารงชีวิตอยูได มีเปาหมายท่ีจะลดสัดสวนของคนยากจนลง

ใหสัดสวนประชากรท่ีอยูใตเสนความยากจน (Poverty Line) ลดลงจากรอยละ 23.7 ในป 2531 ใหเหลือตํ่ากวารอยละ 20 ของประชากรท้ังประเทศในป 2539 พยายามลดความเหล่ือม ลํ้าของรายไดระหวางกลุมคนในประเทศลง ซ่ึงดูเหมือน..…..ยาหอมทางการเมือง

Page 36: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 36/54

นโยบายการพัฒนาชนบทและกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคในแผนฯ 7 แบงออกเปน 2 แผนงาน คือ 1. แผนงานปกติ คือ ดานการพัฒนาชนบท ซ่ึงเปนแผนงานปกติของกระทรวง ทบวง กรม ตา งๆ

ซ่ึงอาจารยวินิจฉัยวาประสบความลมเหลวโดยสิ้นเชิง 2. ดานการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค โดยมาตรการสงเสริมการลงทุน การใหสิทธิประโยชน

ของการสงเสริมตางๆ ท่ี BOI ทํามาโดยตลอดตังแตป พ.ศ. 2503 แผนฯ 7 กําหนดพ้ืนท่ีสงเสริมออกเปน 3 โซน โซนท่ีสามหรือเขตท่ีสามจะได รับ

ผลประโยชนมากท่ีสุด ไดแก พ้ืนท่ีท่ีถูกกําหนดวาเปนพ้ืนท่ีท่ียากจนหรือลาหลัง (ยังไม เ ห็นอะไรเปนกอบเปนกํา)

เมื่อแผนฯ 7 ผานไปคร่ึงแผน มีการประเมินผลคร่ึงแผน (Midterm Evaluation) ดร.สุ เมธ ตันติเวชกุล ไดกลาวสรุปการประเมินแผนฯ 7 วา แมวาประเทศไทยจะประสบความสํา เ ร็จในการขยายตัวทางดานเศรษฐกิจ โดยการวัดจากตัวเลขความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเฉล่ียสูงถึงรอยละ 8 ตอป (ถาเกินรอยละ 5 ถือวามีประสิทธิภาพสูง รอยละ 8 ถือวาระดับมีเสถียรภาพ และรอยละ 11 ข้ึนไปถือวามาก) แตภายใตการพัฒนากอใหเกิดความไมสมดุลยระหวางความเจ ริญเ ติบโตทางเศรษฐกิจ เกิดชองวางระหวางการกระจายรายได ความเหล่ือมลํ้าของรายไดระหวางคนรวยและคนจน ซ่ึงประเทศไทยติดอันดับ 6 ของโลก ปญหาการคอรรัปช่ัน ประเทศไทยอยูในอันดับท่ี 80 ถือวาสูงมาก ๖ขณะท่ีสิงคโปรอยูในอันดับท่ี 2 หรือ 3) คุณภาพชีวิตเลวลง ส่ิงแวดลอมเสื่อมโทรม และปญหาคุณภาพคนหรือทรัพยากรมนุษยตํ่ามาก (ขอสังเกตจากอาจารยคือ เมื่ออานบทความหรือบทสัมภาษณ ตองมีความสามารถในการวิเคราะหหยั่งไปถึงเบ้ืองลึกของส่ิงท่ีเกิดข้ึน หรือขอเท็จจริงท่ีแฝงเรนอยู) ดร.สุเมธฯ กลาวสรุปวา การแกไขความเหล่ือมลํ้าของการกระจายรายไดหรือความยากจนเกินขีดความสามารถของรัฐท่ีจะเขาไปแกไข เพราะมีการสะสมปญหาเพ่ิมมากข้ึน และไมสามารถวินิจฉัยโครงสรางได ในระบบทุนนิยมอยางอเมริการเปนระบบท่ีมีประสิทธิภาพ และทํา ใหคนมีการกระจุกตัวของรายได และรัฐบาลอเมริกาไดพิจารณาหามาตรการสวัสดิการตา งๆ หรือรังท่ีปลอดภัยทางสังคมเพ่ือโอบอุมคนวางงาน คนยากจน คนท่ีมีครอบครัวมี ลูกจะได รับสวัสดิการไดรับบัตรอาหาร จัด Day care center ใหฟรี เมื่อเจ็บปวย ก็รักษาฟรี แตขณะท่ีประ เทศไทยคนยากจนถูกเอารัดเอาเปรียบ และภาระตางๆ ก็ถูกผลักใหคนยากจน แผนฯ 8 มีขอสรุปวายิ่งพัฒนายิ่งทรุด สัดสวนคนยากจนพุงข้ึนสูงถึง 7.8 ลานคน แสดงวาแผนฯ 8 ซ่ึงมีวัตถุประสงคหลักขอเดียวคือ เรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยเชิงรุก มีกองทุนการศึกษา มีเงินกูอัตราดอกเบ้ียรอยละ 1 ครอบครัวท่ีมีรายไดตํ่ากวาปละ 2 แสนบาทสามารถกูได แตระบบของไทยมีการฉอฉลทุกระบบ คนจนรุนใหมเกิดข้ึนจํานวนมากในชวงวิกฤติเศรษฐกิจ

Page 37: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 37/54

การเพิ่มขึ้นของประชากร ปญหาการเพิ่มขึ้นของประชากรมีผลตอ 1. ความหลากหลายของชีวภาค (Bio diversity) เมื่อคนเพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็ว โครงสรา งของระบบ

ทําใหคนสวนใหญยากจน กอใหเกิดการทําลายความหลากหลายทางชีวภาค คือ การบุกรุกท่ีดิน ทําลายสิ่งแวดลอม ความตองการท่ีดินเพ่ือการทําเกษตรกรรม ประเทศไทยประสบปญหาภาวะความหลากหลายของชีวภาคถูกทําลาย ซ่ึงมีผลตอความสมดุลของระบบนิเวศน ถูกทําลายไปดวย

2. การขาดแคลนอาหาร บาทหลวงทอรมัส ไดสังเกตวาอัตราความเติบโตของประชากรเปนความเติบโตเชิงเรขาคณิต (Geometric Growth) คือ เจริญเ ติบโตในอัตรา ท่ีเ พ่ิม ขณะท่ีอัตราการเจริญเติบโตของอาหารมีลักษณะการเติบโตแบบเลขาคณิต (Arithmetic Mean) คือลักษณะการเติบโตในลักษณะคงท่ี เขาจึงศึกษาเก่ียวกับกับดักของประชากร (Population Trap)

The Mathusian Population Trap แสดงถึงระยะ เวลาหน่ึงจะ เ กิดชองวา งของจํานวนประชากรตอความสามารถในการผลิตอาหาร เพราะอัตราการเจริญเตอบโตของประชากรสูง ข้ึนกวาสมรรถนะของสังคมท่ีจะผลิตอาหาร จึงเกิดภาวะขาดแคลนอาหาร อยางไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตรพัฒนากลาววา ความกาวหนาทางเทคโนโลยีและสังคม จะชวยใหประเทศสามารถหลีกเ ล่ีย งกับดักของประชากร เชน กรณีความกาวหนาทางสังคมในการคุมกําเนิดมีประสิทธิผล สมรรถนะในการผลิตอาหาร GND ซ่ึงเอายีสตจากสัตวมาตกแตงเขาไปในพืชซ่ึงเปนอาหาร อยางเชน มะเ ขือเทศใชยีนสหมู ซ่ึงความเห็นของอาจารยคือ ส่ิงใดก็ตามท่ีผิดธรรมชา ติเ พ่ือเ พ่ิมพูนผลิตผล ในท่ีสุดจะคนพบสารท่ีเปนพิษ ซ่ึงนาจะเปนผลเสียเพราะการไปเช่ือฝร่ังโดยแยกมนุษยจากธรรมชา ติ สังคมโลกจึงเบ่ียงเบนอยางทุกวันน้ี

อยางไรก็ตาม ส่ิงดังกลาวเปนพ้ืนฐานท่ีจะนํามาคิดถึงความไดเปรียบทางชีวภูมิศาสตรของประเทศไทย และความหลากหลายทางชีวภาคท่ีเรามีอยู โดยเฉพาะประเททศของเราอยูในเขตอูขา วอูนํ้าของโลก ในเขตท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาคสูงท่ีสุดในโลก เ ราจะทําอยา งไรกับส่ิงท่ีมีคุณคาท่ีเราเหลืออยู ดังท่ีในหลวงมีพระราชดํารัสวา ถอยหลังเขาคลองซักพักหน่ึงก็ไมเปนไร เ รา ถูกพวกขุนนางนักวิชาการ นักธุรกิจการเมืองท่ีไดรับผลประโยชนตอการสงเสริมใหตา งชา ติเขามาลงทุนเดินไปในแนวมทางท่ีจะใหประเทศไทยเปนฐานการประกอบเพ่ือสงออก แต เ ราไมไดอะไรเลย เราตอบสนองตอการบริโภคของสินคาอิเล็กทรอนิกส คอมพิว เตอร รถยนต ให กับชา ติตา งๆ ภาษีอากรเราเก็บไดมากนอยแคไหน แตพ้ืนฐานจริงๆ ของเรากลับไมเอา ในศตวรรษท่ี 21 เปนยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ แตอาจารยทํานายวา New Economy จะเปนตัวเรงใหระบบทุนนิยมลมสลายไวข้ึน เพราะจะเปนตัวเรงใหคนกลุมนอยท่ียึดกลไกของ IT ใหรับประโยชนมากข้ึน เมื่อเปนเชนน้ัน

Page 38: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 38/54

แลวคนสวนใหญก็ไดรับความไมเปนธรรม ฉะน้ัน เราจะทําอยางไรตอระบบใหมท่ีจะเปนตัวเรงใหระบบทุนนิยมแตกสลายหรือลมสลายไวข้ึน กระบวนการเกิดเปนเมือง (Urbanization) (ใหอาน “ทฤษฎีและแนวคิดเก่ียวกับกระบวนการเกิดเปนเมือง อ.กฤช) บทท่ี 1 กลาวถึงปญหาของกรุงเทพมหานคร ขยายอิทธิพลมากข้ึนเปนลําดับ บทท่ี 2 ทําใหเขาใจความหมายของเมือง กระบวนการเกิดเปนเมือง ลักษณะของความเปนเมืองเอก (Primate City)

ชุมชนเมืองตางๆ ท่ัวประเทศ กรุงเทพมหานครเปนเมืองขนาดใหญโตท่ีสุดเพีย งเมืองเ ดียว การวัดอัตราความเปนเมืองเอกนคร โดยการเปรียบเ ทียบเมืองท่ีใหญ ท่ีสุดกับเมืองขนาดใหญรองลงมา คือ เปรียบเทียบกรุงเทพมหานครกับเ ชีย งใหม วาขนาดกรุงเทพมหานครใหญกวาเชียงใหมเทาใด เปนการวิเคราะหเชิงเศรษฐศาสตรเร่ืองเมือง พบวาขาดเมืองในระดับกลางท่ีจะ เปนตัวนําเอาผลประโยชนของเมือง กระจายไปสูหรือเอ้ือประโยชนตอการพัฒนาเกษตรกรรม

เมืองไดประโยชนจากพื้นท่ีชนบทโดยรอบหรือเอาประโยชนจากพื้นท่ีชนบทมากกวา เมืองเปนตัวแทนอุตสาหกรรม ชนบทเปนตัวแทนเกษตรกรรม ขอสรุปจากผลการวิจัยของการเขียนวิทยานิพนธปริญญาโทของนักศึกษา AIT คือ เมืองตางๆในเอเชียไดรับประโยชนทางเศรษฐกิจจากชนบทมากกวาใหประโยชนทางเศรษฐกิจแกชนบท โครงการตางๆ ท่ีเกิดข้ึนมาจากการวินิจฉัยส่ังการจากชนช้ันนําทางเศรษฐกิจสังคม ท่ีอยู ในกรุงเทพมหานคร ไมวาโครงการน้ันมีแหลท่ีต้ังในพ้ืนท่ีชนบทหรือท่ีใดก็ตาม โครงการน้ันจะ เ อ้ือประโยชนตอคนกรุงเทพมหานครมากกวา และจากการศึกษาเข่ือนยันฮี เสาไฟฟาแรงสูงจะวิ่งเขามาสูกรุงเทพมหานคร รอยละ 65 ของกระแสไฟฟา ท่ีผลิตข้ึนได ท่ัวประ เทศถูกดึงเขามาใชในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซ่ึงการผลิตกระแสไฟฟาเปนการทําลายโอกาสในการทํามาหา กินของชาวบาน เข่ือนสิริกิต์ิก็เชนเดียว กัน ชาวบานในเขตท่ีได รับผลกระทบจากโครงการเ ข่ือนดังกลาวยอมโยกยายออกไป แตกระแสไฟฟาท่ีผลิตไดกลับถูกใชในชชุมชนเมืองและเพ่ือสนับสนุนอุตสาหกรรม ในขณะท่ีพวกท่ีถูกโยกยายออกไปหรือพวกท่ีมีผลกระทบ มีชีวิตความเปนอยู ท่ี เ ลวลง และเปนกลุมท่ีไดรับหรือไดใชกระแสไฟฟาเปนกลุมสุดทาย ดานเงินออม ธนาคารระดมเงินออมจากเศรษฐกิจชนบท แตกลับปรากฏวาสินเช่ือถูกปลอยในภาคบริการอุตสาหกรรม แตปลอยใหเกษตรกรยากมาก ระบบภาษีรอยละ 92 ถูกจัดสรรในกรุงเทพมหานคร ขณะท่ีรอยละ 8 ถูกจัดแบงไปใหทองถ่ิน

Page 39: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 39/54

ถนนหนทางท่ีสรางข้ึนมาท่ัวราชอาณาจักร ต้ังแตสมัยจอมพลสฤษด์ิฯ จวบจนปจจุ บัน สวนใหญเพ่ือความสะดวกในการขนถายสินคาท่ีผลิตจากโรงงานตางๆ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล บรูซ ลอนดอน เสนอผลสรุปวา กรุงเทพมหานครเปนเมืองแบบ Parasitic city system ซ่ึงเปรียบเมืองเปนกาฝากหรือเมือพยาธิ (อานหนังสือหนา 538 เพ่ิมเติม)

การพัฒนาพื้นท่ีสามจังหวัดชายฝงทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard Development Program) (ใหอานเอกสารประกอบการสอน ฉบับท่ี 1 บทท่ี 9 “พ้ืนท่ีสามจังหวัดชายฝงทะเลตะวันออกกับการพัฒนาท่ีไมเทาเทียมกันระหวาภูมิภาคและการพัฒนาแบบพ่ึงพาระบบเศรษฐกิจของไทย”) ต้ังแตแผนฯ 5 มุงมั่นแกปญหาการขยายกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในรูปแบบของเมืองกาฝากหรือเมืองพยาธิ โดยผลักดันพ้ืนท่ี 3 จังหวัดภาคตะวันออก เพ่ือลดความแตกตางระหวา งพ้ืนท่ี วัตถุประสงคหลักของ Eastern Seaboard มี 2 ประการ คือ

1. เพ่ือลดการขยายตัวของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2. เพ่ือเปนพ้ืนฐานในการกระจายผลประโยชนไปสูพ้ืนท่ีอิสานและพ้ืนท่ีทางเหนือ ผลสรุปของอาจารย คือ เปนไปไมไดท้ัง 2 อยาง เพราะโครงการดังกลา วจะ เปนตัวตอกยํ้า

ความแตกตางกันระหวางพ้ืนท่ีในระบบเศรษฐกิจของไทย แตคุณสุธีฯ บอกวา โครงการฯ ตอกยํ้าความเปนระบบเศรษฐกิจแบบพ่ึงพาใหเขมขนย่ิงข้ึน ซ่ึงโครงการน้ีเปนแผนงานหน่ึงท่ีพยายามผลักดันประเทศไทยใหเปน NICs

ผลสรุปของอาจารยกฤช วา โครงการฯไมสามารถลดการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร เน่ืองจาก

1. จะย่ิงเปนการตอกยํ้าทําใหการขยายตัวของกรุงเทพฯ มากย่ิงข้ึน โดยเฉพาะระบบของประเทศไทย มีการพัฒนาแบบแถบร้ิวหรือแบบริบบอน โครงการ Eastern Seaboard ไมไดพนจากอิทธิพลของกรุงเทพมหานคร เพราะอยูใกลจนเกินไป

2. อุตสาหกรรมท่ีล งทุนในแหลมฉบั ง หรือมาบตา พุด เปน อุตสาหกรรม High Technology ดังน้ันสมรรถนะในการดูดซึมแรงงานตํ่า (Labour absorbable capacity)แรงงานท่ีตองการคือ วิศวกร, ชางเทคนิค หรือจบ ปวช., ปวส. ขอมูลจาก BOI พบวามูลคาในการลงทุนสูง แตโอกาสการจางแรงงานตํ่า (ใหอานหนังสือเพ่ิมเติม)

Page 40: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 40/54

ส่ิงแวดลอมและการพัฒนา วางกรอบแนวคิดโดยสังเขปคือ ทุกวันน้ีเราอยูภายใตรมของสิ่งแวดลอม และผลลลัพธืของการพัฒนาเศรษฐกิจท่ีทําใหเกิดความเสียดุลของระบบนิเวศนวิทยา เศรษฐศาสตรและสิ่งแวดลอม 1) Poverty Environment Degradation Productivity + Self – sufficiency + Income distribution Figure growth potential Success of dev. 2) Environ. Costs econ. Activities integral part of policy initiative

โครงการพัฒนาตางๆ ท่ีกูมาจากธนาคารโลก สงผลใหเกิดความยากจนและเสื่อมโทรมของส่ิงแวดลอม แสดงใหเห็นวาความยากจนและความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธกัน ความยากจนมีปฏิสัมพันธตอตัวแปร 3 ตัว คือ

1. ผลิตภาพหรือผลผลิต เมื่อผลิตภาพของเกษตรกรต้ังแตตนทุนสูง ผลผลิตตอไร ตํ่า บวกกับการดํารงชีวิตอยูอยางพอเพียง ซ่ึงเปนการดํารงชีวิตไมพอเพียงเพราะผลิตภาพตํ่า จึงยากจน บวกกับการกระจายรายไดท่ีไมเปนธรรม สืบเ น่ืองจากราคาผลิตภาพของเกษตรกรตํ่า

2. ศักยภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจในอนาคต โครงสรา งสวนบนคือกฎหมายไม เ อ้ือประโยชนตอคนสวนใหญ แตเอ้ือประโยชนตอคนกลุมนอย ผู บัญญัติกฎหมาย กลไกในการนํานโยบาย พัฒนาไปปฏิบัติไ รประสิทธิผลอันสืบเ น่ืองจากการฉอฉล

Page 41: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 41/54

งบประมาณเพียง 20% ลงในพ้ืนท่ี 40% เปนรายจายประจําของขาราชการท่ีเ ก่ีย วของ อีก 40% ถูกการฉอฉล ซ่ึงมีผลตอขอ 3 ตอไป

3. สถานภาพของการพัฒนาประสบความลมเหลวหรือสําเ ร็จมีผลตอความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอม

ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมเกิดภาวะความไรสมเหตุสมผล (Imationality) ซ่ึงกอใหเ กิดตนทุนทางสิ่งแวดลอม (Environment Costs) ซ่ึงมีปฏิสัมพันธตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซ่ึงเปนสวนสํา คัญตอการบูรณาการริเร่ิมของนโยบายตางๆ

ไทยมีพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 โครงการตา งๆ ท่ีมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมตองทํา EIA (Evolution Impact Assessment) กฎหมายฉบับน้ีกระจายอํานาจใหภูมิภาคและทองถ่ินในการจัดการเก่ียวกับส่ิงแวดลอม

Long term implications of environ. Quality economic analysis ความนัยสําคัญระยะยาวของคุณภาพสิ่งแวดลอมควรเปนสวนสําคัญในการวิ เคราะหทาง

เศรษฐกิจดวย บริบทการวางแผนพัฒนาประเทศของไทยขาดการทํา Social Impact Assessment ส่ิงแวดลอมและการพัฒนา : ประเด็นพ้ืนฐาน 1. Concept of sustainable dev.

แนวคิดของการพัฒนา ท่ียั่ งยืน (Concept of sustainable dev.) ในเ ชิงนิเวศนวิทย าและส่ิงแวดลอม คืออะไร ความหมาย หมายถึง การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจใดๆ ของคนในอนุชนรุนน้ี จะตองไมกอใหเกิดการประนีประนอม (Compromise) กับคนอนุชนในอนาคต (Future Generation) ความหมาย Compromise คือ ตองไมใหคนในอนาคตต้ังคําถาม วาคนในอนุชนรุนน้ีทําอะไรท่ีทําใหเขาตองเสียคาใชจายในเร่ืองส่ิงแวดลอมอยางมหาศาล ฉะน้ันคนในรุนน้ีจะตองมีความสําเหนียกตอการท่ีจะดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ท่ีจะสงผลกระทบหรือกอให เ กิดตนทุนทางส่ิงแวดลอมสูง การดําเนินโครงการใดๆ ท่ีคาดวา จะมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอม ตองกําหนดมาตรการในการรองรับผลอันพึงจะเกิดข้ึน เชน การปลอยนํ้าเสียตองไมปลอยจนเ กิดผลกระทบตอ

2. Population resource 3. Poverty 4. Econ. Growth 5. Rural dev. 6. Urbanization 7. Global

Page 42: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 42/54

ชีวิตของสัตวนํ้า หรือตอการบริโภค อยางเชนท่ีเกิดข้ึนท่ีมาบตาพุด หรือจากโรงงานผลิตสับปะรดกระปองท่ีประจวบฯ แนวคิดการพัฒนาท่ียั่งยืนสงผลกระทบตอการเติบโตของประชากร ประชากรยากจนมีสวนสําคัญในการทําลายความหลากหลายของชีวภาพในพ้ืนท่ีน้ันๆ เชน จุลินทรียถูกทําลายหรือการนําส่ิงแปลกปลอมของระบบชีวภูมิศาสตรของระบบนิเวศนของตนเองเขามาอยา งกรณีการนําหอยเชอรร่ีมาจากนายทุนไตหวันซ่ึงทําลายนาขาว เปนการรูเทาไมถึงการณ ในท่ีสุดก็ทําลายความสมดุลของระบบนิเวศน เปนการทําลายพ้ืนฐานในการดํารงชีวิตของคนในอนาคตไปอยางหลีกเ ล่ีย งไมได ทรัพยากรเมื่อถูกทําลายไปแลวก็ทําลายความไดเปรียบ อยางไรก็ตามแนวคิดท่ียั่งยืนสามารถรักษาทําใหคุณภาพประชากรดีข้ึน ทรัพยากรดํารงอยูสามารถขจัดปญหาความยากจน อยางกรณีผูใหญจั่น ท่ีอุบลราชธานี นําทฤษฎีใหมของในหลวงไปปฏิบัติและใชเปนแนวทางในการรักษาระบบนิเวศน ไมใชปุยเคมีแตใชปุยสด ไมใชสารเคมีเพ่ือกําจัดแมลง แตใชสารท่ีเกิดจากภูมิปญญา – สะเดา เ ทียม ตะไครหอม ขิง ขา เล้ียงปลาโดยเอาไฟดักแมลงเพ่ือเปนอาหารปลา เปนระบบท่ีสวยงาม การทําโครงการใดๆ ตองคํานึงถึงจริยธรรมของระบบนิเวศนวิทยา และความรับผิดชอบตอสังคมเปนสําคัญ นอกจากน้ีแนวคิดการพัฒนาท่ียั่งยืนสงผลตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ท่ีมีตนทุนทางส่ิงแวดลอมตํ่า ชวยขจัดปญหาความยากจนและการพัฒนาชนบท การสรา งวัฒนธรรม Green Culture คือ การพัฒนาเกษตรกรรมโดยไมใชสารเคมี ซ่ึงทํา ใหลดตนทุนทางสิ่ งแวดลอมอยา งมหาศาล เพราะจะทําใหผลิตผลทางเกษตรกรรมราคาสูงข้ึน Effection Health 2. Environ. Problem Effection Productivities ความเสื่อมโทรมทางสิ่งแวดลอม มีผลกระทบตอสุขภาพและประสิทธิภาพการทํา งาน ระบบเศรษฐกิจจะเกิดผลิตภาพตอดวย ซ่ึงเปนตนทุนของสังคมท้ังมวล มีปญหาวาการศึกษาจะชวยใหประเทศปลดแอกจากการครอบงํา จากตา งชา ติไดหรือไม หรือสามารถทําได เราดํารงตนอยางยืนหยัดไดหรือไม ซ่ึงแนวคิดหรือปรัชญาตะวันตกเปนแนวคิดท่ีแยกมนุษยจากธรรมชาติ เรารับเขามาโดยพวกนักวิชาการท่ีขาดความเฉลียวหรือไตรตรองท่ีมองวา ความคิดทางตะวันตกดีกวาภูมิปญญาหรือวิถีชีวิตแหงเอเชีย ภูมิปญญาท่ีเกิดข้ึนสามารถใชใหเปนประโยชนตอการพัฒนา ท่ียั่ งยืน และการดํารงชีวิตเยี่ยงคนตะวันออกทําใหมนุษยสามารถดํารงชีวิตสอดคลองกับธรรมชาติและเคารพธรรมชา ติ ไมวาวิถีแบบเตา พุทธ อิสลาม หรือฮินดู

Page 43: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 43/54

วิถีแหงเอเชียโดยรวมเปนส่ิงท่ีมหาธีรฯ แหงมา เลเซีย เ รียกรองใหคนเอเ ชีย หันกลับมาดําเนินวิถีชีวิตแหงเอเชีย

การนําทฤษฎีตางๆ จากตะวันตกมาใชดังเชนทฤษฎีของ IMF เ ห็นไดอยา งชัดเจนวาการกําหนดมาตรการฟนฟูเศรษฐกิจตางๆ ประสบความลมเหลวอยางสิ้นเ ชิง อันเ กิดจากการขาดการจําแนกถึงลักษณะพิเศษของสังคมและความหลากหลายของวัฒนธรรมไทย

นอกจากน้ันยังไมสามรถนําทฤษฎีตา งๆ ทางตะวันตกมาวิ เคราะหปรากฏการณทางการเมืองดังเชนการปกครองประเทศโดยพลเอกเปรมฯ ท่ีหากพลเอกเปรมฯ ปกครองประเทศไปอีกสักพัก ประเทศก็จะมั่นคงรุงเรือง แตนักประชาธิปไตยจากทางสังสังคมตะวันตกกลับพูดถึงวาระการดํารงตําแหนงซ่ึงพ้ืนฐานของไทยยังกระทอนกระแทน

ปญหาและนโยบายในประเทศ โดยเฉพาะปญหาความยากจนยังแกไขไมได การวางงานท่ีเพ่ิมข้ึน แตรัฐยังบอกวาอัตราการวางงานลดลง ปญหาคาจางแรงงานท่ีฝายนายทุนนายจา งตองการกดคาจาง แตฝายลูกจางตองการเพ่ิมคาจาง เพราะคาจางแรงงานของไทยตํ่า และดานระบบ Social Selfty Net ระบบเงินประกันสังคมเมื่อตกงานก็ใชไมได ท้ังๆ ท่ีคนตกงานนาจะไดเงินประกันสังคมแลว ซ่ึงเราลอกระบบมาจากตะวันตกมาทํา แตก็ไมไดผล เน่ืองจากวิธีปฏิบัติเปนแบบคนไทยจึงไมไดผล เพราะรับถูกยึดครองโดยนายทุน และนักการเมืองตองเอาใจนายทุน ปญหาในประเทศก็ยังไมไดรับการแกไขเพราะเราบริหารประเทศแบบหลงทางโดยไมได คํา นึงถึงพ้ืนฐานท่ีแทจ ริง ท่ีผูบริหารตองออนนอมถอมตน มีเมตตากรุณา มีภาวะผูนํา

สวนท่ี 3 ปญหาและนโยบายตางๆ ในระดับระหวางประเทศ 3.1 ทฤษฎีการคาและประสบการณในการพัฒนาประเทศ

3.1.1 ประเด็นความสําคัญของการคาและการเงินระหวางประเทศ ไทยมักสงออกสินคาปฐมภูมิเปนสําคัญ ดังในอดีตเมื่อ 900 ป ท่ีแลว นาน สงออกเกลือ

สินเธาว สมัยสุโขทัยก็นําเอาชาวสังคโลกของจีนมาใช สมัยพระเจาตากก็สงงาชา งของปา ไปแลกกํามะถันมาทําเปนกระสุนดินดํา กับกระทะเหล็กท่ีนํามาหลอเปนปน อันเปนการนํา เอาสินคาปฐมภูมิไปแลกสินคาอุตสาหกรรม สมัย ร.4 สงชางไปอเมริกาเพ่ือชวยสงครามสมัยลินคอนน สมัย ร.5 สินคาสวนใหญท่ีสงไปเปนสินคาของปา หัตถกรรม และนําเขาสินคา ฟุม เฟอยของกลุมคนสังคมช้ันสูง เราเรียกภาวะน้ีวา การพ่ึงพาสินคาสงออกโดยอาศัยสินคาปฐมภูมิเปนสํา คัญ นํา ไปสูภ าวะความเสี่ยงของความไมแนนอน ท้ังราคา การมีคูแขงขันทางการคา การกีดกันทางการคา

สมัยจอมพลสฤษด์ิฯ ก็เช่ือฝร่ังวาตองพัฒนาอุตสาหกรรม ทําใหเกิดการผลิตสินคาทดแทนการนําเขาท่ีผิดหลักการ มีการสั่งนําเขาวัตถุดิบ เคร่ืองจักร สินคาท่ีเปนทุน สินคาข้ันกลางเ พ่ือผูผลิต

Page 44: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 44/54

และสินคาบริโภคตางๆ เพ่ือกอใหเกิดการขยายตัวดานอุตสาหกรรม และตอบสนองการจูงใจในการบริโภคของนอกท่ีมากข้ึน

ภาวะการคาระหวางประเทศเกิดข้ึนเมื่อใดก็ตามท่ีการนําเขาสูงกวาการสงออก ปจจุบันการนําเขาสินคามาผลิตยานยนต เกิดการเกินดุลจากการกูหน้ีเขามามาก ถาไมสามารถแกไข Real Sector ได สืบเน่ืองจากภาวะกับดักสภาพคลอง ก็จะเขาสูระบบธุรกิจทุนนิยม คือมีท้ังขา ข้ึนและขาลง แตไทยยังไมข้ึนเลย และเมื่อมีการนําเขาสูงกวาการสงออก มักจะเกิดภาวะการขาดดุลชําระ เงิน และสงผลการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account) เน่ืองจากบัญชีทุนลดลง อันเ กิดจากการไหลออกของเงินทุน คาเงินออนตัวลง หรือตลาดหลักทรัพยของไทย ซ่ึงเปนการเก็งกํา ไรโดยการคา หุน และการนําเงินไปฟอกเงินในตางประเทศ

การเกิดภาวะการขาดดุลเกิดข้ึน ประกอบหน้ีสาธารณะท่ีเพ่ิมข้ึนมหาศาล บวกกับการไหลออกของเงินทุนอยางรวดเร็ว (Capital Flight) และการลดลงของเงินทุนสํารองระหวา งประ เทศ ปรากฏการณคร้ังน้ีนําไปสูการเขาโครงการ IMF อันเปนการนํา เอามาตรการการเงินการคลังท่ีเขมงวดมาใช ทําใหเกิดการชลอตัวทางเศรษฐกิจ ความยากจน การวา งงาน สงผลกระทบให เ กิดความลาชาในการพัฒนา สืบเน่ืองจากการนํานโยบายเศรษฐกิจมหภาคไปปฏิบัติในหลายๆ ดาน เชน ปญหา LAG ปญหาการเรียนรูสถานการณท่ีแทจริง ความลาชาในการบริหาร ทํา ให เ กิดผลกระทบตอประสิทธิผลของนโยบาย ยิ่งนโยบายหรือมาตรการท่ีกําหนดไม เหมาะสมและไม ถูกตองตอสถานการณ จะกอใหเกิดผลลัพธท่ีไมคาดหวัง (Unexpected resause) และมี Hidden Agenda เชนกรณี มาตรการ 14 สิงหาคม 2541 เกิดกระบวนการแปลงสภาพทรัพย สินของคนไทยไปเปนของตางชาติ เชนธนาคารท้ังหลาย และกอใหเกิดการจํากัดในการกําหนดและดํา เ นินการกลยุทธทางเศรษฐกิจและการเงินท่ีพึงปรารถนาของสังคมไทยอยางแทจริง

การเปดประตูระบบเศรษฐกิจ คือ การเปดใหมีการไหล การโอนสินคาและทรัพยากรทางการเงินอยางสะดวกมากข้ึน เชนนโยบาย BIBF ท่ีการนําเงินเขามาไดอยางสะดวก หรือการลดพิกัดอัตราภาษีศุลกากรรถยนตสมัย นายกฯ อนันต ทําใหเกิดการนําเขารถยนตมาอยางมากมายบวกกับอิทธิพลท่ีสงเสริมการพัฒนาและการตอตานการพัฒนา เชน

1. การโอนเขามาของเทคโนโลยีของการผลิต ดังเ ห็นวา เ รา นํา เขา สินคา ท่ีเปนทุนในอัตราสวนท่ีสูงกวาส่ิงนําเขาอ่ืนๆ และเราก็ตองเสียเงินตราระหวางประเทศออกไป

2. แบบแผนในการบริโภค เราถูกชักนําใหบริโภคแบบตะวันตก อยากเปนอยา งฝร่ัง ท้ังการแตงตัว การบริโภคไวนราคาแพง รถยนตราคาแพง อาหาร Junk Food

3. การจัดระบบองคการและสถาบันเยี่ยงตะวันตก เชน Good Bank- Bad Bank เพ่ือแสวงหาผลประโยชนจากซากทรัพยสินของระบบเศรษฐกิจไทย

Page 45: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 45/54

4. ระบบการศึกษาทางสาธารณสุขและระบบสังคม ปจจุบันเราพยายามจะเอาสถาบันการศึกษาจากนอกระบบ สืบเน่ืองมาจากสถาบันการศึกษาขามชาติท่ีไมคอยมีคนเขาเรียน

5. คานิยมโดยท่ัวไป มีการนําอุดมคติแบบการดํารงชีวิตของประเทศท่ีพัฒนาแลวท่ีนํามาใชอยางไมถูกตอง เชนการแตงตัวท่ีไมเหมาะสมกับสภาพอากาศ

ดังน้ันเราจําเปนตองทําความเขาใจถึงผลกระทบของการโอน นําเขาเทคโนโลยี แบบแผนและวิ ถีก าร ดํา เ นิ นชี วิตทา งเ ศรษฐ กิจ สั งคม วัฒนธ รรม ยอ มส งผ ลถึ งลั กษณะ ของกระบวนการพัฒนาเชิงบวกและเชิงลบ ซ่ึงข้ึนอยูกับโครสรางทางการเมือง ทางสังคมและสถา บันของประเทศผูรับและลําดับความสําคัญในการพัฒนาภาวะผูนํา ท่ีแตกตา งกันซ่ึงไทยขาดผู นํา ท่ีมีลักษณะเปนรัฐบุรุษ ดังเชนท่ีมาเลเซียมีมหาธีร

ทฤษฎี ไข หิน กับแสงแดด โดย เหมาเจอตุง ท่ีแสดงให เ ห็นถึงความสํา คัญของปจจัยภายนอกและปจจัยภายในของสังคมโดยไขกับหินมีโครงสรางภายในแตกตางกัน

ไข แดด ฟกตัวเปนลูกไก (กรณีเปนไขไก) แต หิน แดด ก็ยังคงเปนหิน แสดงใหเห็นวาแมจะไดรับอิทธิพลภายนอกเทากันก็ตาม แตผลท่ีไดแตกตา งกัน ดังเชน

สังคม ไทย มาเลเซีย เกาหลีใต มีภาวะวิกฤตเชนเดียวกันแตการฟนตัวตางกัน

การพิจารณาทางเลือกท่ีจะดําเนินนโยบายตางประเทศ 1. นโยบายมองออกไปขางนอก (Look Outward) เพ่ือดูลูทางทางการคา การลงทุนมุงการสงเสริม

การสงออกเพ่ือใหมีเงินตราเขามาในประเทศ โดยประเทศเราผลิตสินคา อุตสาหกรรมเ พ่ือการสงออก โดยอาศัยทุนตางประเทศท้ังส้ิน กลาย เปนอุตสาหกรรมปลาย นํ้า ในการประกอบช้ินสวน สวนสินคาตนนํ้าน้ันตองนําเขามาท้ังส้ิน ซ่ึงเราขาดการสรา งเทคโนโลยีของตนเอง ขาดการสงเสริม SMEs ใหเปนฐาน เราตองการลงทุนขนาดใหญเพ่ือให เ กิดความเจ ริญเ ติบโตทางเศรษฐกิจ สวนภาคเกษตรกรรมก็สงสินคาปฐมภูมิ ท่ี เ ส่ีย งและไมแนนอน และประสบภาวะการกีดกันทางการคา

2. นโยบายมองเขามาขางใน (Look Inward) ผลิตสินคาทดแทนการนําเขาท้ังดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม แตยังประสบการชําระเงินออกนอกประเทศจากการซื้อวัตถุดิบทุน

3. แนวทางท่ีบูรณาการแนวทางท้ังสองเขาดวยกัน แตแนวทางใดจะเหมาะสมตองนํามาวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และการบริหารเชิงกลยุทธ

3.1.2 คําถามพื้นฐาน 5 ประการเก่ียวกับการคาและการพัฒนาประเทศ

Page 46: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 46/54

1. การคาระหวางประเทศจะสงผลกระทบตออัตราโครงสรางของความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศในลักษณะใด

2. การคาระหวางประเทศหรือการสงเสริมการสงออกท้ังจากภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมสามารถกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงในการกระจายรายไดและความมั่งค่ังของประเทศอยางไร - ทําใหเกิดการกระจายรายไดอยางเปนธรรมไดหรือไม หรือยิ่งทําใหเกิดการกระจุกตัวของรายไดยิ่งข้ึน

3. การคาระหวางประเทศจะชวยใหบรรลุจุดมุงหมายของการพัฒนาภายใตเง่ือนไขอะไร - จําเปนหรือไม ท่ีตองกอใหเกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมากๆ หรือความเทาเทียมกันทางสังคม ซ่ึงภาคเกษตรตองไดรับการโอบอุม ถาคา เ งินออน เกษตรกรก็จะไดรับประโยชน และลูกหน้ีตางประเทศเดือดรอน ถาคาเงินแข็ง เกษตรกรเ ดือดรอน จึงตองหาคาท่ีเหมะสม

4. การคาระหวางประเทศสามารถกําหนดปริมาณการคาเองไดหรือไม ตามความ เ ห็นของอาจารยบอกวาไมได เพราะขาดการวางแผนการผลิต หากรัฐเขามาก็จะกลาย เปนวา รัฐเขาไปแทรกแซง

5. เราควรเลือกแนวทางใดใน 3 แนวขางตน ในประเทศดอยพัฒนาควรใชนโยบายท่ีเรียกวา Outward Looking Policy (การสงเสริมการสงออก) หรือไม เ ราควรเ ลือกใชนโยบายอยางไร - จากการประชุมอังคถัดท่ีผานมา ไทยไดรับคําชมวา เปน Good boy แต Bad boy อยา งมาเลเซียเสนอวิสัยทัศนวา ตองสรางสถาปตยกรรมทางการเงินในระดับโลกข้ึนใหม (มหาธีรฯ) ประเทศดอยพัฒนาตองระวังการควบรวมกิจการของบริษัทขามชาติยักษใหญ เพราะเปนอันตรายตอการพัฒนาประเทศ (โกะ โจะ ตง – เกาหลีใต) ตอมาไมนาน ก็มีเงินทุนตางชาติไหลออกจากตลาดทุนของไทยไปยังมาเลเซีย เพราะมองเ ห็นปจจัยทางการเมืองของมาเลเซียมีความมั่นคง แสดงใหเห็นไดวา ฝร่ังไมไดสนใจความเปน Bad boy หรือ Good boy แตสนใจถึงการแสวงหาประโยชนท่ีไดรับ - เราไมมีรัฐบุรุษ กอใหเกิดการสับสนในแนวทางท่ีไมแนนอน

3.1.3 ความสําคัญของการคาตอการพัฒนาประเทศ มีการเปล่ียนแปลงสินคาสงออกจากสินคาปฐมภูมิเปนสินคาอิเล็คทรอนิกส ป 2529 ไทยสงออกนํ้าตาลอันดับ 4 ของโลก ยางพาราอันดับ 3 ขา ว อันดับ 1 (ปจจุ บันคง

ไมใช) ขาวโพดอันดับ 2 ดีบุกอันดับ 3

Page 47: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 47/54

ป 2541 ไทยกําหนดเปาหมายการสงออก US$ 62,000 ลาน ซ่ึงเพ่ิมข้ึนจากป 2540 ถึง 7.1% ของกลุมสินคาจําพวกอิเล็คทรอนิกส เคร่ืองใชไฟฟา 30% ส่ิงทอ 10% ๖ส่ิงทอเราลาหลัง) อาหารแปรรูป 8.5% ขาว 3.5% เคร่ืองประดับ 3.2% ยานพาหนะและช้ินสวน 2.8% ยางพารา 2.7% เม ล็ดพลาสติกและผลิตภัณฑ 2.7% รองเทาและ ช้ินสวน 2.1% รวม 6.5% ท่ี เหลือ 3.5% เปนสินคาเบ็ดเตล็ด สวนกลุมประเทศท่ีสงออกแบงเปน เอเชีย 20.5% อเมริกา 20.3% ยุโรป 16.3% ญ่ีปุน15% แสดงใหเห็นไดวา ไทยพ่ึงพาการสงออกยังอเมริกาและญ่ีปุน และถาหากสองประเทศน้ีเ กิดประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ ไทยก็จะไดรับผลกระทบอยางมาก การนําเขา ก็เชนเ ดียว กัน เ รา นํา เขาวัตถุดิบจาก 2 ประเทศน้ีเปนจํานวนมาก

และจากขอมูลจากกรมเศรษฐกิจการพาณิชยระบุวา เศรษฐกิจไทยอยูในภาวะท่ีถดถอย แมจะมีการสรางตัวเลขข้ึนมาวาเศรษฐกิจฟนแลว แตก็เปนตัวเลขท่ีไมแทจ ริง เพราะ เปนตัว เลขของอุตสาหกรรมรถยนต ซ่ึงเปราะบาง ถาดูตัวเลขท่ีแทจริง ไทยยังอยูกนเหว

3.1.4 ทฤษฎีการคาระหวางประเทศแบบดั้งเดิม เ ดิม Classical Model หรือเ ศรษฐศา สตรแนว Classic หรือ Neo Classic ซ่ึง เป น

เศรษฐศาสตรแบบทุนนิยม ทฤษฎีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบของการคาเสรี แสดงใหเห็นความสันทัดและความ

ชํานาญเฉพาะอยางในการดําเนินการคาระหวางประเทศ แตตัวแบบน้ีถูกวิจารณวาต้ังอยูบนพ้ืนฐานตัวแปรเดียวคือตนทุนดานแรงงาน (เกาหลีใตใชทฤษฎีน้ีอยู)

ทฤษฎีขางตนถูกพัฒนาโดยนักเศรษฐศาสตรชาวสวีเดน ดวยการนําปจจัยอ่ืนๆ มาพิจารณา โดยมีการนําเอาความแตกตางในอุปทานปจจัยการผลิต Factor Supply เชนท่ีดินราคาแพงหรือไม เปนทฤษฎีท่ีต้ังอยูบนพ้ืนฐานการพรอมเพรียงของปจจัยการผลิต ซ่ึงมีขอเสนอ 2 ประการ คือ

1. ผลิตภัณฑท่ีแตกตางกันยอมตองการปจจัยการผลิตท่ีแตกตา งกันในสัดสวนโดย เ ชิงสัมพัทธ

2. ประเทศตางมีความพรอมของปจจัยการผลิตท่ีแตกตางกัน ดังน้ัน จะผลิตอะไรตองต้ังบนฐานทางเศรษฐกิจท่ีสําคัญ - ประเทศไทยเดินหลงทาง ในการกําหนดกลยุทธในการพัฒนา อุตสาหกรรมโดยไมไดต้ังอยูบนพ้ืนฐานความพรอมเพรียงของปจจัยการผลิต แตกลับสงเสริม เอกชนตางชาติลงทุนเพ่ือใหประเทศเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม เชน ผลิตรถยนต ท้ังๆ ท่ีไมมีเทคโนโลยี ดังน้ันจึงตองใหสิทธิประโยชนกับตางชาติทีมาลงทุน แตกลับละท้ิงความไดเปรียบท่ีสําคัญดานเกษตรกรรม

ทฤษฎีการคาและการพัฒนา ท่ีนักทฤษฎีสงเสริมการคาเสรีมักโตแยงวา าการคา ระหวา งประเทศหรือการคาเสรี

Page 48: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 48/54

1. เปนตัวกระตุนหรือสงเสริมความเติบโตทางเศรษฐกิจ 2. เปนตัวสงเสริมความเทาเทียมกันระหวางประเทศและภายในประเทศใหกวา งขวาง

ยิ่งข้ึนโดยทําใหราคาของปจจัยการผลิตมีความเทาเทีนยมกัน 3. เปนตัวทําใหเกิดสัมฤทธิผลของการพัฒนา 4. เปนตัวกําหนดปริมาณการคาของแตละประเทศท่ีควรจะดําเนินการคา 5. เปนตัวสงเสริมความเจริญ และนักเศรษฐศาสตรการคาเสรีมักจะสนับสนุนนโยบาย

การคาระหวางประเทศท่ีมองออกไปขางนอก

3.1.5 ขอวิพากษวิจารณตอทฤษฎีดั้งเดิมวาดวยการคาเสรีในบริบทของประสบการณในประเทศโลกท่ีสามโดยเฉพาะประเทศไทย

นักเศรษฐศาสตรการเมือง หรือนักเศรษฐศาสตรพัฒนา รวมถึงมหาธีรฯ วิพากษวิจ ารณตอทฤษฎีการคาเสรีแบบด้ังเดิม เพราะการพิจารณาประสบการณและขอมูลเชิงประจักษ โดยวิจารณวาทฤษฎีการคาระหวางประเทศแนวนีโอคลาสสิคมีผลกระทบตอประสิทธิภาพ ความเทา เ ทียมกัน ความมีศักยภาพ และการเติบโตทางเศรษฐกิจ

การคาเสรี เปนตัวทําใหเกิดประสิทธิภาพเศรษฐกิจแบบสถิต (ทํา ใหคนกลุม เ ดียวได รับประโยชนและกระตุนการกระจุกตัวของรายได) และนําไปสูการบริหารแบบสถิตเชนเดียวกัน

การคาเสรีไดรับการวิจารณวาดํารงอยูในฐานะท่ีเปนทฤษฎีมากกวาการปฏิบัติ และประเทศมหาอํานาจทางการเงินและเศรษฐกิจใชเปนขออางในการเอารัดเอาเปรียบคูคา

ประเทศในโลกท่ีสามตองดําเนินบทบาทในโลกแหงความเปนจริงในโลกแหงการคา ท่ีไมสมบูรณของการคาท่ีไมเทาเทียมกัน ในการเอารัดเอา เปรียบประเทศกํา ลังพัฒนาหรือประ เทศยากจนท้ังหลาย

ทุกวันน้ีมีการกลาวถึงตัวแบบเหนือใต ซ่ึงเปนแบบของการแลกเปล่ียนซ่ึงต้ังอยูบนพ้ืนฐานการพิจารณาโลกแหงการเปนจริงของการแขงขันแบบไมสมบูรณ การคาหรือการแลกเปล่ียนท่ีไมเทาเทียมกันหรือผลกระทบท่ีเปนพลวัตรของความเติบโตของทรัพยากรมนุษยและ เทคโนโลยี ท่ีแตกตางกัน

นายกมหาธีรเคยเสนอใหต้ัง Sub Regional Block โดยอาศัยความรวมมือระหวางมา เลเซีย ไทย อินโดนีเซียและสิงคโปร ดําเนินการแลกเปล่ียนสินคาและการคาตางตอบแทน

นโยบายการคาและอุตสาหกรรมของไทย

ทศวรรษท่ี 60 (1960) กระบวนการพัฒนาอุตสาหกรรมเกิดข้ึนเพ่ือผลิตทดแทนสินคา นํา เขา ท่ีมีการปกปองสูงแตการนํา เอา Import Substitution Strategy มาใช เปนการนํามาใชอยา งผิด

Page 49: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 49/54

หลักการเพราะการผลิตสินคาทดแทนการนําเขาตองต้ังอยูบนพ้ืนฐานของการพ่ึงพาตนเองตองดําเนินการในลักษณะการเรียนรูจากการทําและพัฒนาเรียนรูเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม

แตรัฐบาลไทยในขณะน้ันถูกแรงกดดันจากจักรวรรดินิยมอเมริกันท้ังๆ ท่ีไมมีทุนและไมมี Know how จึงตองทําการสงเสริมบริษัทขามชาติจากสหรัฐอเมริกา อันเปนการกอตัวของระบบทุนนิยมแบบพ่ึงพาในประเทศไทยในทุกๆดาน แตอยางไรก็ตามอัตราความเติบโตของมูลคาเพ่ิมในดานอุตสาหกรรมสูงถึง 11 % แตสวนแบงในภาคปฐมภูมิกับลดลง ส่ิง ท่ีมาทดแทนคือสินคา อุปโภคบริโภค ผลิตภัณฑปโตรเลียมและสินคาช้ันกลางบางอยาง

ทศวรรษท่ี 70 (1970) ในชวงแผน 3 ถือเปนชวง Pre Take Off หรือชวงเตรียมทะยานออกเร่ิมนําเอากลยุทธการสงเสริมการสงออกมาใชสงผลใหเกิดการเพ่ิมผลผลิตในอัตรา 10% ตอปอยา งตอเน่ืองในสินคาประเภทเคร่ืองนุงหม เคร่ืองใชไฟฟา อุปกรณยานยนต เปนตน

ชวงคร่ึงแรกของทศวรรษท่ี 80 (1980) (พ.ศ. 2523-2532) เกิดความวุนวายของภาวะทางเศรฐกิจและการเมืองจนตองมีการลดคาเงินบาทในป 2524 และ 2527 ทําใหผลการดํา เ นินงานทางเศรษฐกิจท่ีไมสม่ําเสมอ แตป 2529เกิดการเติบโตอยางมากในสินคาสงออกการลงทุนก็ได เ ร่ิมตนข้ึนใหม ในชวงน้ันไทยไดเปนผูนําโลกในการกอใหเกิดความเติบโตในผลิตภัณฑมวลรวม (GDP)มากกวา 11 % ตอป ในระหวางป 2531-2533

ป 2534-2535 เกิดความวุนวายทางการเมืองเศรษฐกิจลดลงเหลือ 7 % กลางทศวรรษ 80 (2533-2540) ประมาณการอัตราการเติบโตท่ี 8 % เกิดการโกง VAT สงตู

Container เปลาออกไป แลวมาขอ VAT คืนเปนจํานวนหลายหมื่นลาน น่ันหมาย ถึงการนํา เอาตัวเลขตางๆมาคํานวณ และไมมีความถูกตอง

ป 2508 การสงออกสินคาอุตสาหกรรมมีเพียง 4% ของมูลคาการสงออกท้ังหมด ป 2533 เพ่ิมเปน 64%

หน้ีสินระหวางประเทศ (หน้ีสาธารณะ) อานบทความอิทธิพลขององคการระหวางประเทศและรัฐบาล ตางประเทศท่ีมีตอนโยบาย

เศรษฐกิจไทยแมวาจะเปนกรณีเฉพาะวาดวยธนาคารโลกแตกรอบดังกลาวสามารถนํามาใชในการพิจารณาในการขอเงินจาก IMF ได

Page 50: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 50/54

สวนท่ี 4 ความเปนไปไดตางๆ และโอกาสสําหรับความสําเร็จในอนาคต

การทบทวนกลยุทธการพัฒนาประเทศและการแสวงหากลยุทธท่ีเหมาะสมสําหรับระบบเศรษฐกิจของไทย ประเทศอุตสาหกรรมใหม (NIC) Newly Industrialization Country กลุมนักวิชาการและนักธุรกิจการเมืองตองการใหประเทศเปน NIC ตามตัวแบบท่ี 1

1. การเรงรัดพัฒนาอุตสาหกรรม ท่ีผลิตสินคาแทนการนําเขา ท่ีผิดหลักการ ตอมามีการเปล่ียนเปนการพัฒนาอุตสาหกรรมเพ่ือการสงออก ทํา ใหไทยกลาย เปนประ เทศทุนนิยมแบบพ่ึงพา

2. มีความเช่ือวาการพัฒนาเมืองจะเปนการกระจายผลประโยชนไปสู พ้ืนท่ีตา งๆ ไปสูชนบทและเมืองท่ีเปนท่ีต้ังของอุตสาหกรรม เพราะลักษณะกลยุทธสินคาท่ีมุงไปสูการบริโภคเปนสําคัญ จึงเลือกท่ีต้ังในกรุงเทพและปริมณฑลเปนท่ีต้ังของฐาน

3. การกําหนดลําดับความสําคัญของการพัฒนา โดยอาศัยกลไกลลาด กลไกลาดหมาย ถึงการทําอะไรตองมีกําไร เมื่อมีการวิเคราะหความ เปนไปไดของโครงการ ถามีการวิเคราะหดานการเงิน (Financial Analysis) ซ่ึงตองมีการประมาณการรายรับรายจายไปตามอายุของโครงการ ประมวลแลวเปนคา IRR ( Internal Rate Return ) ถาโครงการท่ี 1 ใหคา IRR รอยละ 20 โครงการท่ี 2 ใหคา IRR รอยละ 25 เมื่อหักคา เสีย โอกาสในการใชทุนคืออัตราดอกเบ้ีย คือ รอยละ 15 โครงการท่ี 1 เหลือ Margin = 5 Fโครงการท่ี2 เหลือ Margin = 10 โครงการท่ี 2 ก็จะไดเลือก คือใชกลไกตลาดมา กําหนดลํา ดับความสําคัญของการพัฒนา

4. การวัดความสําเร็จของการพัฒนาโดยวัดท่ีรายไดประชาชาติตอหัว วัดท่ีผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ สมรรถนะในการผลิตสินคาหรือบริการหรือวัดท่ีวัตถุมั่นเอง

5. เพ่ือกอใหเกิด GDP มากๆ จึงตองใชทุนเขมขนในการผลิตซ่ึงทุนตางชาติมีความพรอม 6. วางแผนแบบรวมอํานาจไวสวนกลาง 7. ตกอยูในภาวะตองพ่ึงพาตางชาติ กําหนดมาตรการ BOI ข้ึนมา 8. เทคโนโลยีท่ีทันสมัยอันไมมีการถายโอน กอใหเกิดการเติบโตแบบไมสมดุล 9. นักเศรษฐศาสตรในขณะน้ันเช่ือวาถาเรงรัดพัฒนาอุตสาหกรรมใหมีการเติบโตแลวแม

ไมสมดุลในเบ้ืองตนตอไปจะมีกลไกสงผลกระทบตอการแผกระจายไปสูภาคการผลิตและกลุมคนอ่ืนๆ เชน แรงงานจากเกษตรกรรมถายโอนไปยังอุตสาหกรรม

10. มีผลดีตอภาคเกษตรกรรมนองมาก แตเอาประโยชนจากภาคเกษตรกรรมมหาศาลในรูปของแรงงานราคาถูก ท่ีดิน วัตถุดิบ อาหาร ฯลฯ โดยมุงสูผลทาเศรษฐกิจเปนสําคัญ

Page 51: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 51/54

11. ไมสนใจในเร่ืองผลทางสังคม และท่ีผานมา เปนแบบมุงไปทางสังคมสงเคราะห ชาวบานเดือดรอนทีก็ไปแจกของที ผลิตผลทางการเกษตรราคาตกตํ่า ถา ไมมีการเดินขบวนก็ไมไดข้ึนไมมีการโอบอุมหรือสรางภูมิคุมกันตอเศรษฐกิจให กับเกษตรกรอยางแทจริง

จุดมุงหมาย เพ่ือความมีประสิทธิภาพ โดยวัดจากอัตราการเติบโตของรายไดประชาชา ติของ GNP หรือมวลผลิตภัณฑรวมภายในประเทศ (GDP) ความมีสมเหตุสมผลจึงเปนความมีสมเหตุสมผลของกลไกตลาด ตนทุนตํ่าท่ีสุดแตมีประสิทธิภาพสูงสุด

การปลดคนงานออกจึงเปน Market Rationality เพราะคนลนงาน เพ่ือประสิทธิภาพ ตนทุนตํ่าลง หรือเพ่ือขีดความสามารถในการแขงขัน ท่ี เมื่อมีการเปล่ียนแปลงอัตราสวนของทุน ใชเคร่ืองจักรแทนคนงาน ก็ตองปลดคนงานออกตามระบบ Market Rationality

นักเศรษฐศาสตรแนวทุนนิยมบอกวา กลุมท่ีดีท่ีสุดคือ กลุม ทุน ซ่ึง เปนคนกลุมนอย โดยสรางใหคนกลุมนอยใหมั่งค่ังเสียกอน เพ่ือเปนผลกระทบตัวคูณไปสูกลุมคนอ่ืนๆ

การเลือกทางเดินของไทยในทศวรรษท่ี 20 ท่ีจะเลือกยุทธศาสตรในการเปน NIC ประเทศไทยก็จะเปนเพียงฐานการผลิตเพ่ือการสงออกของทุนตางชาติผนวกกับทุนไทยสวนหน่ึง ซ่ึงตอกย้ํ าการเปนทุนนิยมระบบพ่ึงพา และเปนอาณา นิคมทางเศรษฐกิจสมัย ใหมของประ เทศทุนนิยมอุตสาหกรรมกาวหนาโดยสิ้นเชิง

1. แมวาอาจจะมีการขยายตัวในทางเศรษฐกิจขาข้ึน แตเมื่อถึงจุดสูงสุด ก็จะเขาสูวงจรขาลง และเมื่อติดลบก็จะถึงชวงตกตํ่า และทรงตัวอยูในระดับกนเหว ดังเชนในปจจุ บัน และตองใชระยะเวลาในการฟนตัว การผลิตสินคาสงญ่ีปุนและสหรัฐอเม ริกา ท่ีตองพ่ึงพาทุน เทคโนโลยี วัตถุดิบและสินคาช้ันกลางในสัดสวนเกิน 50% ก็จะ เ กิดการขาดดุลการชําระเงินท่ีเร้ือรัง

2. ผลการพัฒนาจะกอใหเกิดความไมสมดุลคือ 2.1 ปญหาทางสังคม 2.2 ความเหล่ือมลํ้าของรายได 2.3 ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 2.4 เกิดชองวาของการออมและการลงทุน 2.5 แนวโนมของวัตถุนิยมในการบริโภคของนอกมากข้ึน 2.6 แมการลงทุนสูง แตตองพ่ึงพาเทคโนโลยีท่ีไมมีการถายโอน 2.7 แมระบบกาวหนา แตสังคมยังมีปญหามากมาย 2.8 เศรษฐกิจอุตสาหกรรมขยายตัว ทําใหภาคเกษตรกรรมตองรับภาระ

ประเทศเกษตรกรรมใหม (NAC) Newly Agricultural Country

Page 52: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 52/54

เปนการสรางเกษตรกรรมอันเปนสังคมกลุมใหญใหเขมแข็ง ใหเปนไปตามทฤษฎีใหมของในหลวง เพ่ือสรางเกษตรกรรมใหเขมแข็ง อันเปนการกลับมาดูพ้ืนฐานท่ีแทจริงตามธรรมชา ติของไทย และนําไปสูทางเลือกท่ีสามอยางเก่ียวเน่ืองสัมพันธกัน เพ่ือความเทาเทียมกันทางสังคมกลุมใหญ องคประกอบของ NAC

1. เนนการพัฒนาเกษตรกรรม 2. พัฒนาชนบทอยางแทจริง 3. กําหนดความจําเปนพ้ืนฐานโดยใชกลไกทางการเมืองระดับทองถ่ินเปนผูกําหนด 4. การวัดความสําเร็จตองวัดจากระดัยสวัสดิการสําหรับบุคคลท่ีพึงอยูไ ดอยา งมี

ประสิทธิภาพ 5. เพ่ือใหทุกคนมีงานทํา จึงตองใชแรงงานเขมขนในกระบวนการผลิต 6. การวางแผนตองอาศัยการมีสวนรวมของประชาชนเปาหมายอยางมีปฏิสัมพันธ คือ

การมีสวนรวมในการคิด คือการกําหนดนโยบาย มีสวนรวมในการทํา คือการนํานโยบายไปปฏิบัติ และมีสวนรวมในการรับ คือตองได รับผลประโยชนของการพัฒนาและนโยบายอยางท่ัวถึง มีสวนรวมในการประเมินผลลัพธ

7. เนนพ่ึงพาตนเอง 8. ใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมหรือพัฒนาในทองถ่ินเ พ่ือไมตองพ่ึงพา เทคโนโลยีของ

ตางชาติ 9. พัฒนาสาขาการผลิตแบบผสมผสาน อุตสาหกรรมตองผลิตเ พ่ือประโยชนภาค

เกษตรกรรม ไมใชเอาประโยชนจากภาคเกษตรกรรมอยางเดียว 10. การบรรลุผลตองมีท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองควบคูกันไป 11. การพัฒนาชนบทมุงการผลิตสวัสดิการ เชน สหกรณออมทรัพย

บูรณาการตัวแบบ NIC กับ NAC มาเปนตัวแบบใหม คือ NAIC คือประ เทศอุตสาหกรรมการเกษตรกรรมใหม หรือประเทศเกษตรอุตสาหกรรมใหม ตัวอยางคือ ทําใหผลิตภัณฑสวนท่ีเหลือจากการบริโภคมาแปรรูป เชน นําขาวฟางมาทําเยื่อกระดาษ การนําแกลบมาทําแผนกันความช้ืน นํารําไปทํานํ้ามันรําไปสูการบริโภคและทํา ลิปสติก ฯลฯ ทําใหเกิดมูลคาเพ่ิมท่ีสูงมาก นอกจากน้ียังมีในภาคกสิกรรม ประมง ปศุสัตว ปาไม ฯลฯ

1. ยุทธศาสตรอุตสาหกรรมการเกษตร 2. ความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบทางธรรมชาติของไทย 3. การพัฒนาเปนศูนยกลางการผลิตอาหาร ท่ีสรางมูลคาเพ่ิม ท่ีสามารถเล้ียงคนท้ังโลก 4. ทําใหผลิตภัณฑผลปฐมภูมิมีมูลคาสูงข้ึนมาก

Page 53: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 53/54

5. ปจจุบันตองปรับโครงสรางการคิดหรือวิธีคิดกันใหม เพ่ือยอมรับวา ประเทศไทยจะเปน NIC ท่ีท้ิงภาคเกษตรกรรมไมได เราไมควรมองคนกลุมใหญของประเทศเปนเพีย งกลุมคนท่ีทําใหการผลิตสินคามีราคาตํ่า หรือมองดานตนทุนเ พีย งอยา งเ ดียว แตตองมองวาเปนกลุมคนท่ีสามารถสราง Demand ของสินคาอุตสาหกรรมในประเทศได

6. ความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบจากคาจางแรงงานถูก ไมไดทํา ใหภ าคอุตสาหกรรมสามารถขยายตัวไปไดในระยะยาว ประเทศไทยจําเปนตองเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิตและตองพัฒนา กํ า ลังซ้ือ ของคนในประเทศ เ พ่ือเ ปนฐา นในกา รพัฒนาอุตสาหกรรม

7. ประเทศไทยนาจะเปน NIC หรือ NAC ในลักษณะประเทศอุตสาหกรรมท่ีมีการพัฒนาการเกษตรท่ีมั่นคงแข็งแรงเปนหลัก แนวทางอุตสาหกรรมการเกษตร นาจะ เปนทางออกท่ีจะแกไขปญหาหลักๆ ท่ีสํา คัญของอุตสาหกรรม เพราะการพัฒนาอุตสาหกรรมท่ีมีพ้ืนฐานของภาคเกษตรกรรมจะมีผลชวยให 7.1 ดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจ เพราะ อุตสาหกรรมการเกษตรจะ เ กิดข้ึนภายใต

หลักการท่ีสรางจาก และเพ่ือคนทุกกลุม 7.2 ทําใหประเทศไทยมีความแข็งแกรงและมีอํานาจตอรองท่ีแข็งแกรงในเวทีการเมือง

ระหวางประเทศ เพราะอาหารจะเปนอาวุธตอรองในอนาคต 7.3 ทําใหมีผลกระทบเบ้ืองหลังหรือความเช่ือมโยงเบ้ืองหลัง ไปยังภาคเกษตรกรรม

ในความตองการวัตถุดิบจากการกสิกรรม ประมง ปศุสัตว ปาไม 7.4 ชะลอไมใหเคล่ือนยายจากภาคเกษตรกรรม เพ่ือเปนอุปทานปจจัย ในการผลิตให

ภาคอุตสาหกรรมอยางตอเน่ือง หรือเปนเพียงแรงงานราคาถูกในตางประเทศ 7.5 สงเสริมการกระจายแหลงท่ีต้ังของอุตสาหกรรมในเขตชนบทใกลแหลงวัตถุดิบ 7.6 สรางอํานาจซื้อใหคนสวนใหญในประเทศ 7.7 เปนการสงเสริม SMEs ในชนบท เพ่ือพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมดวยตนเอง 7.8 เปนการทําใหคนสวนใหญไดรับประโยชนจากการพัฒนา

การบูรณาการตัวแบบท่ี 1 และตัวแบบท่ี 2 เขาดวยกัน กลายเปนตัวแบบท่ี 3

1. การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร 2. การพัฒนาเมืองหรือชนบท ใชวิธีการจัดต้ังแหลงอุตสาหกรรมท่ัวประเทศ 3. การกําหนดความจําเปนพ้ืนฐานก็ตองแบงกันระหวางรัฐบาลในระดับชาติ 4. ระดับสวัสดิการใหทุกคนอยูไดอยางมีคุณภาพและสามารถสรางวัฒนธรรมเขียว 5. การใชทุนเขมขนหรือคนเขมขนอยูท่ีการวินิจฉัยอยางเหมาะสม 6. การพ่ึงพาตนเองเปนหลัก

Page 54: งานถอดเทป อ.กฤษ เพิ่มทันจิตร์ 44

รศ.603 ระบบเศรษฐกิจของไทย : ศ.ดร.กฤษ เพ่ิมทันจิตต (ถอดเทป 9-11 พ.ย.44) 54/54

7. การพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม 8. การวางแผน ใชหลักการมีสวนรวมของประชาชนเปาหมายอยางมีปฏิสัมพันธ 9. การพัฒนาการผลิตเปนไปอยางมีบูรณาการ มีการสงเสริมสาขาเกษตรอุตสาหกรรม 10. การบรรลุผลคือเศรษฐกิจ สังคมการเมือง และวัฒนธรรมเขียว 11. การพัฒนาชนบทใชหลักมุงการผลิตสวัสดิการ