คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

89
คําอธิบายรายวิชา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง (2540-2544) AE 203 ศิลปะพื้นฐาน 3 หนวยกิต (Basic Art) ศึกษาความหมายและคุณคาของศิลปะ วิวัฒนาการแนวความคิดขั้นพื้นฐานทางศิลปะ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ หลักการ และความเขาใจในศิลปะแขนงตางๆ สงเสริมความเขาใจการมีเหตุผลทางความคิดและการวิจารณศิลปะ AE 213 ประวัติศาสตร 3 หนวยกิต (History of Art) ศึกษาประวัติศาสตรศิลปของไทยและสากลสมัยกอนประวัติศาสตร ยุคหินเกา ยุคหินกลาง ยุคหินใหม ศิลปะสมัยทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร และสมัยปจจุบัน รวมทั้งประวัติศาสตรศิลปของอียิปต กรีก โรมัน อินเดีย จีน และญี่ปุและศึกษาความสัมพันธระหวางศิลปะกับมนุษย สิ่งแวดลอม ในอดีตและปจจุบัน AE 214 ทฤษฏีสี 3 หนวยกิต (Color Theories) ศึกษาทฤษฏีสี หลักการ วิธีการ และเทคนิคการใชสี จิตวิทยาการใชสี การนําหลักการทางทฤษฏีสีไปใชในงาน ศิลปะประเภทตางๆ และฝกปฏิบัติ AE 223 จิตรกรรม 3 หนวยกิต (Painting) ศึกษาหลักการและปฏิบัติงานการเขียนภาพเบื้องตนเกี่ยวกับเสน แสง สี เงา ดวยเครื่องมือและวัสดุตางๆ ปฏิบัติงาน ทางดานจิตรกรรมสีน้ํา และสีประเภทอื่นๆ เพื่อใหเปนแนวทางและวิธีการที่จะนําไปประยุกตใชในการสอน AE 233 ประติมากรรม 3 หนวยกิต (Sculpture) ศึกษาลักษณะและกรรมวิธีของงานประติมากรรม แกะสลักแบบตาง โดยใชวิธีปแกะสลัก แบบภาพนูนสูง นูนต่ํา และลอยตัว การหลอ และการเนนคุณคาความคิดสรางสรรค ฝกปฏิบัติงานดวยเครื่องมือวัสดุตางๆ AE 243 ภาพพิมพ 3 หนวยกิต (Graphic Art) ศึกษาทฤษฏีภาพพิมพเบื้องตน เทคนิคการพิมพภาพประเภทตาง การใชวัสดุอุปกรณใหเหมาะสมกับการพิมพภาพ แต ละประเภทและฝกปฏิบัติ

Post on 26-Dec-2015

601 views

Category:

Documents


4 download

DESCRIPTION

คำอธิบายรายวิชา มหาวิทยาลัยรามคำแหง

TRANSCRIPT

Page 1: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

คําอธิบายรายวิชา คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยรามคําแหง

(2540-2544) AE 203 ศิลปะพ้ืนฐาน 3 หนวยกิต (Basic Art)

ศึกษาความหมายและคุณคาของศิลปะ วิวัฒนาการแนวความคิดขั้นพ้ืนฐานทางศิลปะ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ หลักการและความเขาใจในศิลปะแขนงตางๆ สงเสริมความเขาใจการมีเหตุผลทางความคิดและการวิจารณศิลปะ

AE 213 ประวัติศาสตร 3 หนวยกิต (History of Art)

ศึกษาประวัติศาสตรศิลปของไทยและสากลสมัยกอนประวัติศาสตร ยุคหินเกา ยุคหินกลาง ยุคหินใหม ศิลปะสมัยทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร และสมัยปจจุบัน รวมทั้งประวัติศาสตรศิลปของอียิปต กรีก โรมัน อินเดีย จีน และญี่ปุน และศึกษาความสัมพันธระหวางศิลปะกับมนุษย สิ่งแวดลอม ในอดีตและปจจุบัน

AE 214 ทฤษฏีสี 3 หนวยกิต (Color Theories) ศึกษาทฤษฏีสี หลักการ วิธีการ และเทคนิคการใชสี จิตวิทยาการใชสี การนําหลักการทางทฤษฏีสีไปใชในงาน ศิลปะประเภทตางๆ และฝกปฏิบัติ AE 223 จิตรกรรม 3 หนวยกิต

(Painting) ศึกษาหลักการและปฏิบัติงานการเขียนภาพเบื้องตนเกี่ยวกับเสน แสง สี เงา ดวยเครื่องมือและวัสดุตางๆ ปฏิบัติงานทางดานจิตรกรรมสีน้ํา และสีประเภทอื่นๆ เพื่อใหเปนแนวทางและวิธีการที่จะนําไปประยุกตใชในการสอน

AE 233 ประติมากรรม 3 หนวยกิต

(Sculpture) ศึกษาลักษณะและกรรมวิธีของงานประติมากรรม ปน แกะสลักแบบตาง ๆ โดยใชวิธีปน แกะสลัก แบบภาพนูนสูง นูนต่ํา และลอยตัว การหลอ และการเนนคุณคาความคิดสรางสรรค ฝกปฏิบัติงานดวยเครื่องมือวัสดุตางๆ

AE 243 ภาพพิมพ 3 หนวยกิต

(Graphic Art) ศึกษาทฤษฏีภาพพิมพเบื้องตน เทคนิคการพิมพภาพประเภทตาง ๆ การใชวัสดุอุปกรณใหเหมาะสมกับการพิมพภาพ แตละประเภทและฝกปฏิบัติ

Page 2: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

2

AE 353 การเขียนแบบและการออกแบบ 3 หนวยกิต (Drawing and Design) ศึกษาหลักการเขียนภาพ แสงและเงา การเขียนแบบและการออกแบบ เทคนิค วิธีการเขียนแบบ และออกแบบ รวมถึงการฝกปฏิบัติ

AE 363 ศิลปะไทย 3 หนวยกิต

(Thai Art) ศึกษาความหมาย วิวัฒนาการ การอนุรักษ การประยุกตศิลปะไทยและศิลปะพื้นบาน โดยเนนศิลปะบริสุทธิ์ และศิลปหัตถกรรม

AE 383 หลักสูตรศิลปศึกษา 3 หนวยกิต

(Curriculum in Art Education) ศึกษาความหมายและความสําคัญของหลักสูตรศิลปศึกษา องคประกอบ และโครงสรางของหลักสูตรศิลปศึกษาในระดับ ตางๆ ที่ใชอยูในปจจุบัน พ้ืนฐานในการจัดทําหลักสูตรวิชาศิลปศึกษา การจัดเนื้อหา ประสบการณและกิจกรรมใหสอดคลองกับหลักสูตรศิลปศึกษา เพื่อนําหลักสูตรศิลปศึกษาไปใชใหเหมาะสมกับสภาพการณปจจุบันและสภาพทองถิ่น การพัฒนาหลักสูตรและการบริหารงานดานวิชาการที่เกี่ยวกับวิชาศิลปศึกษา ตลอดจนการประเมินผลหลักสูตรในวิชาศิลปศึกษา

AE 384 การสอนศิลปะ 3 หนวยกิต (ED 393) (Art Teaching)

ศึกษาจุดมุงหมายของการเรียนการสอนศิลปะจิตวิทยา การสอนศิลปะ หลักสูตรและแบบเรียน วิธีสอนและเทคนิคการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวางแผนการสอนและการประเมินผลการเรียนการสอนศิลปะและการจัดนิทรรศการผลงานศิลปะ

AV 203 กิจกรรมทางโสตทัศนศึกษา 3 หนวยกิต (Activities in AV Education) การจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อสงเสริมการเรียนการสอน เชน การสาธิต การแสดงละคร การจัดนิทรรศการ การศึกษานอกสถานที่ ตลอดจนการสรางบรรยากาศ เพื่อใหเหมาะสมแกการแสวงหาความรู โดยจัดเปนศูนยการเรียน หองสังคมศึกษา หองปฏิบัติการภาษา หองปฏิบัติทางวิทยาศาสตร ฯลฯ เปนตน

AV 225 การถายภาพเบื้องตน 3 หนวยกิต

(Introduction to Photography) ความรูเรื่องกลอง สวนประกอบของกลอง การถายภาพแบบตางๆ เชน การถายภาพคน การถายภาพทิวทัศน การถายภาพเคลื่อนไหว การถายภาพเวลากลางคืนและการถายภาพศิลปะ ตลอดจนการลางฟลม และการอัดขยายภาพขาว-ดํา

AV 303 โสตทัศนศึกษา 3 หนวยกิต

(AV Education) ความรูทั่วไปทางทฤษฏีและปฏิบัติ คุณคาและวิธีใชโสตทัศน วัสดุอุปกรณประกอบการสอนประเภทตางๆ ทั้งวัสดุ กราฟฟค เครื่องฉาย เครื่องเสียง ตลอดจนวิธีผลิตอุปกรณการสอนราคาถูก

Page 3: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

3

AV 304 การบํารุงรักษาโสตทัศนูปกรณ 3 หนวยกิต

(Maintenance of AV Equipment) ศึกษาเกี่ยวกับการบํารุงรักษาและการซอมแซมโสตทัศนูปกรณทั้งประเภทเครื่องฉายและเครื่องเสียง

AV 313 การผลิตวัสดุกราฟค 3 หนวยกิต

(Graphic Material Production) หลักการเลือกและการผลิตวัสดุประกอบการสอนเบื้องตน วิธีการประดิษฐอักษร การเลือกสี การขยายภาพ การผลิตแผนภูมิ แผนสถิติ แผนที่ ฯลฯ โดยเนนถึงหลักในการผลิตวัสดุราคาถูก พรอมทั้งการนําเอาวัสดุการสอนสําเร็จรูปแบบตางๆ เขามาใช

AV 314 การออกแบบเอกสารสิ่งพิมพเบื้องตน 3 หนวยกิต

(Basic Design of Printed Materials) ศึกษาเกี่ยวกับหลักของการออกแบบเอกสารสิ่งพิมพที่ใชกับงานแตละประเภท โดยเริ่มตั้งแตการวางรูปเลม การจัดภาพประกอบ การใชสี การประดิษฐ และการเลือกแบบตัวอักษร การออกแบบปก การเขาเลม และงานพิมพในระบบตางๆ

AV 320 การผลิตภาพถายสี 3 หนวยกิต

(Color Photography Production) ความรูเรื่องภาพถายสี หลักและวิธีการถายภาพสี การเลือกฟลม การใชฟลเตอร การถายภาพประเภทตางๆ การลางฟลม และการอัดขยายภาพสี

AV 328 การผลิตภาพถายเพื่อการศึกษา 3 หนวยกิต

(Photography Production for Education) การผลิตทัศนวัสดุโดยการถายภาพ ไดแก ภาพชุด ชุดสไลด ชุดฟลมสตริป เพื่อใชเปนอุปกรณประกอบการสอนในหองเรียน

AV 331 การถายภาพยนตรเบื้องตน 3 หนวยกิต

(Introduction to Cinematography) พัฒนาการและชนิดของภาพยนตร หลักการถายภาพยนตร บทภาพยนตรโดยทั่วไป บทบาทของการใชภาพยนตรในหองเรียน หลักการเลือกและประเมินคาของภาพยนตร

AV 332 การผลิตภาพยนตรการศึกษา 3 หนวยกิต

(Educational Film Production) การผลิตภาพยนตรการศึกษา ขนาด 16 มม. วิธีเขียนบทภาพยนตร การถายทําภาพยนตร การกํากับบท การตัดตอ และการประกอบเสียง

Page 4: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

4

AV 333 การผลิตภาพยนตร 8 มม. 3 หนวยกิต (The 8 mm. Film Production) การถายภาพยนตร 8 มม. ภาพยนตร 8 มม. ซุปเปอร การถายทําฟลม 8 มม. เสียงและการทําฟลมรูป

AV 334 การเขียนบทภาพยนตร 3 หนวยกิต

(Film Scriptwriting) ศึกษาถึงรูปแบบของภาพยนตร หลักการเขียนบทภาพยนตรการศึกษา และบทภาพยนตรอื่นๆ โดยเนนการฝกปฏิบัติ

AV 344 โสตวัสดุเบื้องตน 3 หนวยกิต

(Introduction to Audio Materials) วัสดุอุปกรณเก่ียวกับเครื่องเสียง เชน แผนเสียง เทป วิทยุ ฯลฯ เทคนิคการใชอุปกรณ เครื่องเสียงประกอบบทเรียนหลักวิธีการผลิตรายการ หองปฏิบัติการเกี่ยวกับบันทึกเสียง หองปฏิบัติการวิทยุ และหองปฏิบัติการทางภาษา

AV 353 การใชสื่อการสอน 3 หนวยกิต

(Utilization of Instructional Media) หลักการเลือกและการใชวัสดุอุปกรณ ตลอดจนกิจกรรมตางๆ เพื่อประกอบการสอน โดยเนนถึงทักษะการใชอุปกรณประเภทเครื่องเสียงและเครื่องฉายตางๆ

AV 354 สื่อการสอนวิชาภาษาไทย 3 หนวยกิต

(Instruction Media in Teaching Thai) ศึกษาสื่อการสอนประเภทตางๆ ที่ใชในการสอนวิชาภาษาไทย โดยเฉพาะการผลิตและการเลือกใชสื่อการสอนแตละประเภทนั้นๆ ใหเหมาะกับการสอนแบบตางๆ

AV 355 สื่อการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 3 หนวยกิต

(Instruction Media in Teaching English) ศึกษาสื่อการสอนประเภทตางๆ ที่ใชในการสอนวิชาภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะการผลิตและการเลือกใชสื่อการสอนแตละประเภทนั้นๆ ใหเหมาะกับการสอนแบบตางๆ

AV 356 สื่อการสอนวิชาสังคมศึกษา 3 หนวยกิต

(Instruction Media in Teaching Social Studies) ศึกษาสื่อการสอนประเภทตางๆ ที่ใชในการสอนวิชาสังคมศึกษา โดยเฉพาะการผลิตและการเลือกใชสื่อการสอนแตละประเภทนั้นๆ ใหเหมาะกับการสอนแบบตางๆ

AV 357 สื่อการสอนวิชาพลานามัย 3 หนวยกิต

(Instruction Media in Teaching Health and Physical Education) ศึกษาสื่อการสอนประเภทตางๆ ที่ใชในการสอนวิชาพลานามัย โดยเฉพาะการผลิตและการเลือกใชสื่อการสอนแตละประเภทนั้นๆ ใหเหมาะกับการสอนแบบตางๆ

Page 5: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

5

AV 358 สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร 3 หนวยกิต (Instruction Media in Teaching Mathematics) ศึกษาสื่อการสอนประเภทตางๆ ที่ใชในการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยเฉพาะการผลิตและการเลือกใชสื่อการสอนแตละประเภทนั้นๆ ใหเหมาะกับการสอนแบบตางๆ

AV 359 สื่อการสอนวิชาวิทยาศาสตร 3 หนวยกิต

(Instruction Media in Teaching Science) ศึกษาสื่อการสอนประเภทตางๆ ที่ใชในการสอนวิชาวิทยาศาสตร โดยเฉพาะการผลิตและการเลือกใชสื่อการสอนแตละประเภทนั้นๆ ใหเหมาะกับการสอนแบบตางๆ

AV 363 การใชสื่อการสอนในการสอนแบบจุลภาค 3 หนวยกิต

(Utilization of Instructional Media Microteaching) ความหมายของการสอนแบบจุลภาค ทักษะการสอนแบบตางๆ การใชเครื่องบันทึกภาพและเครื่องบันทึกเสียงประกอบ การฝก การประเมินผลการฝกทักษะทางการสอน

AV 364 ชุดการสอน 3 หนวยกิต

(Instructional Package) ศึกษาขบวนการเรียนรูความสัมพันธระหวางชุดการสอนกับการเรียนรูหนวยการสอน การกําหนดหัวเรื่องในชุดการสอน มโนทัศนและหลักการของชุดการสอน การกําหนดวัตถุประสงค การประเมินผลชุดการสอน กิจกรรมการเรียนรู การหาประสิทธิภาพ โดยเนนการผลิตชุดการสอน

AV 365 สื่อมวลชนและการประชาสัมพันธเพื่อการศึกษา 3 หนวยกิต

(Mass Communication and Public Relation in Education) ทฤษฏีการสื่อความหมาย หลักการประชาสัมพันธ การใชสื่อมวลชน และการประชาสัมพันธเพื่อการศึกษา

AV 373 วิทยุและโทรทัศนการศึกษา 3 หนวยกิต (Radio and Television in Education) วิวัฒนาการวิทยุและโทรทัศน บทบาทของวิทยุและโทรทัศนทางดานการศึกษาคุณคา หลักการและอุปกรณที่ใชในการผลิตรายการวิทยุและโทรทัศนการศึกษา การเขียนบทวิทยุและโทรทัศนการศึกษา รวมทั้งหลักการใชวิทยุและโทรทัศน เพื่อการเรียนการสอน

AV 375 การเขียนบทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนการศึกษา 3 หนวยกิต

(Scriptwriting for Education Radio and Television) ศึกษาลักษณะรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศนการศึกษา ประเภทของวิทยุและบทวิทยุโทรทัศนการศึกษาหลักการเขียนบทประเภทตางๆ โดยเนนการฝกปฏิบัติ

Page 6: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

6

AV 383 การบริหารและการนิเทศงานโสตทัศนศึกษา 3 หนวยกิต (Administration and Supervision of AV Programs) การบริหารงานและบริหารบุคลากร การเตรียมการจัดต้ังศูนยโสตทัศนศึกษา อาคารสถานที่ต้ัง การจัดวัสดุอุปกรณที่จะใชภายในศูนยโสตทัศนศึกษา งบประมาณการใหบริการตางๆ การจัดทําแคตตาลอค การประเมินผล รวมทั้งการนิเทศงานโสตทัศนศึกษา เพื่อใหครูรูจักวิธีการใชและการผลิตอุปกรณในทองถิ่น

AV 406 การผลิตรายการวิทยุ 3 หนวยกิต

(Radio Program Production) ศึกษาดานการผลิตและเขียนบทสําหรับรายการตางๆ ทางวิทยุกระจายเสียง เชน รายการละครทางวิทยุ รายการโฆษณา การจัดรายการแตละประเภทใหสอดคลองกับเวลาและผูฟงรายการดวย โดยเนนหนักทางดานธุรกิจและอุตสาหกรรม

AV 407 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน 3 หนวยกิต

(T.V. Program Production) ศึกษาทฤษฏีและปฏิบัติในการผลิตและเขียนบทสคริปตรายการขาว สัมภาษณสารคดี รายการแสดง และการโฆษณาใหเหมาะสมกับผูดูแตละช้ัน แตละประเภททางโทรทัศน โดยเนนหนักทางดานธุรกิจและอุตสาหกรรม บันทึกเทปวิทยุโทรทัศน หองสงวิทยุกระจายเสียง หองสงวิทยุโทรทัศน สติวดิโอสําหรับภาพยนตร

AV 413 การออกแบบสติวดิโอ 3 หนวยกิต

(Studio Design) ความรูและการออกแบบสติวดิโอตางๆ ไดแก หองบันทึกเสียง หองบันทึกเทป วิทยุโทรทัศน หองสงวิทยุกระจายเสียง หองสงวิทยุโทรทัศน สติวดิโอสําหรับภาพยนตร

AV 434 การวิจารณภาพยนตร 3 หนวยกิต

(Critique of Film) หลักการวิจารณภาพยนตรทางการศึกษา สารคดี บันเทิง โฆษณา และภาพยนตรทั่วไป

AV 463 เคร่ืองสอนและบทเรียนแบบโปรแกรม 3 หนวยกิต

(Teaching Machine and Programmed Instruction) วิวัฒนาการของเครื่องสอนและบทเรียนแบบโปรแกรม ชนิดของโปรแกรม ลําดับขั้นในการสรางบทเรียนแบบโปรแกรม ตลอดจนวิธีการใชโปรแกรมในการสอน

AV 464 การผลิตและการใชสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ 3 หนวยกิต

(Production and Application of Media in Public Relation) ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการนําเอาสื่อเขามาใชประโยชน ในการประชาสัมพันธ และสามารถผลิตสื่อบางประเภท เพื่อการประชาสัมพันธไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 7: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

7

AV 473 การวิจารณรายการวิทยุโทรทัศน 3 หนวยกิต (Critique of Television Program) หลักการวิจารณงานทางวิทยุโทรทัศน ภาพยนตรโทรทัศน โทรทัศนการศึกษา การจัดรายการสด การโฆษณา ละคร และการแสดงตางๆ

AV 474 การวิจารณรายการวิทยุกระจายเสียง 3 หนวยกิต

(Critique of Radio Program) หลักการวิจารณการจัดรายการทางวิทยุกระจายเสียงในดานการควบคุมการใชวิทยุกระจายเสียง การบริหาร การจัดรายการตางๆ เชน รายการเพลง รายการโฆษณา รายการความรูทั่วไป และรายการสัมภาษณ ฯลฯ

AV 493 การฝกงาน 3 หนวยกิต

(Fieldwork in AV Education) การฝกงานทางโสตทัศนศึกษา อาจเปนรายบุคคลหรือเปนกลุม เพื่อใหโอกาสแกนักศึกษาไดนําความรูทางทฤษฏีไปใชปฏิบัติดังสภาพจริง

AV 494 สัมมนาทางโสตทัศนศึกษา 3 หนวยกิต

(Seminar in AV Education) ศึกษาทฤษฏีและวิเคราะหนวัตกรรมทางการศึกษาเกี่ยวกับบริหาร การผลิต การใช และการใหบริการทางโสตทัศนศึกษาของโรงเรียน สถาบันตางๆ และจากเอกสารสิ่งพิมพ

AV 495 การศึกษารายบุคคลทางโสตทัศนศึกษา 3 หนวยกิต

(Independent Study in AV Program) ศึกษาคนควาวางโครงการตางๆ เกี่ยวกับการใชโสตทัศนศึกษาตามความสนใจดวยตนเอง ภายใตคําแนะนําของอาจารยผูสอน

BE 211 ธุรกิจศึกษาในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน 3 หนวยกิต (Business Education In Lower Secondary Curriculum)

ศึกษาหลักสูตรธุรกิจศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนตน และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงคขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงค เพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

BE 212 ธุรกิจศึกษาในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 หนวยกิต (Business Education in Upper Secondary Curriculum)

ศึกษาหลักสูตรธุรกิจศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงคขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงค เพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

Page 8: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

8

BE 213 ธุรกิจศึกษาในหลักสูตรอาชีวศึกษา 3 หนวยกิต (Business Education in Vocational Curriculum)

ศึกษาหลักสูตรธุรกิจศึกษาในระดับอาชีวศึกษา และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงค เพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

BE 236 การวิเคราะหหนังสือเรียนวิชาธุรกิจ 3 หนวยกิต (Analysis of Business Educational Textbooks)

ศึกษาหนังสือเรียนธุรกิจในระดับตาง ๆ การเลือกใชหนังสือแบบเรียนธุรกิจศึกษา ฝกหัดวิเคราะหหนังสือเรียน รวมทั้งคูมือและหนังสืออานประกอบ

BE 244 ปฏิบัติการพิมพดีดและประมวลคํา 3 หนวยกิต (Typing and Word Processing : Procedural Studies and Practicum) PR : ตองมีความรูพ้ืนฐานทางดานพิมพดีดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ศึกษาการใชเครื่องพิมพแบบตาง ๆ ตลอดจนการพิมพดวยเครื่องคอมพิวเตอร การดูและรักษาเครื่อง ฝกพิมพเพ่ือความแมนยําและความรวดเร็ว จดหมายแบบตางๆ แผนภูมิ กราฟ สถิติ บรรณานุกรม เชิงอรรถ รายงาน การเวนวรรคตอน การพิมพเพื่อพัฒนาทักษะ ระเบียบการสอนพิมพดีดของ ก.พ. เพื่อสามารถนําความรูเหลานี้ไปสอนพิมพดีดได

BE 313 การสอนวิชาธุรกิจศึกษา 3 หนวยกิต (Teaching of Business)

ศึกษาความมุงหมายและความสําคัญของธุรกิจศึกษาในโรงเรียน วิธีสอน และเทคนิคการสอน การเตรียมการสอน การทําบันทึกการสอน และโครงการสอน การเลือก และการใชสื่อการสอน การวัดผลประเมินผลที่เหมาะสมกับลักษณะรายวิชาในหมวดธุรกิจและพาณิชยกรรมในระดับมัธยมศึกษา รวมทั้งการทดลองสอน

BE 321 พฤติกรรมการสอนวิชาธุรกิจ 1 4 หนวยกิต (Teaching Behavior in Business 1 )

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของธุรกิจศึกษา จิตวิทยาที่นํามาใชในการสอนธุรกิจ วิธีสอนทั่วไป และฝกทักษะวิธีสอน ที่เหมาะสมกับเนื้อหาธุรกิจ ศึกษาและฝกการเขียนจุดประสงคการเรียนรู การปรับพฤติกรรมที่จําเปนในการสอนนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการสอนธุรกิจศึกษา ศึกษาหนาที่และงานครู และสังเกตการสอนในชั้นเรียน

BE 322 พฤติกรรมการสอนวิชาธุรกิจ 2 4 หนวยกิต (Teaching Behavior in Business 2 )

ศึกษาและฝกทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนธุรกิจ การผลิต และเลือกใชสื่อการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผล การทําโครงการสอน บันทึกการสอน การฝกหัดสอน การจัดการสอนซอมเสริม การจัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอนและปญหาการเรียนการสอนวิชาธุรกิจ

Page 9: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

9

BE 449 สัมมนาครูวิชาธุรกิจ 3 หนวยกิต (Seminar for Business Teachers)

การนําประสบการณวิชาชีพครูมาศึกษาปญหา วิเคราะหปญหา และการวางแนวทางในการแกปญหาโดยรวมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สาธิตการจัดการเรียนการสอน และรายงานเพื่อปรับปรุงการสอนวิชาธุรกิจใหมีประสิทธิภาพ

CU 203 หลักสูตรและวิธีสอนทั่วไป 3 หนวยกิต (Curriculum and Methods of Teaching)

ศึกษาความหมายและองคประกอบของหลักสูตร พ้ืนฐานที่ใชกําหนดหลักสูตร ชนิดของหลักสูตร ลักษณะของหลักสูตรในระดับตางๆ การพัฒนาหลักสูตร ความสัมพันธระหวางหลักสูตรการเรียนการสอน หลักและวิธีสอนทั่วไป เทคนิคการสอน ทักษะการสอน กระบวนการสอน หลักการวางแผนการสอน การจัดสิ่งแวดลอม การสรางบรรยากาศในการเรียนการสอน ปญหา อุปสรรค แนวโนมและนวัตกรรมที่เกี่ยวของกับหลักสูตรและการเรียนการสอน

CU 216 การวิเคราะหหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย 3 หนวยกิต (Analysis of Thai Textbooks)

ศึกษาพัฒนาการของแบบเรียนภาษาไทยที่สําคัญ ต้ังแตแรกเริ่มจนปจจุบัน โดยพิจารณาความมุงหมาย ลักษณะความคิดเห็นและเนื้อหา ตลอดจนการกําหนดแบบเรียนในหลักสูตร ฝกวิเคราะหแบบเรียนภาษาไทยในปจจุบันตามแนวการวิเคราะหวรรณกรรม

CU 217 การวิเคราะหหนังสือเสริมประสบการณวิชาภาษาไทย 3 หนวยกิต (Analysis of Thai Enrichment Reading Books)

ศึกษาความหมาย ประเภท ประวัติ พัฒนาการ ความสําคัญและประโยชนของหนังสือเสริมประสบการณวิชาภาษาไทย หลักเกณฑการเลือกใชหนังสือเสริมประสบการณ การวิเคราะหหนังสือเสริมประสบการณระดับมัธยมศึกษา ดานองคประกอบ ทัศนะของผูแตง และศิลปะในการเขียน

CU 226 การวิเคราะหหนังสือเรียนและหนังสืออานประกอบวิชาภาษาอังกฤษ 3 หนวยกิต (Analysis of English Textbooks and Supplementary Reading Books)

ศึกษาจุดมุงหมาย วิธีการ และขั้นตอนการวิเคราะหหนังสือเรียน และหนังสืออานประกอบ เปรียบเทียบหนังสือเรียนชนิดตางๆ การเลือกหนังสือเรียน การนําไปใช และการฝกหัดวิเคราะหหนังสือเรียน

CU 236 การวิเคราะหหนังสือเรียนและหนังสืออานประกอบวิชาสังคมศึกษา 3 หนวยกิต (Analysis of Social Studies Textbooks and Supplementary Reading Books)

ศึกษาลักษณะของแบบเรียนสังคมศึกษา และหนังสืออานประกอบระดับมัธยม การวิเคราะหและประเมินจุดประสงค เนื้อหาภาพประกอบ และกิจกรรมเสนอแนะในแบบเรียน หลักการเลือกและใชแบบเรียนหนังสืออานประกอบสังคมศึกษาใหเกิดประโยชนตอการเรียนการสอน

Page 10: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

10

CU 256 การวิเคราะหหนังสือเรียนและหนังสืออานประกอบวิชาภูมิศาสตร 3 หนวยกิต (Analysis of Geography Textbooks and Supplementary Reading Books)

ศึกษาลักษณะหนังสือเรียนภูมิศาสตรและหนังสืออานประกอบระดับมัธยมศึกษา ฝกหัดวิเคราะหแบบเรียนและหนังสืออานประกอบ และประเมินจุดประสงค เนื้อหาภาพประกอบ กิจกรรมเสนอแนะในบทเรียน และหลักการเลือกและใชแบบเรียนหนังสืออานประกอบใหเกิดประโยชนตอการเรียนการสอน

CU 266 การวิเคราะหหนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร 3 หนวยกิต (Analysis of Mathematics Textbooks)

ศึกษาหนงัสือเรียนคณิตศาสตรในระดับตางๆ ฝกหัดวิเคราะหแบบเรียน เปรียบเทียบแบบเรียนแตละเลม รวมทั้งคูมือแบบตางๆ และการเลือกใชแบบเรียนคณิตศาสตรและหนังสืออานประกอบ

CU 276 การวิเคราะหหนังสือเรียนวิชาวิทยาศาสตร 3 หนวยกิต (Analysis of Mathematics Textbooks)

ศึกษาลักษณะหนังสือเรียนวิชาวิทยาศาสตร โดยพิจารณาความมุงหมายเนื้อหา กิจกรรมฝกหัดการวิเคราะหแบบเรียนวิทยาศาสตร รวมทั้งหนังสืออานประกอบและการเลือกใชหนังสือที่เหมาะสม

CU 296 การวิเคราะหหนังสือเรียนและหนังสืออานประกอบวิชาภาษาฝรั่งเศส 3 หนวยกิต (Analysis of French Textbooks and Supplementary Reading Books)

ศึกษาวิวัฒนาการของหลักสูตรและแบบเรียนภาษาฝรั่งเศส ศึกษาวิเคราะหแบบเรียนในหลักสูตร และหนังสืออานประกอบหรือหนังสือนอกเวลา นําขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหไปใชในการเรียนการสอน

CU 331 สังคมศึกษาในหลักสูตรมัธยมศึกษา 1 3 หนวยกิต (Social Studies in Secondary School Curriculum 1 )

ศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

CU 332 สังคมศึกษาในหลักสูตรมัธยมศึกษา 2 3 หนวยกิต (Social Studies in Secondary School Curriculum 2 )

ศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

CU 341 ประวัติศาสตรในหลักสูตรมัธยมศึกษา 1 3 หนวยกิต (History in Secondary School Curriculum 1 )

ศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนตน และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับ

Page 11: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

11

จุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

CU 342 ประวัติศาสตรในหลักสูตรมัธยมศึกษา 2 3 หนวยกิต (History in Secondary School Curriculum 2 )

ศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

CU 351 ภูมิศาสตรในหลักสูตรมัธยมศึกษา 1 3 หนวยกิต (Geography in Secondary School Curriculum 1 )

ศึกษาหลักสูตรภูมิศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนตน และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากบัจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

CU 352 ภูมิศาสตรในหลักสูตรมัธยมศึกษา 2 3 หนวยกิต (Geography in Secondary School Curriculum 2 )

ศึกษาหลักสูตรภูมิศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

CU 361 คณิตศาสตรในหลักสูตรมัธยมศึกษา 1 3 หนวยกิต (Mathematics in Secondary School Curriculum 1 )

ศึกษาหลักสูตรคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนตน และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

CU 362 คณิตศาสตรในหลักสูตรมัธยมศึกษา 2 3 หนวยกิต (Mathematics in Secondary School Curriculum 2 )

ศึกษาหลักสูตรคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอน

Page 12: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

12

CU 363 คณิตศาสตรประยุกตสําหรับวิชาพื้นฐานอาชีพในระดับมัธยมศึกษา 3 3 หนวยกิต (Applied Mathematics for Basic Career Education in Secondary Level )

ศึกษาหลักสูตรและแบบเรียนคณิตศาสตรสาขาวิชาชีพในระดับมัธยมศึกษา ศึกษาหลักเกณฑและมโนมติทางคณิตศาสตร ที่นําไปประยุกตใชในการชางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และศิลปหัตถกรรม ตลอดจนฝกทักษะการเตรียมบทเรียน การเลือกใชสื่อและเทคนิคการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหานั้น ๆ

CU 371 วิทยาศาสตรท่ัวไปในหลักสูตรมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต (General Science in Secondary School Curriculum)

ศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนตน และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอนวิชาวิทยาศาสตรในชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

CU 372 วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ในหลักสูตรมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต (Physical and Biological Sciences in Secondary School)

ศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอนวิชาวิทยาศาสตรกายภาพชีวภาพในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

CU 373 เคมีในหลักสูตรมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต (Chemistry in Secondary School Curriculum)

ศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอนวิชาเคมี ในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย

CU 374 ชีววิทยาในหลักสูตรมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต (Biology in Secondary School Curriculum)

ศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรียน และสื่อการสอนวิชาชีววิทยา ในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย

Page 13: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

13

CU 375 ฟสิกสในหลักสูตรมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต (Physics in Secondary School Curriculum)

ศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิเคราะหเปนรายวิชา เพื่อศึกษาจุดประสงค ขอบเขตของวิชา ลักษณะเนื้อหาวิชา การจัดลําดับเนื้อหาวิชา ระดับความยากงายของเนื้อหาวิชา และความสอดคลองของเนื้อหาวิชากับจุดประสงคเพื่อนําขอมูลจากการวิเคราะหมาเปนพื้นฐานในการเตรียมบทเรียน การเลือกใชเทคนิคการสอน แบบเรยีน และสื่อการสอนวิชาฟสิกส ในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย

CU 403 ปญหาและแนวโนมของหลักสูตรและการสอน 3 หนวยกิต (ED 414) (Issues and Trends in Curriculum and Instruction)

ศึกษาลักษณะทั่วไปขององคประกอบของหลักสูตรและการสอนในระดับการศึกษาระดับตางๆในประเทศไทยวิวัฒนาการของหลักสูตรและการสอน แนวโนมของการพัฒนาหลักสูตรและการสอน แนวทางการวิเคราะหหลักสูตร ตลอดจนปญหาแนวคิดที่เกี่ยวของกับหลักสูตรและการสอน

CU 423 วรรณกรรมภาษาอังกฤษเพื่อการสอน 3 หนวยกิต (English Literature for Classroom Teaching)

เกณฑการเลือกวรรณกรรมเพื่อนํามาใชในการสอนใหสอดคลองกับหลกัสูตรมัธยมศึกษา ตลอดจนวิธีสอน และเทคนิคการสอนวรรณกรรมประเภทตางๆ

EA 313 หลักการบริหารการศึกษา 3 หนวยกิต (ED 509) (Principles of Education Administration)

ศึกษาถึงหลักการ ทฤษฏี และกระบวนการทางการบริหารการศึกษา การบริหารองคการ พฤติกรรมผูนําทางการศึกษาการศึกษาในฐานะของการบริหารสวนหน่ึงในระบบการบริหารของประเทศ ระบบราชการตองานการศึกษา และอํานาจหนาที่ในดานการบริหารการศึกษา

EA 323 พฤติกรรมผูนําทางการศึกษา 3 หนวยกิต (Leadership Behavior in Education)

ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย บทบาท หนาที่ และคุณลักษณะของผูนํา พฤติกรรมผูนําทางการศึกษาและองคประกอบที่เสริมสรางการเปนผูนํา ไดแก การวางแผน การตัดสินใจ การเสริมสรางขวัญและกําลังใจ มนุษยสัมพันธ ความคิดริเริ่ม และการแกปญหา

EA 333 ความรูเก่ียวกับการศึกษาและระบบโรงเรียน 3 หนวยกิต (Education and School System)

ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของการศึกษา ความสัมพันธของการศึกษากับศาสตรอื่น ๆ อิทธิพลตาง ๆ ที่มีตอการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียนและการศึกษานอกระบบโรงเรียน

Page 14: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

14

EA 334 มนุษยสัมพันธในการบริหารโรงเรียน 3 หนวยกิต (Human Relations in School Administration)

ศึกษาถึงความหมาย ความสําคัญ และความจําเปนของมนุษยสัมพันธ องคประกอบที่มีผลกระทบตอการเสริมสรางมนุษยสัมพันธในการบริหารโรงเรียน ไดแก ภาวะผูนํา ระบบการติดตอสื่อสาร สภาพแวดลอม การควบคุมงานขวัญและการประเมินขวัญ รวมทั้งบทบาทและหนาที่ของผูบริหารโรงเรียนและบุคลากรที่เกี่ยวของ ปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะ

EA 335 การบริหารโรงเรียนประถมศึกษา 3 หนวยกิต (ED 402) (Elementary in School Administration)

ศึกษาถึงขอบเขตของการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา ในสวนที่เกี่ยวของกับการบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารกิจการนักเรียน การบริหารงานธุรการ การเงิน และงานพัสดุ การบริหารอาคารสถานที่ และการสรางความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชน

EA 336 การบริหารโรงเรียนประถมศึกษา 3 หนวยกิต

(Special Education Administration) การศึกษาหลักการ ระบบ และองคการที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาพิเศษ การบริหารโรงเรียน การศึกษาพิเศษดานงานวิชาการ งานบุคลากร งานกิจการนักเรียน งานธุรการ และอาคารสถานที่ ปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไขการบริหารการศึกษาพิเศษ

EA 337 การบริหารและการจัดการศึกษาปฐมวัย 3 หนวยกิต

(Administration and Management of Early Childhood Education) ศึกษานโยบายและเปาหมายการพัฒนาเด็กปฐมวัย การวางแผนและบริหารการจัดการศึกษาปฐมวัยในดานการจัดการเรียนการสอน บุคลากร งบประมาณ วัสดุ-ครุภัณฑ แนวทางการนิเทศ การประชาสัมพันธและสภาพแวดลอมตลอดจนปญหาและแนวโนม

EA 413 ระบบบริหารการศึกษาไทย 3 หนวยกิต

( Thai Education Administration System) ศึกษาถึงวิวัฒนาการของระบบการบริหารการศึกษาไทย ต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบันและศึกษาถึงหนวยงานที่รับผิดชอบตอการวางนโยบายและการจัดการศึกษา ไดแกกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย ทบวงมหาวิทยาลัย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ตลอดจนหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

EA 414 การวางแผนการศึกษา 3 หนวยกิต (ED 401) (Educational Planning)

ศึกษาความรูเบื้องตนของการวางแผนการศึกษา ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่เกี่ยวของกับการวางแผนการศึกษา กระบวนการและเทคนิคตางๆ ในการวางแผนการศึกษา และแสดงใหเห็นถึงการวางแผนการศึกษาของประเทศไทยและประเทศตางๆ ในเอเชีย

Page 15: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

15

EA 415 กฎหมายและระเบียบปฏิบัติในโรงเรียน 3 หนวยกิต (ED 407) ( Legal Aspects of School Administration) ศึกษากฎหมายอันไดแกพระราชบัญญัติและระเบียบตางๆ ที่ใชบังคับในโรงเรียน EA 423 การบริหารบุคลากรในโรงเรียน 3 หนวยกิต (ED 506) ( School Personnel Administration)

หลักการบริหารงานบุคลากรในโรงเรียนเพื่อใหเกิดผลสําเร็จในการดําเนินงานในโรงเรียนใหมากที่สุด โดยกําหนดตัวบุคคล การศึกษาและประเมินผลของผูรวมงาน

EA 433 หลักการบริหารโรงเรียนมัธยม 3 หนวยกิต (ED 403) ( Principles of Secondary School Administration)

เปนวิชาที่กลาวถึงความรูที่เกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการ ระบบและองคการการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา รวมไปถึงการดําเนินการการจัดการบริหารดานตางๆ ของโรงเรียน เชน ดานวิชาการ ดานธุรการ ดานการปกครองดานการแนะแนว และอื่นๆ รวมไปถึงทัศนะที่เกี่ยวของกับการบริหารโรงเรียนมัธยมในประเทศไทย เปรียบเทียบการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาบางประเทศ เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ เปนตน

EA 434 การบริหารงานวิชาการในโรงเรียนมัธยม 3 หนวยกิต (ED 508) ( Academic Administration in Secondary School )

ศึกษาหลักการ องคประกอบ และกระบวนการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษา เนนหนักในดานการบริหารหลักสูตร การจัดแผนการเรียนและตารางสอน บทบาทและหนาที่ของบุคลากรทางวิชาการ การจัดครูเขาสอนการจัดการเพื่อสนับสนุนงานวิชาการ การนิเทศภายในโรงเรียน การใชทรัพยากรทองถิ่น เพื่อประโยชนทางวิชาการและปญหาอุปสรรคในการบริหารงานวิชาการ

EA 435 การบริหารอาคารสถานที่ 3 หนวยกิต

(Educational Facilities Planning) ศึกษาเกี่ยวกับการบริหาร การวางแผนการใชประโยชนอาคาร การจัดการเกี่ยวกับเครื่องอํานวยความสะดวกในอาคารและสิ่งแวดลอม ใหสอดคลองกับหลักสูตรทรัพยากร ตลอดจนศึกษาถึงระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการกอสรางทางราชการ

EA 436 การบริหารกิจการนักเรียน 3 หนวยกิต (ED 408) (Student Personnel Administration)

ศึกษาหลักและวิธีการบริหารกิจการนักเรียน เนนในดานการจัดบริการสวัสดิการ ใหแกนักเรียน การปกครองการใชอํานาจหนาที่ของผูบริหาร การจัดกิจกรรมนักเรียน การจัดดานการสอนและศึกษาวิเคราะหปญหาตางๆที่เกี่ยวกับนักเรียน

Page 16: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

16

EA 437 โรงเรียนและชุมชนสัมพันธ 3 หนวยกิต (ED 404) (School and Community Relations)

ศึกษาหลักการสรางความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชุมชน ไดแก ศึกษาแบบตางๆ ของชุมชนในดานโครงสรางกระบวนการ และความสัมพันธทางสังคม ซึ่งเปนพื้นฐานในการที่จะนําโรงเรียนเขาไปปฏิบัติการรวม และสรางความเปลี่ยนแปลงใหเกิดขึ้น รวมทั้งการรับความคิดใหม การถายทอดความคิดระหวางกลุมโรงเรียนและชุมชน เพื่อนําไปใชในการเรียนรูและปรับตัวเขาหากัน ศึกษาการดําเนินการของการสรางความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชุมชนในตางประเทศเปรียบเทียบกับประเทศไทย

EA 438 การประชาสัมพันธโรงเรียน 3 หนวยกิต (ED 308) (School Public Relations)

ศึกษาความหมายและวัตถุประสงคของการประชาสัมพันธโรงเรียน องคประกอบของการจัดการประชาสัมพันธโรงเรียน หลักการและวิธีการดําเนินงาน การประชาสัมพันธบุคลากรและองคกรที่เกี่ยวของ การพัฒนาการประชาสัมพันธในโรงเรียน ตลอดจนปญหาและอุปสรรคของการประชาสัมพันธโรงเรียน

EA 443 การบริหารงานธุรการโรงเรียน 3 หนวยกิต

(School Business Administration) ศึกษาขอบขายของงานธุรการโรงเรียน ซึ่งประกอบดวยการเงิน สารบรรณ ทะเบียน วัสดุครุภัณฑ อาคารสถานที่ประชาสัมพันธ และบริหารอื่น ๆ ตลอดจนบทบาทของผูบริหารและบุคลากรที่เกี่ยวของ

EA 444 การเงินโรงเรียน 3 หนวยกิต (ED 505) (School Finance)

ศึกษาเกี่ยวกับนโยบาย และหลักการบริหารการเงินของโรงเรียนทั่วไป เปรียบเทียบการบริหารการเงินโรงเรียนบางประเทศ สําหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาของประเทศไทย ศึกษาระเบียบเกี่ยวกับการเงิน พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ การของบประมาณ และการควบคุม และการบริหารการเงินของโรงเรียนโดยทั่วไป

EA 445 การบริหารงานพัสดุในโรงเรียน 3 หนวยกิต

(School Supplies Administration) ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ การจัดหาพัสดุ การจัดงานพัสดุ การเก็บรักษาพัสดุ การบํารุงรักษาพัสดุ และการจําหนายพัสดุออกจากบัญชี

ED 313 หลักสูตรโรงเรียนมัธยม 3 หนวยกิต (Secondary School Curriculum) ศึกษาการวิเคราะหหลักสูตร การเรียน การสอน และการวัดผลในชั้นมัธยมศึกษา

ED 323 การสอนทักษะวิชาการศึกษาคนควาดวยตนเอง 3 หนวยกิต

(Teaching of Self-Study Skills) ฝกทักษะและวิธีการศึกษาคนควาดวยตัวเอง โดยเสริมสรางนิสัยใหรักการอาน การศึกษาคนควา สามารถเลือกวัสดุสิ่งพิมพเพื่อการอาน การคนควา มีทักษะในการใชแหลงความรูตางๆ ใหเปนประโยชนตอการศึกษา รูจักวิธีการคนควา

Page 17: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

17

รวบรวม เรียบเรียง และนําเสนอขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ และใหมีทักษะในการสอนวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเองไดอยางดี

ED 418 หลักสูตรและการสอนการศึกษาระบบเปด 3 หนวยกิต

(Curriculum and Instruction of Open Learning) ศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรและการสอนในระบบการศึกษาเปดของโรงเรียนและมหาวิทยาลัยในประเทศตางๆ ทั้งในอเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย และเอเชีย วามีรากฐานความเปนมาอยางไร แตกตางจากหลักสูตรและการสอนของโรงเรียนและมหาวิทยาลัยปดอยางไร รวมทั้งเทคโนโลยี และแนวการศึกษาใหม ๆ ที่ใชกันในระบบโรงเรียนและมหาวิทยาลัยเปดปจจุบัน และแนวโนมของรูปการศึกษาเปดในอนาคต เพื่อเปนแนวทางและปูพ้ืนฐาน ใหทราบถึงหลักสูตรและการสอนที่แตกตางกัน

EE 223 การเลน-การเรียนระดับปฐมวัย 3 หนวยกิต

(Playing - Learning in Early Childhood Education ) ศึกษาทฤษฎีของการเลนและความสําคัญของเครื่องเลน เพื่อการเรียนการสอนระดับปฐมวัย การเลือกและใชเครื่องเลนใหเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย การออกแบบ และการผลิตเครื่องเลนดวยวัสดุที่หางายและประหยัดตลอดจนการจัดเก็บรักษานวัตกรรมของเครื่องเลนเพื่อการเรียนการสอนในระดับปฐมวัย และการวิเคราะหเครื่องเลนในทองตลาด

EE 224 กิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหวสําหรับเด็กปฐมวัย 3 หนวยกิต

(Music and Movement Activities for Early Childhood Children) ศึกษาความหมาย คุณคา และจุดมุงหมายของการสอนกิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหวสําหรับเด็กหลักและวิธีการจัดกิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหวสําหรับเด็กที่ถูกตองตามหลักสรีระวิทยา การเคลื่อนไหวที่สอดคลองสัมพันธกับจังหวะ การเคลื่อนไหวโดยอิสระจากวัสดุหางาย การทดลองจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะสําหรับเด็กปฐมวัย

EE 313 หลักการจัดประสบการณการเรียนการสอนระดับปฐมวัย 3 หนวยกิต

(Principles of Learning Experiences in Early Childhood Education ) ศึกษาความสําคัญ จุดมุงหมาย แนวทาง และวิธีการจัดประสบการณแบบตางๆ ของเด็กปฐมวัย เทคนิคในการจัดกิจกรรม การเตรียมการสอนและการใชสื่ออุปกรณ การวัดและการประเมินผลเด็กปฐมวัย และฝกปฏิบัติการสอนในระดับปฐมวัยศึกษา

EE 323 กิจกรรมสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย 3 หนวยกิต

(Creative Activities for Early Childhood Children) ศึกษาความหมาย ทฤษฏี กระบวนการคิดและขั้นตอนของการพัฒนาความคิดสรางสรรคกิจกรรมและวิธีการสงเสริมความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยในดานศิลปะ สื่อที่ชวยพัฒนาความคิดสรางสรรค การวัดและประเมินความคิดสรางสรรคของเด็ก รวมตลอดถึงการฝกกิจกรรมสรางสรรค

Page 18: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

18

EE 324 การสอนวิชาทักษะระดับปฐมวัย 3 หนวยกิต (Teaching Learning Skills in Early Childhood Education ) ศึกษาความสําคัญ จุดมุงหมาย เนื้อหาของกลุมวิชาทักษะภาษาไทยและคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย หลักการสอนแนวทางการวัดและประเมินผลวิชาทักษะ การเตรียมการสอน ตลอดจนการผลิตสื่ออุปกรณ และฝกปฏิบัติการสอนวิชาทักษะสําหรับเด็กปฐมวัย

EE 325 การสอนธรรมชาติศึกษาระดับปฐมวัย 3 หนวยกิต

(Teaching Nature Studies in Early Childhood Education) ศึกษาคุณคา ความมุงหมายของการสอนธรรมชาติศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย การจัดโปรแกรมการสอนแบบบูรณาการโดยใชธรรมชาติศึกษาเปนแกนนํา เทคนิคการสอนและสื่อการสอนธรรมชาติศึกษาสําหรับเด็ก เพื่อสงเสริมการอนุรักษธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม การจัดมุมธรรมชาติศึกษาในชั้นเรียนและโรงเรียน การเตรียมการสอนและบันทึกการสอนตลอดจนทดลองฝกปฏิบัติการสอนธรรมชาติศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย

EE 343 การวิเคราะหหนังสือสําหรับเด็ก 3 หนวยกิต

(Analysis of Children Books) ศึกษาประวัติความเปนมาและแนวโนมในอนาคตของหนังสือสําหรับเด็ก ลักษณะของหนังสือที่ดีสําหรับเด็กหลักการวิเคราะหหนังสือสําหรับเด็ก การสํารวจและการวิเคราะหหนังสือที่มีอยูในทองตลาด ตลอดจนการเลือกใชหนังสือเพื่อการเรียนการสอนเด็กปฐมวัย

EE 353 หลักสูตรและการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา 3 หนวยกิต

(Curriculum and Instruction in Elementary Level) ศึกษาความหมาย หลักการ วิวัฒนาการของการประถมศึกษา หลักสูตรประถมศึกษา พัฒนาการและการเรียนรูของเด็กในระดับประถมศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนประถมศึกษา การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน ตลอดจนปญหาและแนวโนมของการประถมศึกษา

EE 361 การสอนระดับประถมศึกษา 1 3 หนวยกิต

(Teaching in Elementary Level 1) ศึกษาหลักสูตรกลุมทักษะที่เปนเครื่องมือการเรียนรู ภาษาไทย และคณิตศาสตร รวมทั้งกลุมประสบการณพิเศษ ภาษาอังกฤษ การวิเคราะหเอกสารหลักสูตรหลักจิตวิทยา และเทคนิคการสอน การใชสื่อการสอน การจัดทําแผนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเนนทักษะกระบวนการและกระบวนการเรียนรูตางๆ การสอน ทักษะการฟง พูด อานและเขียน การสรางแบบฝกหัด การวัดและประเมินผล และการฝกทักษะการสอน

EE 362 การสอนระดับประถมศึกษา 2 3 หนวยกิต

(Teaching in Elementary Level 2) ศึกษาหลักสูตรกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต กลุมสรางเสริมลักษณะนิสัย กลุมการงานและพื้นฐานอาชีพรวมทั้งกลุมประสบการณพิเศษ วิชาอาชีพเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การวิเคราะหเอกสารหลักสูตรหลักจิตวิทยาและเทคนิคการสอน การใชสื่อการสอน การจัดทําแผนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเนนการบูรณาการทักษะกระบวนการ และกระบวนการเรียนรูตางๆ การสรางแบบฝกหัด การวัดและประเมินผล และการฝกทักษะการสอน

Page 19: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

19

EE 363 การสอนวิชาภาษาไทยระดับประถมศึกษา 3 หนวยกิต (Teaching Thai in Elementary Level) ศึกษาความสําคัญและจุดมุงหมายของการสอนวิชาภาษาไทยในระดับประถมศึกษา เอกสารประกอบหลักสูตรนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย หลักและเทคนิคการสอน พัฒนาการทางภาษา การสอนทักษะการฟง พูด อานและเขียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนทักษะกระบวนการ การเลือกใชหนังสือเรียนและหนังสืออานประกอบ การใชสื่อการเรียนการสอน การเลือกแบบฝกหัด การวัดและประเมินผล และการฝกทักษะการสอน

EE 364 การสอนวิชาคณิตศาสตรระดับประถมศึกษา 3 หนวยกิต

(Teaching Mathematics in Elementary Level) ศึกษาความสําคัญและจุดมุงหมายของการสอนวิชาคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา เอกสารประกอบหลักสูตร นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร หลักและเทคนิคการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนทักษะกระบวนการ การใชสื่อการเรียนการสอน การเลือกแบบฝกหัด การวัดและประเมินผล และการฝกทักษะการสอน

EE 365 การสอนวิชาภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา 3 หนวยกิต (Teaching English in Elementary Level) ศึกษาความสําคัญและจุดมุงหมายของการสอนวิชาภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา เอกสารประกอบหลักสูตร นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ หลักและเทคนิคการสอน การสอนทักษะการฟง พูด อาน และเขียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนทักษะกระบวนการ การใชสื่อการเรียนการสอน การเลือกแบบฝกหัด การวัดและประเมินผล และการฝกทักษะการสอน

EE 366 การสอนวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิต 3 หนวยกิต

(Teaching Life Experiences) ศึกษาความสําคัญและจุดมุงหมายของการสอนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต เอกสารประกอบหลักสูตร นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเรียนการสอนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต หลักและเทคนิคการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนทักษะกระบวนการ กระบวนการแกปญหา กระบวนการทางวิทยาศาสตร และทักษะทางสังคม การใชสื่อการเรียนการสอน การเลือกแบบฝกหัด การวัดและประเมินผล และการฝกทักษะการสอน

EE 367 การสอนวิชากลุมสรางเสริมลักษณะนิสัย 3 หนวยกิต (Teaching Character Development) ศึกษาความสําคัญและจุดมุงหมายของการสอนกลุมสรางเสริมลักษณะนิสัย เอกสารประกอบหลักสูตร นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเรียนการสอนกลุมสรางเสริมลักษณะนิสัย หลักและเทคนิคการสอนแบบบูรณาการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนทักษะกระบวนการ และสรางเสริมลักษณะนิสัย การใชสื่อการเรียนการสอน การเลือกแบบฝกหัด การวัดและประเมินผล และการฝกทักษะการสอน

EE 368 การสอนวิชากลุมการงานและพื้นฐานอาชีพ 3 หนวยกิต (Teaching Work – Oriented Experiences) ศึกษาความสําคัญและจุดมุงหมายของการสอนกลุมการงานและพื้นฐานอาชีพ เอกสารประกอบหลักสูตร นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเรียนการสอนกลุมการงานและพื้นฐานอาชีพ หลักและเทคนิคการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการ

Page 20: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

20

สอนโดยเนนทักษะกระบวนการ การปลูกฝงคานิยมและเจตคติในการทํางาน การทําบัตรงาน การใชสื่อการเรียนการสอน การเลือกแบบฝกหัด การวัดและประเมินผล และการฝกทักษะการสอน

EE 384 ความคิดสรางสรรคสําหรับเด็ก 3 หนวยกิต

(Creative Thinking for Children) ความหมายและความสําคัญของความคิดสรางสรรค ลักษณะของผูมีความคิดสรางสรรค องคประกอบที่สําคัญของความคิดสรางสรรค การจัดกิจกรรมสงเสริมความคิดสรางสรรค ปจจัยที่มีผลตอความคิดสรางสรรค การวัดและประเมินผลความคิดสรางสรรค การสอนและฝกใหเด็กเกิดความคิดสรางสรรค

EE 385 การจัดกิจกรรมเตรียมความพรอมสําหรับเด็ก 3 หนวยกิต

(Readiness Activities for Children) ความหมายและความสําคัญของการเตรียมความพรอม แนวคิดและทฤษฏีในการจัดกิจกรรมเตรียมความพรอมธรรมชาติและการเรียนรูของเด็ก ความสําคัญและทฤษฏีของการเลน การเตรียมสื่อ การฝกทักษะการจัดกิจกรรมและการจัดศูนยการเรียน

EE 386 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนอกหองเรียนสําหรับเด็ก 3 หนวยกิต (Outdoor Activities for Children) ศึกษาความหมายและความสําคัญของการจัดกิจกรรมนอกหองเรียน ความสําคัญของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติแนวคิด ทฤษฏี หลักการและเทคนิคในการจัดกิจกรรมนอกหองเรียน ที่เนนแบบบูรณาการใหสอดคลองกับสภาพทองถิ่นและเพื่อสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

EE 387 การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3 หนวยกิต

( Extracurricular Activities ) ความหมายและจุดมุงหมายของการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ความสัมพันธระหวางหลักสูตรและกิจกรรมเสริมหลักสูตร หลักการจัดกิจกรรมเสริมหลักสตูร กิจกรรมประเภทตางๆ ที่จัดขึ้นเพื่อเสริมประสบการณ วิชาการและพัฒนาการของนักเรียนทุกดานๆ หลักการจัดตารางเวลาปฏิบัติกิจกรรม การบริหารและการประสานงานกับบุคคลและสถาบันอื่นที่เกี่ยวของ การเขียนโครงการตางๆ การติดตามผลและประเมินผล การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร

EE 413 หลักสูตรและการเรียนการสอนระดับปฐมวัย 3 หนวยกิต

( Curriculum and Instruction in Early Childhood Education ) ศึกษาความเปนมาของหลักสูตรและแนวการจัดประสบการณการเรียนการสอนปฐมวัย แนวคิดและทฤษฏีการเรียนการสอนปฐมวัย ที่นําไปใชในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อเตรียมความพรอมเด็กปฐมวัย ศึกษาโครงสรางและวิเคราะหแนวการจัดประสบการณปฐมวัยแบบตางๆ ที่ใชในปจจุบัน ศึกษาปญหาและแนวโนมในการพัฒนาหลักสูตรการสอนปฐมวัยการสรางหนวยการสอนแบบบูรณาการ เพื่อเตรียมความพรอมเด็กปฐมวัย

Page 21: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

21

EE 423 การสอนจริยศึกษาระดับปฐมวัย 3 หนวยกิต (Teaching Ethics in Early Childhood Education ) ศึกษาความหมาย แนวคิด และความสําคัญของการสอนจริยธรรมสําหรับเด็ก จุดมุงหมาย คานิยม และจริยธรรมเบื้องตนที่ควรปลูกฝงใหกับเด็ก ที่สอดคลองกับสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทย หลักการสอนจริยธรรมสาํหรับเด็กปฐมวัย การใชหุน และนิทานในการสอนจริยธรรมสําหรับเด็ก การทดลองจัดกิจกรรมและปฏิบัติการสอน

EE 424 การสอนเด็กพิเศษในชั้นเรียนปกติ 3 หนวยกิต

(Teaching Special Children in Regular Classroom ) ศึกษาความหมาย และลักษณะเฉพาะของเด็กพิเศษแตละประเภท ทั้งเด็กฉลาด เด็กที่มีความสามารถพิเศษและเด็กที่มีความผิดปกติทางดานตางๆ วิธีการจัดการเรียนการสอนสําหรับเด็กพิเศษในชั้นเรียนปกติ และธรรมชาติของเด็กพิเศษ บทบาทของครูและผูปกครองในการชวยเหลือเด็กพิเศษ

EE 433 การฝกสอนระดับปฐมวัย 6 หนวยกิต

(Student Teaching in Early Childhood Level) การฝกภาคสนามในโรงเรียนอนุบาล ศูนยเด็กปฐมวัย โดยฝกทั้งดานการสอนและการจัดกิจกรรมสําหรับเด็กปฐมวัยตลอดจนงานครูที่นอกเหนือจากการสอนในชั้นเรียน ซึ่งรวมถึงการเตรียมการสอน การใชเทคนิคการสอน การผลิตและใชสื่อการสอน การสรางบรรยากาศและการควบคุมช้ันเรียน การประเมินพัฒนาการเด็ก งานธุรการในความรับผิดชอบของครู และการชวยงานในกิจกรรมตางๆ ของโรงเรียน

EE 483 การจัดกิจกรรมและสื่อการเรียนการสอนระดับประถมศึกษา 3 หนวยกิต

(Learning Activities and Instructional Media In Elementary Level) หลักสูตร หลักการและแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดช้ันเรียน การประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หลักการเลือกและการใชสื่อ การสรางและฝกปฏิบัติการใชสื่อประกอบการสอนวิชาตางๆ การประเมินผลการใชสื่อ

EF 103 ปฐมนิเทศการศึกษาสมัยใหม 3 หนวยกิต (ED 103) ( Introduction to Modern Education)

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการศึกษา องคประกอบที่มีอิทธิพลตอการศึกษา การศึกษาของประเทศที่เปนแบบฉบับการศึกษาของประเทศไทย ภาพพจนของการศึกษาของโลกปจจุบันและอนาคต

**EF 104 ความรูเบื้องตนดานการศึกษา 3 หนวยกิต (EF 103) (Introduction to Education)

ความหมาย ความมุงหมายและประวัติความเปนมาของการศึกษา ความสัมพันธระหวางการศึกษากับเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม การศึกษาของประเทศที่เปนแบบฉบับ การศึกษาของประเทศไทย และแนวโนมของการศึกษาในอนาคต

Page 22: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

22

EF 105 การศึกษาเพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม 3 หนวยกิต ( Education for the Development of Life and Society) ศึกษาองคประกอบตางๆ ที่จําเปนสําหรับนักศึกษา โดยเนนสภาพความตองการพื้นฐาน อันไดแก ความรูเกี่ยวกับประชากร สิ่งแวดลอม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจและรวมไปถึงอุดมการณของชาติและการปกครอง

EF 203 ความรูเบื้องตนสําหรับครู 3 หนวยกิต (ED 204) ( General Knowledge for Teachers)

ศึกษาความหมายและสถานภาพของครู บทบาทและหนาที่ของครูทั้งในโรงเรียนและในชุมชน ตลอดจนการสรางทักษะที่สําคัญสําหรับครู ลักษณะครูที่พึงประสงค จรรยาบรรณของครู กฎหมาย และองคการที่เกี่ยวของกับครู ระเบียบการเงินและพัสดุโรงเรียน

EF 233 ประวัติศาสตรการศึกษา 3 หนวยกิต (ED 203) ( History of Education ) ศึกษาเกี่ยวกับแนวความคิดทางการศึกษาในอดีตที่มีผลสะทอนตอการจัดการศึกษาในปจจุบัน EF 234 ปรัชญาการศึกษาเบื้องตน 3 หนวยกิต (ED 504) (Introduction to Philosophy of Education )

เปนวิชาที่กลาวถึงความมุงหมาย ความสําคัญของปรัชญาทางการศึกษา และกลาวถึงหนาที่ความสัมพันธระหวางปรัชญากับการศึกษา ปรัชญาการศึกษาสาขาตางๆ ที่นักปรัชญาและนักการศึกษาควรรู

EF 236 ศึกษาศาสตรตามแนวพุทธศาสตร 3 หนวยกิต

( Buddhist Thought in Education ) ศึกษา วิเคราะหหลักการทางแนวพุทธศาสตรที่นํามาประยุกตใชในเรื่องปรัชญาการศึกษา หลักการของระบบการเรียนและการสอน จิตวิทยาการศึกษา การแนะแนวการศึกษา สื่อการศึกษา การพัฒนาหลักสูตร การบริหารการศึกษา การติดตามและประเมินผล การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อใหเปนพื้นฐานของชีวิต และการจัดการศึกษาของไทย

EF 313 หลักการศึกษา 3 หนวยกิต

( Principles in Education ) ศึกษาถึงพัฒนาการของการศึกษา ปรัชญา และปรัชญาการศึกษา นโยบายและแผนการศึกษา การจัดระบบการศึกษาของไทยและตางประเทศ ความเปนมาของหลักสูตร ความสําคัญของจรรยาบรรณในวิชาชีพครู กฎระเบียบปฏิบัติสําหรับขาราชการครูและการจัดกิจกรรมพิเศษ

EF 333 การศึกษาในกลุมประเทศอาเซียน 3 หนวยกิต

( Education in ASEAN Countries ) ศึกษาถึงวิวัฒนาการและแนวความคิดในการจัดการศึกษาของประเทศในกลุมประเทศอาเซียน ไดแก ประเทศไทยมาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และบรูไน โดยแสดงสภาพการศึกษาอันเปนระบบที่สัมพันธกับเศรษฐกิจสังคม และการเมือง

Page 23: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

23

EF 334 การศึกษาในกลุมประเทศยุโรปตะวันตก 3 หนวยกิต (ED 205) ( Education in Western Europe )

ศึกษาถึงประวัติ แนวคิด และการจัดการศึกษาของประเทศในกลุมยุโรปตะวันตก ไดแก ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศสเยอรมันตะวันตก และกลุมประเทศสแกนดิเนเวีย โดยแสดงสภาพการศึกษาอันเปนระบบที่สัมพันธกับระบบเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง

EF 335 การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา 3 หนวยกิต (ED 206) ( Education in United States )

ศึกษาถึงประวัติ แนวคิด และการจัดการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยแสดงสภาพการศึกษาอันเปนระบบที่สัมพันธกับระบบเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง

EF 336 การศึกษาในกลุมประเทศสังคมนิยม 3 หนวยกิต

( Education in Socialist Countries ) ศึกษาถึงการจัดการศึกษาของประเทศในกลุมสังคมนิยม โดยพิจารณาถึงปรัชญาการศึกษา ระบบการศึกษา การบริหารการศึกษา ตลอดจนปญหาและแนวโนมในอนาคต

EF 343 การประถมศึกษา 3 หนวยกิต (ED 309) ( Elementary Education )

ศึกษาวิวัฒนาการการประถมศึกษา การบริหารโรงเรียน หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวทางแกปญหาของการประถมศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษากับการประถมศึกษา ตลอดจนศึกษาแนวโนมการประถมศึกษาของไทย

EF 344 การมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต

( Secondary Education ) ศึกษาถึงหลักการ วิวัฒนาการการมัธยมศึกษา การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน สภาพปจจุบันของการมัธยมศึกษา ปญหาและแนวโนมของการมัธยมศึกษาของประเทศไทย

EF 345 การอุดมศึกษา 3 หนวยกิต

( Higher Education ) ศึกษาถึงหลักการอุดมศึกษา ทฤษฏี และการบริหารในเรื่องของการอุดมศึกษา วิวัฒนาการของการอุดมศึกษาทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ ตลอดจนปญหาและแนวโนมของการอุดมศึกษาในประเทศไทย

EF 346 วิทยาลัยชุมชน 3 หนวยกิต

( The Community College ) ศึกษาสภาพ แนวความคิด ความเปนมาของวิทยาลัยชุมชน จุดมุงหมายและการดําเนินงาน องคกรที่เกี่ยวของลักษณะเฉพาะของนักศึกษา การพัฒนาหลักสูตร และสาขาวิชาชีพ และโครงการพิเศษเพื่อใหเห็นไปตามความตองการของชุมชน

Page 24: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

24

EF 347 การอาชีวศึกษา 3 หนวยกิต ( Vocational Education ) ศึกษาสภาพ แนวความคิด ความเปนมาของอาชีวศึกษา ลักษณะโครงสรางของการจัดระบบ และการบริหารอาชีวศึกษาตลอดจนปญหา ซึ่งจัดในสถาบันการศึกษาที่มีการจัดการอาชีวศึกษาและแนวโนมของการอาชีวศึกษาของประเทศไทย

EF 353 สตรีกับการศึกษา 3 หนวยกิต (ED 306) ( Women and Education )

ศึกษาถึงสภาพทางการศึกษาของสตรี บทบาทและฐานะของสตรีในอดีต ปจจุบันและอนาคต ศึกษาในเชิงเปรียบเทียบระหวางการศึกษาของสตรีในตางประเทศกับสตรีในประเทศไทย

EF 363 การศึกษา กับการพัฒนาชุมชน 3 หนวยกิต (ED 304) ( Education and Community Development)

ศึกษาความหมายของชุมชนไทย โดยเนนหนักในดานการศึกษา หลักการพัฒนาชุมชน วัตถุประสงคและวิธีการของการพัฒนาชุมชน การจัดสถาบันการศึกษาเพื่อเปนศูนยกลางในการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัย วิทยาลัยครู วิทยาลัยชุมชน และโรงเรียนชุมชน การจัดการศึกษานอกโรงเรียน เพื่อฝกอบรมสมาชิกของชุมชน

EF 369 ปญหาและแนวโนมทางการศึกษาในปจจุบัน 3 หนวยกิต (ED 409) (Problems and Trends in Education)

ศึกษาปญหาทางการศึกษาตามลักษณะของระดับหรือประเภทการศึกษา ที่จัดในประเทศตางๆ ทั่วโลก พรอมทั้งแนวทางการแกปญหาเหลานั้น เพื่อใหเห็นแนวโนมการพัฒนาการศึกษาในอนาคต

EF 374 นวัตกรรมการศึกษา 3 หนวยกิต (ED 405) (Innovations in Education)

การนําวิธีการใหมๆ ที่เปลี่ยนไปจากเดิมมาใชในการจัดการศึกษา การเรียนการสอน การจัดช้ันเรียน การประเมินผลการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมทั้งการใชคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา และการใชสื่อตาง ๆ ดวย

EF 383 ประชากรศึกษาในโรงเรียน 3 หนวยกิต (ED 303) ( School Population Education)

ศึกษาถึงทฤษฏีประชากรศึกษาโดยทั่วไป ประชากรในวัยประถมศึกษาและมัธยมศึกษา วิเคราะหปญหาเกี่ยวกับประชากรศึกษาในระดับตาง ๆ พรอมทั้งเสนอแนะวิธีการแกปญหา

EF 393 พื้นฐานการศึกษาผูใหญและการศึกษาตอเนื่อง 3 หนวยกิต (ED 503) ( Principles of Adult and Continuing Education)

ศึกษาเบื้องตนของการศึกษาผูใหญและการศึกษาตอเนื่อง ไดแก ประวัติความเปนมา ความหมาย ความสําคัญปญหาของบุคคลในวัยผูใหญ ศึกษาหลักการสอนผูใหญ การจัดสิ่งแวดลอมและบรรยากาศ เพื่อการเรียนรูของผูใหญบทบาทของการศึกษาผูใหญ การพัฒนาประเทศ การจัดการศึกษาผูใหญในประเทศและตางประเทศ เพื่อเปนแนวทางเปรียบเทียบ

Page 25: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

25

ES 214 การศึกษาพิเศษ 3 หนวยกิต (Special Education) ศึกษาความหมาย ขอบเขต ประเภท บทบาท และความสําคัญของการศึกษาพิเศษ ประวัติของการศึกษาพิเศษ องคการและหนวยงานที่เกี่ยวของกับการศึกษาพิเศษในประเทศไทยและตางประเทศ หลักการจัดการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ ปญหา อุปสรรค และแนวโนมของการศึกษาพิเศษในประเทศไทย

ES 315 นวัตกรรมการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ 3 หนวยกิต

(Educational Innovations for Special Children) การนําสื่อและวิธีการใหม ๆ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อนํามาใชในการจัดการเรียนการสอน การจัดช้ันเรียนและการประเมินนวัตกรรมที่นํามาใชสําหรับเด็กพิเศษประเภทตางๆ

ES 316 จริยธรรมสําหรับครูทางการศึกษาพิเศษ 3 หนวยกิต

(Ethics for Teachers in Special Education) ศึกษาความหมาย ความสําคัญและบทบาทเกี่ยวกับจริยธรรมและคุณธรรมของครู ที่สอนและที่เกี่ยวของกับการสอนเด็กพิเศษ ลักษณะของครูที่พึงประสงคในการสอนเด็กพิเศษ ตลอดจนเสริมสรางและปลูกฝงคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับครูการศึกษาพิเศษ

ES 318 การเรียนรวมชั้นของเด็กปกติและเด็กพิเศษ 3 หนวยกิต

(Mainstreaming of Normal and Special Children) ใหความรูพ้ืนฐานแกครู เพื่อเตรียมความพรอมที่จะทําการสอนเด็กเรียนรวมช้ันระหวางเด็กปกติและเด็กพิเศษ ศึกษาถึงสภาพแวดลอม วิธีการเตรียมเด็กปกติใหเรียนรวมช้ันกับเด็กพิเศษ วิธีการจัดช้ัน การควบคุมช้ัน การทําแผนการสอนและการจัดดําเนินการสอนของชั้นเรียนรวม ระหวางเด็กปกติและเด็กพิเศษ

ES 319 ศิลปะสําหรับเด็กพิเศษ 3 หนวยกิต

(Art for Special Children) ใหความรูทางทฤษฏี เทคนิคการศิลปะ และวัสดุอุปกรณโดยเนนทางดานความคิดสรางสรรคและความสวยงามสําหรับเด็กพิเศษ และใหผูเรียนฝกทักษะตามความถนัดและความสามารถของแตละคน

ES 413 การสรางความสัมพันธระหวางโรงเรียน ผูปกครองและเด็กพิเศษ 3 หนวยกิต

(School, Parents and Special Children Relations) การใหความรูพ้ืนฐานเกี่ยวกับการสรางเจตคติที่ดีของผูปกครองที่มีตอโรงเรียนและเด็กพิเศษ การใหผูปกครองทราบถึง ปญหาความผิดปกติของเด็กพิเศษ การปรับตัวใหเขากับสภาพความปกติของเด็กพิเศษและจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมความ สัมพันธอันดีระหวางโรงเรียน ผูปกครองและเด็กพิเศษ

ES 414 การฝกทักษะทางภาษาสําหรับเด็กท่ีมีความบกพรองทางการเห็นและการไดยิน 3 หนวยกิต (Language Training for Children with Hearing and Seeing Deficiencies)

ศึกษาประวัติความเปนมาของอักษรเบรลลและภาษามือ ฝกทักษะการอาน และการบันทึกอักษรเบรลล และภาษามือเครื่องมือบันทึกอักษรเบรลล หลักและวิธีสอนอักษรเบรลลและภาษามือ รวมทั้งฝกทักษะอื่นๆ แกเด็กที่มีความบกพรองทางการเห็นและการไดยิน เพื่อนําไปใชในการสื่อสารได

Page 26: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

26

ES 415 การศึกษาสําหรับเด็กสติปญญาเลิศและเด็กท่ีมีความสามารถพิเศษ 3 หนวยกิต

(Education for Talented Children) ศึกษาลักษณะ ประเภทของเด็กสติปญญาเลิศและเด็กที่มีความสามารถพิเศษ การสังเกตและการทดสอบเพื่อวินิจฉัยเด็กสติปญญาเลิศและเด็กที่มีความสามารถพิเศษ ปญหาการศึกษาของเด็กสติปญญาเลิศและเด็กที่มีความสามารถพิเศษ

ES 416 การเตรียมอาชีพสําหรับเด็กพิเศษ 3 หนวยกิต

(Pre-Vocational Training for Special Children) ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการเตรียมฝกอาชีพและโครงการฝกอาชีพสําหรับเด็กพิเศษ โดยเนนเรื่องความถนัดและความสามารถ การฝกทักษะ การแนะแนว การหางานทําและการมีชีวิตอยูในสังคม

ES 417 การศึกษาสงเคราะห 3 หนวยกิต

( Welfare Education) ความหมาย ขอบเขต บทบาทและความสําคัญของการศึกษาสงเคราะห ประวัติของการศึกษาสงเคราะห องคกรและหนวยงานที่เกี่ยวของกับการศึกษาสงเคราะห ลักษณะและประเภทของเด็กการศึกษาสงเคราะห เชน เด็กในทองถิ่นทุรกันดาร เด็กยากจน เด็กเรรอน เด็กชาวเขา เด็กชาวเรือ เด็กในยานคุกคามของผูกอการราย บุตรผูปวยดวยโรคเรื้อนเด็กในแหลงเสื่อมโทรม เด็กที่มีปญหาสังคม เด็กที่เสียเปรียบทางสังคม เปนตน หลักการจัดการศึกษาสงเคราะหปญหาและอุปสรรคของการศึกษาสงเคราะหในประเทศไทย

GE 204 การวิเคราะหขอมูลทางภูมิศาสตร 3 หนวยกิต

(Geographic Data Analysis) การนําเทคนิคทางสถิติเบื้องตน ไดแก เทคนิคการพรรณนา การสุมตัวอยาง การเปรียบเทียบ สหสัมพันธ การถดถอย และสถิติเชิงพื้นที่มาใชในการวิเคราะหขอมูลทางภูมิศาสตร

GE 211 ธรณีวิทยาท่ัวไป 3 หนวยกิต (GE 311) (General Geology)

การศึกษาธรณีวิทยาที่เปนพื้นฐานทางภูมิศาสตรในดานหิน แร กระบวนการทางธรณีวิทยา การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ธรณีโครงสราง เศรษฐธรณี ธรณีประวัติ และการใชแผนที่ธรณีวิทยาในทางภูมิศาสตร มีการศึกษาภาคสนาม

GE 213 ภูมิศาสตรกายภาพ 3 หนวยกิต

(Physical Geography) การศึกษาสิ่งแวดลอมทางกายภาพตางๆ ที่ปรากฏบนพื้นโลก และความสัมพันธระหวางลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ พืชพรรณธรรมชาติ ดิน และน้ํา รวมทั้งผลกระทบที่มีตอมนุษย

GE 215 การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ 3 หนวยกิต

(Conservation of Natural Resources) การศึกษาชนิดและคุณสมบัติของทรัพยากรธรรมชาติ หลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติชนิดตางๆ สภาวะมลพิษและการควบคุมทรัพยากรธรรมชาติ ปญหาการใชทรัพยากรธรรมชาติในสวนตางๆ ของโลก และปญหาที่เกิดขึ้นในประเทศไทย

Page 27: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

27

GE 240 การอานแผนที่และภาพถาย 3 หนวยกิต (GE 241) (Map and Photo Reading)

การศึกษาลักษณะแผนที่และภาพถาย ประวัติความเปนมา เสนโครงแผนที่ พิกัด ตําแหนง มาตราสวน ทิศทางการมองภาพสามมิติ ลักษณะทางเรขาคณิตของภาพถาย การอาน และตีความภูมิทัศนบนแผนที่และภาพถาย

GE 241 การสํารวจ 1 3 หนวยกิต (GE 341) (Surveying 1)

ศึกษาหลักเบื้องตนในการสํารวจ การสํารวจและการทําแผนที่ ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน การสํารวจดวยโซการสํารวจดวยเข็มทิศ การสํารวจดวยโตะ แผนที่ การทําระดับ การควบคุมและการปรับแก การหาพื้นที่และปริมาตรมีการฝกปฏิบัติ

GE 242 การสํารวจ 2 3 หนวยกิต (GE 342) (Surveying 2)

การศึกษาการวัดระยะและทิศทาง กลองธีโอโดไลทและทรานสิต ขายสามเหลี่ยมและการวางหมุดหลักฐานแผนที่ การควบคุมแนวราบและแนวดิ่ง การทําวงรอบ วิธีการหาคีโอเมตรี การปรับแก และการคํานวณขอมูลสนาม การรังวัดทางดาราศาสตร มีการฝกปฏิบัติ

(ควรเรียนกระบวนวิชา GE 241 มากอน) GE 245 การทําแผนที่ 3 หนวยกิต

(Cartography) การศึกษาหลักการทําแผนที่เบื้องตน การเขียนแบบและการออกแบบสัญลักษณ ระบบพิกัดกริด ระบบเสนโครงแผนที่การเขียนและจัดพิมพแผนที่ภูมิประเทศ อุปกรณการทําแผนที่ มีการฝกปฏิบัติ

GE 250 ภูมิภาคศึกษา 3 หนวยกิต

(Regional Studies) การศึกษาวิวัฒนาการของวิชาภูมิศาสตรภูมิภาค หลักเกณฑที่ใชในการจัดแบงภูมิภาค ภูมิภาคประเภทตางๆ การนําหลักเกณฑที่ใชในการจัดแบงภูมิภาคมาศึกษาและวางแผน เพื่อพัฒนาภูมิภาคโดยอางถึงภูมิภาคใดภูมิภาคหนึ่งเปนกรณีศึกษา

GE 253 ภูมิศาสตรประเทศไทย 3 หนวยกิต

(Geography of Thailand) การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของประเทศไทย ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดจนแนวทางการแกปญหาในประเทศ

GE 254 ภูมิศาสตรกลุมประเทศกําลังพัฒนา 3 หนวยกิต

(Geography of the Developing Countries) การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของกลุมประเทศกําลังพัฒนาทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดจนแนวทางการแกปญหาในประเทศที่สําคัญ

Page 28: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

28

GE 257 ภูมิศาสตรกลุมประเทศกําลังพัฒนา 3 หนวยกิต (GE 255) (Geography of the Developed Countries)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของกลุมประเทศกําลังพัฒนาทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดจนแนวทางการแกปญหาในประเทศที่สําคัญ

GE 260 ภูมิศาสตรมนุษย 3 หนวยกิต

(Human Geography) การศึกษาแนวความคิดพื้นฐาน ทฤษฏี และแบบจําลองของกระบวนการทางพื้นที่ และรูปแบบของการตั้งถิ่นฐาน การดําเนินชีวิต การวิเคราะหที่ต้ัง และความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม

GE 263 ภูมิศาสตรวัฒนธรรม 3 หนวยกิต (GE 221) (Cultural Geography)

การศึกษาลักษณะ และผลของความแตกตางทางพื้นที่ของลักษณะทางวัฒนธรรมทางภูมิศาสตร รูปแบบระดับโลกรูปลักษณของภูมิภาค และความสัมพันธกับปรากฏการณภูมิศาสตรอื่นๆ รวมทั้งการวิเคราะหผลของความแตกตางที่มีตอภูมิทัศน

GE 264 ภูมิศาสตรเศรษฐกิจ 3 หนวยกิต (GE 224) (Economic Geography)

การศึกษาอิทธิพลของสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมทางสังคมที่มีตอการกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษยในภูมิภาคตาง ๆ ของโลก กิจกรรมทางเศรษฐกิจขั้นตน กิจกรรมทางเศรษฐกิจขั้นที่สอง กิจกรรมทางเศรษฐกิจขั้นที่สาม รวมทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจ และปญหาที่เกิดขึ้นในภูมิภาคน้ันๆ

GE 265 ภูมิศาสตรมนุษยและสิ่งแวดลอม 3 หนวยกิต (GE 225) (Geography of Man and Environment)

การศึกษาอิทธิพลของสิ่งแวดลอมในเชิงนิเวศวิทยาที่มีผลกระทบตอการดํารงชีวิตมนุษย บทบาทของมนุษยที่มีตอการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดลอม ตลอดจนปญหาสิ่งแวดลอม และแนวทางปรับปรุงแกไข

GE 266 ภูมิศาสตรการตั้งถิ่นฐาน 3 หนวยกิต (GE 323) (Geography of Settlement)

การศึกษาระบบการตั้งถิ่นฐานของมนุษยในชนบทและเมืองในดานขนาด รูปรางการกระจาย องคประกอบเกี่ยวกับที่ต้ังถิ่นฐาน ทฤษฎีการจัดองคการทางพื้นที่และปญหาตางๆ ทางดานการต้ังถิ่นฐาน รวมถึงหลักการเบื้องตนทางดานการวางแผนการตั้งถิ่นฐาน

GE 303 วิวัฒนาการแนวความคิดทางภูมิศาสตร 3 หนวยกิต (GE 503) (Evolution of Geographic Thoughts)

การศึกษาวิวัฒนาการความรูทางภูมิศาสตร โครงสรางทางแนวความคิด แนวการศึกษาและสถานภาพของสาขาวิชาจากยุคโบราณสูยุคปจจุบัน ตลอดจนพื้นฐานของแนวความคิดทางภูมิศาสตรรวมสมัย

Page 29: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

29

GE 304 ทฤษฎีท่ีต้ัง 3 หนวยกิต (Location Theory) การศึกษาประวัติ ขอตกลงเบื้องตน เนื้อหา การนํามาใช และขอจํากัดของทฤษฏี เกี่ยวกับที่ต้ังของเกษตรกรรมอุตสาหกรรมเมือง และอื่นๆ

GE 313 ธรณีสัณฐานวิทยา 3 หนวยกิต

(Geomorphology) การศึกษาขบวนการเคลื่อนไหวแปรรูปของเปลือกโลก ลักษณะภูมิประเทศ ซึ่งเกิดจากขบวนการเคลื่อนไหวดังกลาวโดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีของประเทศไทย มีการศึกษาภาคสนาม

GE 314 ภูมิอากาศวิทยา 3 หนวยกิต (GE 214) (Climatology)

การศึกษาองคประกอบของอากาศ กระบวนการทางกายภาพที่มีอิทธิพลตอองคประกอบของอากาศในเขตตางๆ ของโลกวิธีการจําแนกประเภทภูมิอากาศ และประเภทภูมิอากาศของโลก ตลอดทั้งการนําภูมิอากาศวิทยามาประยุกตกับกิจกรรมของมนุษย

GE 315 ภูมิศาสตรดิน 3 หนวยกิต (GE 413) (Soil Geography)

การศึกษากําเนิด การกระจายและประเภทของดิน ความสัมพันธระหวางชนิดของดินตอการใชที่ดิน โดยเนนเรื่องของดินในประเทศไทย มีการศึกษาภาคสนาม

GE 316 อุทกภูมิศาสตร 3 หนวยกิต (GE 414) (Hydrogeography)

การศึกษาเกี่ยวกับระบบการหมุนเวียนของน้ํา โครงสรางของอุทกวัฏจักร ระบบนิเวศวิทยาแหลงน้ํา ปญหามลภาวะของน้ําและการกําจัดน้ําทิ้ง มีการศึกษาภาคสนาม

GE 317 ชีวภูมิศาสตร 3 หนวยกิต (Biogeography)

การศึกษาลักษณะทางภูมิศาสตรของพืชและสัตวประเภทสําคัญๆของโลก โดยเฉพาะการศึกษาทางดานการกระจายโครงสรางและปฏิสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับพืชและสตัว มีการศึกษาภาคสนาม

GE 331 การสํารวจดวยภาพถาย 1 3 หนวยกิต (GE 333) (Photogrammetry 1)

การศึกษาประวัติ องคการสํารวจดวยภาพถาย กรรมวิธีการผลิตรูปถาย หลักของเรขาคณิตของรูปถาย การมองภาพทรวดทรวง เครื่องมือในการแปลภาพถายและเขียนแผนที่ วิธีการหาจุดบังคับของภาพถาย มีการฝกปฏิบัติ

Page 30: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

30

GE 332 การสํารวจดวยภาพถาย 2 3 หนวยกิต (GE 334) (Photogrammetry 2)

การศึกษามาตราสวนของภาพถาย การวางแผนถายภาพ ความคลาดเคลื่อนในการรังวัด การฝกปฏิบัติหาจุดบังคับรูปถายและการทําแผนที่ภูมิประเทศ

GE 335 หลักการสํารวจจากระยะไกล 3 หนวยกิต (Principles of Remote Sensing)

การศึกษาหลักการพื้นฐานและหลักการแปลภาพจากดาวเทียมดวยสายตา การวิเคราะหขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใชประโยชนในการสํารวจทรัพยากร และทําแผนที่ทั้งทางดานทฤษฏีและปฏิบัติ มีการศึกษาภาคสนาม

GE 336 ทฤษฏีเสนโครงแผนที่ 3 หนวยกิต (Theory of Map Projection)

การศึกษาหลักเบื้องตนและคุณสมบัติของเสนโครงแผนที่ วิธีการแสดงเสนโครงแผนที่ของทรงกลมลงบนพื้นราบประเภทของเสนโครงแผนที่ ความสัมพันธระหวางพิกัดภูมิศาสตรกับพิกัดฉากบนพื้น เสนโครงแผนที่ ความเพี้ยน (Distortion) ของพื้นเสนโครงแผนที่ การเลือกใชเสนโครงแผนที่ใหเหมาะสมกับแผนที่ที่ตองการ

(ควรเรียนกระบวนวิชา GE 245 มากอน) GE 337 ยีออเดซี 3 หนวยกิต (GE 443) (Geodesy) การศึกษาทฤษฏีเกี่ยวกับสัณฐานของโลก เรขาคณิตและอิลิปซอยดอางอิง งานรังวัดทางยีออเดติก ดาราศาสตรในยีออเดซี GE 345 การทําแผนที่ภูมิประเทศ 3 หนวยกิต (Topographic Cartography)

การศึกษาหลักการสํารวจภาคพื้นดินและการสํารวจทางอากาศ การวางแผนงานจัดทําแผนที่ภูมิประเทศปฏิบัติการสํารวจภาคสนาม และงานคํานวณ งานระดับ งานวางหมุด หลักฐานภาคพื้นดิน การเขียนเสนช้ันความสูงและการออกแบบสัญลักษณ ความคลาดเคลื่อนในการรังวัด รวมทั้งการสํารวจสภาพภูมิสัณฐานและสภาพแวดลอมมีการฝกปฏิบัติ

GE 346 การทําแผนที่เฉพาะเรื่อง 3 หนวยกิต (Thematic Cartography)

การศึกษาหลักการทําแผนที่เฉพาะเรื่อง การรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ลักษณะทางที่ต้ังของขอมูลการเลือกแผนที่แมแบบ สัญลักษณแสดงขอมูล การออกแบบแผนที่ การวิเคราะหและการจัดอันดับขอมูล การประกอบแผนที่และการพิมพแผนที่ มีการฝกปฏิบัติ

GE 349 หลักการทางระบบสารนิเทศ ภูมิศาสตร 3 หนวยกิต (Principles of Geographical Information Systems)

การศึกษาโครงสรางฐานขอมูลระบบสารนิเทศภูมิศาสตร การปอนขอมูล จัดเก็บขอมูล และแสดงผลขอมูลการรวบรวมและการจัดการฐานขอมูลเชิงพื้นที่ วิธีการวิเคราะหขอมูลและการทําแบบจําลองทางพื้นที่ วิธีการจําแนกและแกไขขอมูล ขั้นตอนการทําระบบสารนิเทศภูมิศาสตรใหเปนผลสําเร็จ และการเลือกระบบสารนิเทศภูมิศาสตรที่เหมาะสม

Page 31: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

31

GE 353 ภูมิศาสตรเอเชีย 3 หนวยกิต (Geography of Asia)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของทวีปเอเชีย ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในภูมิภาค

GE 354 ภูมิศาสตรยุโรป 3 หนวยกิต (Geography of Europe)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของทวีปยุโรป ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในภูมิภาค

GE 355 ภูมิศาสตรแอฟริกา 3 หนวยกิต (Geography of Africa)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของทวีปแอฟริกา ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในภูมิภาค

GE 356 ภูมิศาสตรละตินอเมริกา 3 หนวยกิต (Geography of Latin America)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของภูมิภาคละตินอเมริกา ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในภูมิภาค

GE 357 ภูมิศาสตรแองโกลอเมริกา 3 หนวยกิต (Geography of Anglo America)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของภูมิภาคแองโกลอเมริกา ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในภูมิภาค

GE 358 ภูมิศาสตรออสเตรเลียและโอเชียเนีย 3 หนวยกิต (Geography of Australia and Oceania)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของภูมิภาคออสเตรเลียและโอเชียเนีย ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในภูมิภาค

GE 359 ภูมิศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3 หนวยกิต (Geography of Southeast Asia)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในภูมิภาค

Page 32: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

32

GE 363 ภูมิศาสตรประชากร 3 หนวยกิต (GE 423) (Population Geography)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรที่เกี่ยวของ หรือมีอิทธิพลตอโครงสรางของประชากร การกระจายความหนาแนน และการเคลื่อนยายของประชากรในภูมิภาคตางๆของโลก การวิเคราะหพฤติกรรมประชากรเชิงภูมิศาสตรในการพัฒนาแหลงอาหาร ตลอดจนการปรับปรุงการใชดิน

GE 364 ภูมิศาสตรการแพทย 3 หนวยกิต (Medical Geography)

การศึกษาลักษณะทางดานพื้นที่ของปญหาสุขภาพมนุษย โดยเนนนิเวศวิทยาของโรค การทําแผนที่โรค กระบวนการแพรกระจายของโรค เพื่อใหเขาใจความสัมพันธระหวางสุขภาพกับสิ่งแวดลอม การจัดหาบริการทางการแพทยตลอดจนการเลือกที่ต้ังสถานบริการ

GE 365 ภูมิศาสตรการทองเท่ียวและนันทนาการ 3 หนวยกิต (Geography of Tourism and Recreation) การศึกษาปจจัยทางภูมิศาสตรที่สงเสริมใหเกิดการทองเที่ยวและนันทนาการ ความสําคัญและผลกระทบจากการทองเที่ยว และนันทนาการที่มีผลตอสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมในภูมิภาคตางๆ ตลอดจนการวิเคราะห และการวางแผนจัดการแหลงทองเที่ยว และนันทนาการ มีการศึกษาภาคสนาม GE 366 ภูมิศาสตรเชิงประวัติ 3 หนวยกิต (Historical Geography)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรในอดีตที่มีผลตอเนื่องกับลักษณะและรูปแบบของพื้นที่ในปจจุบัน ที่ไดเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ทั้งในดานกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม

GE 404 เทคนิคภาคสนามทางภูมิศาสตร 3 หนวยกิต (Field Techniques in Geography)

การศึกษาและฝกภาคสนาม เพื่อใหนักศึกษาไดมีประสบการณในการใชเครื่องมือสํารวจการเก็บและรวบรวมขอมูลตลอดจนการวิเคราะหขอมูลทางภูมิศาสตร ทั้งทางดานกายภาพ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม (ควรปรึกษาผูสอนกอนลงทะเบียน)

GE 415 การจัดการสิ่งแวดลอม 3 หนวยกิต (Environmental Management)

การศึกษาคุณสมบัติทั่วไปของสิ่งแวดลอม ผลกระทบที่มีตอมนุษย สาเหตุและปญหาที่เกิดจากการใชสิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติที่ผิดวิธีทั้งในตางประเทศและในประเทศไทย วิธีการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม โอกาสที่จะเกิดปญหาสิ่งแวดลอมในประเทศไทย รวมทั้งการแกไขปญหา มีการศึกษาภาคสนาม

GE 416 การจัดการลุมน้ํา 3 หนวยกิต (Watershed Management)

การศึกษาหลักการจัดการลุมน้ําตามหลักการอนุรักษดิน และน้ํา รวมทั้งผลกระทบของการทําลายพื้นที่ลุมน้ําที่มีตอสภาพแวดลอม มีการศึกษาภาคสนาม

Page 33: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

33

GE 417 การจัดการใชท่ีดิน 3 หนวยกิต (Land use Management)

การศึกษาประวัติและความสําคัญของการใชที่ดิน หลักการใชที่ดิน ปจจัยทางกายภาพ ปจจัยทางเศรษฐกิจ และสังคมที่ใชในการวางแผนการใชที่ดิน ผลกระทบของการใชที่ดินที่มีตอสภาพแวดลอม โดยเนนประเทศไทยมีการศึกษาภาคสนาม

GE 418 ธรณีสัณฐานวิทยาชายฝงทะเล 3 หนวยกิต (Coastal Geomorphology) ขอแนะนําการเรียน : ควรเรียนกระบวนวิชา GE 213 (ภูมิศาสตรกายภาพ) มากอน

ศึกษากลไกพลังงานและการเคลื่อนที่ของน้ํา ตะกอนชายฝง สัณฐาน โครงสราง กระบวนการพื้นฐานทางธรณีสัณฐานพัฒนาการของลักษณะสัณฐานชายฝง การเปลี่ยนแปลงชายฝง สิ่งแวดลอมชายฝง และธรณีสัณฐานวิทยาชายฝงทะเลประยุกต มีการศึกษาภาคสนาม

GE 440 การแปลภาพถายทางอากาศ 3 หนวยกิต (Aerial-Photo Interpretation)

การศึกษาการแปลภาพถายทางอากาศและการสํารวจภาคสนาม ทั้งทางดานทฤษฏีและปฏิบัติในดานภูมิศาสตรกายภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ควรเรียนกระบวนวิชา GE 213 และ GE 240 มากอน)

GE 447 การทําแผนที่ดวยคอมพิวเตอร 3 หนวยกิต (Computer Cartography)

การใชคอมพิวเตอรในการสรางและวิเคราะหแผนที่ การจัดการขอมูลพ้ืนฐานในการทําแผนที่ ฝกการใชโปรแกรมสําเร็จรูป สําหรับปญหาทางภูมิศาสตร

GE 448 การผลิตแผนที่ 3 หนวยกิต (GE 444) (Map Reproduction) การศึกษาเครื่องมือ และอุปกรณการพิมพแผนที่ ระบบการพิมพหนาสูง ระบบการพิมพหนาราบ ระบบการพิมพหนาลึก การถายรูปทําแมพิมพ การประกอบระวางแบบตนราง การทําแมพิมพ วิธีการพิมพเครื่องพิมพ GE 449 การประยุกตระบบสารนิเทศภูมิศาสตรเพื่อการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ 3 หนวยกิต (Application of Geographical Information Systems for Spatial Data Analysis)

การใชเทคโนโลยีระบบสารนิเทศภูมิศาสตร และคอมพิวเตอรในการวิเคราะห ขอมูลเชิงพื้นที่ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เนนการปฏิบัติการทางคอมพิวเตอรและการออกตรวจสอบขอมูลภาคสนามในพื้นที่ศึกษา (ควรเรียนกระบวนวิชา GE 349 มากอน)

Page 34: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

34

GE 453 ภูมิศาสตรสหภาพโซเวียต 3 หนวยกิต (GE 456) (Geography of Soviet Union)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของสหภาพโซเวียต ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในภูมิภาค

GE 454 ภูมิศาสตรญี่ปุน 3 หนวยกิต (Geography of Japan)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของญี่ปุน ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในภูมิภาค

GE 455 ภูมิศาสตรจีน 3 หนวยกิต (Geography of China)

การศึกษาสภาพภูมิศาสตรของจีน ทางดานกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยวิเคราะหสภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในภูมิภาค

GE 456 ภูมิศาสตรทองถิ่น 3 หนวยกิต (Local Geography)

การศึกษาลักษณะทางกายภาพเศรษฐกิจและสังคม ในทองถิ่นใดทองถิ่นหนึ่ง โดยเฉพาะโดยวิธีการวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางชีวิตความเปนอยูของประชากรกับสิ่งแวดลอม ตลอดจนการเสนอแนะวิธีการแกปญหาทางเศรษฐกิจและสังคมของประชากรในทองถิ่นนั้น ๆ

GE 464 ภูมิศาสตรอุตสาหกรรม 3 หนวยกิต (GE 526) (Industrial Geography)

การศึกษาประเภทอุตสาหกรรม องคประกอบที่มีอิทธิพลตอการประกอบอุตสาหกรรมและเขตอุตสาหกรรมที่สําคัญของ โลก โดยเนนในดานการใชวัตถุดิบ และกิจกรรมที่มีความเกี่ยวของกับอุตสาหกรรม

GE 465 ภูมิศาสตรการเกษตร 3 หนวยกิต (GE 525) (Geography of Agriculture)

การศึกษาระบบการเกษตรของโลก องคประกอบทางภูมิศาสตรที่มีอิทธิพลตอการเกษตรตลอดจนการจัดการทรัพยากรและระบบนิเวศตอการเกษตร โดยเนนประเทศไทย มีการศึกษาภาคสนาม

GE 466 ภูมิศาสตรการเกษตร 3 หนวยกิต (GE 425) (Geography of Transportation)

การศึกษาระบบการขนสง ความสัมพันธระหวางการบริการดานขนสงกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และวัฒนธรรม รวมทั้งปญหาที่เกิดขึ้นแกชุมชน

Page 35: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

35

GE 467 ภูมิศาสตรการเมือง 3 หนวยกิต (GE 424) (Political Geography)

การศึกษาวิวัฒนาการแนวความคิดของภูมิศาสตรการเมือง ลักษณะทางภูมิศาสตรของรัฐ ที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมือง การวิเคราะหถึงหนาที่ตางๆ ของระวางที่ โครงสรางภายในรัฐ องคการระหวางประเทศ และรัฐบาล

GE 468 ภูมิศาสตรพฤติกรรม 3 หนวยกิต (Behavioral Geography)

การศึกษาอิทธิพลของสภาพแวดลอมที่มีตอพฤติกรรมเชิงพื้นที่ของมนุษย และอิทธิพลของพฤติกรรมตอการประกอบกิจกรรม ภูมิทัศนและการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมบนพื้นที่ พ้ืนที่และรูปแบบกิจกรรม กระบวนการเลือกทางพื้นที่ พฤติกรรมและผูบริโภค พฤติกรรมของมนุษยตอภัยพิบัติธรรมชาติ การวิเคราะหการใชพ้ืนที่ในเมืองของมนุษย

GE 473 ภูมิศาสตรชนบท 3 หนวยกิต (GE 527) (Rural Geography)

การศึกษาทฤษฏีและแบบจําลองของกระบวนการทางพื้นที่ ปจจัยทางกายภาพและวัฒนธรรมที่มีผลตอเศรษฐกิจ สังคมและการใชที่ดินในชนบท ปญหาและการเปลี่ยนแปลงทางพื้นที่ การประเมินคา การวางแผนพัฒนาพื้นที่ชนบทมีการศึกษาภาคสนาม

GE 474 ภูมิศาสตรเมือง 3 หนวยกิต (GE 524) (Urban Geography)

การศึกษาระบบของเมืองในแงขนาด โครงสราง และความสัมพันธระหวางสมาชิกเมืองในระบบเดียวกัน ตลอดจนศึกษาการใชพ้ืนที่ภายในแงเศรษฐกิจและสังคม

GE 483 สัมมนาภูมิศาสตร 3 หนวยกิต (GE 419) (Seminar in Geography) การอานและการอภิปรายสิ่งพิมพ และงานคนควาทางภูมิศาสตร รวมทั้งการศึกษารายกรณี (ควรปรึกษาผูสอนกอนลงทะเบียนเรียน) HC 203 ปญหาการดําเนินชีวิต 3 หนวยกิต (Problems of Living)

การปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมในชีวิตประจําวันในสังคมปจจุบันใหเกิดประสิทธิภาพ รูจักปรับปรุงสภาพความเปนอยูใหเหมาะสม รูจักใชทรัพยากรของครอบครัวและทรัพยากรอื่นๆ ใหเกิดประโยชนมากที่สุด

HC 205 หลักศิลปะเพื่อคหกรรมศาสตร 3 หนวยกิต (Principles of Art in Home Economics)

หลักของศิลปะ ทฤษฎี และองคประกอบ เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาวิชาการจัดและตกแตงบาน การจัดดอกไม การจัดอาหาร การเลือกเสื้อผา และเครื่องแตงกาย การออกแบบลายผาและหัตถกรรม

Page 36: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

36

HC 206 วิทยาศาสตรประยุกตในคหกรรมศาสตร 3 หนวยกิต (Applied Science in Home Economics)

ความสําคัญและประโยชนของวิชาเคมี ชีววิทยาและฟสิกส ที่สามารถนํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ดานอาหาร เสื้อผา ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค เครื่องสําอาง ของใชตางๆและเครื่องมือ เครื่องจักร

HC 244 การประกอบอาหาร 3 หนวยกิต (HC 345) (Food Preparation)

ศึกษาลักษณะ สวนประกอบ กรรมวิธี ปฏิกิริยาของอาหารที่มีตอเครื่องปรุง การใชวัตถุดิบในทองถิ่น การกําหนดรายการอาหาร รวมถึงวิธีใชปรับปรุงและเขียนตําราอาหารมาตรฐานตามหลักสากลและมีการฝกปฏิบัติ

HC 245 อาหารและโภชนาการ 3 หนวยกิต (HC 243,HC 343) (Food and Nutrition)

ความหมายของอาหารและโภชนาการ ความสําคัญของอาหารตอสุขภาพ ประเภทของอาหาร และสารอาหาร การเปลี่ยนแปลงของสารอาหารในรางกาย ปริมาณสารอาหารที่ควรไดรับใน 1 วัน ปญหาโภชนาการในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ สารปรุงแตงและสารเจือปนในอาหาร มีการฝกปฏิบัติประกอบอาหารหลัก 5 หมู เพื่อใหไดสารอาหารสารอาหารครบถวน ตามความตองการของวัยตางๆ

HC 295 งานถักและสาน 3 หนวยกิต (Weaving Craft)

ศึกษาและฝกปฏิบัติการเลือกวัสดุ เครื่องมือ เครื่องใชในการถักและสาน การออกแบบลวดลายตางๆ เพื่อการประดิษฐเปนผลิตภัณฑเครื่องใช เครื่องประดับที่สวยงาม ประณีตและทนทาน

HC 303 การสอนวิชาคหกรรมศาสตร 3 หนวยกิต (Teaching Home Economics) ศึกษาถึงการสอนคหกรรมศาสตรในโรงเรียน โดยเนนหลักการและวิธีการสอน การทําโครงการสอนและบันทึกการสอน

การทําอุปกรณการสอนที่เกี่ยวของ การวัดผลและประเมินผลการสอน การวิเคราะหหลักสูตรและแบบเรียน รวมทั้งปญหาและแนวโนม ในการสอนวิชาคหกรรมศาสตรในระดับตางๆ มีการฝกปฏิบัติ

HC 305 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร 3 หนวยกิต (Business Management in Home Economics)

ความสําคัญ แนวคิด และวิธีการประกอบธุรกิจคหกรรมศาสตร ในดานสินคาและบริการ โอกาสในการประกอบธุรกิจวิธีการสงเสริม และเทคนิคในการดําเนินธุรกิจ จนถึงการบริหารงาน และการควบคุมดาํเนินการ การประยุกตการผลิตและผลิตภัณฑทางคหกรรมศาสตร การดําเนินการธุรกิจคหกรรมศาสตรในรูปแบบตางๆ

HC 306 การศึกษาเปนรายบุคคล 3 หนวยกิต (Individual Study)

การศึกษาตามความสนใจพิเศษของผูเรียนจากกลุมวิชาเฉพาะ เพื่อใหมีความรูอยางลึกซึ้งและกวางขวาง ภายใตคําแนะนําและการนิเทศอยางใกลชิดของอาจารย

Page 37: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

37

HC 313 บานและการจัดการบานเรือน 3 หนวยกิต (Home and Home Management)

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการปลูกสรางบาน การซื้อ การเชา การเชาซื้อ การจัดผังภายในบานและบริเวณบาน เพื่อความสะดวกสบาย และถูกสุขลักษณะ ความเปนสัดสวน ความสวยงาม ในเรื่องการจัดหาอุปกรณเครื่องใชตางๆ ใหเหมาะสมกับบาน การจัดงบประมาณ เวลาและแรงงานใหเกิดประโยชนกับงานภายในบาน

HC 314 อุปกรณภายในบานและการบํารุงรักษา 3 หนวยกิต (HC 413) (Household Materials and Their Maintenance)

ความสําคัญและประโยชนของอุปกรณ การเลือกประเภทของวัสดุ การจัดเก็บรักษาอุปกรณเครื่องใชภายในบานการเลือกอุปกรณเครื่องใชตามประเภทของพลังงานรูปแบบตางๆ การดูแลรักษาและปรับปรุงเครื่องมือเครื่องใช เพื่อความสะดวกและความปลอดภัย และมีการฝกปฏิบัติ

HC 315 บานและการตกแตง 3 หนวยกิต (Home Decoration)

วิวัฒนาการของบาน และลักษณะของบานประเภทตางๆ หลักการจัดและตกแตงภายในบานและภายนอกบาน การจดัวางวัสดุเครื่องใชใหประหยัดเวลา แรงงานและความปลอดภัยตอบุคคลภายในบาน การดัดแปลง บํารุงรักษาที่อยูอาศัย และเครื่องใชภายในบานใหเหมาะสมฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว

HC 316 การจัดการทรัพยากร 3 หนวยกิต (Resource Management)

ศึกษาปรัชญา คานิยม เจตคติ เปาหมายในการจัดการทรัพยากรบุคคล เวลา เงิน แรงงาน และทรัพยากรอื่นๆ การนําขบวนการจัดการไปแกปญหาใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม การวางแผนการทํางบประมาณและการใชจายเกี่ยวกับทรัพยากร

HC 325 การอบรมและการเลี้ยงดูเด็ก 3 หนวยกิต (HC 323) (Child Care and Training)

ศึกษาการปฏิบัติตนของมารดาระหวางการตั้งครรภ การคลอด การอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยตางๆ ใหสอดคลองกับพัฒนาการของเด็ก ดานรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม รวมทั้งจริยธรรม อิทธิพลของการอบรมเลี้ยงดู และสิ่งแวดลอมที่ มีผลตอพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งสังเกตพฤติกรรมเด็กในโรงเรียน สถานรับเลี้ยงเด็กและมีการฝกปฏิบัติ

HC 326 สุขภาพเด็ก 3 หนวยกิต (Child Health)

การสงเสริมสุขภาพเด็กในวัยทารกถึงวัยเรียน ตลอดจนการปองกัน การดูแล การเจ็บปวยอยางปจจุบัน โรคติดเชื้อ โรคพยาธิ และอุบัติเหตุตางๆ แนวทางการปฏิบัติในการดูแลอยางถูกตอง บทบาทของครอบครัวและชุมชนที่มีตอสุขภาพเด็ก

Page 38: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

38

HC 327 การศึกษาสําหรับพอแม 3 หนวยกิต (Parents Education)

ทฤษฎีเกี่ยวของกับความตองการของมนุษย การเสริมสรางใหตระหนักในความเปนพอแม เตรียมพรอมทั้งดานรางกายและจิตใจ เศรษฐฐานะ ความเชื่อเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูบุตร การดูแลบุตรต้ังแตปฏิสนธิถึงวัยรุน และหนวยงานบริการสังคมแกพอแม

HC 328 การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย 3 หนวยกิต (Pre - school Child Care and Training)

ศึกษาวิธีสงเสริมพัฒนาการทางรางกาย สติปญญา สังคม และอารมณ การจัดโภชนาการ การจัดประสบการณและสิ่งแวดลอม การปลูกฝงจริยธรรม รวมทั้งสวัสดิศึกษาของเด็กปฐมวัย

HC 329 การเลนกับพัฒนาการของเด็ก 3 หนวยกิต (Play and Child Development)

ทฤษฎีการเลน หลักและเทคนิคการเลือกของเลนใหเหมาะสมกับเพศและวัย และสอดคลองกับพัฒนาการดานรางกายอารมณ สังคม และสติปญญา ต้ังแตแรกเกิดถึงวัยรุน ประโยชนและโทษของของเลนที่มีตอเด็ก

HC 333 เด็กและเยาวชนกับการสงเสริมอาชีพ 3 หนวยกิต (Juvenile and Career Promotion)

ความสําคัญของเด็กและเยาวชน อิทธิพลของสังคมและสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบตอเด็กและเยาวชน ปญหาทั่วไปของเด็กและเยาวชน กฎหมายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน การสงเสริมและการแนะนําอาชีพ บทบาทของเด็กและเยาวชนที่มีตอสังคม ทรัพยากร เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน บทบาทของรัฐและเอกชนที่มีตอการพัฒนาและสงเสริมอาชีพใหแกเด็กและเยาวชน

HC 346 การจัดและการตกแตงอาหาร 3 หนวยกิต (Food Decoration and Arrangement)

หลักศิลปะที่สัมพันธกับการจัดและตกแตงอาหาร การเลือกซื้ออาหาร วัสดุและอุปกรณในการตกแตง ฝกปฏิบัติการตกแตงอาหารแบบตางๆ ใหเหมาะสมกับโอกาสในการจัดเลี้ยง

HC 347 ขนมไทย 3 หนวยกิต (Thai Dessert)

ศึกษาและปฏิบัติกรรมวิธีในการประกอบขนมไทยโดยใชวิธีตางๆ เทคนิคการเตรียมการปรุง ลักษณะที่ดีของขนมไทย วิธีแกปญหา การเก็บรักษา และการบรรจุหีบหอ

HC 348 ขนมอบ 3 หนวยกิต (Bakery)

ศึกษาเรื่องคุณสมบัติของเครื่องปรุงในขนมอบ การเลือกซื้อ วิธีใช การเก็บรักษาเครื่องปรุงและอุปกรณ หลักการทําขนมอบไทยและตางประเทศ การเก็บอาหารที่ทําสําเร็จแลว การบรรจุหีบหอ รวมทั้งการฝกปฏิบัติการทําขนมประเภทตางๆ

Page 39: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

39

HC 349 หลักและวิธีการถนอมอาหาร 3 หนวยกิต (HC 344) (Principles of Food Preservations)

ประวัติและความเปนมา ความมุงหมายในการถนอมอาหาร สาเหตุที่ทําใหอาหารบูดเนาเสีย หลักและวิธีการถนอมอาหารแบบตางๆ อุปกรณเครื่องใชสําหรับการถนอมอาหาร การเก็บรักษา การถนอมอาหารหลักหมูตางๆ การตรวจสอบคุณภาพของการถนอมอาหารและมีการฝกปฏิบัติ

HC 353 การจัดการอาหาร 3 หนวยกิต (HC 443) (Meal Management)

เปาหมายและกระบวนการในการจัดอาหาร หลักการจัด การซื้อ การประกอบ การบริหารอาหาร การจัดการแรงงาน เวลา งบประมาณ ฝกปฏิบัติการจัดเลี้ยง ในโอกาสตางๆ

HC 354 การควบคุมคุณภาพอาหาร 3 หนวยกิต (Food Quality Control)

ความสําคัญของการควบคุมคุณภาพอาหาร วิธีการควบคุม เครื่องมือและอุปกรณและหนวยงานที่เกี่ยวของ การควบคุมอาหารที่ปรุงเสร็จใหม อาหารกึ่งสําเร็จรูปและอาหารสําเร็จรูป มาตรฐานอาหารในและตางประเทศ

HC 375 ความรูเร่ืองผาและเสนใย 3 หนวยกิต (HC 373) (Textiles and Fabrics)

ศึกษาประวัติและวิธีการผลิตเสนใยผาชนิดตางๆ การวิเคราะหโครงสรางทางกายภาพและคณุสมบัติทางเคมีของเสนใยที่มีผลตอการนํามาใช และการดูแลรักษาผา การจําแนกและการผลิตเสนดายชนิดตางๆ กระบวนการผลิตผืนผาดวยวิธีทอ ถัก อัด การตกแตงผาที่จําเปนและเพื่อคุณสมบัติพิเศษ การซักลางทําความสะอาดเสื้อผา และการดูแลรักษาเสื้อผา

HC 376 การตัดเย็บเสื้อผา 3 หนวยกิต (HC 371, HC 372) (Clothing Construction)

ความสําคัญของอุปกรณการตัดเย็บ การใชจักรเย็บผาและการดูแลรักษา เทคนิคการตัดเย็บเสื้อผาเบื้องตน ฝกการสรางแบบและตัดเย็บเสื้อกระโปรงมาตรฐาน การลองตัว การแกไขเสื้อผาสําหรับผูที่มีรูปรางที่แตกตางไปจากเกณฑมาตรฐานทั่วไป การดัดแปลงแบบตัดเสื้อ กระโปรงเบื้องตน การสรางปกและแขนเสื้อแบบตางๆ เพื่อประกอบตัวเสื้อและกระโปรงตามสมัยนิยม

HC 377 การออกแบบและการเลือกเสื้อผา 3 หนวยกิต (HC 374) (Clothing Design and Selection)

วิวัฒนาการและประวัติการแตงกายของไทยและตางประเทศ แนวโนมและความสําคัญของวัฒนธรรมการแตงกายของไทย หลักการออกแบบและการวาดแบบเสื้อผาเครื่องแตงกาย การเลือกผาและลวดลายผา ใหเหมาะสมกับโอกาสบุคลิกภาพ รูปราง การเลือกซื้อเสื้อผาสําเร็จรูปใหเหมาะสมกับสมัยนิยมและเศรษฐฐานะ

HC 378 การตัดเย็บเสื้อผาเด็ก 3 หนวยกิต (HC 474) (Child Clothing)

หลักเกณฑการเลือกเสื้อผาสําหรับเด็กวัยตางๆ การสรางแบบตัดเสื้อผาเด็กเบื้องตน การดัดแปลงแกไขเสื้อผาใหใชประโยชนสําหรับเด็กวัยตางๆ และการดูแลรักษาเสื้อผาเด็ก ฝกปฏิบัติตัดเย็บเสื้อผาเด็กแบบตางๆ ตามสมัยนิยม

Page 40: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

40

HC 379 การเย็บปกดวยจักร 3 หนวยกิต (Embroidery by Sewing Machine)

หลักและทฤษฏีการออกแบบเพื่อการเย็บปกดวยจักร การเลือกใชวัสดุงานปกดวยจักรใหเหมาะสมกับผา โอกาสและสมัยนิยม ฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดทักษะ

HC 395 การจัดดอกไม 3 หนวยกิต (Flower Arrangement)

ศึกษาทฤษฎีและปฏิบัติการเตรียมดอกไม คุณคาของดอกไมชนิดตางๆ การเลือกและการเก็บรักษาดอกไมแบบไทยแบบสากล และการออกแบบจัดดอกไม อยางธรรมดาและพิธีการ

HC 396 การทําดอกไมประดิษฐ 3 หนวยกิต (HC 393) (Flower Crafts)

ศึกษาวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือเครื่องใช การออกแบบ การระบายสีและการยอมสี การทําเกสรดอกไม การตัด-การอัดกลีบดอกไม-ใบไม การเขาดอกไม การเขาชอ ฝกหัดการประดิษฐดอกไมชนิดตางๆ ใหเหมือนธรรมชาติมากที่สุด การนําไปใชใหเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ รวมทั้งประโยชนที่ไดรับจากดอกไมประดิษฐ

HC 397 งานดอกไมสดและใบตอง 3 หนวยกิต (HC 394) (Fresh Flower and Banana Leaf Work)

ศึกษาถึงคุณคาของดอกไมสดและใบตอง หลักการเลือก การเตรียมวัสดุ อุปกรณตางๆ เครื่องมือเครื่องใชการออกแบบ การเก็บรักษา ฝกหัดการประดิษฐดอกไมสดและใบตองในรูปแบบตางๆ เชน การเย็บ การปก การจัด การรอยแบบตางๆ การนําไปใชใหเหมาะสม

HC 398 การแกะสลักผักและผลไม 3 หนวยกิต (HC 496) (Fruit and Vegetable Carving)

ศึกษาทฤษฏีและปฏิบัติการแกะสลักผักและผลไมตางๆ ฝกใหรูจักการเลือกการเตรียมวัสดุอุปกรณ การออกแบบ การเก็บรักษาเครื่องมือเครื่องใชในการแกะสลัก การปอก การควานผักและผลไม

HC 399 การประดิษฐเคร่ืองแขวน 3 หนวยกิต (Mobiles Making)

ศึกษาและฝกปฏิบัติการออกแบบ การเลือกเครื่องมือ เครื่องใชและวัสดุเพื่อทําเครื่องแขวน หลักเกณฑการรอยตาขายอุบะ เย็บแบบเฟอง และเย็บดอกขา เพื่อประดิษฐเปนเครื่องแขวนใชในการประดับตกแตงสถานที่ในพิธีและเทศกาลตางๆ

HC 404 สัมมนาทางคหกรรมศาสตร 1 หนวยกิต (Seminar in Home Economics)

การคนควา อภิปราย รายงาน ความรู กิจกรรมทางคหกรรมศาสตร รวมทั้งวิเคราะหปญหาจากการฝกงานในหนวยงานตางๆ

Page 41: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

41

HC 405 คหกรรมศาสตรเพื่อการพัฒนาชุมชน 3 หนวยกิต (Home Economics for Community Development)

ความรูเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมของทองถิ่นในชนบท ที่มีความสัมพันธกับวิชาคหกรรมศาสตร เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชน

HC 406 การฝกงานทางคหกรรมศาสตร 6 หนวยกิต (Training in Home Economics) การฝกงานทางคหกรรมศาสตรในหนวยงานตางๆ ตามกลุมวิชาชีพ เพื่อใหนักศึกษานําความรูทางทฤษฎีและทักษะตางๆ ที่ไดศึกษามาประยุกตใชกับงานในวิชาชีพ HC 423 นิทานสําหรับเด็ก 3 หนวยกิต (Story for Children)

เทคนิคในการเลา การเขียนนิทาน ตลอดจนทําอุปกรณที่ทําใหเกิดจินตนาการ และการพัฒนาการทางสติปญญา อารมณและสังคม

HC 424 สถานเลี้ยงเด็กในชุมชน 3 หนวยกิต (Community Day Care)

ความสําคัญของการจัดต้ังสถานเลี้ยงเด็กในชุมชน หลักการจัดสถานเลี้ยงเด็กออน เด็กกอนวัยเรียนในเขตชนบท เขตเมือง และชุมชนแออัด ศึกษาถึงการบริหาร อุปกรณ บุคลากร การจัดกิจกรรมและสิ่งแวดลอม เพื่อเสริมสรางประสบการณในสถานเลี้ยงเด็ก

HC 425 การอบรมเลี้ยงดูเด็กพิเศษ 3 หนวยกิต (Care for Special Children)

ลักษณะและพัฒนาการทั่วไปทางรางกาย อารมณ สังคมของเด็กพิเศษ หลักการอบรมเลี้ยงดู เพื่อฟนฟูสมรรถภาพใหอยูในสังคมไดอยางมีประโยชน อิทธิพลของครอบครัวและสังคม หนวยงานของรัฐบาลและเอกชนที่บริการเกี่ยวกับเด็กพิเศษ

HC 447 การบริการอาหารในสถาบัน 3 หนวยกิต (HC 449) (Institutional Food Services)

ศึกษาประวัติความเปนมาของการบริการอาหารในสถาบัน การวางแผนการดําเนินงาน การจัดหนวยงาน การบริหารงานบุคคล การจัดอาหารและเลือกซื้ออุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช ใหเหมาะสมกับวิธีการและชนิดของการบริการอาหารในสถาบันตางๆ ฝกปฏิบัติการจัดและจําหนายอาหาร

HC 448 เศรษฐศาสตรอาหาร 3 หนวยกิต (HC 445) (Food Economics)

ปญหาการผลิตและการบริโภคอาหารในประเทศไทยและตางประเทศ การชวยเหลือดานอาหารจากหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในและตางประเทศ ความสําคัญและวิธีการเพิ่มผลผลิต การเก็บรักษา การขนสง การตลาด รวมทั้งการบริโภค

Page 42: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

42

HC 449 อาหารเฉพาะโรค 3 หนวยกิต (Therapeutic Diet) ศึกษาปญหา สาเหตุ การปองกัน เนนเฉพาะการจัดอาหารเฉพาะโรคใหเหมาะสมกับผูปวย ตามความตองการของบุคคล ในสภาวะนั้น รวมทั้งการฝกปฏิบัติการประกอบอาหาร HC 453 โภชนาการชุมชน 3 หนวยกิต (HC 444) (Community Nutrition)

ปญหาโภชนาการในอดีต ปจจุบัน และแนวโนมในอนาคต วิธีการสํารวจภาวะโภชนาการชุมชน การติดตามการประเมินผล การวางแผนการดําเนินงาน การแกปญหาโภชนาการชุมชน การปรับปรุง สงเสริม ภาวะโภชนาการของบุคคล ครอบครัว และชุมชน รวมทั้งการใหโภชนศึกษา ฝกปฏิบัติสํารวจภาวะโภชนาการในชุมชน

HC 473 การออกแบบผาและการตกแตง 3 หนวยกิต (Textile Design and Decoration)

ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบลวดลายผา วัสดุและกรรมวิธีที่ใชในการยอมผาหรือพิมพผา การพิมพฝมือ และงานอุตสาหกรรม การเลือกใชผาใหเหมาะสมกับบุคคลและการตกแตงทั่วไป

HC 474 การตัดเย็บเสื้อผาชั้นในสตรี 3 หนวยกิต (Undergarment Construction)

ลักษณะของเสื้อผาช้ันในที่ดี ฝกหัดการออกแบบและการตัดเย็บเสื้อผาช้ันในสตรี ใหเหมาะสมกับรูปรางและเสื้อผาช้ันนอก การเลือกผา และวัสดุประกอบการตัดเย็บใหเหมาะสม

HC 475 การตัดเย็บชุดไทย 3 หนวยกิต (Thai Style Clothing Construction)

แบบและโอกาสของการใชชุดไทย หลักและทฤษฎีการตัดเย็บเสื้อผาชุดไทย ฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดทักษะในการตัดเย็บชุดไทยแบบตางๆ

HC 476 การทอ 3 หนวยกิต (Weaving) ศึกษาหลักการทอและฝกปฏิบัติประเภทของวิธีทอและเครื่องทอ การวิเคราะหเสนใยและสิ่งทอนั้นๆใหเหมาะสมกับวิธีทอ HC 477 การตัดเย็บเสื้อผาอุตสาหกรรม 3 หนวยกิต (Commercial Clothing Construction)

หลักการตัดเย็บเสื้อ โดยใชแบบตัดมาตรฐาน การออกแบบดัดแปลงเพื่อใหสอดคลองกับความตองการของตลาด โดยการนําเครื่องจักรอุตสาหกรรมมาใชเพิ่มผลผลิต

HC 478 การทําเสื้อจากหุน 3 หนวยกิต (Draping and Clothing Construction)

หลักการตัดเย็บเสื้อผาแบบตางๆ โดยใชหุน การทําแบบตัดจากหุน และการปรับขนาดหุนมาตรฐานใหเทากับรูปรางเฉพาะบุคคล การจับจีบผาบนหุนเพื่อประกอบเปนเสื้อผา โดยพิจารณาถึงลักษณะของความสัมพันธของผาแบบเสื้อและโอกาสใชสอย

Page 43: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

43

HC 493 การเย็บ ปก ถัก รอย 3 หนวยกิต (Needle Crafts and Embroidery)

ศึกษาและฝกปฏิบัติงานเย็บ ปก ถัก รอย แบบตางๆ การเลือกใชวัสดุประเภทดาย ไหมถัก ไหมพรม ลูกปด เลื่อม ดิ้นเงิน ดิ้นทอง และอื่นๆ เพื่อนํามาประดิษฐเปนผลิตภัณฑ เครื่องใช เครื่องประดับที่สวยงาม ประณีตและทนทาน

HC 494 การประดิษฐวัสดุเหลือใช 3 หนวยกิต (Surplus Material Crafts)

ศึกษาประโยชนของวัสดุเหลือใช ฝกปฏิบัติการออกแบบ การนําวัสดุเหลือใชที่มีในทองถิ่น มาประดิษฐเปนเครื่องใชสอย เครื่องประดับ เครื่องเลนเด็กที่สวยงาม ประณีตและทนทาน

HC 496 การประดิษฐตุกตา 3 หนวยกิต (Doll Making)

ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบ การเลือกใชวัสดุอุปกรณประเภทผาฝาย ผายืด ผาขนสัตว เชือก ฟาง ไหมพรม และอื่นๆ เพื่อประดิษฐเปนตุกตาแบบตางๆ ใหสวยงาม ประณีตและทนทาน

HC 497 การประดิษฐเคร่ืองเลนสําหรับเด็ก 3 หนวยกิต (Children’s Toy Making)

ศึกษาถึงคุณภาพเครื่องเลนของเด็ก การออกแบบฝกประดิษฐเครื่องเลนของเด็กชนิดตางๆ เพื่อนํามาจัดเปนกิจกรรมการเลนใหเหมาะสมกับเพศและวัยของเด็ก

HC 498 การประดิษฐของชํารวย 3 หนวยกิต (Souvenir Making)

ศึกษาและฝกปฏิบัติการออกแบบ การเลือกใชวัสดุตางๆ เชน ผา ดอกไมอบร่ํา ใบโพธิ์ เชือก ฟาง ริบบิ้น และอื่น ๆ มาประดิษฐเปนของชํารวยตามสมัยนิยม เพื่อใหเหมาะสมกับงานพิธีและเทศกาลตาง ๆ

HC 499 การประดิษฐของจากกระดาษ 3 หนวยกิต (Paper Making)

ศึกษาและฝกปฏิบัติการออกแบบ การเลือกชนิดของกระดาษ การพับ ตัด ตอเปนรูปทรง และลวดลายตางๆ เพื่อนํามาทําเครื่องใช เครื่องประดับ และตกแตง งานพิธี และเทศกาลตางๆ

HE 105 อนามัยสวนบุคคลและชุมชน 2 หนวยกิต (Personal and Community Hygiene)

ศึกษาถึงความรูเกี่ยวกับอนามัยสวนบุคคลทั้งทางรางกายและจิต และการรักษาอวัยวะสวนตางๆ ของรางกาย เนนถึงการปฏิบัติและสรางสุขนิสัยประจําวัน องคประกอบเกี่ยวกับโครงการอนามัย และปญหาเกี่ยวกับอนามัยในประเทศไทย การปฏิบัติงาน การควบคุม การสุขาภิบาล การปองกันโรคติดตอ การกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลในชุมชน

HE 240 ไวรัส แบคทีเรีย แลพาราสิทกับการเกิดโรค 2 หนวยกิต (Virus, Bacteria and Parasite)

ศึกษาถึงลักษะของไวรัส แบคทีเรียและพาราสิท เฉพาะที่ทําใหเกิดโรคกับคน และสัตว การเกิดโรค การระบาดของเชื้อโรค และการควบคุม การปองกัน โรคที่เกิดจากไวรัส แบคทีเรีย และพาราสิท

Page 44: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

44

HE 245 สวัสดิศึกษา 1 หนวยกิต (Safety Education)

ความหมายและความสําคัญของสวัสดิศึกษา ศึกษาถึงชนิด สาเหตุและการปองกันอุบัติเหตุ ปญหาและบทบาทของสวัสดิศึกษาในบาน ในโรงเรียน ในชุมนุมชน ในกิจกรรมพลศึกษาและสันทนาการ การจัดโครงการสวัสดิศึกษาสวนบุคคลและชุมชน การสอนสวัสดิศึกษาในโรงเรียน

HE 246 การปฐมพยาบาลและสวัสดิศึกษา 2 หนวยกิต (First Aid and Safety Education)

ความหมายของการปฐมพยาบาล การตกเลือด การหามเลือก บาดแผลไฟไหม น้ํารอนลวก การหมดสติ การผายปอด การปฐมพยาบาล สิ่งแปลกปลอมเขาสูรางกาย การพันแผล กรเคลื่อนยายผูปวย ศึกษาถึงเรื่องชนิดและสาเหตุของอุบัติเหตุ ปญหาและบทบาทของสวัสดิศึกษาในโรงเรียนและชุมชน การจัดโปรแกรมสวัสดิศึกษาสวนบุคคลและชุมชน รวมทั้งการจัดหาอุปกรณการสอนทางสวัสดิศึกษา

HE 311 พฤติกรรมการสอนวิชาสุขศึกษา 1 4 หนวยกิต (Teaching Behavior in Health Education 1)

ศึกษาถึงความมุงหมายของการสอนสุขศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา แนวความคิดในการสอนสุขศึกษา การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางดานสุขภาพ หลักทั่วไปในการสอน วิธีสอนและกิจกรรมตางๆ และวัสดุอุปกรณการสอนสุขศึกษา

HE 312 พฤติกรรมการสอนวิชาสุขศึกษา 2 4 หนวยกิต (Teaching Behavior in Health Education 2)

ศึกษาถึงเรื่องการวิเคราะหหลักสูตร การทําโครงการสอนระยะยาว การทําบันทึกการสอน การวัดและประเมินผลวิชาสุขศึกษา (การทําแบบทดสอบ) ปญหาและอุปกรณในการเรียน การสอวิชาสุขศึกษาในโรงเรียน (ในการเรียนใหการปฏิบัติจริงเพื่อใหเกิดพฤติกรรมดวย)

HE 313 การสอนวิชาสุขศึกษา 3 หนวยกิต (Teaching of Health Education)

ศึกษาความหมาย ความมุงหมาย แนวความคิดวิชาสุขศึกษา การวิเคราะหหลักสูตรหนังสือแบบเรียนวิชาสุขศึกษา การทําแฟนการสอน บันทึกการสอน การทดลองสอน การจัดดําเนินการสอนในหองเรียน การวัดและประเมินผลวิชาสุขศึกษาและคุณลักษณะของครูที่ดี

HE 340 การควบคุมโรคติดตอ 2 หนวยกิต (Communicable Diseases Control)

ศึกษาเกี่ยวกับระบาดวิทยาเบื้องตน การเกิด การแพร ระยะฟกตัว และการระบาดของโรคติดตอ หลักการปองกันและควบคุมโรคประเภทตางๆ การสรางภูมิคุมกันโรค การแยก การกักกัน การทําลายโรค การกําจัดสื่อนําโรค

Page 45: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

45

HE 341 การสาธารณสุขเบื้องตน 2 หนวยกิต (Introduction to Public Health)

การศึกษาเรื่องความหมาย หลักและแนวความคิดเบื้องตนเกี่ยวกับการสาธารณสุข ขอบขายและสิ่งแวดลอม ขอบขายประวัติ และการบริหารงานสาธารณสุข การจัดและดําเนินงานของหนวยอาสาสมัคร มูลนิธิ และองคการระหวางประเทศ ที่มีหนาที่เขามาชวยงานดานสุขภาพและอนามัยตางๆ ทั้งในตัวเมืองและชนบท รวมถึงการศึกษาดานกฎหมายหรือพระราชบัญญัติตางๆ เกี่ยวกับสาธารณสุข

HE 343 อนามัยสวนบุคคล 2 หนวยกิต (personal Hygiene) ศึกษาถึงหลักสําคัญทางวิทยาศาสตรเกี่ยวกับสุขภาพทั้งทางกายและทางจิต เพื่อใหเกิดประโยชนทางสุขภาพแหงตนเอง ใหมีความรูในการระวังรักษาอวัยวะสวนตางๆ ของรางกาย ตลอดจนการปองกันโรคภัยไขเจ็บ การสงเสริมสมรรถภาพ ทางกาย การเลือกกิจกรรมนันทนาการเพื่อสุขภาพ อนามัยทางเพศ และความรูเกี่ยวกับการเลือกใชเครื่องบริโภคและ อุปโภคใหเกิดประโยชนตอสุขภาพ HE 345 โภชนาการ 2 หนวยกิต (Nutrition) ศึกษาถึงชนิดและคุณคาของอาหารที่ใหประโยชนตอรางกาย อาหารที่จําเปนตอสุขภาพการถนอมคุณคาทางอาหาร การ สุขาภิบาลเกี่ยวกับอาหาร ตลอดจนศึกษาถึงปญหาเกี่ยวกับอาหารคนไทย โดยเฉพาะในชนบทและการแนะนําเกี่ยวกับ อาหารในโรงเรียนและในชุมชน HE 346 การปฐมพยาบาล 2 (3) หนวยกิต (First-Aids) ศึกษาถึงความหมาย ความสําคัญและความรูเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องการตกเลือด การหาม เลือด บาดแผลไฟไหม น้ํารอนลวก การหมดสติ การผายปอด การปฐมพยาบาล สิ่งแปลกปลอมเขาสูรางการ กระดูกแตก หัก ขอตอเคลื่อนการพันแผล และการเคลื่อนยายผูปวย HE 347 สุขศาสตรในโรงเรียน 2 หนวยกิต (School Health Education) ความรูและความเขาใจในหลักการ จุดมุงหมาย ขอบเขตและวิธีการใหพยาบาลผูปวยที่บาน รวมทั้งการพยาบาลเพื่อฟนฟู รางกายใหคืนสูสภาพเดิม ความรูและทักษะในการใหพยาบาลแกคนปวยทุกระดับภายในบาน การจัดหาดัดแปลงและ ปรับปรุงเครื่องใชในการใหพยาบาลที่บานและการใชวิธีการแบบงาย ๆ เพื่อชวยใหรางกายฟนฟูกลับคืนสูสภาพเดิม HE 353 เคหพยาบาล 2 หนวยกิต (Home Nursing) ความรูและความเขาใจในหลักการ จุดมุงหมาย ขอบเขตและวิธีการใหพยาบาลผูปวยที่บาน รวมทั้งการพยาบาลเพื่อฟนฟู รางกายใหคืนสูสภาพเดิม ความรูและทักษะในการใหพยาบาลแกคนปวยทุกระดับอายุภายในบาน การจัดหาดัดแปลงและ ปรับปรุงเครื่องใชในการใหพยาบาลที่บานและการใชวิธีการแบบงาย ๆ เพื่อชวยใหรางกายฟนฟูกลับคืนสูสภาพเดิม

Page 46: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

46

HE 355 สุขศึกษาในชนบท 2 หนวยกิต (Rural Health Education) ศึกษาถึงปญหาสุขภาพในชนบท การใหการสุขศึกมาแกประชาชนในชนบท การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพของ ประชาชนในชนบท การวางโครงการสุขศึกษาในชนบทวิธีการใหการสุขศึกษา การใชแหลงวัสดุอุปกรณสุขศึกษา ตลอดจนการติดตามผลและประเมินผลสุขศึกษาในชนบท HE 356 อาชีวอนามัย 2 หนวยกิต (Occupational Health) ศึกษาถึงขอบเขตและการใหบริการเกี่ยวกับอาชีวอนามัย การจัดบริการดานอาชีวอนามัย แกผูประกอบอาชีพตางๆ คณะ ผูดําเนินงานอาชีวอนามัยและบทบาทของแตละคน ในคณะตลอดจนการบริหารงานอาชีวอนามัย HE 415 การบริหารสุขศึกษาในโรงเรียน 2 หนวยกิต (School Health Education Administration) ศึกษาเกี่ยวกับความคิดรวบยอด และปญหาของสุขศึกษาในโรงเรียน การจัดการวางแผนการจัดและการประสานงาน เกี่ยวกับโครงการสุขภาพในโรงเรียน รวมทั้งหลักการจัดบุคคลากรสิ่งแวดลอมทางสุขศึกษาในโรงเรียน และการ ประเมินผลโครงการสุขศึกษาในโรงเรียนดวย HE 417 การฝกสอนวิชาสุขศึกษา 6 หนวยกิต (Student Teaching in Health Education) ในนักศึกษาฝกสอนในวิชาสุขศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามหลักเกณฑที่กําหนดใหภายใตการแนะนําของอาจารย นิเทศของภาควิชาพลานามัย HE 418 สัมมนาทางการสอนวิชาสุขศึกษา 2 หนวยกิต (Seminar in Health Education Teaching) ศึกษาถึงปญหาทางดานสุขศึกษา โดยนําเอาปญหาตางๆ ในอดีตจนถึงปจจุบัน มาพิจารณาเพื่อที่จะหาแนวทางใหมใน อนาคต การเรียนวิชานี้อาจจะนําเอาปญหาที่นักศึกษาพบในขณะออกฝกสอนเพื่อหาขอยุติของปญหานั้น HE 441 อนามัยชุมชน 2 หนวยกิต (Community Hygiene) ศึกษาเกี่ยวกับการบริหารงานสาธารณสุขสวนกลาง สวนภูมิภาคและสวนทองถิ่นการสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม การจัด โปรแกรมสุขศึกษา การใหบริการอนามัยแกประชาชนกฎหมายระเบียบขอบังคับ และปญหาสาธารณสุขในประเทศไทย HE 442 อนามัยสิ่งแวดลอม 2 หนวยกิต (Environmental Health) ศึกษาถึงหลักเบื้องตนของการสุขาภิบาลทั่วไป รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลของสิ่งแวดลอมที่มีตอสุขภาพในชุมชน การทําน้ําสะอาดสําหรับชุมชน แหลงน้ํา การระบายน้ํา การถนอมรักษาน้ําใช การกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สอม การ ควบคุมสัตวนําโรคและพาหนะนําโรค การกําจัดและลดเหตุรําคาญและอันตรายตางๆ จากสิ่งแวดลอม การควบคุม อันตรายจากอากาศ น้ําเปนพิษ ตลอดจนเสียงรบกวนตาง

Page 47: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

47

HE 444 การศึกษาเกี่ยวกับชีวิตครอบครัว 2 หนวยกิต (Family Education) ศึกษาถึงกฎหมายครอบครัว ความเปนมาของครอบครัว การเลือกคูสมรส ความสัมพันธกอนสมรส และการสมรส

การปรับตัวของสามีและภรรยา การมีบุตร ความเปนพอเปนแม การวางแผนครอบครัว การเตรียมตัวระหวางมีครรภ การเตรียมตัวสําหรับ การจะมีบุตร การวางแผนชีวิตอนาคตของตัวเอง นอกจากนี้ยังศึกษาถึงวิกฤตการณในครอบครัวอันไดแก ปญหาตาง ๆ ที่อันจะเกิดขึ้นในชีวิตสมรส หนวยงานบริการตาง ๆ ของครอบครัว

HE 445 การปรับตัวและสุขภาพจิตในโรงเรียน 2 หนวยกิต (Adjustment and School Mental Health)

ศึกษาถึงเรื่องความหมาย และขอบขายของการปรับตัวทางดานสุขภาพจิตในโรงเรียนสุขภาพจิตของครู และนักเรียนความสัมพันธระหวางครูกับนักเรียน และครูกับครูการปรับตัวดานอารมณชนิดตางๆ ของอารมณ องคประกอบที่มีอิทธิพลของอารมณและจิตใจ ตลอดจนถึงการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมเหตุการณตางๆ ในโรงเรียน

HE 446 สุขภาพของผูบริโภค 2 หนวยกิต (Consumer Health) ศึกษาถึงเรื่องการปองกันสุขภาพของผูบริโภค การโฆษณาชวนเชื่อทางสุขภาพการเลือกผลิตภัณฑทางสุขภาพ เชน เครื่อง แตงกาย รองเทา เครื่องสําอาง ฯลฯ และการเลือกใชบริการทางสุขภาพ การปองกันใชบริการและผลิตภัณฑทางสุขภาพ และหนวยงานที่เกี่ยวของกับสุขภาพของผูบริโภค HE 448 การพยาบาลโรงเรียน 2(3) หนวยกิต (School Nursing) ศึกษาถึงความหมายและความสําคัญของการพยาบาลโรงเรียน ความรูในเรื่องลักษณะอาการของโรคและความเจ็บปวยที่ พบบอยในเด็กนักเรียน ตลอดจนความรูในเรื่องการใชยาสามัญเบื้องตน และยาสามัญประจําบาน การจัดทําสถิติอุบัติเหตุที่ เกิดขึ้น ในโรงเรียนการจัดหองพยาบาลและการบริหารพยาบาลโรงเรียน (โดยใหมีการ ฝกภาคปฏิบัติดวย) HE 449 โรคติดตอและโรคไมติดตอ 2 หนวยกิต (Communicable and Non-Communicable Diseases) ศึกษาถึงชนิดของโรคติดตอ ลักษณะอาการและการปองกันโรคติดตอที่สําคัญ ๆ และศึกษาถึงสาเหตุ ลักษณะอาการของ โรคไมติดตอ และการปองกันโรคไมติดตอ ที่สําคัญในประเทศไทย HE 450 ชีว สถิติ สาธารณสุข 2 หนวยกิต (Applied Bio-statistics in Public Health) ศึกษาถึงเรื่องการนําขอมูลทางสถิติมาประยุกตใชกับภาวะเจริญพันธุ อัตราการเกิด การตาย การเจ็บปวยของประชากร และ อัตราการยายถิ่น ความหนาแนนของประชากร การประมาณคาประชากร ตลอดจนความสัมพันธระหวางอัตราตางๆ ที่ เกี่ยวกับชีวิต มนุษย และการเสนอรายงานขอมูลตาง ๆ ทางชีว สถิติ สาธารณสุข

Page 48: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

48

HE 451 โภชนาการสาธารณสุข 2 หนวยกิต (Public health Nutrition) ศึกษาถึงความสัมพันธระหวางโภชนาการกับสุขภาพ สภาวะโภชนาการในชุมชนโรคที่เกี่ยวกับอาหารและความบกพรอง ทางโภชนาการในชนบท แนวโนมการผลิตอาหารกับการเพิ่มประชากรในประเทศไทย ปญหาและการแกปญหาทาง โภชนาการในชุมชน HE 456 ยาและสิ่งเสพติดใหโทษ 2 หนวยกิต (Drugs and Narcotics) ความหมายและความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาและสิ่งเสพติดใหโทษ ความจําเปนในการใชยา ชนิดของยา อันตรายของการ ใชยาผิด ความเขาใจผิดบางประการเกี่ยวกับการใชยาชนิดของสิ่งเสพติดใหโทษ ลักษณะของสิ่งเสพติดใหโทษ อันตราย และโทษของสิ่งเสพติด การปองกันและปราบปรามยาเสพติดในสถานศึกษา และการใหการรักษาผูติดยาเสพติดใหโทษ HE 458 อนามัยครอบครัว 2 หนวยกิต (Family Hygiene) ศึกษาถึงเรื่องความสําคัญอนามัยในครอบครัว การปองกันโรคภัยไขเจ็บและสงเสริมสุขภาพจิตสุขภาพทางกายแกสมาชิก ในครอบครัวและเนนในเรื่องการจัดสิ่งแวดลอมและสุขาภิบาลภายในบาน MR 203 ความรูเก่ียวกับสถิติและวิจัยทางการศึกษา 3 หนวยกิต (Introduction to Statistics and Research in Education) การนําเสนอขอมูลทางการศึกษา สถิติเชิงพรรณนา และเชิงอนุมานเบื้องตน สําหรับการวิจัยทางการศึกษา ความหมายและ ความสําคัญของการวิจัยทางการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา การประเมินผลการวิจัย ตัวอยางงานวิจัยทางการศึกษา และการนําผลการวิจัยมาใชในโรงเรียน MR 303 การประเมินผลการศึกษา 3 หนวยกิต (Education Evaluation) ธรรมชาติและหนาที่ของการวัดผลประเมินผลการศึกษา ชนิดของเครื่องมือหลักสูตรและการวิเคราะหหลักสูตร การวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การเขียนขอสอบปรนัยและอัตนัย การวัดผลแบบอิงเกณฑและอิงกลุม ขอสอบที่ครูสรางขึ้นและ ขอสอบมาตรฐาน ความหมายรวบยอดของความเที่ยงตรงและความเชื่อมัน คะแนนและการประเมินคะแนน สถิติเบื้องตน สําหรับการ วัดและประเมินผลการศึกษา MR 304 การวัดผลและการประเมินผลการศึกษาและจิตวิทยา 3 หนวยกิต (Measurement and Evaluation in Education and psychology) ศึกษาหลักการวัดและประเมินผลการศึกษาระดับปฐมวัย การสรางและพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการวัดพัฒนาการของเด็ก ปฐมวัย ทางดานสติปญญา รางกาย อารมณ สังคม รวมทั้งดานความคิดสรางสรรค เทคนิคการประเมินผลระดับปฐมวัย และการรายงานผลตอผูปกครอง

Page 49: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

49

MR 305 การประเมินพัฒนาการเด็กระดับปฐมวัย 3 หนวยกิต (Evaluation of Early Childhood Children Development) ศึกษาหลักการวัดและประเมินผลการศึกษาระดับปฐมวัย การสรางและพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการวัดพัฒนาการของเด็ก ปฐมวัย ทางดานสติปญญา รางกาย อารมณ สังคม รวมทั้งดานความคิดสรางสรรค เทคนิคการประเมินผลระดับปฐมวัย และการรายงานผลตอผูปกครอง MR 306 การประเมินผลการเรียนเด็กพิเศษ 3 หนวยกิต (Evaluation of Learning for Special Children) ศึกษาหลักการวัดและประเมินผลการเรียนสําหรับเด็กพิเศษ เครื่องมือที่ใชในการประเมินผลการเรียน รวมทั้งปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการวัดและประเมินผลการเรียนสําหรับเด็กพิเศษ MR 311 การสรางแบบทดลอง 1 3 หนวยกิต (Test Construction) การจัดประเภทวัตถุประสงคของการศึกษา ธรรมชาติของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การเขียนขอสอบตามความมุง หมายทางการศึกษาดานสติปญญา เนนเฉพาะการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การเขียนขอสอบแบบอิงเกณฑ การวิเคราะห ขอสอบ การสรางธนาคารขอสอบ การวิจารณและปรับปรุงขอสอบ วิธีสรางมาตรฐานของแบบทดสอบรูปแบบของ แบบทดสอบ คูมือดําเนินการสอบ การดําเนินการสอนและการใหคะแนนการรายงานผลเชิงวิชาการ การปฏิบัติงานในการ สรางแบบทดสอบ MR 312 การสรางแบบทดสอบ 2 3 หนวยกิต (Test Construction 2) ประวัติความเปนมาของแบบทดสอบความถนัด ทฤษฎีเกี่ยวของกับสมรรถภาพ ทางสมอง การสรางแบบทดสอบความ ถนัดทางการเรียนและความถนัดพิเศษ MR 323 การประเมินผลการเรียนวิชาสังคมศึกษา 3 หนวยกิต (Evaluation of Learning in Social Studies) จุดมุงหมายของการสอนสังคมศึกษา การประเมินผลพฤติกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสอนสังคมศึกษา ตลอดจนปญหา ตาง ๆ ที่เกี่ยวของการทดสอบวิชาสังคมศึกษา MR 324 การประเมินผลการเรียนวิชาภาษาไทย 3 หนวยกิต (Evaluation of Learning in Thai) จุดมุงหมายของการสอนวิชาภาษาไทย การประเมินผลพฤติกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสอนภาษาไทย ตลอดจนปญหา ตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทดสอบวิชาภาษาไทย MR 325 การประเมินผลการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3 หนวยกิต (Evaluation of Learning in English) จุดมุงหมายของการสอนวิชาภาษาอังกฤษ การประเมินผลพฤติกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสอนภาษาอังกฤษ ตลอดจน ปญหาตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทดสอบวิชาภาษอังกฤษ

Page 50: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

50

MR 326 การประเมินผลการเรียนการวิชาวิทยาศาสตร 3 หนวยกิต (Evaluation of Learning in Science) จุดมุงหมายของการสอนวิชาวิทยาศาสตร การประเมินผลพฤติกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสอนวิทยาศาสตร ตลอดจน ปญหาตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทดสอบวิชาวิทยาศาสตร MR 327 การประเมินผลการเรียนการวิชาคณิตศาสตร 3 หนวยกิต (Evaluation of Learning in Science) จุดมุงหมายของการสอนวิชาคณิตศาสตร การประเมินผลพฤติกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสอนคณิตศาสตร ตลอดจน ปญหาตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทดสอบวิชาคณิตศาสตร MR 328 การประเมินผลการเรียนการวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 3 หนวยกิต (Evaluation of Learning in Science) จุดมุงหมายของการสอนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา การประเมินผลพฤติกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสอนสุขศึกษาและ พลศึกษาตลอดจน ปญหาตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทดสอบวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา MR 329 การประเมินผลการเรียนการวิชาดานสุนทรียภาพ 3 หนวยกิต (Evaluation of Learning in Science) จุดมุงหมายของการสอนวิชาดานสุนทรียภาพ การประเมินผลพฤติกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสอนดานสุนทรียภาพ ตลอดจน ปญหาตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทดสอบวิชาดานสุนทรียภาพ MR 371 วิธีการปริมาณทางการศึกษาเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Quantitative Method in Education) การนําเทคนิคเชิงบรรยายไปใชกับขอมูลทางการศึกษา การนําคะแนนที่ไดจากการทดสอบไปใชในการประเมินผล การ แปลความหมายรายงานการวิจัย นักศึกษาควรจะเคยเรียนวิชาสถิติเบื้องตนหรือหลักสถิติมากอน MR 372 วิธีการปริมาณทางการศึกษา 3 หนวยกิต (Quantitative Method in Education) หลักการและเทคนิคในการอางอิงทางสถิติเพื่อใชในการวิจัย เนนในเรื่องการ วิเคราะหความแปรปรวน และนักศึกษาควร ผานวิชาวิธีปริมาณทางการศึกษาเบื้องตนมากอน MR 393 ระเบียบวิธีวิจัยการศึกษาเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Educational Research Methodology) ธรรมชาติและระเบียบวิธีการศึกษาเบื้องตน การเลือกปญหา วิธีดําเนินการ วิเคราะห ขอมูล การสรุป และวิธีรายงาน ผลการวิจัย MR 394 ตรรกวิทยาและการตีความหมายขอมูล 3 หนวยกิต (Logical and Data Interpretation) วิธีอนุมานและอุปมาน ตรรกวิทยาเชิงคณิตศาสตร ทฤษฏีและการตีความหมายขอมูลทางการวิจัย ฝกการทําวิจัยเปนกลุม หรือเปนรายบุคคล (ควรเรียนกระบวนวิชา MR 393 มากอน)

Page 51: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

51

MR 403 การประเมินผลคะแนนการทดสอบ 3 หนวยกิต (Evaluation of Test Scores) ระดับของการวัด หนวยและคะแนนในการวัด คะแนนจริง และคะแนนความ คลาดเคลื่อน การตีความหมายคะแนนที่ได

จากการทดสอบ ทฤษฎีความคลาดเคลื่อน ในการวัดเกณฑปกติ เสนภาพตารางพยากรณผลการเรียน การแปลงคะแนน การใหเกรดและรายงานผลความกาวหนาทางการเรียนของนักเรียน

MR 404 ทฤษฎีทางการทดสอบ 3 หนวยกิต (Test Theory) ศึกษาถึงเรื่องมาตราวัด ความแปรปรวนของขอสอบและแบบทดสอบทั้งชุด ความ เช่ือมั่น ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของ

การวัด ความคลาดเคลื่อนของความแปรปรวน ในการกะประมาณความเชื่อมัน วิธีการกะประมาณความเชื่อมัน ความเที่ยงตรง ในการพยากรณ การจําแนก การคัดเลือกทฤษฎีองคประกอบที่เกี่ยวของกับความเชื่อมันและความเที่ยงตรง การวิเคราะหขอสอบมาตรการแปลงมาตราและเกณฑปกติ

MR 413 การสรางแบบทดสอบ 3 3 หนวยกิต (Test Construction 3) ทฤษฎีและนิยามบุคลิกภาพในดานอารมณ ความรูสึก วิธีการสรางเครื่องมือ ในการวัดผลทางดานอารมณ การเปลี่ยนแปลง

และนําผลการวัดไปใชหลักและวิธีการสรางแบบทดสอบเครื่องมือวัดการปฏิบัติงานทั้งในแงผลงานและกระบวนการ การวิเคราะหงาน การสรางและเลือกใชเกณฑในการประเมินผลงาน

MR 414 การใชแบบทดสอบเพื่อการแนะแนวในโรงเรียน 3 หนวยกิต (Test Materials For Guidance Program) ชนิด ธรรมชาติ และหนาที่ของเครื่องมือทางการวัดผลที่ใชในการแนะแนว หลักการวิธีการ และการแปลผลจากการใช แบบทดสอบ มาตรการวัดตางๆ การเก็บ รวบรวมนําเสนอขอมูลเพื่อการแนะแนวทางการศึกษา อาชีพและการพัฒนา บุคลิกภาพ MR 423 การประเมินผลการสอน 3 หนวยกิต (Evaluation of Instruction) ความหมายและประโยชนของการประเมินผลการสอน หลักการและรูปแบบตางๆ ในการประเมินผลการประเมินผลการ สอน การนําหลักและทฤษฎีเกี่ยวกับการประเมินผลการสอนไปใชในโรงเรียน การประเมินโครงการสอน การแปลผล ขอมูลที่ไดจากการประเมิน ปญหา และวิธีแกไขปญหาที่เกี่ยวกับของกับการประเมินผลการสอน MR 443 ปญหาการวัดผลการศึกษา 3 หนวยกิต (Problem in Educational Measurement and Evaluation) วิเคราะหปญหาดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการวัดและการประเมินผลการศึกษา ทั้งที่เกิดขึ้นในปจจุบันและแนวโนมที่จะ เกิดขึ้นในอนาคตขอโตแยงสําคัญ ในแงทฤษฏีและปฏิบัติ การแกปญหาทางการวัดผลการศึกษา MR 444 การฝกงานการวัดผล 6 หนวยกิต (Practicum in Measurement and Evaluation) การฝกหัดงานทางการวัดผลการศึกษาทั้งรายบุคคล เปนกลุม การฝกงานจะตอง ปฏิบัติจริงใสแงแผนงาน กระบวนการ และมีผลงาน

Page 52: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

52

MR 445 สัมมนาทางการวัดผลและประเมินผลการศึกษา 3 หนวยกิต (Seminar in Educational Measurement and Evaluation) การวิเคราะหและประเมินปญหา แนวโนม และแนวปฏิบัติ เพื่อแกและปองกันปญหาทางการวัดผล ตลอดจนคนหาลูทาง ในการพัฒนาการวัดผลการศึกษา MR 493 โครงการวิจัยทางวัดผลและประเมินผลการศึกษา 6 หนวยกิต (Research project in Measurement and Evaluation) การฝกหัดงานดานการวิจัยที่เกี่ยวของกับการวัดผลและประเมินผลการศึกษา โดยใหนักศึกษาทําวิจัยเปนรายบุคคลหรือ รายกลุม MR 494 การวิจัยเชิงสํารวจทางการศึกษา 3 หนวยกิต (Survey Research in Education) ขบวนการวิจัยเชิงสํารวจ วิธีการและประวัติความเปนมาของการสํารวจ การสุมตัวอยางและการเก็บรวบรวมขอมูลเนน ทางดานการวิจัยที่ไมใชการวิจัยทดลอง MR 495 การวิจัยการบริหารการศึกษา 3 หนวยกิต (Research in Education Administration) ขบวนการวิจัยทางการบริหารการศึกษา รูปแบบของการวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล การสรางเครื่องมือเพื่อใชในการวิจัย ตลอดจนการสรุปและการแปลงผลขอมูล MR 513 การวัดบุคลิกภาพเพื่อใชทางการศึกษา 3 หนวยกิต (personality Assessment in Education) หลักการ วิธีการ และเทคนิคในการสรางมาตรการเพื่อใชในการวัดบุคลิกภาพ เนนการนําไปใชทางดานการศึกษา MR 533 แบบทดสอบมาตรฐาน 3 หนวยกิต (Standardized Tests)

ความเขาใจทั่วไปเกี่ยวกับการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ และแบบทดสอบความถนัดใหเปนมาตรฐาน การตีความหมายคะแนน การเลือกใชแบบทดสอบมาตรฐาน

MR 534 แบบทดสอบวินิจฉัย 3 หนวยกิต (Diagnostic Tests) การสรางและการใชแบบทดสอบวินิจฉัยในดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษา MR 535 แบบทดสอบความพรอม 3 หนวยกิต (Readiness Tests) การบรรยายและการอภิปราย รวมทั้งการฝกปฏิบัติสราง และใชแบบทดสอบความพรอม

Page 53: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

53

MR 571 วิธีการปริมาณทางการศึกษาชั้นสูง 1 3 หนวยกิต (Advanced Quantitative Method in Education) ทฤษฎีและการฝกหัด การสรางแบบ การวิเคราะห และการตีความหมายของการวิจัยเชิงทดลองและกึ่งทดลอง MR 572 วิธีการปริมาณทางการศึกษาชั้นสูง 2 3 หนวยกิต (Advanced Quantitative Method in Education 2) การทดสอบทางสถิติไมจํากัดการกระจายของประชากร และการนําการวิจัยไปใชทางดานสังคมศาสตร MR 573 ความรูเบื้องตนเก่ียวกับการวิเคราะหตัวแปรพหุคูณ 3 หนวยกิต (Introduction to Multivariate Analysis) การวิเคราะหทางการศึกษา โดยใชเทคนิคการวิเคราะหตัวแปรพหุคูณ MR 574 การวิเคราะหองคประกอบ 3 หนวยกิต (Factor Analysis)

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการวิเคราะหองคประกอบตางๆ การวิเคราะหโดยใชแมทริกซเซนทรอยดชนิดของความแปรปรวน วิธีการหมุนแกน การแปลความหมาย เนนไปใชทางการวิเคราะหทางดานการศึกษา

MT 103 อุตุนิยมวิทยาเบื้องตน 3 หนวยกิต (Fundamental to Meteorology)

(ไมเปดสําหรับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร) ศึกษาโครงสรางของบรรยากาศและกระบวนการทางฟสิกส การหมุนวนของบรรยากาศ ศึกษาวิธีจําลองหลักเกณฑทั่วไปของวิธีมอนติ-คารโล การสรางเลขสุม การเพิ่มความแมนยําและลดความแปรปรวน การจําลองที่ใชในทางคณิตศาสตรและฟสิกส การจําลองสําหรับระบบแถวคอย การจําลองเพื่อหาภาพคราว ๆ คําตอบหยาบ ๆ และแนวปฏิบัติการจําลองเพื่อทดสอบตัวแบบและคําตอบ (แนวปฏิบัติ) ตาง ๆ ภาษาทางการจําลอง เชน GPSS, SIMSCRIPT, SLAM

OR 434 การควบคุมคุณภาพงาน 3 หนวยกิต (Quality Control Circle) PR : OR 313

ตองศึกษาการควบคุมคุณภาพงานเบื้องตน ความหมายและประวัติความเปนมาของการควบคุมคุณภาพ ขั้นตอนในการควบคุมเทคนิคที่ใชในการควบคุม แผนภูมิที่ใชในการควบคุมคุณภาพ กรณีตัวอยางเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพ

OR 494 หัวขอการศึกษาพิเศษ 3 หนวยกิต (Topics in Operations Research) PR : เปนนักศึกษาปที่ 3 หรือปที่ 4 และตองผานการอนุมัติของภาควิชา

หัวขอการศึกษาในกระบวนวิชานี้เปนหัวขอพิเศษตามความเห็นชอบของภาควิชาการบรรยาย ในวิชานี้มีเนื้อหาหลักสูตรที่อาจไมซ้ํากันในแตละภาคเรียน โดยมุงเนนที่เนื้อหา ทฤษฎีและวิธีการใหมทางการวิจัยดําเนินงาน ที่ผูสอนเห็นวานักศึกษาควรทราบ นักศึกษาอาจจะไดรับมอบหมายใหเขารับการฝกงานหรือศึกษาคนควาเพิ่มเติม พรอมทั้งรายงานผลใหทราบนอกเหนือจากหัวขอการศกึษาที่ไดบรรยายในชั้นเรียน

Page 54: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

54

PC 103 จิตวิทยาทั่วไป 3 หนวยกิต (General Psychology)

ศึกษาเกี่ยวกับพ้ืนฐานวิชาจิตวิทยาทางดานการคนควา การศึกษาพฤติกรรม และสิ่งแวดลอม ตลอดจนเรื่องวุฒิภาวะการรับรู ความนึกคิด การเรียนรูความแตกตางระหวางบุคคลและสุขภาพจิต

PC 163 จิตวิทยาสังคมประยุกต 3 หนวยกิต (Applied Social Psychology)

ศึกษาปญหาของนักเรียนในปจจุบัน โดยเฉพาะในบทบาท และพฤติกรรมของเด็กวัยรุนที่มีตอสังคม ศึกษาการรวมของกลุมชน ทัศนคติและบรรทัดฐานของสังคมในปจจุบัน ตลอดจนการโฆษณาชวนเชื่อ (ควรเรียนกระบวนวิชา PC 103 มากอน และเปดสําหรับนักศึกษาวิชาเอกศึกษาศาสตรเทานั้น)

PC 193 จิตวิทยาพัฒนาการและการศึกษา 3 หนวยกิต (PC 104) (Psychology of Development and Education)

ศึกษาหลักการพัฒนาการของมนุษยโดยใหสัมพันธกับการเรียนรูในแตละขั้นของการพัฒนา เนนวัยเด็กและวัยรุน รวมทั้งการปรับตัวของครูใหเขากับเด็กวัยตาง ๆ โดยเขาใจถึงความแตกตางระหวางบุคคล

(ควรเรียนกระบวนวิชา PC 103 มากอน และเปดสําหรับนักศึกษาวิชาเอกศึกษาศาสตรเทานั้น) PC 205 จิตวิทยาการรับรูและจูงใจ 3 หนวยกิต (PC 407) (Psychology of Perception and Motivation)

ศึกษาทฤษฎีทางการรับรู การสัมผัส และทฤษฎีการจูงใจตาง ๆ อยางกวาง ๆ โดยเนนกระบวนการรับรูและกระบวนการจูงใจ นําแนวคิดการรับรูเรื่องของ สี ขนาดการเคลื่อนที่ การลวงตา พัฒนาการทางการรับรู และการรับรูทางสังคม มาประยุกตใชเปนประโยชนในการจูงใจบุคคล และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

PC 206 จิตวิทยาสําหรับครู 3 หนวยกิต (Psychology for Teachers)

การนําหลักทางจิตวิทยามาใชประยุกตในการเรียนการสอน เพื่อใหครูมีความเขาใจในผูเรียน ทั้งที่เปนเด็กปกติและเด็กพิเศษ นับตั้งแตความแตกตางระหวางบุคคลในดานรางกาย สังคม อารมณ ทัศนคติ เขาใจหลักการเรียนรูและเทคนิคตาง ๆ ที่ครูใชในการสงเสริมการเรียนการสอนและปรับพฤติกรรมของนักเรียน ตลอดจนใหครูมีความเขาใจในหลักการแนะแนว เพื่อชวยสงเสริมใหนักเรียนบรรลุความสําเร็จไดตามเอกัตบุคคล

PC 207 จิตวิทยาการเรียนรู 3 หนวยกิต (Psychology of Learning)

ศึกษาทฤษฎีเบื้องตน และการปฏิบัติการทดลองเกี่ยวกับความเขาใจและธรรมชาติของกระบวนการเรียนรู การลาชา การสิ้นสุด ตลอดจนเรียนรูปญหาตาง ๆ เกี่ยวกับการเรียนรู (ควรเรียนกระบวนวิชา PC 103 มากอน)

Page 55: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

55

PC 208 การวิเคราะหเชิงปริมาณทางจิตวิทยาเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Quantitative Analysis of Psychology)

ศึกษาวิธีการประมาณคุณลักษณะของตัวแปร ความสัมพันธระหวางตัวแปร การพยากรณแบบแผนการทดลอง และการวิเคราะหขอมูลทางจิตวิทยา คณิตศาสตรและความนาจะเปนที่ประยุกตใชทางจิตวิทยา รวมทั้งการใชโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับวิเคราะหขอมูล

PC 209 จิตวิทยาบุคลิกภาพและการปรับตัว 3 หนวยกิต (PC 245) (Psychology of Personality and Adjustment)

ศึกษาบุคลิกภาพโดยอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร ทฤษฎีบุคลิกภาพ วิธีวัดบุคลิกภาพ ความสัมพันธของบุคลิกภาพและสังคม วัฒนธรรม การปรับตัวทางสังคมและการปรับตัวดานสวนสังคม

PC 213 ความจําของมนุษย 3 หนวยกิต (Human Memory)

ศึกษาเกี่ยวกับความจํา วิธีทดสอบความจํา ระบบความจํา อันไดแก ความจําระยะสั้น และความจําระยะยาว นอกจากนี้ยังศึกษาถึงทฤษฎีการลืม รวมทั้งวิธีการปรับปรุงความจํา

(ควรเรียนกระบวนวิชา PC 207 มากอน) PC 215 จิตวิทยาการรับรูและการเรียนรู 3 หนวยกิต (Psychology of Perception and Learning)

ศึกษาหลักการพื้นฐานของการเรียนรู การคนควาในดานการรับรู และการเรียนรู การพัฒนาการความคิดความเขาใจ ตลอดจนความสัมพันธระหวางการรับรูและการเรียนรู

PC 216 จิตวิทยาการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน 3 หนวยกิต (PC 416) (Psychology of Investigative Instruction and Learning : An Inquiry Approach)

ศึกษาจิตวิทยาในระบบการเรียนการสอนที่เปนกระบวนการบทบาทสัมพันธในสิ่งแวดลอมทางสังคม เนนการตั้งคําถามเปนสื่อสําคัญในการแสวงหาความจริง และวิธีแกปญหาแบบสืบสวนสอบสวนที่สงเสริมใหผูเรียนคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน เนนจริยนิสัยเปนหลักสําคัญในการดําเนินชีวิตแบบประชาธิปไตย ตลอดจนการศึกษาจิตวิทยาการเรียนการสอนสังกัปหลายประการ วิธีแกปญหาและวิธีคิดสรางสรรคที่ประสานสัมพันธกันในระบบการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนและเนนภาคปฏิบัติในรูปของการสรางชุดการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนในลักษณะบูรณาการ

PC 229 การบริการการปรึกษาและแนะแนวเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Counseling and Guidance)

ศึกษาปรัชญา หลักการและเปาหมายของการบริการปรึกษาและแนะแนว บริการแนะแนวที่สําคัญในสถาบัน การจัดโครงการ การบริหารงาน และบทบาทของบุคลากรในการแนะแนว

PC 243 สรีระจิตวิทยา 3 หนวยกิต (Physiological Psychology)

ศึกษาความสัมพันธระหวางรางกายและจิตใจ ตลอดจนถึงรากฐานทางสรีรวิทยาของอวัยวะภายใน เนนในแงของความผิดปกติ

Page 56: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

56

PC 246 จิตวิทยาชุมชนเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Community Psychology) PR : PC 209

ศึกษาปญหาสุขภาพจิตชุมชนตามแนวคิดทางสังคมจิตวิทยา โดยเนนองคประกอบทางดานนิเวศวิทยา สังคมวิทยา และระบาดวิทยา รวมทั้งการวิเคราะหวิธีการชวยเหลือและปองกันสุขภาพจิตชุมชน

PC 260 ทฤษฎีพลวัตกลุม 3 หนวยกิต (Theories of Group Dynamics)

ศึกษาทฤษฎีธรรมชาติและองคประกอบตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอกลุมและการรวมกลุมการพัฒนากลุม โครงสรางของกลุม และการปฏิสัมพันธของสมาชิกภายในกลุม

PC 263 จิตวิทยาสังคมเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Social Psychology)

ศึกษากระบวนการสังสรรคและปฏิสัมพันธ ซึ่งบุคคลไดรับอิทธิพลจากบุคคลอื่น การพัฒนาของตนเอง บทบาททางพฤติกรรม บรรทัดฐานของสังคม การรับวัฒนธรรม เจตคติผูนํา และการโฆษณาชวนเชื่อ

PC 264 เจตคติและความคิดเห็น 3 หนวยกิต (Attitude and Opinion)

ศึกษาลักษณะของเจตคติและความคิดเห็น โดยครอบคลุมถึงเรื่องการเกิด การคงไวทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงเจตคติ ผลของเจตคติ และความคิดเห็นที่มีตอพฤติกรรมในดานตาง ๆ วิธีการวัดเจตคติ การศึกษาอคติของบุคคล รวมทั้งงานวิจัยเกี่ยวกับเจตคติ อคติ และความเห็น มาอภิปรายรวมกัน

PC 266 จิตวิทยาสิ่งแวดลอม 3 หนวยกิต (Environmental Psychology)

ศึกษาจิตวิทยาสิ่งแวดลอมเบื้องตน โดยศึกษาบทบาทของสิ่งแวดลอมทางกายภาพที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมในดานตาง ๆ ทฤษฎีความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมทางกายภาพ พฤติกรรมอาณาเขต ความเปนสวนตัว ฝูงชน การรับรูสิ่งแวดลอม และการระบุสาเหตุพฤติกรรม สิ่งแวดลอมและพฤติกรรม ตลอดจนวิธีวิจัยดานจิตวิทยาสิ่งแวดลอม

PC 268 การฝกพลวัตกลุม 1 หนวยกิต (Experiences of Group Dynamics) (PR : PC 267)

ฝกปฏิบัติกระบวนการกลุมสัมพันธ เนนทักษะในดานการทํางานรวมกับผูอื่นอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนําความรูจากการฝกไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันเพื่อเขาใจตนเองและผูอื่น

PC 269 พฤติกรรมผูนํา 3 หนวยกิต (Leadership Behavior)

ศึกษาพฤติกรรมของผูนําประเภทตาง ๆ คุณสมบัติและบุคลิกภาพของผูนํา ความเกี่ยวของระหวางผูนํากับองคการ ตลอดจนวิธีการสื่อสารและศิลปะของการเปนผูนํา

Page 57: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

57

PC 274 จิตวิทยาการสังคมสงเคราะห 3 หนวยกิต (Psychology of Social Work) ศึกษาเกี่ยวกับวิธีใหความชวยเหลือทางสังคมสงเคราะหแกบุคคลในวัยตาง ๆ โดยนําเอาความรูดานจิตวิทยาประยุกตใช PC 280 จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Industrial and Organization Psychology)

ศึกษาการปฏิวัติทางอุตสาหกรรมและผลของการปฏิวัติทางอุตสาหกรรมที่มีตอมนุษย ทฤษฎีองคการ ความเปนมาของจิตวิทยาอุตสาหกรรม และองคการ แนวความคิดที่สําคัญของจิตวิทยาและการนําจิตวิทยามาประยุกตกับเจตคติ แรงจูงใจ ความคับของใจ ความเหนื่อยลา ความปลอดภัย การสื่อสารและการเปนผูนํา ตลอดจนวิธีแกปญหาของมนุษยในอุตสาหกรรมและองคการ

PC 281 จิตวิทยาการจัดการและบุคลากร 3 หนวยกิต (Psychology of Management and Personnel)

ศึกษาลักษณะวิธีการจัดการในองคการโดยประยุกตความรูแนวคิด เทคนิคและวิธีการทางจิตวิทยา มาใชในการเพิ่มประสิทธิภาพของผูจัดการและองคการ รวมทั้งการนําแนวความคิดทางจิตวิทยามาประยุกตใชในการคัดเลือกตัวบุคคล การบรรจุบุคคลใน

PC 282 เจตคติและความพอใจในการทํางาน 3 หนวยกิต (Attitude and Job Satisfaction)

ศึกษาลักษณะของเจตคติ องคประกอบของเจตคติ ความสัมพันธระหวางเจตคติและความพึงพอใจ อิทธิพลของเจตคติที่มีตอความพอใจในการทํางาน เทคนิควิธีการที่องคการจัดสรางเพื่อใหพนักงานเกิดความพอใจในการทํางาน

PC 290 จิตวิทยาพัฒนาการ 3 หนวยกิต (PC 203) (Development Psychology)

ศึกษาทฤษฎีและขอมูลเกี่ยวกับการพัฒนาการทางดานรางกาย สติปญญา จิตใจ อารมณและสังคม ระหวางระยะอยูในครรภ วัยรุน วัยผูใหญ และวัยชรา

PC 293 จิตวิทยาเด็ก 3 หนวยกิต (Child Psychology)

ศึกษาพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม ต้ังแตแรกเกิดจนถึงวัยรุน และวิเคราะหปจจัยตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอเด็ก รวมทั้งปญหาเบื้องตนและขอมูลที่เกี่ยวของกับความเขาใจในธรรมชาติของเด็ก

PC 294 จิตวิทยาวัยรุน 3 หนวยกิต (Adolescence Psychology)

ศึกษาลักษณะและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทุกดานในระยะวัยรุน การยอมรับและความเขาใจวัยรุน ศึกษาปญหาสังคมและอารมณ ความสัมพันธของวัยรุนกับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนบทบาทของครอบครัวและสถาบันอื่นที่มีตอวัยรุน

Page 58: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

58

PC 295 จิตวิทยาผูใหญ 3 หนวยกิต (Psychology of Adulthood)

ศึกษาลักษณะและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของวัยผูใหญ โดยเฉพาะลักษณะทางรางกาย จิตใจ อารมณ บุคลิกภาพ และการปรับตัวใหเขากับงานอาชีพ

PC 296 จิตวิทยาผูสูงอายุ 3 หนวยกิต (Psychology of Aging)

ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของวัยชรา โดยเฉพาะลักษณะทางรางกาย จิตใจ อารมณ บุคลิกภาพ และการปรับตัวใหเขากับสังคม เนนถึงปญหาและขอมูลที่เกี่ยวกับลักษณะของวัยชรา รวมทั้งวิธีการปฏิบัติตอบุคคลในวัยชรา

PC 297 จิตวิทยาพัฒนาการวัยเด็ก 3 หนวยกิต (Development Psychology for Children)

ศึกษาความหมายและทฤษฎีพัฒนาการในดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคมและสติปญญาของเด็กระหวาง 0 – 12 ป การพัฒนาการในดานการทํางานของกลามเนื้อ การใชภาษา ความคิดสรางสรรค ความแตกตางระหวางบุคคล การรับรู การปรับพฤติกรรม การเสริมแรงการสรางแรงจูงใจสําหรับเด็ก และการสรางวินัยในตนเอง

PC 303 การทดสอบทางจิตวิทยา 3 หนวยกิต (Psychological Testing)

ศึกษาหลักการ วิธีการนําไปใชของการทดสอบทางจิตวิทยา รวมทั้งหลักการทางสถิติในการสรางขอทดสอบ การประเมินผล การแปลความหมายาของแบบทดสอบ

PC 308 วิธีวิจัยทางจิตวิทยา 3 หนวยกิต (Methods in Psychological Research) ศึกษาวิธีการ และเทคนิคของการวิจัยทางจิตวิทยา โดยเนนในเรื่องพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตในสังคม (ควรเรียนกระบวนวิชา ST 203, ST 208 มากอน) PC 313 จิตวิทยาการทดลองเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Experimental Psychology) ศึกษาแบบแผนของการทดลองทางจิตวิทยา รวมทั้งการทํารายงานผลจากหองทดลอง (ควรเรียนกระบวนวิชา ST 203 มากอน) PC 315 จิตวิทยาการศึกษา 3 หนวยกิต (Education Psychology)

ศึกษาปญหาและเทคนิคของการเรียนรู วิธีการสอน ภาวการณในหองเรียน การปรับตัวครู ความแตกตางระหวางบุคคลและการศึกษาเด็กเปนรายบุคคล (ควรเรียนกระบวนวิชา PC 203 มากอน และสําหรับนักศึกษาวิชาเอกศึกษาศาสตร ไมใหเลือกเรียนเปนวิชาโทโดยเด็ดขาด)

Page 59: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

59

PC 324 ทักษะการสัมภาษณ 3 หนวยกิต (PC 323) (Intake Interview Skills) ศึกษาและฝกหัดทักษะตาง ๆ ในการสัมภาษณเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลที่จะนําไปสูการบริการศึกษาเชิงจิตวิทยา PC 326 การแนะแนวในโรงเรียนประถมศึกษา 3 หนวยกิต (Guidance in Elementary Schools)

ศึกษาหลักการแนะแนว และเทคนิคการแนะแนวในโรงเรียนประถมศึกษา เนนการปองกันปญหา การแกไขปญหา และการสงเสริมพัฒนานักเรียนประถมศึกษา แนะแนวนักเรียนทั้งดานการศึกษา อาชีพ และการปรับตัวดานสังคม

PC 328 หลักการพื้นฐานในการบริการปรึกษา 3 หนวยกิต (PC 327) (Foundations of Counseling) ศึกษาพื้นฐานทางปรัชญา กระบวนการและประเด็นตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับทฤษฎีและกลวิธีการบริการปรึกษา PC 329 เทคนิคการแนะแนว 3 หนวยกิต (Techniques in Guidance) PR : PC 229

ศึกษาและฝกปฏิบัติการใชเทคนิคอุปกรณและเครื่องมือตาง ๆ ในการแนะแนว เพื่อศึกษาสํารวจขอมูลสวนบุคคล รวมถึงการใชระเบียบสะสมและการศึกษารายกรณีอยางมีระบบ

PC 333 เทคนิคการวางแผนอาชีพและบริการสนเทศ 3 หนวยกิต (Techniques in Career Planning and Information Service) PR : PC 229 ศึกษาทฤษฎีทางอาชีพ และการจัดขอสนเทศทางอาชีพ ตลอดจนเทคนิคการวางแผนและการเขาสูอาชีพ PC 334 ความแตกตางระหวางบุคคลและโลกของงาน 3 หนวยกิต (Individual Differences and the World of Works)

ศึกษาความแตกตางของบุคคลในการทํางาน ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมในปจจุบันที่มีผลตอลักษณะของงาน โอกาส ความเจริญกาวหนาของบุคคล และเงื่อนไขตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอการทํางานของบุคคล

PC 335 บริการฟนฟูบําบัดทางจิตเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Psychological Rehabilitation Service)

ศึกษาภูมิหลังทางประวัติศาสตรและทางกฎหมายของการฟนฟูบําบัดทางจิต บทบาทของบุคลากรดานการฟนฟูบําบัดทางจิต และธรรมชาติของแหลงการฟนฟูบําบัดทางจิต

PC 336 การฝกปฏิบัติเบื้องตนในการใหคําปรึกษา 3 หนวยกิต (Introduction to Practicum in Counseling) ศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคการใหคําปรึกษาอยางลึกซึ้ง รวมทั้งการนําเอาวิชาการไปฝกปฏิบัติ (ควรเรียนกระบวนวิชา PC 327 มากอน)

Page 60: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

60

PC 343 ทฤษฎีบุคลิกภาพ 3 หนวยกิต (Theories of Personality) เปรียบเทียบทฤษฎีบุคลิกภาพตาง ๆ โดยประยุกตใหเขากับสังคมไทย (ควรเรียนกระบวนวิชา PC 203, PC 245 มากอน) PC 345 จิตวิทยาคลินิกเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Clinical Psychology)

ศึกษาความหมาย ปญหาความผิดปกติตาง ๆ วิธีการรักษา ลักษณะพื้นฐานของเครื่องมือทดสอบ ตลอดจนงานของนักจิตวิทยาคลินิก

(ควรเรียนกระบวนวิชา PC 245 มากอน) PC 346 จิตวิทยาอปกติ 3 หนวยกิต (PC 353) (Abnormal Psychology)

ศึกษาพฤติกรรมที่ผิดปกติ ลักษณะอาการ สาเหตุ และการปองกันความผิดปกติ รวมทั้งโรคประสาท และโรคจิตชนิดตาง ๆ

PC 347 การวัดผลทางจิตวิทยาคลินิก 3 หนวยกิต (Psycho diagnosis) วิเคราะหสาเหตุ และสมุฏฐานของปญหาทางจิตและบุคลิกภาพ โดยอาศัยแบบทดสอบทางจิตวิทยา (ควรเรียนกระบวนวิชา PC 303, PC 345 มากอน) PC 349 จิตบําบัด 3 หนวยกิต (Psychotherapy) ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีจิตบําบัด และการประยุกตใช (ควรเรียนกระบวนวิชา PC 345, PC 347 มากอน) PC 350 การติดสารเสพติด 3 หนวยกิต (Drug Dependence)

ศึกษาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการติดยาเสพติดใหโทษประเภทตาง ๆ ในแงของอุบัติการณ อาการแสดง สาเหตุ การบําบัดรักษา การฟนฟูสภาพจิตใจ และการปองกัน

PC 354 จิตวิทยาเด็กปญญาออน 3 หนวยกิต (Psychology of Mental Retardation)

ศึกษาชนิดของปญญาออน สาเหตุ และผลทางการเปนปญญาออน การปองกันและแกไข ตลอดจนวิธีจัดการศึกษา และใหความชวยเหลือ

PC 355 จิตวิทยาบุคลิกภาพที่สมบูรณ 3 หนวยกิต (Healthy Personality)

การศึกษาธรรมชาติและโครงสรางของบุคลิกภาพ เพื่อหารูปแบบของบุคลิกภาพที่สมบูรณ และเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคล

Page 61: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

61

PC 356 จิตวิทยาเด็กดอยโอกาส 3 หนวยกิต (Psychology of Cultural Disadvantaged Children)

ศึกษาประเภทและลักษณะของเด็กดอยโอกาส ทางวัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจ ผลของการดอยโอกาสที่มีตอจิตใจและพัฒนาการของเด็ก การนําหลักจิตวิทยามาประยุกต เพื่อแกไขปรับปรุงและชวยเหลือ

PC 360 จิตวิทยาความแตกตาง 3 หนวยกิต (PC 409)(Differential Psychology)

ศึกษาธรรมชาติ และขอบขายของความแตกตางระหวางบุคคล รวมทั้งสาเหตุของความแตกตางในดานสติปญญา บุคลิกภาพ อารมณ สังคม พันธุกรรม และสิ่งแวดลอม

PC 363 จิตวิทยาสังคมชั้นสูง 3 หนวยกิต (Advanced Social Psychology) PR : PC 263

ศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมสังคมในเรื่องความพึงพอใจระหวางบุคคล การรับรูตนเอง การรับรูทางสังคม โดยเนนบทบาทของกระบวนการความรู ความเขาใจในเรื่องการสรางความประทับใจ ทฤษฎีการระบุสาเหตุพฤติกรรม การตัดสินทางสังคม ความกาวราว พฤติกรรมเอื้อเฟอ การเห็นแกประโยชนผูอื่นและการคลอยตาม

PC 365 วิธีการศึกษาทางจิตวิทยาสังคม 3 หนวยกิต (Methods of Studies in Social Psychology) PR : PC 308

ศึกษาวิธีการตาง ๆ ที่ใชในการจิตวิทยาสังคม เนนที่การสํารวจ การศึกษาภาคสนามและการทดลอง รวมทั้งจัดใหนักศึกษาไดรับประสบการณในการวิจัยทางจิตวิทยาสังคมดวย

PC 377 จิตวิทยาเด็กประพฤติผิด 3 หนวยกิต (Psychology of Juvenile Delinquency)

ศึกษาสาเหตุที่ทําใหเด็กกระทําผิดหรือเปนเด็กเกเร การวัดแรงจูงใจ และพฤติกรรมของเด็กเกเร ลักษณะการกระทําของเด็กเกเร และการปองกันแกไข

PC 378 จิตวิทยาอาชญากรรม 3 หนวยกิต (Criminal Psychology)

ศึกษาลักษณะและสาเหตุของพฤติกรรมอาชญากรรม การอธิบายพฤติกรรมอาชญากรรม โดยใชทฤษฎีบุคลิกภาพ ทฤษฎีจิตวิเคราะห การพิจารณาพฤติกรรมอาชญากรรมในทางคลินิก การทารุณกรรมในเด็ก ศึกษาแนวคิดในการปฏิบัติตอผูกระทําผิด วิธีการฟนฟูและอบรมในทัณฑสถาน

Page 62: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

62

PC 379 จิตวิทยาสตรี 3 หนวยกิต (Psychology of Women)

ศึกษาถึงอิทธิพลของความสัมพันธระหวางบุคคล และสถาบันที่เกี่ยวของกับพัฒนาการสังคมของสตรีในสังคมไทย และผลของการอบรมเลี้ยงดูที่มีตอบุคลิกภาพของผูหญิง การวิเคราะหบทบาทและภาวะตาง ๆ ของผูหญิง รวมทั้งคําอธิบายความแตกตางระหวางเพศในเชิงจิตวิทยา

PC 383 จิตวิทยาการสื่อสารและการชักจูง 3 หนวยกิต (Psychology of Communication and Persuasion)

ศึกษาพฤติกรรมการสื่อสารและการชักจูงของมนุษย การทํางานของสมองในแงของระบบ การรับรูขาวสาร การจํา การกระทํา พฤติกรรมสื่อสารภายในตัวบุคคลและระหวางบุคคล ทั้งแบบการใชภาษาและสัญลักษณตาง ๆ วิเคราะหทฤษฎีการสื่อสารที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลงเจตคติ คานิยมและพฤติกรรม และอิทธิพลของการสื่อสารที่มีตอการชักจูงใหมนุษยเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

PC 384 จิตวิทยาอุตสาหกรรมและความทันสมัย 3 หนวยกิต (Industrial Psychology and Modernization)

ศึกษาความหมายของความทันสมัย กระบวนการและแนวโนมการพัฒนาไปสูความทันสมัยของสังคมไทย ผลกระทบของความทันสมัยตอสังคมและพฤติกรรมของบุคคล บทบาทของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม และองคการตอการเปลี่ยนแปลงไปสูความทันสมัย ผลกระทบจากความทันสมัยที่มีตอสังคม ลักษณะการพัฒนาไปสูสังคมอุตสาหกรรม รวมทั้งเทคนิคใหม ๆ ในการเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพในการทํางาน

PC 385 จิตวิทยาการทํางาน 3 หนวยกิต (Psychology at Work)

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของงาน ปญหาที่พบในการสมัครงาน การคัดเลือก การทดสอบทางจิตวิทยา การสัมภาษณ แรงจูงใจ ความบีบคั้นใจ การทํางานเปนกลุม อิทธิพลของสังคมและเจตคติ โดยเนนองคประกอบดานการพัฒนา กระบวนการรับรู การสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล การใชความจํา สติปญญา การเรียนรู และบุคลิกภาพ ที่จะมีสวนสงเสริมประสิทธิภาพในการทํางานของบุคคล รวมทั้งการฝกทักษะในการทํางานรวมกัน

PC 386 จิตวิทยาการตลาดและผูบริโภค 3 หนวยกิต (Psychology of Marketing and Consumer)

ศึกษาการนําแนวความคิดทางจิตวิทยามาประยุกตใชในการสงเสริมการขาย เชน เทคนิคการเพิ่มปริมาณการขาย การโฆษณา การจูงใจ การแนะนําผลิตภัณฑใหม การกําหนดราคา รวมทั้งเทคนิคในการควบคุมพนักงานขาย และศึกษามูลเหตุที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกซื้อสินคาของผูบริโภค ทั้งในดานสวนบุคคล เนนการเรียนรู การรับรู การจูงใจ บุคลิกภาพ และในดานสิ่งแวดลอม เกี่ยวกับวัฒนธรรมครอบครวัและสังคม ตลอดจนกระบวนการใหขอมูลแกผูบริโภค

PC 393 พัฒนาการทางสติปญญา 3 หนวยกิต (Cognitive Development)

ศึกษาทฤษฎีและลักษณะพัฒนาการทางดานสติปญญา ความคิด ความเขาใจ ต้ังแตแรกเกิด วัยเด็ก วัยรุน วัยผูใหญ และวัยชรา รวมทั้งอิทธิพลที่มีผลตอพัฒนาการทางดานสติปญญา ความคิด ความเขาใจของมนุษย

Page 63: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

63

PC 395 พัฒนาการทางดานอารมณ 3 หนวยกิต (Emotional Development)

ศึกษาทฤษฎีและลักษณะพัฒนาการทางดานอารมณ และจิตใจ ต้ังแตแรกเกิด วัยเด็ก วัยรุน วัยผูใหญ และวัยชรา รวมทั้งอิทธิพลที่มีผลตอพัฒนาการทางดานอารมณและจิตใจของมนุษย

PC 396 จิตวิทยาเด็กพิเศษ 3 หนวยกิต (Psychology for Exceptional Children)

เปนการศึกษาเพื่อความรู ความเขาใจลักษณะพฤติกรรมพิเศษ สาเหตุของความพิการ ตลอดทั้งวิธีการชวยเหลือและสงเสริมเด็กพิเศษแตละประเภท เพื่อใหเด็กพิเศษเหลานั้นสามารถปรับตัวทั้งดานอารมณ จิตใจ สังคม และวิชาชีพไดอยางเหมาะสมกับบุคคล ทั้งในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน

PC 397 จิตวิทยาการเลน 3 หนวยกิต (Psychology of Play)

ศึกษาพัฒนาการและธรรมชาติในการเลนของเด็ก ต้ังแตแรกเกิด จนกระทั่งเขาสูวัยรุน อิทธิของการเลนที่มีตอพัฒนาการทางดานรางกาย สติปญญา อารมณและสังคม ประโยชนและลักษณะของเครื่องเลน รวมทั้งกิจกรรมการเลนแบบตาง ๆ

PC 398 พัฒนาการทางดานจริยธรรมและกระบวนการอบรมทางสังคม 3 หนวยกิต (Moral Development and Socialization)

ศึกษาทฤษฎีและลักษณะพัฒนาการทางดานจริยธรรมและกระบวนการอบรมทางสังคม ต้ังแตแรกเกิด วัยเด็ก วัยรุน วัยผูใหญ และวัยชรา รวมทั้งอิทธิพลที่มีตอพัฒนาการทางดานจริยธรรมและกระบวนการอบรมทางสังคมของมนุษย

PC 399 บทบาททางเพศและพฤติกรรมทางสังคม 3 หนวยกิต (Sex Role and Social Behavior)

ศึกษาบทบาททางเพศและพฤติกรรมทางสังคมของชายและหญิงในดานวิถีการดําเนินชีวิต บทบาทในการทํางานและในครอบครัว บุคลิกภาพและความสามารถ โดยศึกษาตามแนวความคิดดานจิตวิเคราะห ชีววิทยา วิวัฒนาการทางวัฒนธรรม พัฒนาการ และจิตวิทยาสังคม

PC 408 คอมพิวเตอรสําหรับนักจิตวิทยา 3 หนวยกิต (Computer for Psychologist)

ศึกษาวิธีการใชโปรแกรมทางคอมพิวเตอรในการเก็บขอมูลตาง ๆ ทางจิตวิทยา การวิเคราะหขอมูล การวางแผน การทดลอง รวมทั้งการทําโปรแกรมแบบทดสอบทางจิตวิทยา

PC 420 เทคนิคการบริการปรึกษาและปฏิบัติการ 3 หนวยกิต (Techniques and Practicum in Counseling) PR : PC 327

ฝกฝนทักษะตาง ๆ ในดานการบริการปรึกษา โดยการนําเทคนิคและวิธีการของแนวคิดและพื้นฐานการบริการปรึกษาใชในหองปฏิบัติการ

Page 64: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

64

PC 421 การจัดหลักสูตรแนะแนวและอาชีพศึกษา 3 หนวยกิต (Guidance Curriculum and Career Education) PR ; PC 333

ศึกษาการจัดหลักสูตรแนะแนวอยางมีระบบทั้งในระดับประถมและมัธยม โดยเนนแนวคิดทางอาชีพศึกษา ใหบุคคลเขาใจตนเอง สํานักรูเรื่องของอาชีพ เตรียมตัวเขาสูอาชีพ โดยผสมผสานการเรียนรูอาชีพเขากับหลักสูตรทางวิชาการอื่น ๆ

PC 422 วิธีการสอนแนะแนว 3 หนวยกิต (Methods of Guidance Teaching) PR : PC 421 เนนวิธีการสอนแนะแนวในรูปแบบตาง ๆ ต้ังแตการบรรยายไปจนถึงการทํากิจกรรมกลุม รวมทั้งการประเมินผลการสอน PC 424 พัฒนาอาชีพในองคการ 3 หนวยกิต (Career Development in Organization)

ศึกษาพัฒนาการชีวิตในชวงตาง ๆ ของบุคคล ตลอดจนการพัฒนาอาชีพของบุคคลในองคการ และพื้นฐานของการวางแผนพัฒนาทรัพยากรในองคการ

PC 426 การปรับพฤติกรรม 3 หนวยกิต (PC 423) (Behavior Modification) PR : PC 207

ศึกษาการนําหลักและทฤษฎีทางพฤติกรรมและการเรียนรูมาประยุกต ใชในการปรับพฤติกรรม ศึกษาถึงสาเหตุของพฤติกรรมที่เปนปญหา และกลวิธีในการแกไข ตลอดจนการวางเงื่อนไขพฤติกรรมดวยเทคนิคหลายรูปแบบ

PC 428 การบริหารงานแนะแนวและงานกิจกรรมนักศึกษา 3 หนวยกิต (PC 425) (Administration of Guidance Program and Student Personnel Work) PR : PC 329

ศึกษาการจัดและบริหารโปรแกรมแนะแนว และงานกิจกรรมนักศึกษา โดยเนนการบริหารงาน และบทบาทของบุคคล การวิเคราะหระบบ การบริหารงานพัสดุ และงบประมาณ

PC 429 การฝกภาคปฏิบัติทางการแนะแนวและใหคําปรึกษา 6 หนวยกิต (Practicum in Guidance and Counseling) ฝกภาคปฏิบัติงานดานการแนะแนว และการใหบริการปรึกษา รวมทั้งการศึกษาปญหาตาง ๆ เปนรายบุคคล

(เปดสําหรับนักศึกษาที่เรียนวิชาจิตวิทยาการใหบริการปรึกษาและแนะแนวเปนวิชาเอก และนักศึกษาตองติดตอผูสอนกอนลงทะเบียน)

PC 430 การปรับตัวดานปญหาทางสังคมและภาวะทุพพลภาพ 3 หนวยกิต (Adjustment Aspects of Social Problems and Handicapping Condition)

ศึกษาปญหาทางสังคมที่มีผลกระทบตอภาวะทุพพลภาพของผูดอยโอกาส รวมทั้งกลวิธีในการปรับตัวของบุคคลเมื่อเผชิญปญหา

Page 65: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

65

PC 433 ผูไรความสามารถในทัศนะทางจิตวิทยาและการแพทย 3 หนวยกิต (Medical and Psychological Aspects of Disabilities) ศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับธรรมชาติ ของผูไรความสามารถทางการแพทยและจิตวิทยา และขอจํากัดในการทํางาน PC 437 สัมมนาทางจิตวิทยาการบริการปรึกษา 3 หนวยกิต (Seminar in Counseling)

สัมมนาเกี่ยวกับการคนควาวิจัยและความเคลื่อนไหวตาง ๆ ทั้งภายในและตางประเทศ ในหัวขอเกี่ยวกับจิตวิทยาการบริการปรึกษาในสถาบันการศึกษา ในองคการอุตสาหกรรม และในหนวยงานสถานพักฟน (ควรปรึกษาผูสอนกอนลงทะเบียนเรียน)

PC 439 การฝกภาคปฏิบัติทางจิตวิทยาการบริการปรึกษา 6 หนวยกิต (Field Work in Counseling) PR : PC 437

การฝกปฏิบัติงานดานการบริการปรึกษา ในสถานฝกงานตาง ๆ ตามความเหมาะสมในแตละสาขาวิชาเอกเลือก เพื่อใหนักศึกษานําความรูทางทฤษฎี และทักษะตาง ๆ ที่ไดศึกษามาประยุกตใชกับงานในอาชีพ

(นักศึกษาตองมีคุณสมบัติครบถวนตามระเบียบของการออกฝกภาคปฏิบัติของภาควิชาจิตวิทยา) PC 440 จิตวิทยาครอบครัวและสังคม 3 หนวยกิต (Psychology of Family and Society) PR : PC 209, PC 246

ศึกษาวงจรชีวิตทางครอบครัวตามแนวความคิดทางทฤษฎีระบบ โดยเนนการปฏิสัมพันธตามขั้นพัฒนาการของครอบครัว และปรากฏการณทางสังคม ทั้งที่เปนการศึกษาระบบของความสัมพันธในครอบครัวในแนวตั้งและแนวนอน

PC 443 จิตวิทยาทางเพศ 3 หนวยกิต (Psychology of Human Sexuality)

ศึกษาองคประกอบเกี่ยวกับเรื่องราวทางเพศของมนุษย ความเชื่อผิด ๆ ในเรื่องเพศศึกษา และแกไขขอมูลที่ผิดพลาดในเรื่องเพศศึกษา ความสัมพันธระหวางเจตคติ จารีตประเพณี และการประพฤติปฏิบัติทางเพศของมนุษย หนวยงานใหบริการการปรึกษาเรื่องเพศในชุมชน การวิเคราะหบรรทัดฐานของชุมชนที่มีตอการประเมินพฤติกรรทางเพศ โดยอาศัยตัวแทนในชุมชนมารวมแสดงความคิดเห็น

PC 444 มนุษยสัมพันธในชุมชน 3 หยวยกิต (Human Relation in Community) PR : PC 246, PC 366

ศกึษาหลักและทฤษฎีวาดวยความสัมพันธระหวางบุคคลและกลุมคน การสรางความเขาใจอันดีระหวางบุคคลและกลุมคนในชุมชน และการสรางแรงกระตุนใหเกิดความรวมมือในชุมชน

Page 66: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

66

PC 450 จิตพยาธิวิทยา 3 หนวยกิต (Psychopathology)

ศึกษาพยาธิสภาพทางพฤติกรรมในแงของปจจัยเบื้องหลังที่กอใหเกิดโรคประสาท โรคจิต และบุคลิกภาพแปรปรวน โดยพิจารณาในแนวความคิดทางดานพฤติกรรมศาสตร ชีววิทยา และการเปลี่ยนแปลงทางจิตวิทยา หัวขอในการศึกษาประกอบดวยสาเหตุอาการแสดง การจําแนกโรค และการรักษา

PC 459 การฝกปฏิบัติทางจิตวิทยาคลินิก 6 หนวยกิต

(Practicum in Clinical Psychology) ฝกปฏิบัติการแกปญหาและชวยเหลือผูมีปญหาทางจิต (เปดสําหรับนักศึกษาวิชาเอกจิตวิทยาคลินิก และนักศึกษาตองติดตอผูสอน กอนการลงทะเบียน)

PC 460 ระบบและทฤษฎีทางจิตวิทยา 3 หนวยกิต (PC 405) (Systems and Theories in Psychology)

ศึกษาประวัติพัฒนาการของวิชาจิตวิทยา ต้ังแตกลางศตวรรษที่ 19 จนถึงปจจุบัน โดยเนนกลุมทฤษฎีตาง ๆ ที่เปนพ้ืนฐานของจิตวิทยาสังคมปจจุบัน

PC 464 การวิจัยสวนบุคคลทางจิตวิทยาสังคม 4 หนวยกิต (PC 463) (Individual Research in Social Psychology) การวิจัยทางจิตวิทยาสังคมตามหัวขอที่นักศึกษาสนใจเปนรายบุคคล (สําหรับนักศึกษาที่เรียนวิชาเอกจิตวิทยาสังคม และตองติดตอกับอาจารยผูรับผิดชอบดวยตนเองกอนการลงทะเบียน) PC 465 สัมมนาทางจิตวิทยาสังคม 2 หนวยกิต (Seminar in Social Psychology)

นําผลงานวิจัยและแนวความคิดในปจจุบันทางจิตวิทยาสังคมมาอภิปราย โดยวิเคราะหในดานแบบแผนการวิจัย กลุมตัวอยาง ประชากร และผลการวิจัย เปนตน (ควรปรึกษาผูสอนกอนการลงทะเบียนเรียน)

PC 469 การฝกภาคปฏิบัติทางจิตวิทยาสังคม 6 หนวยกิต (PC 468) (Field Work in Social Psychology) ฝกปฏิบัติ และศึกษาปญหาสังคมในสภาพการที่เปนจริง โดยการใชความรูและวิธีการศึกษาจิตวิทยาสังคม (นักศึกษาตองมีคุณสมบัติครบถวนตามระเบียบการออกฝกภาคปฏิบัติของภาควิชาจิตวิทยา) PC 481 จิตวิทยาการแกปญหาและตัดสินใจ 3 หนวยกิต (Psychology of Problem Solving and Decision Making)

ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจ ธรรมชาติในการตัดสินใจของบุคคลในแตละสถานการณ โดยเนนถึงการตัดสินใจในการทํางาน การตัดสินใจในกระบวนการบริหารของผูนํา การตัดสินใจเลือกแสดงพฤติกรรม การตัดสินใจเสี่ยง การตัดสินใจเพื่อแกปญหา และความแตกตางในการตัดสินใจของบุคคลประเภทตาง ๆ

Page 67: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

67

PC 493 จิตวิทยาการเรียนการสอนสําหรับเด็กกอนวัยเรียน 3 หนวยกิต (Psychology for Early Childhood Education)

ศึกษาเกี่ยวกับจิตวิทยาการเรียนการสอน รวมท้ังวิธีการสรางอุปกรณเพื่อใชประกอบในการเรียนการสอน สําหรับเด็กแรกเกิด จนถึงวัย 6 ขวบ

PC 494 จิตวิทยาความสัมพันธภายในครอบครัว 3 หนวยกิต (Psychology of Family Relations)

ศึกษาการเลือกคูครอง การปรับตัวในชีวิตครอบครัว ปญหาเพศสัมพันธ การวางแผนครอบครัว กฎหมายครอบครัว วิธีการแกปญหาการครองเรือน ศึกษาวุฒิภาวะและเจตคติของบิดามารดา อิทธิพลของสังคมที่มีตอครอบครัว ความสัมพันธระหวางพี่นอง ตลอดจนแนวทางการแกปญหาภายในครอบครัว

PC 495 วิธีการศึกษาดานจิตวิทยาพัฒนาการ 3 หนวยกิต (Method in Developmental Psychology)

ศึกษาวิธีการตาง ๆ ที่ใชในวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ เนนที่การศึกษาภาคสนาม การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลทางดานจิตวิทยาพัฒนาการ ตลอดจนศึกษาในเรื่องพัฒนาการตามหัวขอที่นักศึกษาสนใจเปนรายบุคคล

(สําหรับนักศึกษาที่เรียนวิชาเอกจิตวิทยาพัฒนาการเทานั้น) PC 496 จิตวิทยาพัฒนาการประยุกต 3 หนวยกิต (Applied Development Psychology)

ศึกษาการประยุกตทฤษฎี หลักการ และลักษณะทางจิตวิทยาพัฒนาการในวัยตาง ๆ ของมนุษย เพื่อใหปรับตัวและสามารถดํารงชีวิตไดอยางเหมาะสม ตามสภาพแวดลอมของสังคมไทย

PC 498 สัมมนาทางจิตวิทยาพัฒนาการ 3 หนวยกิต (Seminar in Developmental Psychology)

นําผลงานวิจัยและขอมูลที่ไดจากการสังเกต การดูงาน การศึกษาเด็กเปนรายบุคคลมาอภิปรายแสดงความคิดเห็น โดยใหสอดคลองและสัมพันธกับสภาพสังคมไทยในปจจุบัน

PC 499 ฝกปฏิบัติงานทางดานจิตวิทยาพัฒนาการ 3 หนวยกิต (Practicum in Developmental Psychology)

ศึกษาปญหาทางพัฒนาการของบุคคลในสภาพการณที่เปนจริง โดยนําความรูและวิธีการศึกษาทางจิตวิทยาพัฒนาการมาประยุกตใชในการวิเคราะหและคนหาแนวทางแกปญหา

(สําหรับนักศึกษาที่เรียนวิชาเอกจิตวิทยาพัฒนาการเทานั้น) PC 543 ครอบครัวบําบัดเบื้องตน 3 หนวยกิต (Introduction to Family Therapy) PR : PC 420

ศึกษาความเปนมาของครอบครัวบําบัด ทฤษฎี งานวิจัย และกระบวนการครอบครัว บําบัดตามแนวทฤษฎีตาง ๆ การฝกหัดครอบครัวบําบัด รวมทั้งแนวทางของการนําครอบครัวบําบัดมาประยุกตใชในสังคมไทย

Page 68: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

68

PC 547 การสัมมนาทางจิตวิทยาคลินิกและชุมชน 3 หนวยกิต (Seminar in Clinic and Community Psychology) สัมมนาเกี่ยวกับทฤษฎี งานวิจัย และปญหาตาง ๆ ทางจิตวิทยาคลินิกและชุมชน PE 103 พลศึกษา 1 หนวยกิต (Physical Education)

ความหมาย ความมุงหมาย ขอบขายและความสําคัญของพลศึกษา ความเขาใจผิดเกี่ยวกับพลศึกษา การพลศึกษาในชีวิตประจําวัน รูปแบบของการออกกําลังกายและการบริหารกายที่ถูกตอง คุณและโทษของการออกกําลังกาย ทักษะพ้ืนฐานเกี่ยวกับ กรีฑา ยิมนาสติก บาสเกตบอล กิจกรรมการเลนเขาจังหวะ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัย กีฬาเขต ซีเกมส เอเชี่ยนเกมส และโอลิมปกเกมส

PE 211 ฟุตบอล 1 1 หนวยกิต (Soccer 1) (เฉพาะชาย)

ประวัติความเปนมาของฟุตบอล ทักษะเฉพาะบุคคลเบื้องตนในการเลนทีม ตําแหนงผูเลน หนาที่ของผูเลนแตละตําแหนง และกติกาการเลน

PE 212 ฟุตบอล 2 1 หนวยกิต (Soccer 2)

ทักษะฟุตบอลชั้นสูง วิธีรุกและวิธีรับแบบตาง ๆ กลยุทธการเลนเปนทีม ความสัมพันธระหวางตําแหนงหนาที่ของผูเลน การเปนเจาหนาที่การตัดสินกฎกติกาการแขงขัน

PE 221 บาสเกตบอล 1 1 หนวยกิต (Basketball 1)

ประวัติความเปนมาของบาสเกตบอล ความรูความเขาใจ ทักษะเบื้องตนตาง ๆ ดานบุคคลในกีฬาบาสเกตบอล วิธีการเลนเปนทีม กติกาเบื้องตน

PE 222 ปรัชญาและหลักการพลศึกษา 2 หนวยกิต (Philosophy and Principles of Physical Education and Recreation)

ความมุงหมายและลักษณะวิชาของพลศึกษา เปาหมายและจุกมุงหมายของพลศึกษา ประวัติการพลศึกษา หลักการและปรัชญาทางพลศึกษา หลักสําคัญทางพลศึกษา ซึ่งมีราฐานมาจากทางดานชีววิทยา จิตวิทยา และสังคมวิทยา และเปนขบวนการศึกษา เปนจุดมุงหมายของการเคลื่อนไหวของมนุษย โดยใชกิจกรรมพลศึกษาเปนสื่อ

PE 232 บาสเกตบอล 2 1 หนวยกิต (Basketball 2)

ทักษะของบาสเกตบอลชั้นสูง หนาที่และตําแหนง วิธีรุกและวิธีรับแบบตาง ๆ กลยุทธในการเลนทีม กฎกติกาการแขงขัน การเปนเจาหนาที่และการตัดสิน

Page 69: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

69

PE 241 กรีฑาลูและลาน 1 1 หนวยกิต (Track and Field 1)

ประวัติ หลักและทักษะเบื้องตนในการวิ่งระยะสั้น ระยะกลาง กระโดดน้ํา กระโดดไกล เขยงกาวกระโดด ทุมน้ําหนัก ขวางจักร พุงแหลน กระโดดสูง

PE 242 กรีฑาลูและลาน 2 1 หนวยกิต (Track and Field 2)

การว่ิงระยะไกล มาราธอนและเทคนิคทักษะชั้นสูงของการวิ่งระยะตาง ๆ การกระโดดไหล เขยงกาวกระโดด กระโดดสูง ทุมน้ําหนัก ขวางจักร พุงแหลน และกระโดดน้ํา ปญจกรีฑา กติกาและการบันทึกผลการแขงขัน

PE 244 กายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยา 3 หนวยกิต (Anatomy and Physiology)

ความรูเบื้องตนของรางกายมนุษย ลักษณะและหนาที่เซลลกลามเนื้อและอวัยวะตาง ๆ ระบบโครงราง ระบบกลามเนื้อ ระบบปราสาท ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนของโลหิต ระบบขับถาย ระบบตอมไรทอ

PE 248 เคร่ืองอํานวยความสะดวกและอุปกรณทางพลศึกษา 1 หนวยกิต (Facilities and Equipment in Physical Education)

ความรูเกี่ยวกับเครื่องอํานวยความสะดวกและอุปกรณทางพลศึกษา การเลือกใชเครื่องอํานวยความสะดวก อุปกรณใหเหมาะสม และมีประโยชนทางดานการสอนและการแขงขันการผลิต การดัดแปลงและการจัดหาเครื่องอํานวยความสะดวกและอุปกรณทางพลศึกษา

PE 261 เทเบิลเทนนิส 1 หนวยกิต (Table Tennis)

ประวัติความเปนมาของเทเบิลเทนนิส ทักษะเบื้องตนของเทเบิลเทนนิส กลยุทธในการเลนประเภทเดี่ยวและประเภทคู กติกาการแขงขัน การจัดการแขงขัน การตัดสิน หลักการและวิธีสอน

PE 273 เกมสเบ็ดเตล็ด 1 หนวยกิต (Minor Games)

ความมุงหมาย ประโยชนและประเภทเกมสเบ็ดเตล็ด ฝกการเลนของเกมสประเภทตาง ๆ การเปนผูนําและผูตาม การจัดหาวัสดุเหลือใช และการประดิษฐอุปกรณตาง ๆ สําหรับเกมสเบ็ดเตล็ด

PE 274 การบริหารกาย 1 หนวยกิต (Calisthenics) ความมุงหมายและประโยชนของการบริหาร ประเภทของการบริหารกาย และแบบฝกทากาบบริหารแบบตาง ๆ

Page 70: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

70

PE 275 การสรางสมรรถภาพทางกาย 1 หนวยกิต (Body Conditioning)

ความรูและการปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคทางเสริมสรางสมรรถภาพทางกาย การเสริมสรางสมรรถภาพทางกายที่มีผลตอการเลนกีฬา หลักการสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลตอการเสริมสรางสมรรถภาพทางกาย วิธีการประเมินผล วิธีการจัดแบงหมูในการฝก หลักและวิธีการปฏิบัติ การปรับปรุงและแกไขสภาพรางกายของเด็กปกติ

PE 281 กระบี่ 1 หนวยกิต (Krabi)

ประวัติความเปนมาของกระบี่ ความรูและทักษะเกี่ยวกับศิลปะ การตอสูปองกันตัวดวยกระบี่ การขึ้นพรหมและการรําไมตาง ๆ ประเพณีการแสดง การแขงขันหลักและวิธีการสอน การไหวครู

PE 291 มวยสากล 1 1 หนวยกิต (Boxing 1) ความรู หลักการและทักษะเบื้องตนเกี่ยวกับมวยสากล การตอสูมวยสากล ระเบียบและกติกาการแขงขัน วิธีการฝก PE 292 มวยสากล 2 1 หนวยกิต (Boxing 2)

เทคนิคและทักษะขั้นสูงของมวยสากล เทคนิคการตอสู กติกาการแขงขัน การจัดการแขงขัน การเปนผูตัดสิน ความรูเกี่ยวกับวิธีการสอน และการฝกหัดเพื่อใหไดผลดีและปลอดภัย

PE 301 พฤติกรรมการสอนพลศึกษา 1 4 หนวยกิต (Teaching Behavior in Physical Education 1)

ศึกษาถึงความหมายของการพลศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา แนวความคิดในการสอนพลศึกษา ลักษณะผูสอนที่ดีกับจรรยาบรรณแหงอาชีพ หลักการสอนทั่วไป วิธีการสอน เทคนิคการสอนและอุปกรณการสอน การสังเกตการณสอนวิชาพลศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา (สอนใหผูเรียนไดปฏิบัติจริง ๆ เพื่อใหเกิดผลเชิงพฤติกรรมดวย)

PE 302 พฤติกรรมการสอนพลศึกษา 2 4 หนวยกิต (Teaching Behavior in Physical Education 2)

ศึกษาถึงเรื่องหลักสูตรพลศึกษาชั้นมัธยมและการวิเคราะหหลักสูตรการทําโครงการสอนระยะยาว การทําบันทึกการสอน การวัดและการประเมินผลทางพลศึกษา รวมทั้งการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ตลอดจนปญหาและอุปสรรคการสอนวิชาพลศึกษา (สอนใหผูเรียนไดปฏิบัติจริง ๆ เพื่อใหเกิดผลเชิงพฤติกรรมดวย)

PE 303 การสอนวิชาพลศึกษา 3 หนวยกิต (Teaching of Physical Education)

ศึกษาความหมาย ความมุงหมาย แนวความคิดวิชาพลศึกษา การวิเคราะหหลักสูตร การทําแผนการสอน บันทึกการสอน การทดลองสอน การจัดดําเนินการสอนในหองเรียน การวัดและการประเมินผลวิชาพลศึกษาและคุณลักษณะของครูที่ดี

Page 71: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

71

PE 313 ฟุตบอล 3 1 หนวยกิต (Soccer 3) (เฉพาะชาย)

ทฤษฎี วิธีสอน และการฝกทักษะฟุตบอลเปนรายบุคคล การเลนเปนทีม ยุทธวิธีในการฝกแบบตั้งรับและแบบรุก การรูจักแกไขปญหา หลักและวิธีปฏิบัติในการเปนเจาหนาที่แขงขัน และการเปนผูตัดสินกีฬาฟุตบอล ความรูความเขาใจในระเบียบและกติกาการแขงขัน พฤติกรรมของนักกีฬา และเทคนิคในการเลนขั้นสูง

PE 314 ฮอกก้ี 1 หนวยกิต (Hockey)

ประวัติความเปนมา ความรูความเขาใจทักษะตาง ๆ ของฮอกกี้ การจับไม การผลักไม การสงลูก การรับลูกแบบตางๆ วิธีการเลนแบบรุก วิธีการเลนแบบรับ กติกาการแขงขัน การตัดสิน และวิธีการสอน

PE 321 แฮนดบอล 1 หนวยกิต (Handball)

ความรูความเขาใจทักษะตาง ๆ ของแฮนดบอล การรับสง การยิงประตูแบบตาง ๆ วิธีรุก วิธีรับ การเลนเปนทีม กติกาการเลน วิธีการตัดสิน และหลักการสอน

PE 324 หลักการจัดพลศึกษาในโรงเรียนมัธยม 2 หนวยกิต (Organization of Physical Education in Secondary School)

นโยบายและหลักการในการจัดพลศึกษาในโรงเรียน การจัดโครงการพลศึกษาของโรงเรียนระดับตาง ๆ หลักเกณฑในการจัดสถานที่เกี่ยวกับพลศึกษา การกําหนดเวลาเรียนพลศึกษา การเตรียมสถานที่ อุปกรณขนาดของชั้นเรียนและการแขงหมู งบประมาณ ตลอดจนเครื่องอํานวยความสะดวกตาง ๆ การวัดผลและประเมินผลโครงการจัดพลศึกษาในโรงเรียน ปญหาและอุปสรรคการจัดและบริหารพลศึกษาในประเทศไทย

PE 326 วิทยาศาสตรการเคลื่อนไหว 2 หนวยกิต (Kinesiology)

การประยุกตหลังกายวิภาค สรีระวิทยา และกลศาสตร เพื่อชวยใหการเลื่อนไหวของรางกายไดมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น อีกทั้งสามารถนํามาใชสอนวิชาพลศึกษาและการกีฬาเพื่อใหไดผลดียิ่งขึ้น

PE 328 สรีระการออกกําลังกาย 2 หนวยกิต (Physiology of Exercises)

ศึกษาถึงเรื่องผลทางสรีระในการออกกําลังกายดวยกิจกรรมทางพลศึกษา ศึกษาถึงบทบาทของระบบประสาท ระบบกลามเนื้อ ระบบการหายใจ และระบบไหลเวียนของโลหิตที่มีผลตอการออกกําลังกายของมนุษย

PE 331 วอลเลยบอล 1 1 หนวยกิต (Volleyball 1)

ประวัติความเปนมาของวอลเลยบอล ความรูและความเขาใจทักษะเบื้องตนตาง ๆ เชน การเลนลูกมือบน การเลนลูกมือลาง การรับ การโต ตําแหนงและหนาที่ผูเลน กติกาการเลน หลักและวิธีการสอนทักษะตาง ๆ ในแตละระดับช้ัน

Page 72: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

72

PE 332 วอลเลยบอล 2 1 หนวยกิต (Volleyball 2)

ทักษะตาง ๆ ช้ันสูงของวอลเลยบอล ความสัมพันธของตําแหนงหนาที่ของการเลนตาง ๆ กลยุทธในการเลนแบบตาง ๆ วิธีการเลนเมื่อเปนฝายเสิรฟและเมื่อเปนฝายรับ กฎกติกาการเปนเจาหนาที่ดําเนินการแขงขัน

PE 333 บาสเกตบอล 3 1 หนวยกิต (Basketball 3)

หลักและวิธีการสอนและเทคนิคในการฝกกีฬาบาสเกตบอล ยุทธวิธีของการเลนเปนทีมแบบตั้งรับและแบบรุก หลักและวิธีปฏิบัติในการเปนเจาหนาที่แขงขัน และการเปนผูตัดสิน ศึกษาถึงระเบียบและกติกาการแขงขัน พฤติกรรมของนักศึกษาและเทคนิคในการเลนช้ันสูง

PE 343 กรีฑา 3 1 หนวยกิต (Track and Field 3)

หลักและวิธีสอนและเทคนิคในการฝกกรีฑา หลักและวิธีปฏิบัติในการเปนเจาหนาที่แขงขันและการเปนผูตัดสิน ศึกษาระเบียบและกติกาการแขงขัน พฤติกรรมของนักศึกษาและเทคนิคในการเลนขั้นสูง

PE 351 วายน้ํา 1 1 หนวยกิต (Swimming 1)

ประวัติความเปนมา ความรูความเขาใจเทคนิคและทักษะของทาวายน้ําเบื้องตน การลงสูน้ํา การลอยตัว การหายใจ วิธีวายแบบตาง ๆ ความปลอดภัย หลักและวิธีการสอนวายน้ํา

PE 352 วายน้ํา 2 1 หนวยกิต (Swimming 2)

เทคนิคและทักษะวายน้ําแบบตาง ๆ ช้ันสูง การดําน้ํา กติกาการวายน้ํา การจัดการแขงขัน และการเปนเจาหนาที่ ตลอดจนหลักและวิธีการสอน

PE 361 เทนนิส 1 1 หนวยกิต (Tennis 1)

ประวัติความเปนมา ความรูความเขาใจทักษะเบื้องตนของเทนนิส การจับไม การตีลูกแบบตาง ๆ การรับลูกแบบตาง ๆ วิธีการเลน กติกาการแขงขัน การเปนเจาหนาที่ หลักและวิธีการสอน

PE 362 เทนนิส 2 1 หนวยกิต (Tennis 2)

ทักษะเทนนิสช้ันสูง หลักและกลยุทธของการเลนแบบตาง ๆ ทั้งประเภทเดี่ยวและประเภทคู กติกาการแขงขัน การเปน ผูตัดสิน การเปนเจาหนาที่และวิธีการฝกสอนเทนนิส

Page 73: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

73

PE 369 ยิงธนู 1 หนวยกิต (Archery)

ประวัติและความเปนมาของกีฬายิงธนู ความรูความเขาใจเทคนิคและทักษะของกีฬาประเภทนี้ เรียนรูถึงอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้นและทางปองกัน ตลอดจนอุปกรณที่ใชในการสอน ระเบียบและกติกาการแขงขัน ความรูเกี่ยวกับวิธีสอนและการฝกหัดเพื่อใหเกิดผลดี

PE 371 ยิมนาสติก 1 1 หนวยกิต (Gymnastics 1)

ทักษะเบื้องตนยิมนาสติกประเภทตาง ๆ เชน ยืดหยุน การออกกําลังกายแบบทามือเปลา ราวคู ราวเดี่ยว ถีบกระโดด พรอมทั้งหลักและวิธีการสอนในระดับช้ันตาง ๆ

PE 372 ยิมนาสติก 2 1 หนวยกิต (Gymnastics 2)

ทักษะและเทคนิคการเลนยิมนาสติกช้ันสูง ทาตาง ๆ ของบารเดี่ยว และบารคู ถีบกระโดด หวง แทรมโบลีน การรวมทาเปนชุด การแขงขัน กฎกติกาการตัดสินและวิธีการสอน

PE 375 ฟลอรเอ็กเซอรไซด 1 หนวยกิต (Floor - Exercise) ประวัติความเปนมา ประโยชน การเคลื่อนไหวเบื้องตน ลีลายิมนาสติกช้ันสูง PE 381 มวยไทย 1 1 หนวยกิต (Thai Boxing 1)

ประวัติความเปนมา ความรู หลักการและทักษะเบื้องตนเกี่ยวกับกีฬามวยไทย การบริหารกาย การฟุตเวิรค การตั้งทาการด การใชหมัดเย็บ หมัดตรง หมัดฮุก หมัดอัปเปอรคัด การปองกนการใชเทา เขา ศอก

PE 382 มวยไทย 2 1 หนวยกิต (Thai Boxing 2)

เทคนิคและทักษะของมวยไทยชั้นสูง การจัดการแขงขัน ระเบียบและกติกาการแขงขัน การเปนผูตัดสิน ความรูเกี่ยวกับวิธีสอนและการฝกหัดใหไดผลดี และความปลอดภัย

PE 384 ซอฟทบอล 1 หนวยกิต (Soft Ball)

ความรูความเขาใจทักษะตาง ๆ เชน การสง การรับ การตี การเปลี่ยนเบส การวิ่ง การเลนเปนทีม กติกาการเลน การเปนเจาหนาที่ การตัดสิน หลักและวิธีการสอน

PE 386 ตะกรอและเซปคตะกรอ 1 หนวยกิต (Takraw and Sepak Takraw)

ความรูและทักษะเบื้องตนในการเลนตะกรอและเซปคตะกรอ ทักษะการเลนตะกรอแตละประเภท ตลอดจนชนิดตะกรอ กติกาการแขงขันและวิธีตัดสิน วิธีสอนและการจัดการแขงขัน

Page 74: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

74

PE 388 การปองกันและการรักษาการบาดเจ็บจากการเลนกีฬา 1 หนวยกิต (Care and Prevention of Athletic Injuries)

ความสําคัญของการปองกันและการรักษาบาดเจ็บจากกีฬา ความรูบางประการในการปฐมพยาบาล ชนิดของอุบัติเหตุหรืออันตรายเกี่ยวกับกีฬาประเภทตาง ๆ การรักษาและการปองกันอันตรายหรืออุบัติเหตุอันเนื่องจากกีฬาประเภทแตละประเภทนั้น ๆ หลักของการใชความรอน ความเย็น และการฝกหัด

PE 391 ยูโด 1 1 หนวยกิต (Judo 1)

ประวัติความเปนมา ทักษะเบื้องตนของยูโด การบริหารกาย ศัพทเฉพาะ การลมดวยทาตาง ๆ การทุม และการตอสูเบื้องตน กฎ กติกา

PE 392 ยูโด 2 1 หนวยกิต (Judo 2)

เทคนิคและทักษะยูโดขั้นสูง การล็อคและการแก การปองกันและการโตตอบ ระเบียบ กฎ กติกาการแขงขัน วิธีการสอนยูโด การเปนเจาหนาที่ และการเปนผูตัดสิน

PE 397 มวยปลํ้า 1 หนวยกิต (Wrestling)

ประวัติความเปนมา การบริหารกาบที่ใชในกีฬามวยปล้ํา ศัพทเฉพาะที่ใชในแตละทา การปล้ําแตละทา การแกไข กฎกติกาการแขงขัน การจัดการแขงขัน การเปนผูตัดสิน และวิธีการสอน

PE 411 รักบี้ฟุตบอล 1 1 หนวยกิต (Rugby – Football 1)

ความรูความเขาใจทักษะเบื้องตนของรักบี้ฟุตบอล การสงลูก การรับลูก การไลนเอาท การวิ่งขณะมีลูก การหลบหลีก การเก็บลูก การฟอลล การเตะแตละแบบ การจับแทคเกิ้ล ทักษะการเลนทีม ตําแหนงหนาที่ของผูเลน กติกาการแขงขัน

PE 412 รักบี้ฟุตบอล 2 1 หนวยกิต (Rugby – Football 2)

เทคนิคและทักษะการเลนช้ันสูง การเลนเมื่อเปนฝายรุกและฝายรับ กลวิธีการเลนแบบตาง ๆ กฎกติกาการแขงขัน การตัดสิน หลักการสอนและการฝก

PE 414 แนวโนมและปญหาปจจุบันวิชาพลานามัย 2 หนวยกิต (Trend and Current Issues in Health Physical Education and Recreation)

ศึกษาเกี่ยวกับปญหาการสอนวิชาพลานามัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาที่นักศึกษาไดประสบในขณะทําการฝกสอนและศึกษาแนวทางแกไขปญหานั้น ๆ

Page 75: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

75

PE 415 สัมมนาทางการสอนวิชาพลศึกษา 2 หนวยกิต (Seminar in Health, Physical Education and Recreation)

สัมมนาเกี่ยวกับปญหาการสอนวิชาพลานามัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาที่นักศึกษาไดประสบในขณะทําการฝกสอนและศึกษาแนวทางแกไขปญหานั้น ๆ

PE 416 การฝกสอนวิชาพลศึกษา 6 หนวยกิต (Student Teaching in Health Physical Education and Recreation)

การฝกสอนในวิชาสุขศึกษา พลศึกษา และนันทนาการ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามหลักเกณฑที่กําหนดใหภายใตการแนะนําของอาจารยนิเทศทางภาควิชาพลานามัย

PE 425 บรรดิการทางพลศึกษา 2 หนวยกิต (Adapted Physical Education)

สาเหตุและชนิดของการผิดปกติทางดานรางกายและจิตใจของนักเรียนในวัยตาง ๆ การใชผลของการตรวจรางกายในการที่จะจัดบรรดิการ การจัดกิจกรรม การประเมินผล และการติดตามผลของรางกายและจิตใจของนักเรียน

PE 426 พลศึกษาเด็กพิเศษ 3 หนวยกิต (Physical Education for Special Children)

ความมุงหมายประวัติความเปนมาของพลศึกษาเด็กพิเศษ การจัด การบริหาร และการสอนพลศึกษาพิเศษ ศึกษาสาเหตุ ชนิดของความผิดปกติของนักเรียนที่ตองการพลศึกษาพิเศษ การจัดกิจกรรม การประเมินผลและการติดตามผลของความผิดปกติ

PE 427 หลักและวิธีการฝกกีฬา 1 หนวยกิต (Scientific Principles of Coaching)

หลักเบื้องตนในการสรางมนุษยสัมพันธ การใชจิตวิทยาเพื่อเปนหลักในการที่ผูฝกจะนําไปใชใหเปนประโยชนมากที่สุดตอนักกีฬา การคนควาแกไขสิ่งบกพรองในกีฬาแตละประเภท และการคัดเลือกนักกีฬาแตละประเภท

PE 433 วอลเลยบอล 3 1 หนวยกิต (Volleyball 3)

หลักและวิธสีอน เทคนิคในการฝกกีฬาวอลเลยบอล ยุทธวิธีของการเลนเปนทีม หลักและวิธีปฏิบัติในการเปนเจาหนาที่แขงขัน พฤติกรรมของนักกีฬา และเทคนิคในการเลนช้ันสูง

PE 453 การชวยคนตกน้ําและความปลอดภัยทางน้ํา 1 หนวยกิต (Life Saving) หลักและวิธีการชวยคนตกน้ําในแบบตาง ๆ การปฐมพยาบาลคนตกน้ํา หลักและวิธีการสอน PE 455 กระโดดน้ํา 1 หนวยกิต (Diving)

ทักษะพื้นฐานในการกระโดดน้ํา ฝกความสัมพันธในการใชเทา แขน ลําตัว และศีรษะ ฝกทากระโดดแตละทา กติกาการแขงขัน

Page 76: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

76

PE 457 โปโลน้ํา 1 หนวยกิต (Water Polo) ทักษะเบื้องตนของการรับสงลูกบอลในน้ํา วิธีการเลน กติกาการจัดการแขงขัน การตัดสิน และวิธีการสอน PE 461 แบดมินตัน 1 หนวยกิต (Badminton)

ประวัติความเปนมาของกีฬาแบดมินตัน ความรูความเขาใจ เทคนิคและทักษะเบื้องตนของแบดมินตัน การจับไม การตีลูกแบบตาง ๆ กติกาการแขงขัน การเปนเจาหนาที่จัดการแขงขัน การตัดสินประเภทเดี่ยว ประเภทคู หลักและวิธีการสอนแบดมินตัน

PE 469 โบวล่ิง 1 หนวยกิต (Bowling)

ประวัติและวิวัฒนาการของโบวลิ่ง ต้ังแตสมัยเริ่มแรกมาจนถึงปจจุบัน เรียนรูถึงคําศัพทและภาษาที่ใช ตลอดจนความมุงหมายของกีฬาประเภทนี้ ฝกฝนทักษะเบื้องตนเกี่ยวกับการถือลูกโบวลิ่ง การยืน การกาวเทา และการโยน เรียนรูถึงการบนัทึกคะแนน อุปกรณที่ใช การจัดการแขงขัน ระเบียบ และกติกาการแขงขัน มารยาทและความปลอดภัย

PE 482 ดาบสองมือ 1 หนวยกิต (Thai Sword)

ความรูและทักษะเกี่ยวกับศิลปะการปองกันตัวดวยกระบอง การขึ้นพรหม และการรําไมตางๆ และการตอสูกันแบบตางๆ ประเพณีการแสดงการแขงขัน หลักการและวิธีการสอน การไหวครู

PE 494 ศิลปะการปองกันตัว 1 หนวยกิต (Self Defense)

ทฤษฎีหลักการและทักษะเบื้องตนเกี่ยวกับศิลปะการปองกันตัวสําหรับสตรี เทคนิคและการปองกันตัวในยามฉุกเฉิน อุปกรณที่จําเปน ความรูเกี่ยวกับวิธีสอน และการฝกหัดเพื่อใหเกิดความรู ความชํานาญ และสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได

RC 263 นันทนาการชุมชน 2 หนวยกิต (community Recreation)

ความหมายและความสําคัญของนันทนาการ ขอบขายของกิจกรรม ประเภทของนันทนาการ การจัดสถานที่ ความสัมพันธกับกิจกรรมอื่น ๆ องคการตาง ๆ ผูนํา หลักการจัดนันทนาการ การจัดนันทนาการในโรงเรียน การประเมินผลทางนันทนาการ

RC 265 กิจกรรมเขาจังหวะ 1 หนวยกิต (Rhythmic Activities)

หลักการเคลื่อนไหว ชนิดของกิจกรรมที่ใชประกอบจังหวะ การเตนรําพื้นเมือง การสรางสรรคทางกิจกรรมเขาจังหวะเพื่อการพลศึกษา หลักการวิธีการสอน อุปกรณที่ใชในการสอนกิจกรรมเขาจังหวะ และการจัดกิจกรรมเขาจังหวะใหเหมาะสมกับวัยตาง ๆ

Page 77: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

77

RC 272 รําไทย 1 หนวยกิต (Thai Classical Dance) ศึกษาประวัติความเปนมาของการรําไทย ความรูและทักษะเกี่ยวกับศิลปะรําไทยมาตรฐาน RC 363 เกมสนันทนาการ 1 หนวยกิต (Recreation Games)

ศึกษาถึงเรื่องความหมาย ประโยชนและประเภทของเกมสเลนนันทนาการ ตลอดจนหลักการจัดและการเปนผูนําทางเกมสเลนนันทนาการ โดยเนนการปฏิบัติจริงดวย

RC 365 องคการบริการเยาวชน 2 หนวยกิต (Youth Serving Agencies)

ความหมาย ขอบขายของการบริการเยาวชน ความสําคัญของเยาวชน นโยบายเยาวชนแหงชาติ องคการ สโมสร และสมาคมที่จัดบริการเยาวชนในประเทศ การจัดและการดําเนินงาน และการบริการองคการบริการเยาวชน

RC 367 การจัดนันทนาการในชนบท 2 หนวยกิต (Recreation Organization in Rural Community)

การศึกษาถึงสภาพและสิ่งแวดลอมทางดานนันทนาการในสังคมชนบท ศึกษาประเภท และลักษณะของกิจกรรมนันทนาการในชนบท หลักการและวิธีการจัดการดําเนินงาน การจัดโปรแกรมและผูนําใหเหมาระสมกับสภาพชนบท

RC 463 คายพักแรม 1 หนวยกิต (Camping)

ประวัติ จุดมุงหมาย ขอบขายและการดําเนินงานของการอยูคายพักแรม ประเภทของคายพักแรม กิจกรรมตาง ๆ ที่จัดสําหรับการอยูคายพักแรม การรูจักใชวัสดุตามธรรมชาติใหเปนประโยชน การฝกความเปนผูนําคาย การสาธิตและการฝกหัดการอยูคายพักแรมประเภทตาง ๆ

RC 464 ลูกเสือ 1 หนวยกิต (Scouting)

ความรูในเรื่องหลักการและอุดมการณของลูกเสือสากลและลูกเสือไทย คติพจน คําปฏิญาณ พิธีการตาง ๆ ของลูกเสือ ประเภทของลูกเสือ หลักสูตรของลูกเสือแตละประเภท พิธีการและระเบียบขอบังคับของลูกเสือ การบริหารลูกเสือแหงชาติ

RC 465 เนตรนารีและยุวกาชาด 1 หนวยกิต (Girls Guide and Youth Red - Cross)

ความรูในเรื่องหลักการและอุดมการณของเนตรนารี ประวัติเนตนารี คําปฏิญาณ ประเภทของเนตรนารี หลักสูตรของเนตรนารีแตละประเภท พิธีการและระเบียบขอบังคับของเนตรนารี ตลอดจนการบริหารกิจการเนตรนารี ความรูในเรื่องหลักการและอุดมการณของยุวกาชาด ประวัติยุวกาชาด คําปฏิญาณ ประเภทของยุวกาชาด หลักสูตรของยุวกาชาดแตละประเภท พิธีการและระเบียบขอบังคับของยุวกาชาด การบริหารยุวกาชาดโรงเรียนและกาชาดไทย

Page 78: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

78

RC 466 การจัดนันทนาการในโรงเรียน 2 หนวยกิต (Organization of Recreation in School)

ศึกษาถึงความสําคัญในการจัดนันทนาการในโรงเรียน ประเภทกิจกรรมที่จัด หลักและวิธีการจัดนันทนาการสําหรับนักเรียนในโรงเรียน รวมถึงการประเมินผลโครงการนันทนาการในโรงเรียน

RC 467 ลีลาศ 1 หนวยกิต (Social Dance)

ประวัติความเปนมา มารยาทของการเตนรํา การฟงจังหวะเพลง ทักษะพื้นฐานในการลีลาศ การลีลาศในจังหวะตาง ๆ และวิธีการสอน

RC 468 การละเลนพื้นเมืองไทย 1 หนวยกิต (Thai Folkplay)

ศึกษาประวัติ ประโยชนและคุณภาพของการละเลนพื้นเมืองไทย ศึกษาถึงชนิดและลักษณะของการละเลนพื้นเมืองของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย (โดยการใหปฏิบัติจริง)

TH 101 ลักษณะการใชภาษาไทย 3 หนวยกิต (Structure of Thai and Its Usage)

ศึกษาลักษณะทั่วไปและลักษณะเฉพาะของภาษาไทย ทั้งระบบเสียง ระบบคําและระบบประโยค ตลอดจนการใชราชาศัพทและสํานวนไทย เพื่อนําไปใชเปนความรูพ้ืนฐานในการฟง พูด อานและเขียน

TH 102 ความรูท่ัวไปทางวรรณคดีไทย 3 หนวยกิต (Introduction to Thai Literature)

ศึกษาวรรณคดีแนวศิลป ศึกษาวิวัฒนาการของวรรณคดีไทย ต้ังแตสมัยสุโขทัยถึงปจจุบัน การแบงประเภทและลักษณะของวรรณคดีไทยและศัพทที่ใชทางวรรณคดี

TH 103 การเตรียมเพ่ือพูดและเขียน 3 หนวยกิต (Preparation for Speech and Writing)

ศึกษาหลักเกณฑการเตรียมเพื่อพูดและเขียน การเตรียมหัวขอเรื่อง การเตรียมโครงเรื่องและวิธีนําเสนอ เพื่อสื่อสารความคิดไดถูกตองและตรงเปาหมาย ศึกษาการใชคํา การผูกประโยค การลําดับความคิดสําหรับการพูดและเขียน

TH 104 ความรูท่ัวไปทางภาษาและวรรณคดีไทย 3 หนวยกิต (Introduction to the Thai Language and Thai Literature) ศึกษาอยางกวาง ๆ เกี่ยวกับลักษณะภาษาไทย การใชภาษาไทยและลักษณะวรรณคดีไทย TL 213 วาทการสําหรับครู 3 หนวยกิต (Speech for Teachers)

ศึกษาหลักวาทการทั่วไปและฝกทักษะการพูดสําหรับครูในดานการอธิบาย การบรรยาย การยกตัวอยาง การสรุปความคิด การตั้งและตอบคําถาม การออกคําสั่ง โดยคํานึงถึงมารยาทในการพูด

Page 79: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

79

TL 214 ปญหาการใชภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต (Problems of Thai Language Usage in Secondary Level)

ศึกษาปญหาการสอน ทักษะการฟง การพูด การอาน และการเขียนสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา หลักการจัดกิจกรรมเพื่อแกปญหา ทักษะการใชภาษาไทย ตลอดจนฝกสรางแบบฝกทักษะทางภาษาทั้ง 4 ดาน

TL 215 หลักภาษาไทยในหลักสูตรมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต (Thai Grammar in Secondary School Curriculum)

ศึกษาการวิเคราะหเนื้อหาวิชาหลักภาษาไทยตามหลักสูตรระดับมัธยมศึกษา การเลือกเนื้อหาวิชาและตัวอยาง การสรางแบบฝกหัดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการเลือกใชหนังสือประกอบการเตรียมการสอน ใหสอดคลองกับหลักสูตร

TL 223 ภาษาศาสตรสําหรับครู 3 หนวยกิต (Linguistics for Teachers)

ศึกษาลักษณะของภาษาและหลักภาษาศาสตรที่เปนพื้นฐานของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยเนนระบบเสียง คํา ไวยากรณ และความหมาย ตลอดจนภาษาศาสตรเชิงประยุกตตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

TL 225 ภาษาอังกฤษแนวเปรียบเทียบเพื่อการสอน 3 หนวยกิต (Contrastive Analysis of English for Teaching)

ศึกษาเปรียบเทียบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และวิธีนําเอาขอแตกตางและสวนคลายคลึงระหวางภาษาไทย และภาษาอังกฤษมาเปนขอมูลในการสอน เพื่อใหการดําเนินการสอนภาอังกฤษแกนักเรียนไทยไดผลสมบูรณยิ่งขึ้น

TL 293 การศึกษาเนื้อหาวัฒนธรรมในหลักสูตรภาษาฝรั่งเศสระดับมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต (French Culture in Secondary Education Curriculum)

ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับประเทศฝรั่งเศสในปจจุบัน เพื่อใหรูจักวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเปนอยู ชีวิตประจําวันของชาวฝรั่งเศส สถานที่สําคัญ รูจักนิทาน นิยายที่มีช่ือเสียงโดยสังเขป รวมทั้งการใชภา ศัพท สํานวน สุภาษิต คําพังเพย เพื่อนําไปประกอบการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษา

TL 294 การวิเคราะหเนื้อหาไวยากรณในหลักสูตรภาษาฝรั่งเศสระดับมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต (Analysis of French Grammar in Secondary Education Curriculum)

ศึกษาเนื้อหา โครงสราง ไวยากรณ ศัพท สํานวน จากแบบเรียนที่ใชอยูปจจุบัน ตลอดจนวิธีการสอน การใชสื่อประกอบการสอน เปนการเสริมความรูของผูเรียนใหกวางขวางยิ่งขึ้น เพื่อประโยชนในการสอนตอไป

TL 297 ภาษาฝร่ังเศสเชิงภูมิศาสตร เศรษฐกิจ และการเมือง สําหรับครู 3 หนวยกิต (French Language in Geography, Economics and Politics for Teacher)

ศึกษาภูมิศาสตร เศรษฐกิจ และการเมืองของฝรั่งเศส ในดานสภาพอากาศ ภูมิประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ การคมนาคม อาชีพ พลเมือง สวัสดิการ สังคม เมืองสําคัญ การศึกษาและสื่อมวลชน ปรัชญาการปกครองภายในประเทศ การแบงเขตบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และพรรคการเมืองสําคัญ เพื่อใชประกอบการสอนภาษาฝรั่งเศส รวมทั้งกลวิธีในการสอน

Page 80: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

80

TL 303 การจัดกิจกรรมกลุมในโรงเรียน 3 หนวยกิต (Group Activities in School)

ศึกษาความหมายและทฤษฎีของกระบวนการกลุม การฝกกลุมสัมพันธ กลุมสรางคุณภาพและการทํางานกลุมในรูปแบบตางๆ การนําความรูเกี่ยวกับกระบวนการกลุมไปใชในการจัดกิจกรรมกลุมสําหรับนักเรียนในโรงเรียน เพื่อชวยใหนักเรียนมีพัฒนาการทางดานสังคม มีทักษะในการทํางานเปนทีม มีความสามารถเปนไดทั้งผูนําและผูตามที่ดี

TL 304 การสอนเด็กพิเศษ 3 หนวยกิต (Teaching Special Children)

ศึกษาความหมายและลักษณะของเด็กพิเศษประเภทตาง ๆ ตลอดจนผลกระทบของลักษณะพิเศษที่มีตอเด็กและครอบครัว ปรัชญา หลักการ และจุดมุงหมายของการจัดการเรียนการสอนสําหรับเด็กพิเศษ จิตวิทยาสําหรับครูสอนเด็กพิเศษ ลักษณะของหลักสูตรและการวางแผนการสอนเด็กพิเศษ การเลือกใชวิธีสอน เทคนิคการสอน การจัดกิจกรรม และสื่อการสอนใหเหมาะสมสําหรับเด็กพิเศษแตละประเภท การจัดบรรยากาศในการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล

TL 310 นวัตกรรมทางการสอนภาษาไทย 3 หนวยกิต (Innovation in Thai Teaching)

ศึกษาความหมาย ความสําคัญ และประเภทของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ตลอดจนการเลือกนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใชในการสอนภาษาไทย

TL 311 พฤติกรรมการสอนวิชาภาษาไทย 1 3 หนวยกิต (ED 321) (Teaching Behavior in Thai 1)

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของวิชาภาษาไทย หนาที่และงานของครู วิธีสอนทั่วไป วิธีสอนทักษะและสัมพันธทักษะทางภาษา สื่อการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ฝกเขียนจุดประสงคการเรียนรู ฝกทักษะการสอนขั้นพื้นฐาน

TL 312 พฤติกรรมการสอนวิชาภาษาไทย 2 3 หนวยกิต (ED 322) (Teaching Behavior in Thai 2)

วิเคราะหเนื้อหาเพ่ือจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ศึกษาวิธีการวัดและประเมินผลการเรียน ศึกษาและฝกทําโครงการสอนบันทึกการสอน ฝกทักษะการสอนและฝกจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ศึกษาวิธีการจัดสอบซอมและเสริม ฝกการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการสอน

TL 313 การสอนวิชาภาษาไทย 3 หนวยกิต (ED 314) (Teaching of Thai)

ศึกษาความหมายสําคัญ ปรัชญาและจุดมุงหมายของวิชาภาษาไทย จิตวิทยาสําหรับครูภาษาไทย วิเคราะหหลักสูตรและเอกสารหลักสูตร การกําหนดจุดประสงคการเรียนรูวิชาภาษาไทย การเลือกใชวิธีการสอน เทคนิคการสอนและทักษะการสอน การใชสื่อการสอนวิชาภาษาไทย การวางแผน การสอน การทําโครงการสอน การวัดประเมินผลการเรียนการสอน การทดลองสอน และการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนวิชาภาษาไทย

Page 81: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

81

TL 316 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย 3 หนวยกิต (Learning Activities in Thai Teaching)

ศึกษาความสําคัญ จุดมุงหมายและหลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยใหเหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา วิจัย และความสามารถของนักเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยชนิดตาง ๆ ฝกการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ

TL 320 นวัตกรรมทางการสอนภาษาอังกฤษ 3 หนวยกิต (Innovation in English Teaching)

ศึกษาความหมาย ความสําคัญ และประเภทของนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ใหสามารถนํามาประยุกติใชในการสอนภาษาอังกฤษไดอยางเหมาะสมกับระดับช้ันและวัยของผูเรียน

TL 321 พฤติกรรมการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 1 4 หนวยกิต (ED 331) (Teaching Behavior in English 1)

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของวิชาภาษาอังกฤษ หลักสูตร แบบเรียน และหนังสืออานประกอบจิตวิทยาที่นํามาใชในการสอนภาษาอังกฤษ หนาที่และงานของครู การนําภาษาศาสตรมาใชในการสอน การวิเคราะหโครงสรางของภาษา วิธีการสอนทั่วไป จุดประสงคการเรียนรู ฝกทักษะการสอนขั้นพื้นฐานและนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการสอน

TL 322 พฤติกรรมการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 2 4 หนวยกิต (ED 332) (Teaching Behavior in English 2)

วิเคราะหเนื้อหาเพ่ือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ สื่อการเรียนการสอน โครงการสอนและบันทึกการสอน ฝกทักษะการสอนเสียง ศัพท ไวยากรณ ฟงและพูด อานและเขียน และฝกรวมทุกทักษะ การวัดและประเมินผลการเรียนตลอดจนการจัดสอนซอมเสรอม ปญหาการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอน

TL 323 การสอนวิชาภาษาอังกฤษ 3 หนวยกิต (ED 311) (Teaching of English)

ศึกษาความสําคัญ ปรัชญาและจุดมุงหมายของวิชาภาษาอังกฤษ จิตวิทยาสําหรับครูภาษาอังกฤษ วิเคราะหหลักสูตรและเอกสารหลักสูตร การกําหนดจุดประสงคการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษ การเลือกใชวิธีสอน เทคนิคการสอนและทักษะการสอน การใชสื่อการสอนวิชาภาษาอังกฤษ การวางแผนการสอน การทําโครงการสอน การวัดประเมินผลการเรียนการสอน การทดลองสอน และการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ

TL 324 ปฏิบัติการสอนฟงและพูดภาษาอังกฤษกอนการฝกสอน 3 หนวยกิต (ED 431) (Pre-student Teaching Workshop in Teaching English Listening and Speaking Skills) ฝกทักษะการฟงและพูดดวยเทคนิคตาง ๆ กอนการฝกสอน เพื่อนําไปใชสอนวิชาภาษาอังกฤษ TL 325 ปฏิบัติการสอนอานและเขียนภาษาอังกฤษกอนการฝกสอน 3 หนวยกิต (ED 432) ((Pre-student Teaching Workshop in Teaching English Reading and Writing Skills) ฝกทักษะการอานและเขียนดวยเทคนิคตาง ๆ กอนการฝกสอน เพื่อนําไปใชสอนวิชาภาษาอังกฤษ

Page 82: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

82

TL 326 ระบบไวยากรณภาษาอังกฤษสําหรับครู 3 หนวยกิต (English Grammar for Teachers)

ศึกษาระบบไวยากรณภาษาอังกฤษที่มีผลตอการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษา โดยเนน Traditional Grammar และ Transformational Generative Grammar

TL 330 นวัตกรรมทางการสอนสังคมศึกษา 3 หนวยกิต (Innovation in Social Student Teaching)

ศึกษาความหมาย ความสําคัญ และประเภทของนวัตกรรมทางการสอนสังคมศึกษา เทคนิคการเลือกนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใชในการสอนสังคมศึกษา

TL 331 พฤติกรรมการสอนวิชาสังคมศึกษา 1 4 หนวยกิต (ED 351) (Teaching Behavior in Social Studies 1)

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของวิชาสังคมศึกษา หลักสูตรและแบบเรียนสังคมศึกษาจิตวิทยาที่นํามาในการสอนสังคมศึกษา วิธีสอนทั่วไป การพัฒนาสุขภาพ การคิดและความคิดรวบยอด จุดประสงคการเรียนรู ฝกทักษะการสอนขั้นพ้ืนฐานตลอดจนศึกษาเกี่ยวกับหนาที่และงานของครู ฝกสังเกตการสอนและชวยงานครู

TL 332 พฤติกรรมการสอนวิชาสังคมศึกษา 2 4 หนวยกิต (ED 352) (Teaching Behavior in Social Studies 2)

ศึกษานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการสอนสังคมศึกษา การสรางตารางวิเคราะหหลักสูตร การวิเคราะหเนื้อหาสังคมศึกษา เพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ศึกษาเกี่ยวกับสื่อการสอน ฝกทักษะการสอนในรายวิชาตาง ๆ ของหมวดสังคมศึกษา ไดแก วิชาสังคมศึกษา ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร หนาที่ศีลธรรม การวัดและประเมินผลวิชาสังคมศึกษา การจัดสอนซอมเสริม ปญหาการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา และการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ

TL 333 การสอนวิชาสังคมศึกษา 3 หนวยกิต (ED 317) (Teaching of Social Studies)

ศึกษาความสําคัญ ปรัชญาและจุดมุงหมายของวิชาสังคมศึกษา จิตวิทยาสําหรับครูสังคมศึกษา วิเคราะหหลักสูตรและเอกสารหลักสูตร การกําหนดจุดประสงคการเรียนรูวิชาสังคมศึกษา การเลือกใชวิธีสอน เทคนิคการสอนและทักษะการสอน การใชสื่อการสอนวิชาสังคมศึกษา การวางแผนการสอน การทําโครงการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน การทดลองสอน และการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนวิชาสังคมศึกษา

TL 335 การสอนประชากรศึกษาในระดับมัธยมศึกษา 3 หนวยกิต (ED 354) (Teaching Population Education in Secondary Level)

ศึกษาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับประชาการศึกษาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ การสอนวิชาประชากรศึกษาชั้นมัธยมศึกษา โดยวิเคราะหจุดมุงหมาย เนื้อหาวิชา อุปกรณการสอน เทคนิควิธีสอน การวัดและประเมินผล

TL 340 นวัตกรรมทางการสอนประวัติศาสตร 3 หนวยกิต (Innovation in History Teaching)

ศึกษาความหมาย ความสําคัญ และประเภทของนวัตกรรมทางการสอน วิชาประวัติศาสตร เทคนิคการเลือกนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใชในการสอนประวัติศาสตร

Page 83: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

83

TL 341 พฤติกรรมการสอนวิชาประวัติศาสตร 1 4 หนวยกิต (ED 341) (Teaching Behavior in History 1)

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของวิชาประวัติศาสตร หลักสูตรและแบบเรียนประวัติศาสตรจิตวิทยาที่นํามาใชในการสอนประวัติศาสตร วิธีสอนทั่วไป การพัฒนาคุณภาพการคิดและความคิดรวบยอด จุดประสงคการเรียนรู ฝกทักษะการสอนขั้นพื้นฐาน ตลอดจนศึกษาเกี่ยวกับหนาที่และงานของครู ฝกสังเกตการสอน และชวยงานครู

TL 342 พฤติกรรมการสอนวิชาประวัติศาสตร 2 4 หนวยกิต (ED 342) (Teaching Behavior in History 2)

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของวิชาประวัติศาสตร หลักสูตรและแบบเรียนประวัติศาสตรจิตวิทยาที่นํามาใชในการสอนประวัติศาสตร วิธีสอนทั่วไป การพัฒนาคุณภาพการคิดและความคิดรวบยอด จุดประสงคการเรียนรู ฝกทักษะการสอนขั้นพื้นฐาน ตลอดจนศึกษาเกี่ยวกับหนาที่และงานของครู ฝกสังเกตการสอน และชวยงานครู

TL 343 การสอนวิชาประวัติศาสตร 3 หนวยกิต (ED 318) (Teaching of History)

ศึกษาความสําคัญ ปรัชญาและจุดมุงหมายของวิชาประวัติศาสตร จิตวิทยาสําหรับครูประวัติศาสตร วิเคราะหหลักสูตรและเอกสารหลักสูตร การกําหนดจุดประสงคการเรียนรูวิชาประวัติศาสตร การเลือกใชวิธีสอน เทคนิคการสอนและทักษะการสอน การใชสื่อการสอนวิชาประวัติศาสตร การวางแผนการสอน การทําโครงการสอน การวัดประเมินผลการเรียนการสอน การทดลองสอนและการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนวิชาประวัติศาสตร

TL 350 นวัตกรรมทางการสอนภูมิศาสตร 3 หนวยกิต (Innovation in Geography Teaching)

ศึกษาความหมาย ความสําคัญและประเภทของนวัตกรรมทางการสอนภูมิศาสตร การเลือกนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการสอนภูมิศาสตร

TL 351 พฤติกรรมการสอนวิชาภูมิศาสตร 1 4 หนวยกิต (ED 381) (Teaching Behavior in Geography 1)

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของวิชาภูมิศาสตร หลักสูตรและแบบเรียนภูมิศาสตรจิตวิทยาที่นํามาใชในการสอนภูมิศาสตร วิธีสอนทั่วไป การพัฒนาคุณภาพ การคิดและความคิดรวบยอด จุดประสงคการเรียนรู ฝกทักษะการสอนขั้นพื้นฐาน ตลอดจนศึกษาเกี่ยวกับหนาที่และงานของครู ฝกสังเกตการสอนและชวยงานครู

TL 352 พฤติกรรมการสอนวิชาภูมิศาสตร 2 4 หนวยกิต (ED 382) (Teaching Behavior in Geography 2)

ศึกษานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการสอนภูมิศาสตร การสรางตารางวิเคราะหหลักสูตร การวิเคราะหเนื้อหาภูมิศาสตรเพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การทําโครงการสอนและบันทึกการสอน ศึกษาเกี่ยวกับสื่อการสอน ฝกทักษะการสอนการวัดและประเมินผลวิชาภูมิศาสตร การสอนซอมเสริม ปญหาการเรียนการสอนวิชาภูมิศาสตรและการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ

Page 84: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

84

TL 353 การสอนวิชาภูมิศาสตร 3 หนวยกิต (ED 319)(Teaching of Geography)

ศึกษาความสําคัญ ปรัชญาและจุดมุงหมายของวิชาภูมิศาสตร จิตวิทยาสําหรับครูภูมิศาสตร วิเคราะหหลักสูตรและเอกสารหลักสูตร การกําหนดจุดประสงคการเรียนรูวิชาภูมิศาสตร การเลือกใชวิธีสอน เทคนิคการสอนและทักษะการสอน การใชสื่อการสอนวิชาภูมิศาสตร การวางแผนการสอน การทําโครงการสอน การวัดประเมินผลการเรียนการสอน การทดลองสอน และการจัดกิจกรรมเสริมการเรยีนวิชาภูมิศาสตร

TL 360 นวัตกรรมทางการสอนคณิตศาสตร 3 หนวยกิต (Innovation in Mathematic Teaching)

ศึกษาความหมาย ความสําคัญ และประเภทของนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการสอนคณิตศาสตร การเลือกและนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใชอยางเหมาะสมในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร

TL 361 พฤติกรรมการสอนวิชาคณิตศาสตร 1 4 หนวยกิต (ED 361) (Teaching Behavior in Mathematics 1)

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของวิชาคณิตศาสตร ศึกษาหนาที่และงานครู จิตวิทยาที่นํามาใชในการสอนคณิตศาสตร นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการสอนวิธีสอนตางๆ และฝกทักษะวิธีสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาคณิตศาสตร ฝกพัฒนาแนวคิดและมโนมติทางคณิตศาสตร ฝกการเขียนจุดประสงคการเรียนรู การปรับพฤติกรรมที่จําเปนในการสอน ตลอดจนสังเกตการสอนในชั้นเรียน

TL 362 พฤติกรรมการสอนวิชาคณิตศาสตร 2 4 หนวยกิต (ED 362) (Teaching Behavior in Mathematics 2)

ศึกษาเนื้อหาและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร ฝกทักษะการสอนในเรื่องการนําเขาสูบทเรียน การใชคําถามและการสรุปบทเรียน ฝกปฏิบัติการเลือกและใชสื่อการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียน การวางแผนการสอน การจัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอน การฝกหัดสอนในชั้นเรียน ตลอดจนการจัดการสอนซอมเสริม และปญหาการสอนคณิตศาสตร

TL 363 การสอนวิชาคณิตศาสตร 3 หนวยกิต (ED 315) (Teaching of Mathematics)

ศึกษาความสําคัญ ปรัชญาและจุดมุงหมายของวิชาคณิตศาสตร จิตวิทยาสําหรับครูคณิตศาสตร วิเคราะหหลักสูตรและเอกสารหลักสูตร การกําหนดจุดประสงคการเรียนรูวิชาคณิตศาสตร การเลือกใชวิธีสอน เทคนิคการสอนและทักษะการสอน การใชสื่อการสอนวิขาคณิตศาสตร การวางแผนการสอน การทําโครงการสอน การวัดประเมินผลการเรียนการสอน การทดลองสอน และการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนวิชาคณิตศาสตร

TL 364 การสอนสถิติในโรงเรียนมัธยม 3 หนวยกิต (ED 363) (Teaching Statistics in Secondary School)

ศึกษาหลักสถิติในหลักสูตรมัธยมศึกษา การวิเคราะหหลักสูตรและแบบเรียน เทคนิคการสอน และการจัดกิจกรรมการสอนสถิติ การผลิตและการเลือกใชสื่อการสอน วิธีการวัดและประเมินผลการสอน การวางแผนการสอน ตลอดจนปญหาและแนวทางในการแกปญหาในการเรียนการสอน

Page 85: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

85

TL 370 นวัตกรรมทางการสอนวิทยาศาสตร 3 หนวยกิต (Innovation in Science Teaching)

ศึกษาความหมาย ความสําคัญและประเภทของนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเรียนการสอน ศึกษาแนวความคิดใหม ๆ ทางการสอนวิทยาศาสตร วิวัฒนาการและความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อใหเกิดเจตคติ ซาบซึ้งและเกิดความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตร และสามารถนําความรูทางวิทยาศาสตรไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรใหเหมาะสม

TL 371 พฤติกรรมการสอนวิชาวิทยาศาสตร 1 4 หนวยกิต (ED 371) (Teaching Behavior in Science 1)

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของวิทยาศาสตร หลักสูตรและแบบเรียนวิทยาศาสตร จิตวิทยาที่นํามาใชในการสอนวิทยาศาสตร วิธีสอนทั่วไปและเฉพาะวิชาฝกทักษะการสอน การพัฒนาคุณภาพการคิดของผูเรียน จุดประสงคการเรียนรู การพัฒนามโนมติทางวิทยาศาสตร หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร ความกาวหนาและความเคลื่อนไหวทางวิทยาศาสตรและนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการสอน ตลอดจนศึกษาเกี่ยวกับหนาที่และงานของครู ฝกสังเกตการสอนและชวยงานครู

TL 372 พฤติกรรมการสอนวิชาวิทยาศาสตร 2 4 หนวยกิต (ED 372) (Teaching Behavior in Science 2)

วิเคราะหเนื้อหาเพ่ือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร ฝกทักษะการสอนที่สําคัญในเรื่องการนําเขาสูบทเรียน การใชคําถาม การสรุปบทเรียนและการสอนแบบสืบเสาะหาความรู การใชสื่อการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การวางแผนการสอนและฝกหัดสอน ตลอดจนการจัดสอนซอมเสรมิ การจัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอนและการแกปญหาในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร

TL 373 การสอนวิชาวิทยาศาสตร 3 หนวยกิต (ED 316) (Teaching of Science)

ศึกษาความสําคัญ ปรัชญาและจุดมุงหมายของวิทยาศาสตร จิตวิทยาสําหรับครูวิทยาศาสตร วิเคราะหหลักสูตรและเอกสารหลักสูตร การกําหนดจุดประสงคการเรียนรูวิชาวิทยาศาสตร การเลือกใชวิธีสอน เทคนิคการสอนและพัฒนาการสอนการใชสื่อการสอนวิชาวิทยาศาสตร การวางแผนการสอน การทําโครงการสอน การจัดประเมินการเรียนการสอน การทดลองสอน และการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนวิชาวิทยาศาสตร

TL 374 กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในโรงเรียน 3 หนวยกิต (Activities for Science and Technology Projects in School)

ศึกษาความหมายคุณคาของโครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในโรงเรียน ลักษณะและประเภทของโครงงาน การเขียนโครงรางโครงงาน การดําเนินงานการจัดกิจกรรมบทบาท และหนาที่ของอาจารยที่ปรึกษาและนักเรียนในการดําเนินงาน การวิเคราะหและประเมินผลปญหาและอุปสรรคการจัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยเนนการฝกปฏิบัติ

TL 390 นวัตกรรมทางการสอนภาษาฝรั่งเศส 3 หนวยกิต (Innovation in Teaching French)

ศึกษาความหมาย ความสําคัญ และประเภทของนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศส ตลอดจนการเลือกใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหเหมาะสมกับเนื้อหาและเทคนิคการสอน

Page 86: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

86

TL 391 พฤติกรรมการสอนวิชาภาษาฝรั่งเศส 1 3 หนวยกิต (Teaching Behavior in French 1)

ศึกษาธรรมชาติและลักษณะของวิชาภาษาฝรั่งเศส หลักสูตร แบบเรียนและหนังสืออานประกอบ จิตวิทยาที่นํามาใชในการสอนภาษาฝรั่งเศส หนาที่และงานของครู การนําภาษาศาสตรมาใชในการสอน การวิเคราะหโครงสรางภาษา วิธีสอนทั่วไป จุดประสงคการเรียนรู ทักษะการสอนขั้นพื้นฐาน และนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการสอน

TL 392 พฤติกรรมการสอนวิชาภาษาฝรั่งเศส 2 3 หนวยกิต (Teaching Behavior in French 2)

วิเคราะหเนื้อหาเพ่ือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาฝรั่งเศส สื่อการเรียนการสอน โครงการสอนและบันทึกการสอน ฝกทักษะการสอน เสียง ศัพท ไวยากรณ ฟงและพูด อานและเขียน และฝกรวมทุกทักษะ การวัดและประเมินผลการเรียน ตลอดจนการจัดสอนซอมเสริมปญหาการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอน

TL 393 การสอนภาษาฝรั่งเศส 3 หนวยกิต (ED 320) (Teaching of French)

ศึกษาความสําคัญ ปรัชญาและจุดมุงหมายของวิชาภาษาฝรั่งเศส จิตวิทยาสําหรับภาษาฝรั่งเศส วิเคราะหหลักสูตรและเอกสารหลักสูตร การกําหนดจุดประสงคการเรียนรูวิชาภาษาฝรั่งเศส การเลือกใชวิธีสอน เทคนิคการสอนและทักษะการสอน การใชสื่อการสอนวิชาภาษาฝรั่งเศส การวางแผนการสอน การทําโครงการสอน การวัดประเมินผลการเรียนการสอน การทดลองสอน และการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนวิชาภาษาฝรั่งเศส

TL 394 ปฏิบัติการสอน ฟงและพูดภาฝรั่งเศสกอนการฝกสอน 3 หนวยกิต (Pre-Student Teaching Workshop in Teaching French Listening and Speaking Skills) ฝกทักษะการฟงและพูดดวยเทคนิคตาง ๆ กอนการฝกงาน เพื่อนําไปใชสอนวิชาภาษาฝรั่งเศส TL 395 ปฏิบัติการสอน อานและเขียนภาษาฝรั่งเศสกอนการฝกสอน 3 หนวยกิต (Pre-Student Teaching Workshop in Teaching French Reading and Writing Skills) ฝกทักษะการอานและเขียนดวยเทคนิคตาง ๆ กอนการฝกสอน เพื่อนําไปใชสอนวิชาภาษาฝรั่งเศส TL 396 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาฝรั่งเศส 3 หนวยกิต (Learning Activities in French Teaching)

ศึกษาความสําคัญ จุดมุงหมาย หลักการจัดและชนิดของกิจกรรม ฝกการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาฝรั่งเศสใหเหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา วัย และความสามารถของนักเรียน ฝกการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาภาษาฝรั่งเศส เพื่อเสริมสรางใหนักเรียนมีพัฒนาการทางดานความคิดและการสรางสรรค

TL 400 การจัดการเรียนการสอนแบบเอกัตบุคคล 3 หนวยกิต (Individualized Learning and Instruction)

ศึกษาเกี่ยวกับมโนทัศน หลักการ คุณลักษณะและวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบเอกัตบุคคลตามความตองการ ความสนใจ ภูมิหลัง ความสามารถ ทักษะและสุขภาพของแตละบุคคล ฝกสรางชุดการเรียนการสอนแบบตาง ๆ ตลอดจนทดลองจัดการเรียนการสอนแบบเอกัตบุคคล โดยใชชุดการเรียนที่สรางขึ้นเอง

Page 87: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

87

TL 403 การสังเกตและรวมงานสอนในโรงเรียน 3 หนวยกิต (Observation and Teaching Participation in School)

ศึกษาโครงสรางและระบบการบริหารงานโรงเรียน การวางแผนการสอน การสังเกตการสอนอยางมีระบบ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียน การฝกปฏิบัติการสอนในชั้นเรียน และการสัมมนาปญหาเกี่ยวกับการสอนและการบริหารงานโรงเรียน

TL 406 การฝกสอน 6 หนวยกิต (ED 403) (Student Teaching)

การฝกภาคสนามในโรงเรียน โดยฝกทั้งดานการสอนและงานครูที่นอกเหนือจากการสอนในชั้นเรียน ซึ่งรวมถึงการเตรียมการสอน การใชเทคนิคการสอน การผลิตและการใชสื่อการสอน การสรางบรรยากาศและการควบคุมช้ันเรียน การประเมินผลการเรียนการสอน งานธุรการในความรับผิดชอบของครู และการชวยงานในกิจกรรมตาง ๆ ของโรงเรียน

TL 407 สัมมนาการสอน 3 หนวยกิต (ED 415) (Seminar in Teaching)

การนําประสบการณวิชาชีพครู ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมาอภิปราย เพื่อความชัดเจนหรือเพื่อแกปญหาและเสนอแนะในประเด็นตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวิชาชีพครู ตลอดจนการรวมกิจกรรมกลุมสัมพันธเพื่อนําไปสูขอที่ควรคํานึงถึงในการประกอบอาชีพครู

TL 408 การศึกษาเปนรายบุคคล 3 หนวยกิต (ED 416) (Independent Study)

ศึกษาปญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการเรียนการสอนตามหัวขอที่นักศึกษาสนใจเปนรายบุคคล ภายใตการดูแลของอาจารยที่ปรึกษา เนนการวิเคราะหสภาพปญหา การเก็บรวบรวมขอมูลการคนควา โดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตร การวิเคราะหขอมูลแบบงายและการเขียนรายงานการคนควา

TL 409 การนิเทศการสอน 3 หนวยกิต (Instructional Supervision)

ศึกษาความหมาย ความมุงหมายของการนิเทศการสอน กระบวนการในการนิเทศการสอน บทบาทของผูที่เกี่ยวของในการนิเทศ การประเมินผลโครงการนิเทศ ปญหาและขอเสนอในการนิเทศ

TL 417 การสอนซอมเสริมวิชาภาษาไทย 3 หนวยกิต (Enrichment and Remedial Teaching of Thai)

ศึกษาความหมาย เปาหมายสําคัญ และลักษณะของการสอนซอมและการสอนเสริม วิเคราะหสาเหตุและวินิจฉัยระดับความสามารถดานการเรียนภาษาไทยของนักเรียน และศึกษาเทคนิคการจัดกิจกรรมซอมและเสริม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถทางดานภาษาไทยอยูในระดับต่ําและระดับสูง

TL 419 สัมมนาครูวิชาภาษาไทย 3 หนวยกิต (Seminar for Thai Teachers)

การนําประสบการณวิชาชีพครูมาศึกษาวิเคราะหสภาพปญหาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและหาแนวทางแกไขปญหา โดยรวมกันอภิปราย สาธิตการจัดการเรียนการสอนและรายงาน เพื่อปรับปรุงการสอนวิชาภาษาไทยใหมีประสิทธิภาพ

Page 88: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

88

TL 424 การสรางแบบฝกหัดวิชาภาษาอังกฤษ 3 หนวยกิต (English Exercise Construction)

ศึกษาเกี่ยวกับจุดมุงหมายและหลักเกณฑการสรางแบบฝกหัด เพื่อวิชาภาษาอังกฤษ พรอมทั้งฝกปฏิบัติการสรางแบบฝกหัดนําไปใชประกอบการสอนการฟง พูด อาน และเขียน รวมทั้งไวยากรณ

TL 426 ทฤษฎีการสอนภาษาอังกฤษ 3 หนวยกิต (Theories of English Teaching)

ศึกษาเปรียบเทียบทฤษฎีการสอนภาษาอังกฤษที่สําคัญ ๆ ที่มีผลสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของทฤษฎีทางจิตวิทยาและทางภาษาศาสตร ในศตวรรษที่ 20 รวมทั้งแนวโนมของการสอนภาษาอังกฤษ

TL 427 การสอนซอมเสริมวิชาภาษาอังกฤษ 3 หนวยกิต (Remedial Teaching of English)

ศึกษาความหมาย เปาหมายสําคัญ และลักษณะการสอนซอมเสริม องคประกอบที่เปนสาเหตุของความลมเหลวทางการเรียน วิธีการวินิจฉัยปญหาการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน เทคนิคการสอนซอมเสริมวิชาภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษา

TL 429 สัมมนาครูวิชาภาษาอังกฤษ 3 หนวยกิต (Seminar for English Teachers)

การนําประสบการณวิชาชีพครูมาวิเคราะหและหาวิธีแกไขปญหาในการสอนภาษาอังกฤษ การอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การสาธิตการจัดการเรียนการสอนและรายงาน เพื่อปรับปรุงการสอนวิชาภาษาอังกฤษใหมีประสิทธิภาพ

TL 439 สัมมนาครูวิชาสังคมศึกษา 3 หนวยกิต (Seminar for Social Studies Teachers)

การนําประสบการณทางวิชาชีพครูมาศึกษาวิเคราะหสภาพปญหาและแนวทางแกปญหา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปราย การสาธิตการจัดการเรียนการสอนและรายงาน เพื่อปรับปรุงการสอนวิชาสังคมศึกษาใหมีประสิทธิภาพ

TL 449 สัมมนาครูวิชาประวัติศาสตร 3 หนวยกิต (Seminar for History Teachers)

การนําประสบการณทางวิชาชีพครูมาศึกษาวิเคราะหสภาพปญหาและแนวทางแกปญหา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปราย การสาธิตการจัดการเรียนการสอนและรายงาน เพื่อปรับปรุงการสอนวิชาประวัติศาสตรใหมีประสิทธิภาพ

TL 459 สัมมนาครูวิชาภูมิศาสตร 3 หนวยกิต (Seminar for Geography Teachers)

การนําประสบการณทางวิชาชีพครูมาศึกษาวิเคราะหสภาพปญหาและแนวทางแกปญหา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปราย การสาธิตการจัดการเรียนการสอนและรายงาน เพื่อปรับปรุงการสอนวิชาภูมิศาสตรใหมีประสิทธิภาพ

Page 89: คำอธิบายรายวิชา ปริญญาตรี 2540-2544

89

TL 467 การสอนซอมเสริมวิชาคณิตศาสตร 3 หนวยกิต (Remedial Teaching of Mathematics)

ศึกษาความหมาย เปาหมายสําคัญ และลักษณะของการสอนแบบซอมเสริม องคประกอบที่เปนสาเหตุใหเกิดความลมเหลวทางการเรียน วิธีการวินิจฉัยปญหาดานการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียน เทคนิคและวิธีการสอนซอมเสริมวิชาคณิตศาสตรในระดับมัธยมศึกษาใหเหมาะสมกับสภาพปญหาของผูเรียน

TL 469 สัมมนาครูวิชาคณิตศาสตร 3 หนวยกิต (Seminar for Mathematics Teachers)

การนําประสบการณวิชาชีพครูมาศึกษาปญหา วิเคราะหปญหา และหาแนวทางในการแกไขปญหา โดยรวมกันอภิปรายและเปลี่ยนความคิดเห็น สาธิตการจัดการเรียนการสอนและรายงาน เพื่อปรับปรุงการสอนวิชาคณิตศาสตรใหมีประสิทธิภาพ

TL 479 สัมมนาครูวิชาวิทยาศาสตร 3 หนวยกิต (Seminar for Science Teachers)

การนําประสบการณทางวิชาชีพครูมาศึกษาวิเคราะหสภาพปญหา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและหาแนวทางแกไขปญหา โดยรวมกันอภิปราย สาธิตการจัดการเรียนการสอนและรายงาน เพื่อปรับปรุงการสอนวิชาวิทยาศาสตรใหมีประสิทธิภาพ

TL 494 การสรางแบบฝกหัดวิชาภาษาฝรั่งเศส 3 หนวยกิต (French Exercise Construction)

ศึกษาจุดมุงหมาย หลักเกณฑในการสรางแบบฝกหัด และแบบฝกหัดชนิดตาง ๆ ฝกฝนการสรางแบบฝกหัดที่มีประสิทธิภาพ เพื่อฝกทักษะทั้ง 4 รวมทั้งไวยากรณฝรั่งเศส

TL 469 ทฤษฎีการสอนภาษาฝรั่งเศส 3 หนวยกิต (Theories of French Teaching)

ศึกษาเปรียบเทียบทฤษฎีการสอนภาษาฝรั่งเศสในฐานะภาษาตางประเทศ โดยเฉพาะทฤษฎีตาง ๆ ในศตวรรษที่ 20 อันเปนผลสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของทฤษฎีจิตวิทยา ทฤษฎีทางภาษาศาสตร และทฤษฎีทางการศึกษา รวมทั้งแนวโนมของการสอนภาษาฝรั่งเศส

TL 499 สัมมนาครูสอนภาษาฝรั่งเศส 3 หนวยกิต (Seminar for French Teachers)

การนําประสบการณวิชาชีพครูมาวิเคราะหและหาวิธีแกไขปญหาในการสอนภาษาฝรั่งเศสโดยรวมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สาธิตการจัดการเรียนการสอนและรายงาน เพื่อปรับปรุงการสอนวิชาภาษาฝรั่งเศสใหมีประสิทธิภาพ