new social movements lecture

33
ทฤษฎีขบวนการทางสังคม ผศ.ดร.ประภาส นตบแตง หัวหนาภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Upload: supot-chunhachoti-ananta

Post on 29-Nov-2014

626 views

Category:

Documents


7 download

TRANSCRIPT

Page 1: New Social Movements Lecture

ทฤษฎีขบวนการทางสังคม

ผศ.ดร.ประภาส ปนตบแตง2

หัวหนาภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร 2

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 2: New Social Movements Lecture

พัฒนาการของทฤษฎีขบวนการทางสังคม

§  ยุคทศวรรษ 1940-50s และกอนหนา>

- สำนักจิตวิทยามวลชน(mass psychology) การศึกษา “ฝูงชน” (the Crowd) >

G- สำนักพฤติกรรมรวมหมู>

§  ยุคทศวรรษ 1960-70>

-ทฤษฎีการระดมทรัพยากร (Resource Mobilization)>

§  ยุคทศวรรษ 1980-1990 >

-ทฤษฎีขบวนการทางสังคมแบบใหม (New Social Movement) >

>

>

2

2

Page 3: New Social Movements Lecture

สำนักพฤติกรรมรวมหมู>

§  พฤติกรรมรวมหมูคลาสสิก 2

I- สำนักจิตวิทยามวลชน(mass psychology)>

G-งานของ Le bon ชื่อ The Psychology of the Crowd >

§  พฤติกรรมรวมหมูสำนักชิคาโก และพัฒนาการ>

G-สำนักทฤษฎปีฏิสังสรรคเชิงสัญลักษณ (symbolic interactionism)

Herbert Blumer >

>

Page 4: New Social Movements Lecture

พฤติกรรมรวมหมูสำนักชิคาโก และพัฒนาการ2

2

-สำนักทฤษฎปีฏิสังสรรคเชิงสัญลักษณ (symbolic interactionism) นัก

คิด Herbert Blumer 2

-สำนักทฤษฎีโครงสราง-หนาที”่ (Structural-Functional Approach) นัก

คิดสำคัญคือ Smelser 2

-สำนักทฤษฎีการลิดรอนเชิงเปรียบเทียบ (The Relative Deprivation

Approach) เชน งานของ Gurr (1970) >

Page 5: New Social Movements Lecture

สำนักจิตวิทยามวลชน(mass psychology)2

2§  Le bon ซึ่งมีงานชิ้นสำคัญที่เขียนขึ้นในป 1895 ชื่อ The Psychology of the

Crowd >

“ใครก็ตามผูซ่ึงเปนปจเจกชนที่อยูในฝูงชน ไมวาจะเหมือนหรือแตกตางกันในเรื่อง

ของวิถีชีวิต อาชีพ บุคลิกลักษณะ ความรูหรือภูมิปญญา ฯลฯ หรือไมก็ตามที

พวกเขาจะถูกเปลี่ยนรูป(transformation) เม่ือเขามาอยูในฝูงชน ฝูงชนจะครอบงำ

พวกเขาดวยจิตใจรวม ความรูสึกรวม ความคิดรวม การแสดงออกและลักษณะ

ทาทางที่แตกตางไปจากส่ิงที่ปจเจกเคยมีมากอน” (น.3 )S

Page 6: New Social Movements Lecture

บริบทของงานเขียน>

§  การปรากฏตัวของการเมืองและประชาธิปไตยโดยมวลชน (mass

politics) การปฏิวัติฝรั่งเศส “การปฏิวัติประชาธิปไตยโดยประชาชน

VS ฝูงชนบาคลั่ง (Madding Crowd) 2

§  ชีวประวัติของผูเขียน Le Bon 2

Page 7: New Social Movements Lecture

แนวคิดเกี่ยวกับ “ฝูงชนบาคลั่ง” (madding crowd) >

§  ศึกษากระทำการรวมของผูคนเปนการอธิบายจากแงมุมของพฤติกรรมฝูงชน และมองรูปแบบของพฤติกรรมรวมหมูวาเปนส่ิงที่อยูตรงกัน

ขามกับพฤติกรรมเชิงสถาบัน (institutionalized behavior) หรือ

โครงสรางบรรทัดฐานของสังคมที่ลงรากปกฐาน 2

§  การมองดานมืดของมนุษย (ขอถกเถียงเรื่องธรรมชาติของมนุษย)2

Page 8: New Social Movements Lecture

สมมติฐานเบ้ืองตนของทฤษฎีสำนักพฤติกรรมรวม §  การอธิบายสาเหตุการเกิด “ฝูงชน” The Crowd โดยตรรกะแบบเดียว เชนการ

อธิบาย ความต่ืนตระหนก ความบาคลั่ง ฝูงชน ฯลฯ 2

§  พฤติกรรมรวมคือ ส่ิงซ่ึงไมมีลักษณะเปนสถาบันที่ลงรากปกฐาน ชั่วครั้งชั่วคราว ไมมีแบบแผน รูปราง ไมสามารถคาดการณไดวาจะผันแปรไปแคไหน อยางไร 2

§  เปนปฏิกิริยาตอบโตตอความเขม็งตึงทางสังคม (structural strain) ความวาวุนทางสังคม ซ่ึงนี่แหละคือ ตัวกระตุนพื้นฐานที่นำไปสูกระทำการรวมของผูคน ดังเชนความวาวุน “สติแตก” (breakdown) สภาวะไรบรรทัดฐาน (anomie) 2

§  ปจจัยเชิงเหตุโดยตรงที่ทำใหเกิดพฤติกรรมรวมมีรากฐานอยูที่ “ปจเจกบุคคล (individuals)” ผูซ่ึงประสพกับความวาวุนใจและความคับของใจ2

§  พฤติกรรมรวมเปนมิติของจิตวิทยามากกวาที่จะเปนมิติทางการเมือง I2

§  เปนพฤติกรรมที่อันตราย “เบี่ยงเบน” มีลักษณะคุกคามระเบียบและโครงสรางสังคมเดิม พฤติกรรมแบบสุดข้ัว และไรเหตุไรผล ฯลฯ2

Page 9: New Social Movements Lecture

§  Social Alienation Extreme Isolation /Anxiety Behavior2

§  Structural Disruptive Collective Strain Psychological Behavior2I I I I /Normative

Ambiguity 2

2

2

Page 10: New Social Movements Lecture

§  Davies J-Curve (P.19)2

Page 11: New Social Movements Lecture

ความบกพรองของสำนักพฤติกรรมรวมหมู>

§  ประการแรก พฤติกรรมรวมหมู คือ เปน ส่ิงซ่ึงไมมีลักษณะของความเปนสถาบันที่ลงรากปกฐาน ปรากฏข้ึนชั่วครั้งชั่วคราว ไมมีแบบแผน-รูปราง และไมสามารถคาดการณไดวาจะผันแปรไปแคไหน อยางไร (ตรงกันขามกับกระบวนการและจังหวะกาวของส่ิงที่อยูในวิถีประจำวันทางสังคม) 2

§  ประการที่สอง พฤติกรรมรวมหมูสามารถทำความเขาใจไดวาคือ ปฏิกิริยาตอบโตตอความเขม็งตึงทางสังคม และ/หรือสภาวะวาวุนทางสังคม ซ่ึงเปนพื้นฐานกระตุนใหผูคนกระทำการรวม ดังเชน สภาวะไรระเบียบ (break-down) ซ่ึงถูกทึกทักวาเปนปจจัยเพียงพอที่กอใหเกิดสภาวะไรบรรทัดฐาน (anomie)S

Page 12: New Social Movements Lecture

§  ประการที่สาม ปจจัยเชิงเหตุโดยตรงที่ทำใหเกิดพฤติกรรมรวมหมู มี

รากฐานอยูที่ “ปจเจกบุคคล (individuals)” ผูซ่ึงประสบกับความวาวุน

ใจ ความไมพอใจ หรือความขัดของใจในหลากหลายรูปแบบ ซ่ึงขัด

แยงกับสภาพความเปนจริงในการเกิดการกระทำรวมหมู ดังทฤษฎีกลุม

ผลประโยชนแยกระหวางผลประโยชนกับสำนึกในผลประโยชน 2

Page 13: New Social Movements Lecture

§  ใหนิสิตดูแผนภูมิการวิเคราะหขบวนการทางสังคมในไฟลแนบ2

Page 14: New Social Movements Lecture

§  ประการสุดทาย สำนักพฤติกรรมรวมหมูมีแนวโนมที่จะมองการกระ

ทำการรวมวาเปนพฤติกรรมที่อันตราย เพราะทั้ง “เบี่ยงเบน” ไปจาก

ระเบียบ-โครงสรางของสังคมเดิม และคุกคามตอระเบียบ-โครงสราง

นั้นดวย อีกทั้งยังเปนพฤติกรรมแบบสุดข้ัว ไรเหตุไรผล ฯลฯ ดังนั้น

กรอบการวิเคราะหจึงมีลักษณะกีดกันและปฏิเสธวา อาจมีกระทำการ

รวมที่มีลักษณะสรางสรรคและมีจุดหมายที่ชัดเจน (ดังการปรากฏตัว

ของขบวนการทางสังคมที่เกิดข้ึนในชวงทศวรรษ 1960 ซ่ึงทาทาย

กรอบการวิเคราะหเชนนี้เปนอยางมาก) 2

Page 15: New Social Movements Lecture

ทฤษฎีขบวนการทางสังคมรวมสมัย

§  1.แนวการวิเคราะหการเมืองแบบกลุมผลักดัน (the politics of

pressure groups)2

§  2.แนวการวิเคราะหการเมืองแบบขบวนการทางสังคม (politics of

social movements) 2

§  I 2.1 ทฤษฎีการระดมทรัพยากร (Resource Mobilization-RM)2

§  I 2.2 ทฤษฎีขบวนการทางสังคมแบบใหม (New Social

Movement-NSM)2

Page 16: New Social Movements Lecture

แนวการวิเคราะหการเมืองแบบกลุมผลักดัน (the politics of

pressure groups) >

>§  อะไรคือหัวใจของการเมืองแบบกลุมผลักดัน >

§  การเมืองแบบกลุมผลักดันมีประเด็นสำคัญในการอธิบายปรากฏการเมืองวาเปนปรากฏการณของการตอรองตอสูแขงขันระหวางกลุมทางการเมืองตางๆในสังคมเพ่ือที่จะเขาไปมีอิทธิพลตอการตัดสินใจในทางการปกครอง หรือผลักดันส่ิงที่สมาชิกเชื่อ เห็นดีเห็นงาม จุดหมายหรือเจตนาของการรวมกลุมก็คือ ความตองการที่จะใชกลุมเปนเครื่องมือในการดำเนินการทางการเมือง ในการผลักดันนโยบายตาง ๆ ของรัฐในอันที่จะมีสวนเกี่ยวของกับผลประโยชนของกลุมตน>

§  หัวใจของการเมืองก็คือ เกมของการกระจายทรัพยากรหรือการเขาถึงผลประโยชนทางสังคมที่กลุมตางๆ เลน (Politics of Redistribution)>

Page 17: New Social Movements Lecture

เหตุใดผูคนจึงรวมกลุมทางการเมือง : การอธิบายการเกิดข้ึน

ของกลุมผลประโยชน/กลุมผลักดัน >

§  การเมืองของกลุมผลักดันทางการเมือง (politics of pressure groups)

หรือสำนักกลุมผลประโยชน (interest groups) อธิบายถึงการเกิดข้ึนของกลุมวาเปนปรากฏการณธรรมชาติของสังคมมนุษย 2

§  การเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสรางบริบททางสังคม-เศรษฐกิจและการเมืองจึงเปนเง่ือนไขหลักที่ทำใหเกิดกลุม กลาวคือ ภายใตบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปไดกอใหเกิดความตองการในผลประโยชนใหม ๆ อยางไร จะนำมาซ่ึงการรวมกลุมเพื่อใชกลุมเปนเครื่องมือในการปกปองผลประโยชนของกลุม2

Page 18: New Social Movements Lecture

วิธีการเคลื่อนไหวตอสูและจุดหมายทางการเมือง (บนฐานคิด

ของกรอบการวิเคราะหกลุมผลประโยชน กลุมผลักดัน)

§  การเขาไปมีอิทธิพลตอการตัดสินใจทางการเมืองเพื่อเขาถึงศูนยกลางการตัดสินใจ2

§  การอาศัยฐานทรัพยากรของกลุมในเรื่องทรัพยากรและความชำนาญของสถาบัน ไมใชเรื่องของการระดมจากสวนตางๆ ของสังคม 2

§  หัวใจของการเมืองก็คือ เกมของการกระจายทรัพยากรหรือการเขาถึง

ผลประโยชนทางสังคมที่กลุมตางๆ เลน (Politics of Redistribution)2

Page 19: New Social Movements Lecture

2

ความไมเพียงพอของทฤษฏีกลุมผลักดันในการอธิบายการเกิด

กลุมทางการเมือง 2

§  1. ผลประโยชน ความเดือดรอน หรืออัตตลักษณรวมของกลุม เปน

เง่ือนไขเพียงพอ (sufficient condition) 2

§  2.มองการเมืองในลักษณะที่หยุดนิ่ง (static) ไมคอยวิเคราะหความ

เปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสรางที่กอใหเกิดความขัดแยงภายในสังคมที่ไม

ไดเปนปรากฎการณของการตอสูหรือตอรองระหวางกลุมตาง ๆ2

§  3. ตัวแบบกลุมผลประโยชนหรือกลุมผลักดันสามารถอธิบายไดดี (หรือ

ใหความสนใจ) คือการผลักดันดันไปสูนโยบายสาธารณะผานสถาบัน

ทางการเมืองที่เปนทางการ 2

Page 20: New Social Movements Lecture

กระแสการศึกษาทฤษฎีการระดมทรัพยากร

(Resource Mobilization-RM) >

อะไรคือ ที่มาของ RM2

§  อุดชวงโหวการอธิบายการเกิดข้ึนของกลุมโดยเพิ่มเง่ือนไขเพียงพอ 2

§  Olson อุดชองโหวของทฤษฎีกลุมผลประโยชนโดยเพิ่มเง่ือนไขเรื่องเหตุกระตุน

สวนบุคคลและเพิ่มมิติของเหตุกระตุนที่ไมใชวัตถุ เชน ความพึงพอใจดาน

อุดมการณ สถานภาพทางสังคม ฯลฯ. ซ่ึงเปนพื้นฐานสำคัญของสำนักทฤษฎี

การระดมทรัพยากร (Resource Mobilization-RM) ที่พัฒนาไปสูเรื่องของ

ทรัพยากรขององคกร บทบาทของผูประกอบการทางการเมือง (political

entrepreneur) และองคกรการเคลื่อนไหวของขบวนการทางสังคม (social

movement organization) 2

Page 21: New Social Movements Lecture

RM เปนของใหมหรือไม

§  พัฒนาการจากแงมุมของทฤษฎี Marxism 2

-งานของ เลนิน ใหความสำคัญกับปจจัยเชิงองคกร (พรรคกองหนา)

และผูประกอบการทางการเมือง2

-งานของ Gramci ขยายมิติดานอุดมการณ อัตลักษณรวม 2

2

(ใครสนใจอานงานของ Sidney Tarrow, 2001บทนำ เพิ่มเติม) 2

Page 22: New Social Movements Lecture

พัฒนาการของ RM >

§  พัฒนาจากขอจำกัดของสำนักพฤติกรรมรวมหมู รับอิทธิพลมาจากการ

ศึกษาจิตวิทยามวลชน(mass psychology)2

-การถูกลิดรอนของปจเจกบุคคล (individual deprivation) ความตองการที่จะทำลายลมลางระเบียบของสังคม และ การเกิดความเชื่อมรวมกันที่ขยายตัวออกไป ซ่ึงเปนเง่ือนไขเบื้องแรกสำหรับการปรากฎตัวของขบวนการทางสังคม2

-การเสนอ “ตัวแบบมนุษยเศรษฐกิจที่สมเหตุสมผล” (rational economic man model) ของ Olson ไดเพิ่มเง่ือนไขที่เพียงพอในการอธิบาย“ผูตัดสินใจที่สมเหตุสมผล” วาปจเจกจะตัดสินใจบนผลประโยชนสูงสุดดวยการเลือกเขาสูการรวมกลุมหรือในการกระทำรวม (collection action) ถาการรวมตัวดังกลาวสามารถเสนอผลประโยชนไดมากกวาหรือเทากับตนทุนที่เขาตองจายไปในการเขารวม2

Page 23: New Social Movements Lecture

อะไรคือ หัวใจของ RM>

§  1.การคำนวณผลไดผลเสียของการเขามีสวนรวมของปจเจก ปจเจกบุคคลรูวาอะไรคือ

ส่ิงที่ตองการจากการกระทำรวมหมู (เปนเรื่องการเมือง ไมใชปจจัยทางจิตวิทยา)2

§  2. องคกรการเคลื่อนไหว (Social Movement Organization) คือปจจัยเพียงพอ สำหรับการเกิดข้ึนของกลุมทางการเมือง สวนผลประโยชน ความเดือดรอนเปนเง่ือนไขจำเปน2

§  3.องคกรทำใหเกิดการลดตนทุนการมีสวนรวม องคกรชวยเพิ่มโอกาสของความสำเร็จมากกวาที่ความสามารถของปจเจกบุคคลพึงจะมีได เพราะองคกรของขบวนการทางสังคมสามารถระดมทรัพยากรที่หลากหลายไดรวมทั้งมีทักษะความสามารถซ่ึงปจเจกบุคคลไมมี2

§  4. ขบวนการทางสังคม กระทำการภายใตโครงสรางของโอกาสที่ไมแนนอนซ่ึงอาจจะเอื้ออำนวยหรือเปนอุปสรรคตอการระดม รูปแบบของยุทธวิธีการตอสู และความสำเร็จก็ได ปจจัยนี้เรียกวา โครงสรางของโอกาสของการเมือง (political opportunity structure)2

Page 24: New Social Movements Lecture

§  (ดูแผนผังจาก ไฟลแผนใสเปรียบเทียบ IG/PG SMแบบเกา และ

NSM)

Page 25: New Social Movements Lecture

คำสำคัญของ RM>

§  องคกรการเคลื่อนไหวทางสังคม หมายถึง องคกรที่มีลักษณะซับซอนหรือองคกร

ที่มีลักษณะเปนทางการ ที่มีจุดหมายของตัวเอง ไมวาจะเปนฝายขบวนการทาง

สังคมหรือฝายตอตาน ที่จะทำหนาที่ในการขับเคลื่อนเพื่อใหบรรลุจุดหมายของ

ขบวนการ2

§  การระดมทรัพยากร องคกรการเคลื่อนไหวทางสังคมจำเปนตองมีทรัพยากร

สนับสนุนเพื่อใหสามารถดำเนินกิจกรรมตามเปาหมายได โดยผูที่เปนเจาของและ

ครอบครองทรัพยากรที่จำเปนสำหรับองคกรการเคลื่อนไหวทางสังคมก็คือ

ปจเจกบุคคล และกลุม องคกรตางๆ ในสังคม 2

Page 26: New Social Movements Lecture

§  ยุทธวิธีการเคลื่อนไหว 2

วิธีหลักในการเคลื่อนไหวเพื่อบรรลุจุดหมาย เปาประสงค ผลประโยชนหรือ

ความตองการของขบวนการทางสังคม คือ การใชการกระทำการรวม

(collective action) ดวยยุทธวิธีขัดขวางระบบปกติ (disruptive tactics) อัน

ไดแก การกระทำการระดมมวลชนและผูสนับสนุน (mass mobilization)

การสรางอัตลักษณรวม (collective identity) ของผูคนในขบวนการ หรือ

การสรางเหตุการณการชุมนุมประทวง ฯลฯ การสรางอำนาจและอิทธิพล

ผานวิธีการดังกลาวนี้จึงเกิดข้ึนนอกพื้นที่และชองทางระบบการเมืองปกติ 2

Page 27: New Social Movements Lecture

พัฒนาการของสำนักทฤษฎีการระดมทรัพยากร2

§  “ตัวแบบผูประกอบการ” (Entrepreneurial Model) 2

2

§  “ตัวแบบการเมือง” (political model) 2

หรือ ตัวแบบกระบวนการทางการเมือง (political process model) 2

Page 28: New Social Movements Lecture

ปญหาของ RM>

§  เนนการวิเคราะหองคกรการเคลื่อนไหว การระดมทรัพยากร ยุทธวิธีการเคลื่อนไหวของ SM มากเกินไป 2

§  ขบวนการทางสังคมตางๆ ที่เกิดข้ึนจะประสบความสำเร็จได ก็มิไดข้ึนอยูกับการระดมทรัพยากรตามทฤษฎีการระดมทรัพยากรแตเพียงอยางเดียว (แตยังข้ึนอยูกับปจจัยสำคัญอีกอยางหนึ่งคือ การสรางความหมายใหมๆ ใหกับส่ิงที่ขบวนการเรียกรอง ซ่ึงความหมายตางๆ ที่ถูกสรางข้ึน) 2

§  ทฤษฎีเหลานี้อธิบายเชิงโครงสรางเปนหลัก ทำใหดูราวกับวา การระดมผูคนใหเขามามีสวนรวมในขบวนการตางๆ มีลักษณะหยุดนิ่งคงที่ (static) ทั้งที่การตัดสินใจเขารวมขบวนการเกิดข้ึนภายในจิตใจของผูคน 2

Page 29: New Social Movements Lecture

“ขบวนการทางสังคมแบบใหม” >

(New Social Movement -NSM) >

§  เกิดข้ึนทามกลางบริบททางเศรษฐกิจการเมืองหลังยุคสมัยใหม (Post-Industrial Society)2

§  “ขบวนการทางสังคมแบบใหม” วิพากษทฤษฎีการระดมทรัพยากรวา สนใจเฉพาะการตอบคำถามวาขบวนการทางสังคมเกิดข้ึนอยางไร (“How?”) แตไมตอบวา “เหตุใด?” (“why?”) NSM จึงเกิดข้ึน 2

§  วิพากษทฤษฎีมารกซิสตวา มีขอจำกัดในการอธิบายปรากฏการณ/ขบวนการทางสังคมแบบใหมๆ ที่เกิดข้ึนในชวงทศวรรษที่ 1960 และ 1970 เชน ขบวนการส่ิงแวดลอม ขบวนการสิทธิสตรีและอัตลักษณทางเพศสภาพ 2

Page 30: New Social Movements Lecture

§  งานเขียนสำคัญที่ไดบุกเบิกแนวทางศึกษาของสำนักขบวนการ

ทางสังคมแบบใหม เปนของนักคิดสองคนคือ Habermas และ

Alain Touraine โดยงานของ Habermas ไดชี้ใหเห็นวา เหตุกระตุ

นที่นำมาสูการกระทำการรวมหมู (collective action) คือ การที่

รัฐทุนนิยมสมัยใหมตองเผชิญหนากับวิกฤตการณความชอบ

ธรรม(legitimation crisis) (Habermas, 1973 และ Alain

Touraine,1985) 2

Page 31: New Social Movements Lecture

อะไร “ใหม” (New) อะไรเกา>

>§  ขบวนการทางสังคมแบบใหมมีความเปนขบวนการทางสังคม

มากกวาที่จะเปนขบวนการทางการเมือง เพราะใหความสนใจใน

เรื่องคานิยมและวิถีชีวิต “วัฒนธรรม” ดังนั้น จึงมีลักษณะทางสังคม

มากกวาทางการเมืองโดยตรง2

§  ขบวนการทางสังคมแบบใหมมีฐานที่ม่ันอยูใน “สังคมประชา”

กลาวคือ เนนกระทำการออมรัฐ(bypass the state) ไมสนใจที่จะ

ติดตอกับหรือทาทายอำนาจรัฐโดยตรง 2

Page 32: New Social Movements Lecture

(ตอ)>

§  ขบวนการทางสังคมแบบใหม พยายามที่จะนำมาซ่ึงการเปลี่ยนแปลงสังคม ทั้งโดยการเปลี่ยนแปลงคานิยม และโดยการพัฒนาวิถีชีวิตใหมๆ

ข้ึนมาเปนทางเลือก (alternative life-styles) 2

Page 33: New Social Movements Lecture

ปญหาของ NSM ในตะวันตก>และขบวนการสังคมใหมในประเทศโลกที่สาม2

§  รากเหงาความขัดแยงมาจากการพัฒนาที่เกิดขึ้นในโลกที่สามไดกอให

เกิดการรุกรานวิถีชีวิตปกติของประชาชน จนทำใหชาวบานในชุมชน

ทองถ่ิน ชนกลุมนอย ฯลฯ รวมตัวกันเปนขบวนการทางสังคม เพ่ือ

กระทำการรวมตอบโต §  ยังมีลักษณะประเด็นที่เกี่ยวปากทอง สิทธิข้ันพื้นฐาน ความยุติธรรม/

ความเปนธรรมทางสังคม2

§  เกี่ยวของโดยตรงกับปญหาการสรางและจรรโลงประชาธิปไตย2