introducing "sustainable banking network thailand" and trends

27
สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ป่าสาละ จากัด 21 สิงหาคม 2558 “เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย” และแนวโน้มของ “การธนาคารที่ยั่งยืน” ดาเนินการภายใต้ทุนวิจัยจาก

Upload: sarinee-achavanuntakul

Post on 15-Apr-2017

564 views

Category:

Economy & Finance


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ป่าสาละ จ ากัด

21 สิงหาคม 2558

“เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย” และแนวโน้มของ “การธนาคารที่ยั่งยืน”

ด าเนินการภายใต้ทุนวิจัยจาก

Page 2: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

ป่าสาละคือใคร?

2

“Sustainable Business Accelerator”

ป่าสาละเป็นบริษัท “ปลูกธุรกิจที่ยั่งยืน” แห่งแรกในประเทศไทย ก่อตั้งเดือน ก.ค. 2556 เป้าหมายของเราคือจุดประกายและด าเนินวาทกรรมสาธารณะเกี่ยวกับธุรกิจที่ยั่งยืน ผ่านการจัดสัมมนา อบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และออนไลน์ รวมทั้งผลิตงานวิจัยในประเด็นความยั่งยืน และส่งเสริมการวัดผลตอบแทนทางสังคม

Page 3: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย คืออะไร?

• การรวมตัวกันของนักการเงิน นักการธนาคาร และบุคลากรในภาคการเงิน รวมถึงนักวิชาการด้านการเงินการธนาคาร ผู้มีความสนใจร่วมกันที่จะขับเคลื่อนภาคธนาคารกระแสหลักในไทย ให้เปลี่ยนผ่านไปสู่ “การธนาคารที่ยั่งยืน” (sustainable banking) ได้อย่างเป็นรูปธรรม

3

Page 4: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

วัตถุประสงค์ของเครือข่ายฯ

• เป็นแหล่งเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการธนาคารที่ยั่งยืนของสมาชิก และระหว่างสมาชิกกับบุคคลภายนอก ผ่านการจัดประชุม ประชุมเชิงปฏิบัติการ และ/หรืองานสัมมนารายไตรมาส

• เป็นเวทีกลางในการค้นคว้าวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการธนาคารที่ยั่งยืน

• เป็นสถาบันกลางในการติดต่อประสานงานกับองค์กรระหว่างประเทศที่ท างานเกี่ยวข้องกับการธนาคารที่ยั่งยืน อาทิ BSR, Global Alliance of Banking on Values (GABV), Equator Principles, International Finance Corporation

4

Page 5: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

คุณสมบัติของผู้ประสงค์เป็นสมาชิก

• ประกอบอาชีพเกี่ยวข้องกับภาคการเงินการธนาคารในประเทศไทย อาทิ นายธนาคาร นักวิเคราะห์ เจ้าหน้าที่องค์กรก ากับดูแล กรรมการกลุ่มองค์กรการเงินชุมชน หรือนักวิชาการด้านการเงิน

• มีความสนใจในแนวคิด วิถีปฏิบัติ และเหตุผลทางธุรกิจของ “การธนาคารที่ยั่งยืน”

• สามารถสละเวลามาร่วมกิจกรรมของเครือข่ายฯ ได้ไม่น้อยกว่าปีละ 2 ครั้ง

5

Page 6: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

เป้าหมายโครงการวิจัย

เพื่อสร้างความตระหนักในความจ าเป็นของการเปลี่ยนวิถีธุรกิจของธนาคารไทยสู่ “การธนาคารที่ยั่งยืน” ในบรรดาบุคลากรทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อาทิ หน่วยงานภาครัฐ องค์กรก ากับดูแล นักการเงิน นักการธนาคาร รวมถึงสื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป

เพื่อจัดตั้ง “เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย” (Sustainable Banking Thailand Network - SBTN) เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับวิถีการธนาคารที่ยั่งยืน โดยสมาชิกเครือข่ายคือผู้เกี่ยวข้องในธุรกิจธนาคารไทย ที่สนใจในวิถีการธนาคารที่ยั่งยืนและสนใจจะเป็น “ผู้น าการเปลี่ยนแปลง” ในองค์กรของตนเอง

เพื่อรณรงค์ส่งเสริมธรรมเนียมปฏิบัติ มาตรฐาน และโครงการที่เกี่ยวข้องกับวิถีการธนาคารที่ยั่งยืน อาทิ ชุดหลัก Equator Principles

ด าเนินการภายใต้ทุนวิจัยจาก Rockefeller Foundation 6

Page 7: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

(บาง)นิยามของ “การธนาคารที่ยั่งยืน”

“การเงินที่ยั่งยืน หมายถึง การจัดสรรทุนการเงินและผลิตภัณฑ์บริหารความเสี่ยงให้กับโครงการและธุรกิจที่ส่งเสริมและไม่บ่ันทอนความเจริญทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และความยุติธรรมทางสังคม” (Forum for the Future, 2002)

“การธนาคารที่ยั่งยืน หมายถึง การตัดสินใจของธนาคารที่จะส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการให้แต่เฉพาะกับลูกค้าที่ค านึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมจากกิจกรรมของตน” (Bouma, Jeucken, and Klinkers, 2001)

7

Page 8: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

องค์ประกอบของ “การธนาคารที่ยั่งยืน” ในรายงาน “Banking for Sustainability” (IFC, 2007)

1. ความมั่นคงทางการเงินของสถาบันการเงินและลูกค้า จะได้สามารถมีส่วนร่วมในระยะยาวกับการพัฒนาประเทศ

2. ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจของโครงการและบริษัทต่างๆ ที่สถาบันการเงินออกทุนให ้

3. ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมผ่านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

4. ความยั่งยืนทางสังคมผ่านสวัสดิการของชุมชน

8

Page 9: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

9

Page 10: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

ห้าระดับของ “ธนาคารที่ยั่งยืน” (Kaeufer, ongoing)

1. ระดับ 1: Unfocused corporate activities – ท ากิจกรรมซีเอสอาร์ การกุศล สปอนเซอร์อีเวนท์ ฯลฯ ที่เน้นการประชาสัมพันธ์ ไม่เกี่ยวข้องใดๆ กับการด าเนินธุรกิจหลักของธนาคาร

2. ระดับ 2: Isolated business projects or business practices – มีโครงการ กิจกรรม หรือผลิตภัณฑ์ที่ยั่งยืน อาทิ “สินเช่ือเขียว” มาเสริมผลิตภัณฑ์หลัก แต่ทั้งหมดยังมีสัดส่วนน้อยมากเมื่อเทียบกับกิจกรรมทางธุรกิจทั้งหมดของธนาคาร ผลิตภัณฑ์หรือบริการเหล่านี้อาจเป็นปฏิกิริยาต่อเสียงสะท้อนจากสาธารณะ ไม่ใช่ผลลัพธ์ของการน าหลักความรับผิดชอบต่อสังคมมาใช้ทั่วทั้งธนาคาร

10

Page 11: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

ห้าระดับของ “ธนาคารที่ยั่งยืน” (Kaeufer, ongoing) (ต่อ)

3. Level 3: Systemic business practices – หลักการและธรรมเนียมปฏิบัติเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นรากฐานของผลิตภัณฑ์และกระบวนการต่างๆ ของธนาคาร ผลกระทบเชิงบวกต่อสังคมและส่ิงแวดล้อมเป็นมิติหลักของกิจกรรมทางธุรกิจทุกชนิด

4. Level 4: Strategic ecosystem innovation – จับมือเป็นแนวร่วมกับธนาคารอื่นและส่ือสารกับสาธารณะ สนับสนุนนักลงทุนที่รับผิดชอบและการแก้ไขกฎเกณฑ์ก ากับดูแลภาคธนาคารให้มุ่งสู่ความยั่งยนื

5. Level 5: Intentional (purpose-driven) eco-system innovation – เป้าหมายไม่ใช่ “หลีกเลี่ยงสถานการณ์เชิงลบ” อีกต่อไป แต่เน้นการสร้างนวัตกรรมเพื่อสรา้งผลกระทบเชิงบวกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

11

Page 12: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

อีกวีธีมอง : Jeucken จาก Rabobank (1998)

12 ทีม่า: The Changing Environment of Banks, Jeucken & Bouma, 1999

Page 13: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

รูปธรรมของธนาคารที่ยั่งยืนในไทย?

• การธนาคารที่ยั่งยืนในภาคปฏิบัติวันนี้จะต้องพิสูจน์ผ่านการด าเนินธุรกิจในสองด้านหลักด้วยกัน 1) การปล่อยสินเชื่ออย่างรับผิดชอบ ทั้งสินเชื่อส าหรับลูกค้า

ธุรกิจ และสินเชื่อส าหรับลูกค้ารายย่อย และ

2) การเสริมสร้างการเข้าถึงบริการทางการเงินของประชากรที่ยังเข้าไม่ถึง

13

Page 14: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

รูปธรรมของธนาคารที่ยั่งยืนในไทย?

• คณะวิจัยพบว่า วงการธนาคารพาณิชย์ไทยโดยรวมยังค่อนข้างล้าหลังทั้งสองด้าน แต่ธนาคารพาณิชย์ที่น าวิถีปฏิบัติของธนาคารที่ยั่งยืนไปประยุกต์ใช้น่าจะมีโอกาสทางธุรกิจหลายประการ โดยเฉพาะเมื่อค านึงถึงความสนใจของธนาคารหลายแหง่ทีจ่ะก้าวขึ้นเป็นผู้น าในระดับภูมิภาค ภายหลังการเปิดตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ประกอบกับสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ านวยต่อการบุกตลาดผู้มีรายได้น้อย โดยเฉพาะการเติบโตอย่างก้าวกระโดดของการใช้สมารท์โฟนและเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

14

Page 15: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

เหตุผลทางธุรกิจของการปล่อยสินเชื่อลูกค้าธุรกิจอย่างรับผิดชอบ

15

ปรับปรุงการบริหารจัดการความเสี่ยง เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด / ขยายฐานลูกค้าเดิม

เข้าสู่ตลาดใหม่ / ได้ฐานลูกค้าใหม่

ม ี– การบูรณาการเกณฑ์ด้านผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเข้าไปในกระบวนการกลั่นกรองสินเชื่อ อาทิ ด้วยการรับชุดหลักการอีเควเตอร์ สามารถช่วยลด 1. ความเสี่ยงจากการถูกฟ้องร้องหรือ

ด าเนินคดี 2. ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง และ 3. ความเสี่ยงทางการเงิน ที่เกิดจากความเสี่ยงด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงการที่มีแนวโนม้จะก่อผลกระทบเชิงลบสูง และไม่ถูกจ ากัดหรือรับมืออย่างเพียงพอในขอบเขตของกฎหมายและกฎระเบียบภาครัฐ

N/A มี – ด้วยการเน้นผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินส าหรับกิจการใหม่ๆ ที่สร้างประโยชน์สุทธิด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม อาทิ • พลังงานหมุนเวียน • เกษตรอินทรีย์ • การพัฒนาชุมชน

Page 16: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

เหตุผลทางธุรกิจของการปล่อยสินเชื่อลูกค้ารายย่อยอย่างรับผิดชอบ

16

ปรับปรุงการบริหารจัดการความเสี่ยง เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด / ขยายฐานลูกค้าเดิม

เข้าสู่ตลาดใหม่ / ได้ฐานลูกค้าใหม่

เป็นไปได ้– ถ้าหากธนาคารผนวกกลไกคุ้มครองผู้บริโภคทางการเงินเข้ากับโครงการให้การศึกษาทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยง อาทิ ความเสี่ยงที่จะผิดนัดช าระหนี้ของลูกหนี้ที่มีหนี้สินเกินตัว หัวข้อที่น่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคทางการเงินไทยเป็นพิเศษ ได้แก่ การรีไฟแนนซ์หนี้ส่วนบุคคล และการเพิ่มความโปร่งใสของการเปิดเผยค่าธรรมเนียมสินเชื่อ

มี – ผ่านการผนวกผสานโครงการให้การศึกษาหรือความรู้เรื่องทางการเงิน (financial literacy) เข้าไปในการน าส่งผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ณ จุดขาย ในทางที่ท าให้ความรู้ดังกล่าวเป็น “จุดขาย” ที่ดึงดูดผู้บริโภค ยกตัวอย่างเช่น ด้วยการเพิ่มอัตราดอกเบ้ียเงินฝากและลดอัตราดอกเบ้ียสินเช่ือส าหรับลูกค้าที่ฝากเงินอย่างสม่ าเสมอ

N/A

Page 17: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

เหตุผลทางธุรกิจของการขยายการเข้าถึงบริการทางการเงินในระบบ

17

ปรับปรุงการบริหารจัดการความเสี่ยง เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด / ขยายฐานลูกค้าเดิม

เข้าสู่ตลาดใหม่ / ได้ฐานลูกค้าใหม่

N/A N/A มี – ผลิตภัณฑ์ไมโครไฟแนนซ ์โดยเฉพาะสินเช่ือและเงินโอน ยังเปน็ที่ต้องการอย่างสูงส าหรับผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์สามารถก้าวข้ามข้อจ ากัดของโมเดลธุรกิจแบบด้ังเดิมของธนาคารกระแสหลักด้วยการใช้ช่องทางการขายใหม่ๆ อาทิ 1. การธนาคารผ่านมือถือ (mobile

banking) ท่ีมีจุดแปลง e-money เป็นเงินสดได ้

2. การร่วมมือกับกลุ่มการเงินฐานรากในชุมชน อาทิ สหกรณ์ออมทรัพย์ สถาบันการเงินชุมชน กลุ่มออมทรัพย์ ฯลฯ

Page 18: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

ตลาดสินเชื่อที่น่าสนใจ

18

Page 19: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

ธนาคารยังคงเป็นแหล่งทุนที่ส าคัญที่สุดในไทย

19

ทีม่า: World Bank

สนิเชือ่เอกชนตอ่จดีพี:ี 154% ในปี 2013 สงูกวา่คา่เฉลีย่โลกและ

เอเชยีตะวนัออก

Page 20: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

ปัจจัยผลักดันส าคัญ (key drivers) ของการธนาคารที่ยั่งยืน

20 ทีม่า: ESG Trends in the Banking Sector, Sustainalytics, 2014

ในไทย: นโยบายรัฐให ้

ความส าคัญกบัการขยายบรกิารทางการเงนิ (financial

inclusion) มากขึน้, ธปท. ให ้

ความส าคัญมากขึน้กบัการก ากบั “ความรับผดิชอบ”

ในไทย: ยังไมม่ตีลาดความ

ตอ้งการ “ผลติภัณฑก์ารเงนิที่รับผดิชอบ” อยา่งชดัเจน เพราะคนขาดขอ้มลู,

วฒันธรรมวา่ลกูหนีเ้ป็นฝ่ายผดิ

ในไทย: ภาคประชา

สงัคมกดดันธนาคารมากขึน้ แตก่ฎเกณฑย์ังไม่ทันกบัปัญหาสิง่แวดลอ้ม

ในไทย: คนให ้

ความไวว้างใจและเชือ่ถอืธนาคารใน

ระดับสงู

ในไทย: นัก

ลงทนุยังไมม่ีบทบาท

Page 21: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

21

“ต้นทุน” ของปัญหาการขาดจริยธรรมทางธุรกิจ

ธนาคารขนาดใหญ่สูญเสียความไว้วางใจจากสาธารณะในระดับที่ไม่เคยปรากฎมาก่อน

(ข้อมูล ณ ปี 2555)

Page 22: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

Westpac Banking Corp : ผู้น าอุตสาหกรรมธนาคารใน Dow Jones Sustainable Index ประจ าปี 2014

22 ทีม่า: Dow Jones Sustainability Index Industry Group Leader Report, RobecoSAM & DJSI

นโยบายธนาคาร: ท ารายงานวเิคราะหค์วามเท่าเทยีมของรายได,้ จา้งชนพืน้เมอืงแบบ proactive

Everywhere Banking ให ้ท าธรุกรรมผา่นการสง่ SMS

บนมอืถอื, In-store

banking model

55% ของสนิเชือ่สาธารณูปโภคและ

โครงสรา้งพืน้ฐานปลอ่ยใหก้ับไฟฟ้าพลังน ้าและพลังงานหมนุเวยีน

Page 23: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

หลักการปล่อยสินเชื่อที่รับผิดชอบของ Westpac

1. เราจะปล่อยกู้เฉพาะในจ านวนที่ลูกค้ามีศักยภาพในการช าระคืน

2. เราจะวางตลาดสินค้าและบริการอย่างรับผิดชอบ

3. เราสนับสนุนลูกค้าที่เผชิญกับปัญหาทางการเงิน

4. เราช่วยเพิ่มความรู้เรื่องทางการเงิน (financial literacy) และศักยภาพทางการเงิน (financial capability) ของลูกค้า

ที่มา: “Principles for Responsible Lending,” 2013, เว็บไซต์ Westpac Banking Group

23

Page 24: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

24

Standard Chartered: ทุก $1m ที่ปล่อยกู้ SMEs ในกานาและแซมเบียสร้าง $3m ก าไร+ภาษี+เงินเดือนคนในท้องถิ่น

ทีม่า: Standard Chartered

Page 25: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

25

ตัวอย่างกลไกทางการเงิน: Debt-for-Nature Swap (DNS)

Page 26: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

ความท้าทายบางประการ

• “คนตีตั๋วฟรี” (free-rider)

• นโยบายรัฐยังไม่บูรณาการอย่างสอดคล้องกับหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ขาดความชัดเจนและต่อเนื่อง

• อุปสงค์ผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ยั่งยืนยังไม่มีมาก (แต่น่าจะเติบโตตามตลาด เช่น พลังงานหมุนเวียน)

• วัฒนธรรม(?)ของผู้บริโภคบริการทางการเงิน

• ข้อมูลพื้นฐานขาดแคลน 26

Page 27: Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

ดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ และ/หรือสมัครเป็นสมาชิก “เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่ง

ประเทศไทย” ได้ที ่

www.salforest.com

[email protected]

02 258 7383