inspire magazine vol.1

24
| INSPIRE* 01

Upload: nathapong-tiyaworabun

Post on 16-Mar-2016

400 views

Category:

Documents


13 download

DESCRIPTION

Photographic Art,Finearts CMU Advance Applied Photographic Art 2/2554

TRANSCRIPT

Page 1: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 01

Page 2: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 02

Page 3: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 03

INSPIREMAGAZINE

Advanced Applied Photographic ArtPhotographic Art , Department of Arts, Media and Design, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University

X

Page 4: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 04

INSPIRE *Group Editor

Crative Editor

Graphic Designer

Editorial Director

Editor Assistance

Photographer

Special Thanks

Exclusive Director

Nathapong Tiyaworabun ณัฐพงษ์ ติยะวรบุญ

Nathapong Tiyaworabun ณัฐพงษ์ ติยะวรบุญ

Jo Vajira โจ้ วชิรา รุธิรกนก

Prachya Compiranont อาจารย์ ปรัชญา คัมภิรานนท์ Pandit Watanakasivish อาจารย์ บัณฑิตย์ วัฒนกสิวิชช์

Kornkrit Jianpinidnan กรกฤช เจียรพินิจนันท์

Sataporn Phornchaicharoen สถาพร พรชัยเจริญ

Sataporn Phornchaicharoen สถาพร พรชัยเจริญ

Sataporn Phornchaicharoen สถาพร พรชัยเจริญ

Mana Mueanmanas มานา เหมือนมนัส

Mana Mueanmanas มานา เหมือนมนัส

Watcharaphong Sitthi วัชรพงศ์ สิทธิ

Watcharaphong Sitthi วัชรพงศ์ สิทธิ

Watcharaphong Sitthi วัชรพงศ์ สิทธิ

สาขาวิชาศิลปะการถ่ายภาพ, ภาควิชาสื่อ ศิลปะ และการออกแบบสื่อ, คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

239 ถนนห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์: 053-94-4819 โทรสาร: 053-21-1724

Photographic Art , Department of Arts, Media and Design, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University

239 Huay Kaew Road, Muang District, Chiang Mai, Thailand, 50200 Phone: 053-94-4819 Fax: 053-21-1724

Editor

Page 5: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 05

March 2012content

07 PEOPLE : Kornkrit Jianpinidnan

018 : PLACE

016 : O

BJECT

020 : CULTURE

Page 6: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 06PEOPLE

Page 7: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 07

กรกฤช เจียรพินิจนันท์ ช่างภาพแฟชั่นในอุดมคติของใครหลายคนแต่ในตอนนี้เขาจะมาเปิดเผยอุดมคติของตัว

เองที่ยึดถือมาตลอดใน ถ่ายทำางานการเรียนตั้งเเต่สมัยมหาวิทยาลัยจนกลายมาเป็นช่างภาพเเฟชั่นเเละถ่ายทอดเรื่อง

ราวออกมาเป็นภาพแฟชั่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวรูปทุกรูปงานทุกชิ้นของกรกฤชนั้นมักสะกิดใจเราให้คิดและเอ่ยปาก

ชื่นชมโดยไม่รู้ตัว .

Inspiration is all around

Story & photograph by Sataporn Phornchaicharoen

Page 8: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 08

อยู่ท่ามกลางความเป็นจริงที่ตลบแตลง พลิกผัน

จิ้งจอกสบัดหางของมันไปรอบๆ อย่างรวดเร็ว

ข้างหน้าที ข้างหลังที แกว่งขึ้น และแกว่งลง

เหมือนเสาอากาศที่ค้นหาคลื่นแห่งความหฤหรรษ์ของการฝันกลางวัน

เผยให้เห็นภาพสะท้อนของตัวตนโดยรวมที่ซ้อนทับกันอยู่

องุ่นเปรี้ยว ภาพตอนหนึ่งบนเตียง ฉากสังเคราะห์จากลูกตากลมๆ

(เป็นเช่นนั้นจริงๆ)

สําหรับ “อีเด็น” ที่กายโซดา โดย กรกฤช เจียรพินิจนันท์

บทความโดย จิตติ เกษมกิจวัฒนา มกราคม 2542

Page 9: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 09

Q : ตั้งเเต่เลือกเข้ามาเรียนที่วิจิตรศิลป์พี่กรกฤชคิดอย่างไรถึง

เลือกมาเรียนที่นี่ครับ ?

A : ตอนเด็ก ๆ เราก็ไม่รู้หรอกว่าเราจะเรียนอะไรอย่างไร พอ

เรียนจบ ม.6 ที่เชียงราย ก็สอบโคต้าเเล้วเลือกคณะเดียวด้วย

เพราะรู้ว่าตอนนั้นชอบศิลปะมาตั้งเเต่เด็ก ๆ เลยเช่น วาดผนัง

วาดรูปอะไรอย่างนั้น เเล้วพอเข้ามาอะไรทำาให้พี่สนใจในเรื่อง

การถ่ายภาพ คือพอเรียน ๆ ไป ปี 1 ปี 2 เราเรียน ๆ ไปเรารู้ว่า

เราชอบเรื่องงานพิมพ์ ชอบเรื่องกระดาษ เเล้วคือ ตอนเเรกมัน

ก็ได้เรียนทุกอย่างเเหละยกเว้นไมเนอร์ ตอนเลือก ๆ เมเจอร์

เราก็เลือกภาพพิมพ์ เพราะว่าตั วเองชอบงานหนังสือชอบ

งานหนังสือชอบดูรูปส่วนใหญ่ชอบดูรูปเลยคิดว่าตัวเองชอบ

งานภาพพิมพ์เเน่ ๆ เลยเลือกงานภาพพิมพ์กับงานโฟโต้มา

รวมกัน จริงๆ เเล้วจะเลือกเพ้นเป็นตัวเมเจอร์เเต่ทำาๆ ไปก็รู้ว่า

ทำาไม่ได้เเน่ ๆ เพราะรู้ว่าตัวเองเป็นตาบอดสี ก็เลยเลือกภาพ

พิมพ์ เพราะว่ามันใช่สุด ชอบกระดาษามากเวลาทำางานกับ

กระดาษเเล้วมีความสุข ทำางานกับหมึก เราจะทำาอะไรเเบบที่

เป็นเราได้นาน ๆ นั่งทำาอยู่ในชอปภาพพิมพ์ทำางานของเราไป

เรื่อย ๆ เเล้วก็เลือกไมเนร์โฟโต้เพราะหลายคนบอกว่ามันไป

กันได้กับภาพพิมพ์ ละก็โฟโต้ตอนนั้นก็ไม่ได้ตั้งใจมาก ส่วย

ใหญ่จะทำาภาพพิมพ์มากกว่าเพราะชอบสาย visual art สาย

ไฟน์อาร์มากกว่า พอทำาไปซักระยะนึกก็ต้องมาทำางานโฟโต้

เราก็เรียนเราก็พูดตรง ๆ ว่าเราก็เรียนไปงั้นๆ ช่วงเเรก ๆ ก็เป้

นอย่างนั้น เเต่พอหลัง ๆ มันก็เริ่มจริงจังขึ้นเเละเราก็เริ่มมอง

ทางออกว่าเราชอบการถ่ายภาพเเบบใหนคือพวกการถ่าย งา

นภ่ายพวกเนี้ยบ ๆ สตูจัดไฟนี้เราไม่เคยจะไปคิดจัดมันเเต่รู้

ในเเง่ของตัวโฟสการปริ้นเเต่เราชอบการอัดปริ้นขาวดำาอะไร

ประมานนี้มากกว่า .

Q : เเล้วคือช่วงที่พี่รู้ว่าพี่ชอบเเบบไปทางสายการถ่ายภาพพี่รู้

มั้ยว่าชอบเเนวไหน ?

A : คือไม่ได้ฟันธงนะเเต่ไมได้บล๊อคตัวเองก็เปิดๆ เเค่เพียง

ความสนใจในช่วงวัยมันก็เป็นเหมือนพวกเรา

มันก็มีความสนใจหลากหลาย การใช้ชีวิตอะไรเเบบนี้อะนะ

เหมือนพวกเรา เเต่พอมามาถึงจุดที่ต้องทำา independent

project มันเป็นโปรเจคอิสระ อะนะเเบบ เราก็เลือกทำาในเบ

บที่เราชอบ คือเราก็ปฏิเสธวิธีการของภาพถ่าย เกือบทั้งหมด

ก็เป็นถ่ายเเบบ Snap ออกไปถ่ายเเบบเพื่อนไปเที่ยวดูไม่มี

สาระอะไร ถ่ายเพื่อนกิน นั่ง ๆ นอนๆ เเต่งตัว ก็ว่าไป เเล้วก็

มาเรียนบเรียง ซึ่งมันเป็นวิธีการความคิดเเบบ คือนตอนนั้น

อาจารย์ด้านไฟน์อาร์ทด้านจิตรกรรม ด้านภาพพิมพ์ เค้าจะ

มีกิจรรมอะไรเยอะมากเกี่ยวกับศิลปะการจัดวาง เราก็สนุก

กับมัน รูปเเบบขอมัน เป็นเเบบ Installation มันเเป็นความ

คิดของศิลปินสมัยนั้นว่า เค้าจะ active ด้านกิจรรมเเละเรา

เป็นนักศึกษาเราจะได้เห็น เเล้วเราก็นำามาปรับใช้กับงานโฟโต้

ซึ่งมันเป็น street โฟโต้ ตอนนั้นชื่องานชื่อ You are around

เสียงตอบรับจากอาจารย์ที่สอนโฟโต้เค้าก็ไม่ได้ชื่นชมอะไร

มาก เเต่สำาหรับตัวเรามันคือเเบบว่ามันได้เเล้วมันจบ มัน

เเบบเนี้ยคือฉันอยากทำาเเบบนี้ เลยจัดไปเต็ม ๆ 90รูป เเสดง

ติดตั้งทั้วคณะเลย เเล้วก็ จากตรงผลสรุปเกรดเราก็ไม่ได้อะไร

มากมายเเต่ผลสรุปในตัวเราหนะได้เต็ม ๆ เพราะว่าก่อนที่เรา

เรียนจบเนี้ยมี่พี่คนนึงเค้าเอาพอทเราไปพรีเซ้น เค้าอยากจะ

ทำานิทรรศการกลุ่ม ที่ กทม เพราะว่าที่กรุงเทพตอนนั้นมั้นจะ

มีพื้นที่ศิลปะที่เรียกว่า alternative space พื้นที่ทางเลือกนี้

มันค่อนข้างเปิด มันไม่ได้เป็นgalleryที่แบบcommercial ซึ่ง

ไอ้พื้นที่เนี่ยมันค่อนข้างเปิดให้ศิลปินใหม่ๆไปทำาอะไรก็ได้กับ

พื้นที่ที่เค้ามี แล้วก็มีอาจารย์คนนึงที่เค้าเป็นคิวเรเตอร์เนี่ยเค้า

ก็มาบอกเราว่าชอบงานเราสนใจงานเรา อยากให้มาแสดง

เรียนจบเมื่อไหร่ก็อยากให้เราเอางานของเรามาแสดงที่นี่ เรา

ก็เลยรู้แล้วว่าเนี่ยเรียนจบมาอย่าง น้อยเราก็มีงานอันนี้ให้ทำา

แล้วหนึ่งอัน แต่เอาเข้าจิงๆเราก็ไม่รู้หลอกว่าเรียนจบมาแล้ว

เนี่ยเราจะทำามาหากินอะไร แล้วแฟชั่นเนี่ยมันก็อยู่ค่อนข้าง

ไกลจากตัวเรามาก เราก็ไม่ค่อยได้ใส่ใจอะไรมากมาย แฟชั่น

เนี่ยมันมาทีหลังมากมากเลย ส่วนตัวเราเนี่ยเราโคตรสนุกกับ

วิธีคิด การเอาทฤษฏีและพวกปรัชญามาใช้ประกอบกับ

แนวความคิดแล้วเราก็สร้างมันออกมาเป็นงาน พอเอาเข้า

จริงๆแล้วภาพที่มันออกมาในชุดเนี่ย มันไม่ได้มีอะไรเลย

ไม่มีแก่นสารเลย มันดูแบบเด็กวัยรุ่นใช้ชีวิตสนุกล่องลอยไป

วันๆ แต่ตรงนั้นแหละที่มันสะท้อนชีวิตๆนึงที่อยู่ในสังคม แล้ว

มันก็สะท้อนปัญหาต่างๆเป็นชั้นๆ เป็นเลเยอร์ของความคิด

หนะ ซึ่งตรงนี้มันมักจะถูกถ่ายทอดผ่านงานเขียนเชิงปรัชญา

มากกว่า แต่จริงๆแล้วงานศิลปะร่วมสมัยในยุคนั้นมีอยู่เยอะ

มาก ที่ทำาออกมาแนวปรัชญาเนี่ย แล้วพอจบthe sis ภาพ

พิมพ์แล้ว มันโคตรโล่งอกเลยนะ เราเผ่นเลย วันที่สองเราไปก

ทม.เลย เพราะมันเต็มที่แล้วกับเชียงใหม่อะ เราไม่ค่อยได้ไป

ไหนเลยตอนปีสี่ปีห้า เราก็เริ่มคิดแล้วไงว่าจบแล้วเราจะทำา

อะไร เราก็คิดว่าเออ เอาไงก็เอาวะ เดี๋ยวมันคงอะไรเข้ามา

แหละ พอจบแล้วเราก็ไมไ่ด้ไปทำางานexhibitionนี้เลยนะ เรา

มีเวลาตั้ง10เดือนก่อนที่จะไปทำางานชิ้นนั้น เราก็คิดว่าจะทำา

ไรวะ เราก็เลยลองไปเป็นผู้ช่วยอาร์ทไดงานละครทีวี แล้ว

เราก็ทำาได้แค่เดือนเดียว เราไม่ชอบงานแบบนั้นเลยอะ ตื่น

ตี5เลิกเที่ยงคืน หยุดวันเดียววันอาทิตย์ ที่อยู่ก็ไม่มีนะ เราก็

แบบไปอยู่กับเค้าเลย พ่อแม่เราก็อยู่เชียงราย มันก็เคว้งคว้าง

นะ แต่เราโคตรตื่นเต้นเลยกับกทม.เนี่ย ข้างในพลังงานมัน

โคตรดีเลย เราก็ได้เจอเพื่อนๆรุ่นเดียวกัน เราก็ไปเที่ยวเล่น

กล้องอะไรก็ไม่มีนะ กล้องนะขายไปแล้ว เพราะเราไม่มีเงิน

ไง เราก็คิดว่าเห้ยแล้วเราจะเอากล้องอะไรมาถ่ายงานที่เรา

จะไปแสดงนี่วะ เราก็เลยไปขอยืมกล้องเพื่อน ถ่ายรูปเพื่อน

คือเราอยากรู้ว่าถ้าเราเปลี่ยนสถานที่จากเชียงใหม่ไปเป็น

กรุงเทพเนี่ย เราจะไปพัฒนางานของเราชุดนี้ยังไงดี เราก็เลย

ทำาเป็นเรื่องของการเปลี่ยนผ่านจากอีกที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่ง

ระหว่างนั้นเราก็ใช้ชีวิตไปด้วย ไปเที่ยวกับเพื่อนถ่ายรูปไป

ด้วย ก็เป็นถ่ายพวกกลางคืน อะไรไปเรื่อยเปื่อยไม่มีแก่นสาร

เหมือนตอนอยู่เชียงใหม่ที่เราถ่ายนั้นแหละ เราก็ไปเป็นผู้ช่วย

ในgalleryหาเงินเล็กๆน้อยๆไปทำางานเนี่ย โอเคเราก็ไม่ได้คิด

เรื่องอื่นๆเลย เรารู้แต่ว่าเราไปเจอเพื่อนใหม่ๆคนใหม่ๆ สังคม

ที่ดูคล้ายจะใหม่สำาหรับเราอะนะ .

Page 10: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 10| INSPIRE* 09

Page 11: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 11

Q : แล้วพูดถึงจุดเปลี่ยนสำาคัญจริงๆที่ทำาให้ได้มาเป็นช่าง

ภาพคืออะไรครับ ?

A : ก็ึคือหลังจากงานที่แสดงที่ About ชื่องานว่า neo

romantic งานชุดนี้เราก็เอาแนวความคิดอย่างที่บอกเรื่อง

ของการเปลี่ยนผ่านสถานที่ กับสถานการณ์จริงของตัวเรา

กับบริบทบางอย่างของศิลปะกับแนวความคิดทางปรัชญา

มาผสมกัน ละก็ใช้คำา เล่นกับคำา อย่างคำาว่าโรแมนติกอะไร

อย่างเนี๊ยะ ซึ่งตอนนั้นเราก็ไม่ไ่ด้คิดอะไรมาก แต่เรามองใน

แง่ของโรแมนติกที่มันร่วมสมัยที่มันอยู่ในชีวิตประจำาวันของ

เรา เอามาผสมกันจึงออกมาเป็นงานชิ้นนั้น ซึ่งพอเสร็จจาก

งานชิ้นนี้ ก็มีพี่คนนึงเค้าสนใจงานเรา เค้าก็ติดต่อเรามานะ

ติดต่อเราผ่านทางgalleryมา ว่าเนี่ย งานน้องคนนี้ดีนะ เอา

ไปแสดงที่ร้านพี่ไม๊ ซึ่งพี่คนนั้นก็คือพี่กบที่เค้าทำาร้านกาย

โซดาอยู่ที่สยามเซ็นเตอร์ ซึ่งตอนนั้นเนี่ยเค้ากำาลังแบบนิยม

ที่จะแสดงงานในพื้นที่อื่นๆที่เป็นทางเลือก ซึ่งเค้าเรียกวิธีการ

แบบเนี่ยว่า site pacific installation คือไม่ได้เป็นพื้นที่เป็น

แบบart space ที่ฉากหลังขาวเป็นกรอบ ซึ่งอันเนี่ยมันเป็น

สถานที่ที่เป็นความจริง สิ่งแวดล้อมจริงๆ อยู่ในชีวิตประจำา

วันของเราจริงๆ แล้วเราก็ทำางานชุดใหม่ชุดนึงไปแสดงที่ร้าน

เสื้อผ้าร้านนี้ ซึ่งมันก็พำฒนามาจากงานชุด neo romantic

นั่นแหละ ภาพก็จะออกมาเป็นภาพที่เป็นชีวิตส่วนตัวพื้นที่

ส่วนตัวซึ่งมี gimmick นิดนึงคือใช้เสื้อผ้าจากร้านโซดาเนี่ย

ให้เค้าไปใช้จริงๆเลย แล้วเราก็ไปถ่ายตอนที่เค้าอยู่ในห้อง

ซึ่งบางทีเราก็ไม่รู้ว่าที่เค้าแสดงออกมานั้นเป็นตัวจริงของเค้า

รึปล่าวหรือเป็นตัวตนที่เค้าแสดงมันขึ้นมา ซึ่งเราก็เอาไอ่ส่วน

เนี่ยแหละออกมาเป็นประเด็น ซึ่งร้านกายโซดาก็เหมือนเป็น

แบบสวรรค์ของนักช๊อปที่พอมีกำาลังจะซื้อของซื้อเสื้อผ้าอะไร

พวกเนี้ยได้

เราก็เลยใช้ชื่องานชุดใหม่นี้ว่า eden at guy soda พอไอ่

งานชุดเนี้ยมันอยู่ในร้านเสื้อผ้าแฟชั่นใช่ไม๊ มันก็มีคนที่อยู่ใน

แวดวงของวงการแฟชั่นมาดู แล้วเค้าก็เลยแบบ เอ้ยไปถ่าย

ให้หน่อยถ่ายให้แพรวสุดอะไรอย่างเงี่ย ไอ่เราก็ยังถ่ายไม่เป็น

ไง ไม่ได้ถ่ายแบบที่เรียนมาเลย ก็ถ่ายแบบsnap เอากล้องโพ

ลารอยมาถ่ายสแนปถ่ายเล่นกันไปเลยอะไรอย่างเงี่ย หลังจาก

นั้นก็เริ่ม รู้จักคนเพิ่มมากขึ้น เพื่อนๆพี่ๆที่เค้าทำางานดีไซเนอร์

แฟชั่น เค้าก็ทำาพวกเสื้อผ้าอะไรพวกนี้ขึ้นมา เราก็แบบ อาสา

ตัวเองว่าเนี่ย เดี๋ยวเราจะถ่ายให้เองเอาไม๊อะไรแบบนี้ แล้วเรา

ก็ถ่ายให้เค้า นางแบบก็เพื่อนกันเองเนี่ยแหล่ะ แล้วไอ่ตรงนั้น

เนี่ย พอเราได้เรียนรู้ได้อะไรไปเรื่อยๆมันก็ผ่านวันเวลา แล้ว

เราก็โตมาขึ้นพร้อมๆกัน เพื่อนเราที่เป็นดีไซเนอร์ตอนมันก็โต

ขึ้นมาเป็นดีไซเนอร์แบบเป็นเรื่องเป็นราว บางคนก็ไปทำาอย่า

งอ่ืนไปทำาเป็นพวกสไตล์ลิสอะไรพวกนี้ก็มี ก็ได้ร่วมงานกันมา

เรื่อยๆ แล้วตอนนั้นก็มีจุดที่แบบตกงาน ไม่มีเงินอะไรเลย เรา

ก็ไปทำางานเป็นผู้ช่วยgallery อะไรแบบนั้น ซึ่งเราก็ไม่ได้หลุด

ออกมาจากวงจรแวดวงศิลปะ คือจะบอกว่าตั้งแต่วันแรกที่

เรียนจบมาจนถึงทุกวันนี้เราก็ยังไม่ได้หลุดออกไปจากสายงาน

ตรงนี้เลย มันก็เลยอาจจะเป็นส่วนนึงที่ทำาให้มีคอนเนคชั่นที่

มันต่อเนื่องกันมาเรื่อยๆ แล้วก็เป็นคอนเนคชั่นที่มันโตขึ้นมา

เรื่อยๆ จากเดิมที่มันค่อนข้างจะดูเป็นอันเดอร์กราวมันก็ค่อยๆ

พัฒนามา พอปี2000 ก็เลยตัดสินใจว่าลองประกอบเป็นอาชีพ

ดูเลยดีไม๊ การเป็นช่างภาพแฟชั่นเนี่ย เราก็เลยได้ทดลองอีก

อย่างนึงก็คือการเป็นช่างภาพแฟชั่นในการเป็นช่างภาพอาชีพ

เนี่ยมันจะเป็นไปได้ยังไง ซึ่งตอนนั้นก็บอกตรงๆเลยว่าเราก็

เรียนรู้พวกเทคนิคการถ่ายภาพใหม่หมดเลย จากผู้ช่วย พวก

เพื่อนที่เป็นผู้ช่วยช่างภาพ เราก็เริ่มเรียนรู้เพิ่มขึ้นพวกเทคนิค

พวกการจัดไฟ จากการที่ผู้ช่วยเค้าจัดให้

ละก็พวกเรื่องการกำากับตัวแบบอะไรต่างๆเนี่ย คือเรียนรู้

ด้วยตัวเองมาเรื่อยๆ จนกระทั่งผ่านไป7-8ปี จนเรารู้สึกว่า

เอ่อ เราโตขึ้นทำางานอะไรที่มันเป็นเรื่องเป็นราวแล้ว ซึ่งมัน

ก็ค่อยๆเป็นไปนะ ซึ่งไอ่ช่วง7-8ปีเนี่ย เราก็ไม่ได้เป็นช่าง

ภาพประจำานะ ที่ไปเป็นประจำาจิงๆหนังสือมันก็ไปไม่รอด

เค้าปิดตัวลงไป ซึ่งช่วงเราเนี่ยมันโชคดีอย่างนึงคือเป็นช่วง

ที่มันเป็นระหว่างดิจิตอลกับฟิล์มไง แล้วจังหวะก่อนที่มัน

จะมาเป็นดิจิตอลเนี่ยมันก็มีพวกหัวหนังสือที่มันเปิดใหม่

เป็นหนังสือแบบอินดี้ หนังสือแบบอิสระ มันก็จะมีช่องทาง

ให้เราทำาอะไรเยอะแยะ ตอนนั้นเราก็ยังอินกับแฟชั่น แล้ว

เราก็ยังสนุก โดยความเชื่อที่ว่าเราน่าจะใส่ความเป็นตัว

ของตัวเองลงไปในแฟชั่นได้บ้าง แต่เอาเข้าจิงๆแล้วบาง

งานมันก็ผสมได้ปรับได้ ก็ใช่ว่าจะทำาเอาแต่ใจจะให้ออกมา

ตามที่ตัวเองคิดไว้ทั้งหมดก็คงเป็นไปไม่ได้ทุกงานนะ .

“ คือมันเป็นเรื่องของการอธิษฐานอะไรบางอย่างมากกว่ามั้ง ที่แบบว่าเออเราก็หวังเหมือนกันนะที่จะไปให้ถึงตรงนั้นหนะ แต่เราพูดออกมาไม่ไ่ด้หลอก ”

| INSPIRE* 010

Page 12: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 12

Page 13: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 13

Q : พี่คิดว่าอะไรในตัวพี่ที่ทำาให้คนอื่นเค้าถึงเลือกเราเข้าไป

ทำางานในแต่ละงานครับ ?

A : ก็คงเป็เรื่องสไตล์เนี่ยแหละ รูปแบบที่เราชอบแล้วเราก็

ยืนยันมาตลอดว่าเราชอบแบบนี้นะ แล้วก็บวกกับโอกาส

โอกาสที่ว่านี่คือไม่ใช่ความโชคดีนะ โอกาสที่ว่าคือแบบบาง

งานค่อนข้างเป็นงานที่ท้าทาย เราก็เครียดเหมือนกันนะ กว่า

จะทำางานออกมาได้ในแต่ละเซ็ทๆ เพราะเราก็ต้องจูนตัวเอง

ให้เข้ากับคนอื่น ซึ่งมันก็ต้องใช้การเรียนรู้กันไป .

Q : แล้วช่วงตั้งแต่เรียนจบจนถึงช่วงทำางานพี่กรกฤชบริหาร

ชีวิตตัวเองยังไงครับ ?

A : มันก็ลุ่มๆดอนๆนะ เพราะว่ามันก็เหมือกับแบบ พอเราเริ่ม

มีเงินเนี่ย ไอ่สิ่งที่เราอยากได้มาตั้งนานแล้วเราก็ดันเอาไปลง

กับมันอะไรแบบเนี่ย เงินนี่มันก็ใช้ไปในแง่ของแบบวัยรุ่นเงี่ย

มีมันก็ใช้ไป พอแบบ7-8ปีเนี่ยมันจะเริ่มแบบเปลี่ยนละ ไม่

ซื้อของละไปเที่ยวดีกว่า ไปเดินทางไปที่ๆเราอยากไป คือมัน

ก็ใช้เงินใช้ชีวิตแบบเราๆเนี่ยแหละ เพียงแต่ว่ามันจะใช้ชีวิต

ควบคู่ไปกับการทำางานตลอดไม่รู้เป็นไร แล้วอีกอย่างเราก็ไม่

ได้ทิ้งงานส่วนตัวของเรานะ เรายังทำางานความคิดของตัวเอง

ต่อเนื่องนะเกือบทุกปี คือพอทำางานตัวเองแล้วเนี่ยเหมือนเรา

ได้วิเคราะห์สถานการณ์ความเป็นจริงที่มันอยู่รอบตัวเราด้วย

คือมันเป็นสิ่งที่ดีอย่างนึงของตัวพี่ที่คิดว่าไม่ได้ทำาแต่งานหา

ตังอย่างเดียว และส่วนใหญ่เงินเนี่ยก็จะหมดไปกับการกิน

ดื่ม และก็การเอาไปซื้ออุปกรณ์ อัดรูป หาประสบการณ์ในเชิง

งานส่วนตัวมากกว่าด้วยซ้ำา ซึ่งมันเป็นสิ่งที่เราชอบอะ เราก็ไป

ลงกับเรื่องพวกเนี่ย แม้แต่การซื้อหนังสือเนี่ย หนังสือที่ซื้อมา

เราเลือกมากเลยนะไม่ได้ซื้อไปเรื่อย ถ้าไม่ชอบจิงๆเราไม่ซื้อ

นะ แล้วเผอิญว่าที่ชอบเนี่ยมันดันมีเยอะ ก็เลยซื้อเยอะ แต่พอ

ซักพักเราก็เริ่มแบบเห้ยไม่ใช่ละ เราเอาไปลงกับงานดีกว่า ซื้อ

กล้องบ้างอะไรบ้างแต่เราไม่ไ่ด้ฟุ่มเฟือยนะ ก็คือเจียดๆไปกับ

ไลฟสไตล์เนี่ย ก็คือเงินที่ได้ก็จะวนอยู่กับพวกส่วนเนี่ยแหละ

เป็นส่วนใหญ่ .

Q : แล้วทุกวันนี้พี่กรกฤชคิดว่างานที่พี่กำาลังทำาอยู่นั้นเราทำา

มันจนมาถึงจุดอิ่มตัวรึยังครับ ?

A : เอออ เป็นคำาถามที่ดีนะ มันไม่แน่ใจเหมือนกัน แต่สถานะ

ของเราตอนนี้กับแฟชั่นเราเรียนรู้แทบจะทั้งระบบของมันแล้ว

เพียงแต่ว่าเราเลือกที่จะซ้ำากับระบบนี้ไปรึปล่า แล้วเราจะซ้ำา

แบบไหนที่เราจะยังเป็นตัวของตัวเองอยู่ จะบอกว่าพอยุคสมัย

มันเปลี่ยนไปพอทุกอย่างเปลี่ยนเป็นดิจิตอลเนี่ย วิธีการของ

ภาพถ่ายมันก็เปลี่ยนไป แล้วก็แน่นอนว่าธุรกิจที่มันทำางาน

กับภาพถ่ายเนี่ยมันก็เปลี่ยนไป ซึ่งเราก็จะเห็นว่าตอนนี้ทุก

อย่างมันเป็นเรื่องของการค้าขาย มันเปนเรื่องของธุรกิจเข้ามา

เกี่ยวข้องแทบจะทุกอนู ไอ่อุดมการ์เก่ามันก็น้อยลง ปัจจุบัน

มันก็เป็นหนังสือแบบที่ขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจ กับวิธีการบางอย่าง

พอมาถึงตรงนี้แล้วเราจะทำาอะไรต่อกับตรงนี้เนี่ย ทุกวันนี้เราก็

ยังนั่งคิดอยู่ คือมันก็เป็นวิธีคิดแบบเดิมอยู่แต่เราก็นำามาปรับ

ใช้แล้วก็มาหาทางเลือกให้กับตัวเอง อย่างเช่นการมาเป็นอา

จารย์เนี่ยเป็นต้น เราก็รู้สึกว่าที่ผ่านมาเราเอาความรู้ไปใช้เนี่ย

พอมาถึงตรงนี้เรามาคิดอีกอย่างคือถ้าเราเอาสิ่งที่เราเรียนรู้

มาให้คนอื่นบ้าง แล้วในอานาคตมันจะเป็นยังไงเราก็ยังไม่รู้

เหมือนกัน เพียงแต่ว่าตอนนี้กำาลังพยายามมองแบบว่าไปให้

ไกลให้คล้ายกับตอนแรกที่เรียนจบ มันไมไ่ด้ไกลในแง่ที่ว่าจะ

ไปให้ถึงอย่างเดียว แต่เราต้องผ่อนหนักผ่อนเบา ไม่ให้มันตึง

เกินไป อีกอย่างคือเราต้องรู้จักสังคมว่าอีกหน่อยมันจะเปลี่ยน

ไปแบบไหนในอนาคต ซึ่งมันเป็นแค่เรื่องข้างในส่วนตัวที่เรา

จินตนาการส่วนตัว อันนี้เราก็ไม่รู้ว่าจะเป็นยังไง แต่เรามีเป้า

หมาย แต่เป้าหมายเนี่ยมันไมไ่ด้เป็นเกมให้เราไปเล่นกับมัน

ชัดเจน คือมันเป็นเรื่องของการอธิษฐานอะไรบางอย่างมากก

ว่ามั้ง ที่แบบว่า เออเราก็หวังเหมือนกันนะที่จะไปให้ถึงตรงนั้น

หนะ แต่เราพูดออกมาไม่ไ่ด้หลอก

Q : พี่กรกฤชคิดว่าวงการถ่ายภาพปัจจุบันเนี่ย ในอนาคตมัน

น่าจะเป็นไปในทิศทางไหนครับ ?

A : เราว่าถ้าในเรื่องการแข่งขันของทางธุรกิจเราว่ามีแน่นอน

เลยนะ เพราะโฟโต้ตอนนี้มันก็กลายไปเป็นดิจิตอลไปหมด

แล้ว คือแทบจะง่ายมากสำาหรับคนใหม่ๆที่จะเข้ามาแทรก

เพียงแต่ว่าคนที่สร้างงานเนี่ยมันต้องมีจุดยืนที่แข็งในแง่ของ

ความเชื่อ หรือว่าคนที่ยังชอบการถ่ายภาพแบบฟิล์มเนี่ย เรา

ก็เชื่อว่ามันยังอยู่นะ คงไม่มีทางที่มันจะหายไปแน่นอน เพียง

แต่ว่ามันอาจจะมีการเปลี่ยนแบบการนำาเสนอกับตัวงานฟิล์ม

เนี่ย ก็ลองไปคิดเอาดูว่าจะเอามาปรับใช้กับตัวเรากับสิ่งที่มัน

เป็นอยู่ยังไงคือมันก็ต้องเลือกเอา นี่เราก็พูดแบบกว้างๆนะ

แต่คือแน่ๆในอนาคตภาพถ่ายมันจะตายแบบเพนท์ติ้ง มัน

อาจจะแบบคือพอถึงจุดนึงแล้ว รูปแบบหนึ่งๆมันก็จะถึงจุด

สูงสุดของมันแล้วมันจะตกไปแล้วก็จะมีอย่างอื่นขึ้นมา แล้ว

ในขณะที่อย่างอื่นขึ้นมาพอถึงจุดนึงแล้วมันก็จะตกไป แล้ว

มันอาจจะเอาเรื่องเก่าขึ้นมาพูดใหม่มันก็เป็นไปได้นะ

Q : แรงบันดาลใจที่มีมาตลอดในการทำางานของพี่กรกฤช

ละครับ ?

A : แนวคิดที่มีมาตลอดเนี่ยคือเราอยากทำาภาพออกมาให้คน

กลับมาคิดถึงความเป็นจริง คือพยายามดึงคนเข้ามาดูแล้ว

ให้คนคิดถึงความเป็นจริง ส่วนครอบครัวเนี่ยเป็นสถาบันส่วน

ความสำาคัญหลักๆเลย แต่ว่าพอโตขึ้นเราจะมองสถาบันนี้

ไปอีกแบบนึงอะไรแบบเนี้ย แต่เรื่องที่สนใจจริงๆคือวัฒนธร

รมเนี่ยแหล่ะ เป็นวัฒนธรรมร่วมสมัยที่มันสะท้อนความเป็น

จริงถึงไอ่ตัวระบบอะไรบางอย่างของมันออกมาให้เราได้เห็น

เนี่ยแหล่ะ

Page 14: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 14

“มันอาจจะแบบคือพอถึงจุดนึงแล้ว รูปแบบหนึ่งๆมันก็จะถึงจุด

สูงสดุของมนัแลว้มนัจะตกไปแลว้กจ็ะมอียา่งอืน่ขึน้มา แลว้ในขณะ

ทีอ่ยา่งอืน่ข้ึนมาพอถงึจดุนงึแลว้มนักจ็ะตกไป แลว้มนัอาจจะเอา

เรื่องเก่าขึ้นมาพูดใหม่มันก็เป็นไปได้นะ” By กรกฤช เจียรพินิจนันท์

Page 15: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 15

Page 16: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 16

InspireThings

Story & Photograph by Watcharaphong Sitthi

OBJECT

Page 17: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 17

12

4

5

6

7

8

9

3

My Gear1 สมุด organize : เอาไว้จดนัดต่างๆ กันลืม

2 แว่นกันแดด : เวลาแดดร้อนๆ ก็หยิบมาใส่

3 กระเป๋าเงิน : ออกบ้านยังไงก็ต้องได้ใช้เงินและพกบัตรสำาคัญๆอื่นๆ

4 พวงกุญแจ : พกไว้เข้าบ้าน

5 i pod : เวลาเดินทางเราชอบฟังเพลง แล้วเผื่อไปฟังบรรยายก็ชอบอัดเสียงเอาไว้ฟังทีหลัง

6 ย่าม : ก็ต้องพกไว้ใส่ของต่างๆ จะได้ไม่

7 สมุดโน็ต : เวลาคิดอะไรออกก็จะจดไว้

8 External : เอาไว้เก็บงานเก็บข้อมูลต่างๆ มันเล็กพกพาสะดวกดี

9 กล้องถ่ายรูป : ชอบถ่ายsnap เวลาเจอสิ่งที่น่าสนใจหรือไม่ก็ใช้ถ่ายตอนดูสถานที่ถ่ายงาน

Page 18: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 18PLACE

In My Place.Story & Photograph by Nathapong Tiyaworabun

สถานที่ใหนในคณะที่ตอนสมัยเรียนเเล้วพี่กรกฤช ใช้ชีวิตส่วยใหญ่อยู่

เเละชอบมากบ้างครับ เราว่าส่วนใหญ่เราชอบ ห้องภาพพิมพ์ตรงห้อง eching

เราต้องทำางานอยู่ในนั้นบางทีก็ไม่ค่อยได้ไปไหน นั่งหน้าห้องไม่ก็ในห้อง เราชอบ

บรรยากาศเเบบส่วนตัว อยู่ที่บ้านเวลาที่ออกมาข้างนอกนาน ๆ ก็จะคิดถึงบ้าน

คึดถึงบรรยากาศที่เราสร้างขึ้นมาส่วนตัว ก็มีตรงนั้นด้วยส่วนนึง อีกส่วนนึงพื้นที่

สาธารณะหน่อยก็ห้องพิมพ์ สมัยเรียนนะ

Page 19: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 19

Page 20: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 20

Object of desire

วัตถุเเห่งความปราถนา

1999 2006 2008

Story & Photograph by Mana Mueanmanas

CULTURE

Page 21: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 21

มันก็เปลี่ยนแปลงไปตามความคิดของ

คนแต่ละกลุ่มที่จะผลักดันพอมาถึงรุ่น

นี้มันก็เป็นหน้าที่ของคนรุ่นนี้แล้วล่ะ

ว่าจะพูด พูดในแง่มุมของคนรุ่นตัวเอง

แบบไหน จริง ๆวัฒนธรรมมันผ่านการ

สื่อสารมาโดยตลอดเราจะสื่อสารผ่าน

อะไรได้บ้าง ผ่านผลงานภาพถ่าย

จิตรกรรม ภาพพิมพ์ หรือศิลปะจัดวาง

หรือผ่านมีเดียผ่านสื่อ ซึ่งตรงนี้เนี่ยเรา

พูดผ่านมันมาแต่ละยุค แต่ละสมัยมา

โดยตลอด

ถ้าเราศึกษาเรื่องประวัติศาสตร์

ศิลปะเราจะเห็นว่า ในยุคนึงเนี่ย ภาพ

ของความเป็นอยู่ของคนในยุคนั้นเนี่ย

มันถูกนำาเสนออะไร ความซับซ้อนของ

โครงสร้างทางสังคม

ความซับซ้อนของความเป็นมนุษย์

ในแต่ละยุคเนี่ย มันถูกนำาเสนอต่าง

กัน ก็เป็นหน้าที่ของคนรุ่นใหม่ ๆที่จะ

ต้องสร้างภาษาของตัวเองขึ้นมาเพื่อ

นำาเสนอมุมมองของวัฒนธรรมที่ตัวเอง

เป็นอยุ่ ในรุ่นของตัวเองด้วย . . .

มองวัฒนธรรมผ่าน object

,object ชิ้นนี้เป็น object of desire

วัตถุแห่งความปรารถนาอันนึง ซึ่งเรา

สามารถมองผ่าน viewfinder ครั้งนึง

เราเคยมองผ่าน viewfinder สิ่งที่อยู่

ตรงข้างหน้ามันค่อนข้างสวยงาม โดย

ผ่านจากตัวเราที่อยู่ในวัยนึง ตอนเด็กๆ

เราก็ไร้เดียงสาเราก็มีมุมมองที่ซื่อใส

บริสุทธิ์ เราก็มองเห็นวัฒนธรรมแบบ

นั้น ทุกอย่างก็เป็นเรื่องของความเป็น

จริงบางอย่าง

พอมายุคนึงเรามองผ่านยุคดิจิตอล

ความฉับพลัน ความรวดเร็วอะไรบาง

อย่าง ที่เราสามารถถ่ายทอดออกมา

ได้เลย มองเห็นแล้วก็เก็บมาได้เลย สิ่ง

รอบข้างเราก็คล้าย ๆ อย่างนั้น

เราเป็น คนรุ่นใหม่ ความเป็นหนุ่ม

สาว พอเราโตขึ้นเราก็ต้องเก็บตรงนี้

ไว้ เพราะบางทีมันเป็นเรื่องของการ

แสดงออกภายนอกมากกว่า เราต้อง

ปรับให้มันเป็นเรื่องของภายใน ไม่ใช่ เป็นเรื่องของภายนอก พี่ว่าวัฒนธรรม

2009 2010 2011

Page 22: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 22

Next issue Apirl 2012

Page 23: INSPIRE MAGAZINE Vol.1

| INSPIRE* 23

Special ThanksKornkrit Jianpinidnan กรกฤช เจียรพินิจนันท์

Credit1.A garden of statues in the Louvre, 2010 [ COVER ]

2.Invisible man: leave, 2006, A ghost story, Art center, Chulalongkorn University, Bangkok [ Page 12 ]

3. installation view, A ghost story, 2006, Art center, Chulalongkorn University, Bangkok [ Page 13 ]

4.installation view, There’s only one sun, 2008, Noppakhunkiri exhibition at Thailand Creative & Design Center, Bangkok

5. Eden at Guy’s soda, 1999, Guy’s soda Shop, Siam Center, Bangkok [ Page 20 ]

6. Home, 2006, A ghost story exhibition, Art center, Chulalongkorn University, Bangkok [ Page 20 ]

7. Worry and Love (erasing process no. 7 /08) [ Page 20 ]

8. EMO, Selected images from 2007- 2009, In the White field ”I long for a zebra”, 2009, exhibition at Gallery Ver, Bangkok

[ Page 21 ]

9. - Living in History, 2010, Site specific Installation at Jim Thompson Art on farm project, Jim Thompson’s artist in resident, Ta-

kob village, Nakorn Ratchasima [ Page 21 ]

10. atlas, 2011, Re-Reading Khun Chang Khun Phaen, Jim Thompson Art Center, Bangkok [ Page 21 ]

content pics

- smoking flower 2010

- B S F B I F W, 2005

[ Photograph in issue personal work ]

Group EditorNathapong Tiyaworabun ณัฐพงษ์ ติยะวรบุญ Sataporn Phornchaicharoen สถาพร พรชัยเจริญMana Mueanmanas มานา เหมือนมนัส Watcharaphong Sitthi วัชรพงศ์ สิทธิ

Page 24: INSPIRE MAGAZINE Vol.1