ict moe master plan 2557 - 2559

79
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557 - 2559 เสนอ กระทรวงศึกษาธิการ จัดทําโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร พฤษภาคม 2556 (ฉบับปรับปรุง)

Upload: boonlert-aroonpiboon

Post on 17-Jan-2015

1.919 views

Category:

Education


7 download

DESCRIPTION

(ร่าง) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557 - 2559

TRANSCRIPT

Page 1: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

(ราง)

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพ่ือการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. 2557 - 2559

เสนอ

กระทรวงศึกษาธิการ

จัดทําโดย

มหาวิทยาลัยศิลปากร

พฤษภาคม 2556 (ฉบับปรับปรุง)

Page 2: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

สารบัญ

หนา บทสรุปสําหรับผูบริหาร……………………………………………………………………………………………………………………. 1 บทที่ 1. บทนํา……………………………………………………………………………………………………………………….……….. 6

ภาพรวมสถานภาพการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร…………………………………….. 6 บทที่ 2. ทิศทางการการพัฒนาคุณภาพการศึกษา……………………………………………………………………………….. 9

การประเมินการใชแผนแมบท ICT พ.ศ. 2554-2556 กระทรวงศึกษาธิการ………………………………………. 21 สรุปผลการวิเคราะห SWOT………………………………………………………………………………………………………… 22

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน……………………………………………………………………………………………………. 24 นิยามคําศัพท……………………………………………………………………………………………………………………………… 24 วิสัยทัศน……………………………………………………………………………………………………………………………………. 26 พันธกิจ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 26 เปาหมาย…………………………………………………………………………………………………………………………………… 26 ยุทธศาสตร………………………………………………………………………………………………………………………………… 27

ยุทธศาสตรที่ 1. ยกระดับความสามารถของผูสอนและบุคลากรทางการศึกษาฯ…………………………………. 27

ยุทธศาสตรที่ 2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนการสอนและการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกส……………… 28 ยุทธศาสตรที่ 3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ…………………………. 29 ยุทธศาสตรที่ 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ……………………………………………….. 30 ยุทธศาสตรที่ 5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการศึกษา…………… 31

บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน………………………………………………………………………………………………… 33 แนวทางการบูรณาการสารสนเทศเพื่อการศึกษา…………………………………………………………………………….. 33 แนวทางการบูรณาการสื่อการเรียนรู…………………………………………………………………………………………….. 36 โครงการที่จําเปนตอการบูรณาการ……………………………………………………………………………………………….. 39

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) ………………………………………………………………………………………… 41 โครงสรางพื้นฐานดานเครือขายความเร็วสูง (Infrastructure)………………………………………………………….. 41 การบูรณาการเครือขาย……………………………………………………………………………………………………………….. 49 บริการอิเล็กทรอนิกส (e-Services)………………………………………………………………………………………………. 52 การบูรณาการทรัพยากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ…………………………………………………………………………. 52

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม………………………………………………………………………………………. 58 โครงสรางการบริหาร…………………………………………………………………………………………………………………… 59 ปจจัยเกื้อหนุนตอความสําเร็จ………………………………………………………………………………………………………. 64

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก. รางพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 1

Page 3: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทสรุปสําหรับผูบริหาร (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 1

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

ความนํา

พิจารณาจากภาพรวมกระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงศึกษาธิการต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน ที่ไดรับการพัฒนาข้ึนมาอยางตอเน่ืองในตางวาระตางเหตุผลของการใชงาน และตามความจําเปนในแตละชวงเวลาจะมีลักษณะที่เรียกวา “Silo Architecture” ทําใหแตละหนวยงาน ยังตองการความสามารถในการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนหรือบูรณาการขอมูลระหวางกัน แมปจจุบันจะมีการวางแผนพัฒนาระบบ ICT ที่สามารถเอื้อตอการบูรณาการ พรอมกับมีการกําหนดทิศทางการสงผานขอมูลสารสนเทศเขาสูสวนกลางอยางเปนรูปธรรม แตในทางปฏิบัติยังคงตองใชเวลาในการจัดเก็บขอมูลจากหลากหลายระบบและหลากหลายหนวยงาน ทําใหการประมวลผลขอมูล การออกรายงานเพื่อการบริหารและการตัดสินใจของผูบริหาร หลายสวนยังอาจตองใชขอมูลเชิงประจักษ เพราะขอมูลในระบบ ICT อาจไมถูกตองทันสมัย (Update) จึงเกรงจะเปนการลดความนาเช่ือถือในผลการวิเคราะหที่มีตอภาพรวมการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งน้ียังรวมถึงการพัฒนาสื่อการเรียนรูและการเขาถึงแหลงความรู ที่สวนใหญยังคงตองใชบริการหองสมุดที่เพียบพรอมไปดวยหนังสือตําราเรียนกระดาษ ที่ไมสามารถสงเสริมการเรียนรูในลักษณะทุกที่ทุกเวลาไดอยางเต็มที่ตามสมัยนิยม นอกจากน้ียังมีความตองการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พอสรุปไดดังน้ี

1. ความตองการดานนโยบายการดําเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีความเปนเอกภาพ ทุกองคกรหลัก หนวยงานในสังกัด และในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถนําไปใชกําหนดทิศทางการดําเนินงานและการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่มีผลตอการปฏิบัติไดอยางเสมอภาคเทาเทียมกัน

2. ความตองการดานเครื่องมืออุปกรณและเครือขาย เน่ืองจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว สงผลใหเครื่องมืออุปกรณและการใชงานในเครือขาย ตองพัฒนาและปรับปรุงใหทันสมัยตลอดเวลา แมในอดีตจะเคยมีการจัดสรรเครื่องมืออุปกรณและการวางเครือขาย เพื่อรองรับการขยายตัวทางการศึกษา แตก็ไมทันความตองการที่เปลี่ยนแปลงมากข้ึนอยางกาวกระโดด

3. ความตองการดานระบบสารสนเทศและฐานขอมูลทางการศึกษา ที่มีความถูกตอง สมบูรณ ทันสมัย ทันตอการใชงาน และทุกฝายไดใชประโยชนรวมกันในการบริหารจัดการ การสืบคน การอางอิง ตลอดจนถึงการนําไปใชรวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวและบัตรสมารทการด ในการติดตอกับทางราชการและการดําเนินชีวิตประจําวัน ทดแทนการใชเอกสารกระดาษ

4. ความตองการสื่อการเรียนรูที่ทันสมัย ที่มีวิธีการนําเสนอที่กระตุนความสนใจของผูเรียน ซึ่งสวนใหญเปนเยาวชนคนรุนใหม ที่สามารถตอบโตหรือมีปฏิสัมพันธในระหวางการเรียนรูไดอยางสนุกสนาน ใชงานรวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวไดอยางสะดวกทุกที่ทุกเวลา ทดแทนการพัฒนาและใชสื่อการเรียนรูในลักษณะเดิม ที่มักดัดแปลงมาจากเน้ือหาสาระการนําเสนอบนกระดาษใหเปนแบบอิเล็กทรอนิกสธรรมดาที่ยังคงมีใชงานอยูในปจจุบัน

5. ความตองการดานบุคลากรในสวนที่มีความขาดแคลน เชน การดูแลระบบเครือขายและคอมพิวเตอรในศูนยคอมพิวเตอรของสถานศึกษา เปนตน เน่ืองจากงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มักเปนเพียงงานฝากที่ไมตรงกับตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบตามสายงาน จึงไมคอยมีความกาวหนาตอ

Page 4: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทสรุปสําหรับผูบริหาร (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 2

การทํางานประจํา (Carrier Path) อีกทั้งการบริหารจัดการสวนใหญ มักเปนเรื่องดูแลการจัดเก็บและจัดสงขอมูล ซึ่งตองการความละเอียดถ่ีถวนในการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ที่ตองใชเวลามากในการดําเนินงานแตผูบริหารมักมองไมเห็นผลงาน

6. ความตองการดานงบประมาณที่กระทรวงศึกษาธิการอาจไดรับการจัดสรรจากทุกรัฐบาลอยางตอเน่ือง แตในทางปฏิบัติก็ยังไมเพียงพอ เพราะสาเหตุที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ว จึงจําเปนตองมีการลงทุนเพิ่มเติมอยูตลอดเวลา อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพศึกษาเพื่อใหเกิดความเทาเทียม ทั่วถึง สงผลใหผู เรียนตองไดรับการดูแลอยางเสมอภาคกัน ซึ่งมีผลตอการใชงบประมาณเพิ่มข้ึนตลอดเวลา

หลักการแนวคิด

นอกเหนือจากการประเมินผลการใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับเดิม) ประกอบกับการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคาม (SWOT analysis) ที่มีผลตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาแลว ยังมีการศึกษาทบทวนทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับประเทศ เพื่อประกอบการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2557-2559 ดังน้ี

1. การบูรณาการยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) 2. ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน 3. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559 4. แผนการศึกษาแหงชาติ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ปรับปรุงครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2555-2559) 5. (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สําหรับการศึกษาของประเทศไทย พ.ศ. 2556 –

2563 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 6. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ประเทศไทย (IT2020) 7. นโยบายรัฐบาล น.ส.ย่ิงลักษณ ชินวัตร 8. นโยบายรัฐมนตรี นายพงศเทพ เทพกาญจนา 9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 10. แผนปฏิบัติราชการ 4 ป (พ.ศ. 2555-2558) ของกระทรวงศึกษาธิการ 11. พระราชบัญญัติการศึกษาพ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 12. การมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21

ภาพรวมแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการศึกษา รายละเอียดการดําเนินงานตามแผนแมบทฯ พอสรุปไดดังน้ี

วิสัยทัศน : ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดวยการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

Page 5: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทสรุปสําหรับผูบริหาร (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 3

พันธกิจ :

1. ผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีศักยภาพดานการพัฒนา และการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส 3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการและการบริการดานการศึกษา 5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

เปาหมาย :

เพื่อที่จะยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูไดทุกที่ทุกเวลา ดวยการใชประโยชนจากการบูรณาการเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ใชอยูในชีวิตประจําวัน มีความทันสมัยสามารถติดตอสื่อสารกันไดอยางสะดวก หรือที่เรียกวา “Ubiquitous Learning” ตลอดจนถึงการสรางหองเรียนแหงอนาคต (Future Class room) เพื่อสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อใหผูเรียนเปนศูนยกลางของการศึกษาใน 3 มิติ คือ

1. การเขาถึงแหลงเรียนรู (Enabling) คือ เพิ่มศักยภาพการศึกษาคนควาและการเขาถึงแหลงเรียนรูแบบออนไลน (Online)

2. การเรียนรูทุกที่ทุกเวลา (Engaging) คือ เพิ่มประสบการณการเรียนรูโดยไมขาดความตอเน่ืองดวยการใชอุปกรณสวนตัวที่ทันสมัย (BYOD : Bring Your Own Device)

3. ความหลากหลายของการเรียนรู (Empowering) คือ เพิ่มความสามารถและอิสระในการเลือกวิธีการและสื่อการเรียนรูในหลากหลายรูปแบบในหองเรียนแหงอนาคต (Future Class room)

ยุทธศาสตร

ยุทธศาสตรที่ 1. ยกระดับความสามารถของผูสอนและบุคลากรทางการศึกษา ในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

เปาประสงค : ผูสอนและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาศักยภาพในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

ยุทธศาสตรที่ 2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกส เปาประสงค : มีสื่อเน้ือหาสาระการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกสสนับสนุนการเรียนรูอยางเหมาะสม

ตามหลักสูตร ยุทธศาสตรที่ 3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อขยายโอกาส

การเขาถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต เปาประสงค : มีการจัดสรรคลื่นความถ่ีและโครงสรางพื้นฐานในการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุ

โทรทัศน และระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่สามารถใหบริการการศึกษาไดอยางทั่วถึงและมีเครื่องมืออุปกรณที่เพียงพอ

Page 6: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทสรุปสําหรับผูบริหาร (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 4

ยุทธศาสตรที่ 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการบริการ

เปาประสงค : มีคลังขอมูลและระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการบริการดานการศึกษา

ยุทธศาสตรที่ 5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการศึกษา เปาประสงค : มีผลงานการวิจัยพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา

แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน

ในทางปฏิบัติ จําเปนตองกําหนดรายละเอียดและวิธีปฏิบัติ เฉพาะมาตรการที่เกี่ยวของกับบริบทของแตละ

หนวยงานเอง ซึ่งรวมถึงการกําหนดมาตรการยอยกับโครงการที่จําเปนเพิ่มเติม เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามเปาประสงคของแตละยุทธศาสตร ดวยความเปนเอกภาพของทุกหนวยงานที่จะตอบสนองภาพรวมการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ สวนมาตรการที่เกี่ยวของกับการบูรณาการ จําเปนจะตองมีการประสานความรวมมือและดําเนินงานรวมกันระหวางหนวยงานในสังกัดและในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งประกอบดวย

แนวทางการบูรณาการสารสนเทศเพื่อการศึกษา

แนวทางการบูรณาการสื่อการเรียนรู

เทคโนโลยีเพื่อการบูรณาการสารสนเทศและสื่อการเรียนรู

โครงการที่จําเปนตอการบูรณาการ

แนวทางการบูรณาการระบบเครือขาย

การบริหารจัดการและกํากับติดตาม

การขับเคลื่อนยุทธศาสตรและมาตรการตางๆ ตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 ใหสามารถดําเนินการสําเร็จภายใตทรัพยากรดานเวลา บุคลากร และงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัด ซึ่งมีผลกระทบตอการบริหารจัดการ การกํากับติดตาม และการประเมินผลการประยุกตใชระบบ ICT ขององคกรหลัก หนวยงานในสังกัด และหนวยงานในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ ควรจะดําเนินการตามองคประกอบที่สําคัญในเบื้องตนคือ

1. การกําหนดนโยบาย 2. การสรางความรับรูเกี่ยวกับแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. การกําหนดระดับการบริหาร โดยมีโครงสรางการบริหารแบงออกเปน 2 ประเด็นคือ

3.1 การบริหารจัดการและกํากับติดตามระบบโครงขายพื้นฐาน (Network Infrastructure) 3.2 ประเด็นที่ 2. การบริหารจัดการและกํากับติดตามทั่วไป

4. การสงเสริมสนับสนุนศักยภาพการดําเนินงาน

Page 7: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทสรุปสําหรับผูบริหาร (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 5

ปจจัยเก้ือหนุนตอความสําเร็จ

1. ผูบริหาร/ผูมีอํานาจตัดสินใจของกระทรวงฯ ตองใหความสําคัญและความรวมมือ 2. ความเขาใจในข้ันตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Implementation) 3. ประสิทธิภาพของระบบเครือขาย 4. การบูรณาการระบบสารสนเทศ 5. กฎเกณฑ ระเบียบ หรือขอตกลงเพื่อการบริหารงานรวมกัน 6. ผลประโยชนที่เกิดข้ึนรวมกัน 7. กําลังใจในการพัฒนา 8. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 8: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 1. บทนํา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

6

บทท่ี 1. บทนํา

กระทรวงศึกษาธิการ เปนองคกรหลักในการผลิตและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติ เพื่อสรางความเปนอยู

ที่ดี สรางความมั่งค่ังทางดานเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคมใหกับประเทศ ดวยฐานความรู ความคิดสรางสรรค และศักยภาพของประเทศ โดยมีพันธกิจในการพัฒนา ยกระดับ และจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ และขีดความสามารถใหประชาชนไดมีอาชีพที่สามารถสรางรายไดที่มั่งค่ังและมั่นคง เพื่อใหเปนบุคลากรที่มีวินัยเปยมไปดวยคุณธรรม จริยธรรม มีสํานึกความรับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่น และสังคม

ตลอดระยะเวลาที่ผานมา กระทรวงศึกษาธิการมีการพัฒนาและประยุกตใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร (ICT) เพื่อรองรับการบริหารจัดการภายในองคกร สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรูที่ทันสมัยของสถานศึกษาในสังกัดไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยดําเนินงานตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2554-2556 ซึ่งกําลังจะหมดวาระในปงบประมาณ 2556 ดังน้ัน เพื่อความตอเน่ืองในการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่สามารถสนับสนุนการยกระดับการพัฒนาคุณภาพศึกษาของประเทศใหสูงย่ิงข้ึนไป จึงไดจัดใหมีโครงการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 โดยการศึกษาวิเคราะหสถานภาพการดําเนินงานและความตองการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามแนวทางพอสังเขปดังน้ี

1. ศึกษาและวิเคราะหแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ.2554 – 2563 ของประเทศไทย (ICT 2020 Conceptual Framework) แผนปฏิบัติการสําหรับยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) แผนปฏิบัติการการเขาสูประชาคมอาเซียนป 2558 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับการศึกษาของประเทศไทย พ.ศ. 2556 - 2563 การมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ตลอดจนถึงนโยบายของรัฐบาลในสวนที่เกี่ยวของกับการศึกษา

2. ศึกษาและวิเคราะหแนวทางการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ จากการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ตลอดชวงอายุของการใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา (ฉบับเดิม)

3. ประชุมหารือการประเมินผลการใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา (ฉบับเดิม) ตลอดจนถึงการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคาม (SWOT Analysis) ที่มีผลกระทบตอการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ภาพรวมสถานภาพการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ภาพรวมการดําเนินงานดาน ICT ของกระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาจากโครงสรางและกระบวนการบริหาร

ซึ่งประกอบดวย 5 องคกรหลัก คือ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จะเห็นไดวาการใช ICT ในภาพรวม สามารถรองรับการบริหารจัดการและการดําเนินพันธกิจของแตละ

Page 9: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 1. บทนํา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

7

องคกรหลักไดดีในระดับหน่ึง อยางไรก็ตาม การขยายตัวทางการศึกษาในปจจุบันมีการเติบโตข้ึนอยางกาวกระโดด มีการขยายภารกิจ ปรับปรุงยุทธศาสตร และขอบเขตการดําเนินงานดานการศึกษาออกไปอยางกวางขวาง ซึ่งเปนผลมาจากความต่ืนตัวในการเห็นความสําคัญดานการศึกษาของประชาชน และการสนับสนุนเชิงนโยบายของภาครัฐ สงผลกระทบถึงความคาดหวังของทุกฝายที่มีตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่จําเปนจะตองมีตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย ระบบสารสนเทศและขอมูลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู ตองมีความสะดวกรวดเร็วในการใชงาน ดวยความเช่ือมั่นในความถูกตอง เหมาะสม โปรงใส ตรวจสอบได และมีธรรมาภิบาล

เน่ืองจากกระบวนการพัฒนาระบบ ICT ของกระทรวงศึกษาธิการต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน ไดรับการ

พัฒนาข้ึนมาอยางตอเน่ืองในตางวาระตางเหตุผลของการใชงาน และตามความจําเปนในแตละชวงเวลา หรือมีลักษณะที่เรียกวา “Silo Architecture” ซึ่งเปนเรื่องปกติที่พบเห็นไดทั่วไปในองคกรขนาดใหญ ที่มีภารกิจเรงรัดและมีผลกระทบตอผูเกี่ยวของจํานวนมหาศาลอยางกระทรวงศึกษาธิการ ทําใหระบบ ICT ของแตละหนวยงาน ยังตองการความสามารถในการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนหรือบูรณาการขอมูลระหวางกัน แมปจจุบันจะมีการวางแผนพัฒนาระบบ ICT ที่สามารถเอื้อตอการบูรณาการ พรอมกับมีการกําหนดทิศทางการสงผานขอมูลสารสนเทศเขาสูสวนกลางอยางเปนรูปธรรม แตในทางปฏิบัติยังคงตองใชเวลาในการจัดเก็บขอมูลจากหลากหลายระบบและหลากหลายหนวยงาน ทําใหการประมวลผลขอมูลเพื่อการวิเคราะห การออกรายงานเพื่อการบริหารและการตัดสินใจของผูบริหาร หลายสวนยังอาจตองใชขอมูลเชิงประจักษ เพราะขอมูลในระบบ ICT อาจไมถูกตองทันสมัย (Update) จึงเกรงจะเปนการลดความนาเช่ือถือในผลการวิเคราะหที่มีตอภาพรวมการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ดังจะสังเกตไดจากบางกรณีที่จําเปนตองมีการจัดเก็บรวบรวมขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งกวาจะดําเนินการแลวเสร็จ ขอมูลที่ไดรับอาจกลายเปนขอมูลที่ลาสมัยไมเปนปจจุบัน หรือมีความคลาดเคลื่อนจากสภาพการณที่เปนจริง ทั้งน้ียังรวมไปถึงการพัฒนาสื่อการเรียนรูและการเขาถึงแหลงความรู ที่สวนใหญยังคงตองใชบริการหองสมุดที่เพียบพรอมไปดวยหนังสือตําราเรียนกระดาษ ที่ไมสามารถสงเสริมการเรียนรูในลักษณะทุกที่ทุกเวลาไดอยางเต็มที่ตามสมัยนิยม นอกจากน้ียังมีความตองการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พอสรุปไดดังน้ี

1. ความตองการดานนโยบายการดําเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีความเปนเอกภาพ ทุกองคกรหลัก หนวยงานในสังกัด และในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถนําไปใชกําหนดทิศทางการดําเนินงานและการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่มีผลตอการปฏิบัติไดอยางเสมอภาคเทาเทียมกัน

2. ความตองการดานเครื่องมืออุปกรณและเครือขาย เน่ืองจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว สงผลใหเครื่องมืออุปกรณและการใชงานในเครือขาย ตองพัฒนาและปรับปรุงใหทันสมัยตลอดเวลา แมในอดีตจะเคยมีการจัดสรรเครื่องมืออุปกรณและการวางเครือขาย เพื่อรองรับการขยายตัวทางการศึกษา แตก็ไมทันความตองการที่เปลี่ยนแปลงมากข้ึนอยางกาวกระโดด

3. ความตองการดานระบบสารสนเทศและฐานขอมูลทางการศึกษา ที่มีความถูกตอง สมบูรณ ทันสมัย ทันตอการใชงาน และทุกฝายไดใชประโยชนรวมกันในการบริหารจัดการ การสืบคน การอางอิง ตลอดจนถึงการนําไปใชรวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวและบัตรสมารทการด ในการติดตอกับทางราชการและการดําเนินชีวิตประจําวัน ทดแทนการใชเอกสารกระดาษ

4. ความตองการสื่อการเรียนรูที่ทันสมัย ที่มีวิธีการนําเสนอที่กระตุนความสนใจของผูเรียน ซึ่งสวนใหญเปนเยาวชนคนรุนใหม ที่สามารถตอบโตหรือมีปฏิสัมพันธในระหวางการเรียนรูไดอยางสนุกสนาน ใชงาน

Page 10: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 1. บทนํา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

8

รวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวไดอยางสะดวกทุกที่ทุกเวลา ทดแทนการพัฒนาและใชสื่อการเรียนรูในลักษณะเดิม ที่มักดัดแปลงมาจากเน้ือหาสาระการนําเสนอบนกระดาษใหเปนแบบอิเล็กทรอนิกสธรรมดาที่ยังคงมีใชงานอยูในปจจุบัน

5. ความตองการดานบุคลากรในสวนที่มีความขาดแคลน เชน การดูแลระบบเครือขายและคอมพิวเตอรในศูนยคอมพิวเตอรของสถานศึกษา เปนตน เน่ืองจากงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มักเปนเพียงงานฝากที่ไมตรงกับตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบตามสายงาน จึงไมคอยมีความกาวหนาตอการทํางานประจํา (Carrier Path) อีกทั้งการบริหารจัดการสวนใหญ มักเปนเรื่องดูแลการจัดเก็บและจัดสงขอมูล ซึ่งตองการความละเอียดถ่ีถวนในการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ที่ตองใชเวลามากในการดําเนินงานแตผูบริหารมักมองไมเห็นผลงาน

6. ความตองการดานงบประมาณที่กระทรวงศึกษาธิการอาจไดรับการจัดสรรจากทุกรัฐบาลอยางตอเน่ือง แตในทางปฏิบัติก็ยังไมเพียงพอ เพราะสาเหตุที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ว จึงจําเปนตองมีการลงทุนเพิ่มเติมอยูตลอดเวลา อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพศึกษาเพื่อใหเกิดความเทาเทียม ทั่วถึง สงผลใหผูเรียนตองไดรับการดูแลอยางเสมอภาคกัน ซึ่งมีผลตอการใชงบประมาณเพิ่มข้ึนตลอดเวลา

การจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-

2559 มีลําดับการนําเสนอรายละเอียด ดังน้ี

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเปนการศึกษาทบทวนแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับประเทศ

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน ซึ่งเปนการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร และมาตรการดําเนินงานในแผนแมบทฯ

บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน ซึ่งเปนการแนะนําแนวทางการดําเนินงานในทางปฏิบัติ โดยสวนใหญจะเนนการบูรณาการระบบสารสนเทศ ฐานขอมูล และสื่อการเรียนรูเพื่อการศึกษา

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) ซึ่งเปนการแนะนําแนวทางการบูรณาการโครงขายความเร็วสูง (Network Infrastructure) เพื่อใหบริการชองทางการเช่ือมโยงขอมูลสารสนเทศและสื่อการเรียนรูระหวางองคกรหลัก หนวยงาน และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม ซึ่งเปนแนวทางการบริหารระบบเครือขาย และการบริการจัดการดานอื่น ในรูปแบบของคณะกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทํางาน รวมทั้งปจจัยเกื้อหนุนตอความสําเร็จ

Page 11: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

9

บทท่ี 2. ทิศทางการการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

การวางแผนยกระดับพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสรางโอกาสทางการศึกษาใหประชาชนไดเรียนรูตลอด

ชีวิต ใหมีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญา มีจิตสํานึกของความเปนไทย มีความเปนพลเมืองที่ดี ตระหนักและรูคุณคาของขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมที่ดีงาม มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองตอทิศทางการพัฒนาประเทศ การจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เพื่ อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 โดยมีเปาหมายที่จะตอบสนองทุกฝายที่เกี่ยวของ (Stakeholders) ทั้งในดานการบริหารจัดการและการเรียนการสอน ซึ่งเอื้อตอการเขาถึงสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ สะดวก ปลอดภัย มีความนาเช่ือถือ สามารถลดเวลาและความซ้ําซอนในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษา สงเสริมแลกเปลี่ยนเรียนรูและการเรียนการสอนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การอาชีวศึกษา การอุดมศึกษา การศึกษาตามอัธยาศัยหรือการเรียนรูตลอดชีวิต (Life Long Learning) จึงไดมีการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ เพื่อความสอดคลองตอการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในภาพรวมของประเทศ ซึ่งในที่น้ีจะคัดกรองและนําเสนอเฉพาะสาระสําคัญที่เกี่ยวของกับการพัฒนาระบบ ICT เพื่อการศึกษา พอสรุปไดดังน้ี

1. การบูรณาการยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) ในประเด็นการลดความเหลื่อมล้ํา (Inclusive Growth) โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กําหนดให

กระทรวงศึกษาธิการเปนผูรับผิดชอบในการปฏิรูปการศึกษา (ครู หลักสูตร เทคโนโลยี การดูแลเด็กกอนวัยเรียน และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระบบการศึกษา เชน แท็บเล็ต และอินเทอรเน็ตไรสาย เปนตน)

แผนพัฒนากําลังคนของประเทศ (ขาราชการ นักศึกษา แรงงาน)

แผนพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษา เปาหมาย/ตัวชี้วัด

ปการศึกษาเฉลี่ยอยูที่ 15 ป

อัตราการอานออกเขียนไดอยูที่รอยละ 100

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานเพิ่มข้ึนรอยละ 4 ตอป

สถานศึกษาผานการรับรองคุณภาพมาตรฐานจาก สมศ. รอยละ 100

สัดสวนผูเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษา : สามัญศึกษา เปน 50:50

2. ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตรท่ี 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพ่ือใหมีมาตรฐานการศึกษาอาเซียน รวมท้ังทักษะ ฝมือ

และภาษา โดยพัฒนา/สนับสนุนการใชเทคโนโลยี ICT เพ่ือเปนเครื่องมือในการเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรู

แนวทางการดําเนินงานดานการศึกษา

Page 12: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

10

1. การพัฒนาและยกระดับทักษะภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาตางประเทศอื่น และการจัดทํามาตรฐานการใชภาษาไทย และหลักเกณฑการทับศัพทภาษาของประเทศในกลุมอาเซียน

2. การสรางความตระหนักรูและการเสริมสรางอัตลักษณความเปนประชาคมอาเซียน 3. การรณรงคเพื่อการรูหนังสือเพื่อแกไขปญหาการอานออกเขียนไดของประชากรอาเซียน 4. การพัฒนาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ และสรางเครือขายความรวมมือ

เพื่อสรางความเขมแข็งทางวิชาการ และรองรับการแลกเปลี่ยน/ถายโอนหนวยการเรียน และเปดเสรีและการลงทุนดานการศึกษาในอาเซียน

5. การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตและสราง/สงเสริมสนับสนุนศูนยการเรียนรูในอาเซียน 6. การผลิตและพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีทักษะความรูและสมรรถนะในการประกอบอาชีพที่

เช่ือมโยงกับโครงสรางการผลิตและบริการตามความตองการของตลาดแรงงาน เปาหมาย/ตัวชี้วัด

ทุกคนสามารถอานออกเขียนไดและไดรับการพัฒนาศักยภาพดานทักษะภาษาอังกฤษและภาษาตางประเทศอื่นไดเพิ่มข้ึน

คนไทยมีความรูความเขาใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม และเรียนรูที่จะอยูรวมกันภายใตกลุมประชาคมอาเซียนเพิ่มข้ึน

สถานศึกษามีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งมาตรฐานการศึกษาของไทยไดรับการยอมรับในระดับอาเซียนและระดับสากล

ผูเรียนมีทักษะความรูและสมรรถนะที่สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานในกลุมประชาคมอาเซียน

แนวทางดําเนินงานดานแรงงาน ขอ 3. การพัฒนาระบบมาตรฐานฝมือแรงงานและมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพที่สอดคลองกับ

มาตรฐานสากล เปาหมาย/ตัวชี้วัด

ระบบมาตรฐานฝมือแรงงานและระบบคุณวุฒิวิชาชีพไดรับการพัฒนาเทียบเทามาตรฐานสากล

3. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 11 พ.ศ. 2555 – 2559 กระทรวงศึกษาธิการมุงเนนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสรางโอกาสทางการศึกษาใหคนไทยไดเรียนรูตลอด

ชีวิต เพื่อใหคนไทยทุกกลุมทุกวัยมีคุณภาพ มีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญา มีจิตสํานึกของความเปนไทย มีความเปนพลเมืองที่ดี ตระหนักและรูคุณคาของขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมที่ดีงาม มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองตอทิศทางการพัฒนาประเทศ จึงไดจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ.2555 – 2559 เพื่อใชเปนกรอบแนวทางการดําเนินงาน ซึ่งมีสาระสําคัญดังน้ี

วิสัยทัศน “คนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ เปนคนดี มีความสุข มีภูมิคุมกัน รูเทาทัน ในเวทีโลก”

พันธกิจ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาสูสากล 2. เสริมสรางโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนอยางทั่วถึงเทาเทียม

Page 13: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

11

3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวน

วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพคนไทย ใหมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงและการ

พัฒนาประเทศในอนาคต 2. เพื่อผลิตและพัฒนากําลังคนรองรับการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพการแขงขันของประเทศ 3. เพื่อสรางองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืน 4. เพื่อใหคนไทยไดเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต 5. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาใหมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีสวน

รวมของทุกภาคสวน ยุทธศาสตรท่ี 1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานผูเรียน ครู คณาจารย บุคลากรทางการศึกษาและ

สถานศึกษา กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน

1. เรงรัดพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผูเรียน 1.4 สงเสริมการผลิตสื่อการเรียนการสอน ตําราเรียนที่มีคุณภาพ รวมทั้งสื่อและตําราเรียน

อิเล็กทรอนิกส ที่มีเน้ือหาสาระที่ทันสมัยในทุกระดับ/ประเภทการศึกษา เพื่อใหผูเรียนศึกษาไดดวยตนเอง

1.5 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนตนแบบทุกสาขาวิชาหลัก และทุกระดับการศึกษา เพื่อใชเปนตนแบบในการจัดการเรียนการสอนในทุกสถานศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานใกลเคียงกัน

ยุทธศาสตรท่ี 3 สงเสริมการวิจัยและพัฒนา ถายทอดองคความรูเทคโนโลย ีนวัตกรรม กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน

1. สงเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา สรางองคความรูเทคโนโลยี นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมและประเทศ 1.1 สรางกลไกการวิจัยและถายทอดองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรมระหวางภาคธุรกิจ

สถานประกอบการกับสถาบันการศึกษา 1.2 สงเสริมการวิจัยและพัฒนาในระดับอุดมศึกษา เพื่อสรางสรรค องคความรู เทคโนโลยี

และนวัตกรรมตอบสนองความตองการของชุมชน สังคมและประเทศ 1.3 พัฒนามหาวิทยาลัยใหมีศักยภาพดานการวิจัยและพัฒนาข้ันสูง 1.4 สงเสริม สนับสนุนการจัดต้ังศูนยบมเพาะวิสาหกิจในสถาบันการศึกษา และพัฒนาศูนย

ความเปนเลิศ เพื่อเปนหนวยวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่จําเปนตอการพัฒนาประเทศ

1.5 สงเสริมการวิจัย ถายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมเพิ่มข้ึน 2. สรางเครือขายความรวมมือดานการศึกษาวิจัยกับองคกร/หนวยงานทั้งในและตางประเทศ

2.1 สงเสริม สนับสนุนใหนักเรียนนักศึกษา ครู คณาจารยในสถาบันการศึกษาดําเนินการวิจัยและพัฒนาสรางองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรม

Page 14: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

12

2.2 สงเสริม สนับสนุนการสรางความรวมมือระหวางภาครัฐ และเอกชนในการสรางงานวิจัยเชิงพาณิชย การถายทอดเทคโนโลยีที่ทันสมัยหรือตอยอดเทคโนโลยี

2.3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู นําเสนอผลงานวิจัยระหวางสถาบันการศึกษาทั้งในและตางประเทศ

3. สงเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อใหบริการรักษาพยาบาลและสงเสริมสุขภาพ 3.1 สงเสริม สนับสนุนการศึกษา วิจัย และสรางองคความรูเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาลและ

การสงเสริมสุขภาพ 3.2 สงเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาดานสาธารณสุขใน

มหาวิทยาลัยในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการความรู

4.1 สงเสริม สนับสนุนใหทุกหนวยงานดําเนินการจัดการความรู อยางเปนระบบ นําไปสูการเปนองคกรแหงการเรียนรู

4.2 พัฒนาระบบจัดเก็บ รวบรวม ขอมูลองคความรู และการใหบริการทางวิชาการ หรือเผยแพรองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมสูสาธารณชนอยางทั่วถึง

4.3 สงเสริม สนับสนุนการถายทอด ถอดองคความรูที่มีอยูในบุคคล ใหเปนองคความรูขององคกรหรือหนวยงานอยางตอเน่ือง

5. พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัย 5.1 พัฒนาศักยภาพนักวิจัย 5.2 สรางเครือขายนักวิจัย 5.3 สงเสริมการวิจัยที่สรางองคความรูใหมทางวิชาการ 5.4 กําหนดทิศทางการวิจัยที่กอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาความรูใหม 5.5 สนับสนุนการนําองคความรู จากการวิจัยไปใชประโยชนในการพัฒนาสังคม ประเทศ

หรือตอยอดในเชิงพาณิชย ยุทธศาสตรท่ี 4 ขยายโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต

กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน 3. พัฒนาคุณภาพเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

3.1 สงเสริมใหผูเรียน สถานศึกษา และหนวยงานทางการศึกษา ทุกระดับ/ประเภทการศึกษาเขาถึงระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

3.2 พัฒนาระบบฐานขอมูลกลางทางการศึกษาใหเปนเอกภาพ มีมาตรฐานเดียวกัน โดยเช่ือมโยงขอมูลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา

3.3 นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเรียนรูอยางเปนระบบ

3.4 จัดใหมีศูนยกลางในการจัดเก็บ รวบรวม และเผยแพรขอมูลสื่อ การเรียนการสอนที่มีคุณภาพ ทันสมัย ไดมาตรฐาน และใชเปนแหลงแลกเปลี่ยนเรียนรู ของผูเรียน ครูและคณาจารย

Page 15: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

13

3.5 รณรงค สงเสริมใหเด็ก เยาวชนและประชาชนเขาถึงและใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรูไดอยางทั่วถึง สรางสรรค และ มีประสิทธิภาพ

3.6 ปรับปรุงหองปฏิบัติการและจัดหาเครื่องคอมพิวเตอรใหกับผูเรียนอยางเพียงพอ ทั่วถึงและเหมาะสมกับการแสวงหาความรูดวยตนเองอยางตอเน่ือง

ยุทธศาสตรท่ี 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัดการศึกษา กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน

3. พัฒนาระบบการวางแผน งบประมาณ ตรวจติดตามและประเมินผลการศึกษาใหไดมาตรฐาน 3.4 พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร สําหรับการติดตามและประเมินผลแผนงาน /โครงการ 3.5 สรางเครือขายเช่ือมโยงฐานขอมูลโดยใชเทคโนโลยีในการจัดทําฐานขอมูล

4. แผนการศึกษาแหงชาติ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ปรับปรุงครั้งท่ี 2 (พ.ศ. 2555-2559)

วัตถุประสงคของแผน 1. พัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุลเพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนาอยางย่ังยืน 2. สรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญานวัตกรรม และการเรียนรู ประชาคมอาเซียน

ประชาคมโลก แนวนโยบาย 2.5 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางทุนปญญาของชาติ นวัตกรรม พัฒนาระบบบริหาร

จัดการความรู และสรางกลไกการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน 3. พัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมใหเปนฐานในการพัฒนาคน และสรางสังคมคุณธรรม ภูมิปญญา

นวัตกรรม การเรียนรู แนวนโยบาย 3.1 พัฒนาและนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาสทางการศึกษา

และการเรียนรูตลอดชีวิต พัฒนาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษา (ICT in Education)

สงเสริมใหมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษามาใชมากข้ึนหลากหลายรูปแบบอยางมีประสิทธิภาพ ไดแกนักเรียนในโรงเรียนทุกช้ันเรียน ทุกสังกัดไดใชคอมพิวเตอรแบบพกพา (Tablet) เชิงสรางสรรคอยางชาญฉลาด มีระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกสแหงชาติ เพื่อการศึกษาไดกวางขวาง นํารองหองเรียนอิเล็กทรอนิกสอินเตอรเน็ตไรสายที่มีคุณภาพ

พัฒนาครูและผูบริหารใหสามารถใชและพัฒนาสาระเพื่อบรรจุในคอมพิวเตอรแบบพกพา (Tablet) ไดอยางมีประสิทธิภาพ

พัฒนาเครือขายสารสนเทศเพื่อการศึกษาพัฒนาระบบไซเบอรโฮม

สงเสริมใหกองทุนเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเรียนรู ดําเนินการตามภารกิจอยางมีประสิทธิภาพและประเมินผลการบริหารกองทุน

5. (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สําหรับการศึกษาของประเทศไทย พ.ศ.

2556 – 2563 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

Page 16: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

14

วิสัยทัศนการศึกษา คนไทยทุกคนสามารถเขาสูการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพได จากการสงเสริมการเขาถึงของ ICT ที่ชวยสนับสนุนการบริหารจัดการระบบขอมูลทางการศึกษาใหดีย่ิงข้ึน และใชประโยชนจาก ICT เปนเครื่องมือสําหรับการเรียนรู และการติดตอสื่อสาร

ยุทธศาสตรการพัฒนา 1. พัฒนาทักษะการเรียนรูของผูเรียนใหสอดรับกับระบบเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีในศตวรรษ

ที่ 21 2. ยกระดับคุณภาพ มาตรฐานของระบบการเรียน การสอน การประเมินผลและระบบบริหารจด

การการศึกษา 3. กระตุนใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนาและใชประโยชนจาก ICT เพื่อการศึกษาอยาง

ย่ังยืน 4. พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการเขาถึง ICT สําหรับการศึกษาที่มีความมั่นคงปลอดภัย สามรถ

ใชงานไดแมในสถานการณฉุกเฉิน 5. สงเสริมการพัฒนาขอมูลดิจิตอล สื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส ทั้งในเชิงคุณภาพและ

ปริมาณ

6. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ประเทศไทย (IT2020) ประเทศไทยในป พ.ศ. 2563 จะมีการพัฒนาอยางฉลาด การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงัคมจะอยูบน

พื้นฐานของความรูและปญญา โดยใหโอกาสแกประชาชนทุกคนในการมสีวนรวมในกระบวนการพัฒนาอยางเสมอภาค นําไปสูการเติบโตอยางสมดุล และย่ังยืน ตามวิสัยทัศน (Smart Thailand 2020) ที่ระบุวา

“ICT เปนพลังขับเคลื่อนสําคัญในการนําพาคนไทย สูความรูและปญญา เศรษฐกจิไทยสูการเติบโตอยางย่ังยืน สังคมไทยสูความเสมอภาค”

โดยมเีปาหมายหลักของการพัฒนา ดังน้ี 1. มีโครงสรางพื้นฐาน ICT ความเร็วสูง (Broadband) ที่กระจายอยางทั่วถึง ประชาชนสามารถ

เขาถึงไดอยางเทาเทียมกนั เสมือนการเขาถึงบริการสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐานทั่วไป โดยใหรอยละ 80 ของประชากรทั่วประเทศ สามารถเขาถึงโครงขายโทรคมนาคมและอนิเทอรเน็ตความเรว็สูงภายในป พ.ศ. 2558 และ รอยละ 95 ภายในป พ.ศ. 2563

2. มีทุนมนุษยที่มีคุณภาพ ในปริมาณที่เพียงพอตอการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูเศรษฐกจิฐานบริการและฐานเศรษฐกิจสรางสรรคไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยประชาชนไมนอยกวารอยละ 75 มีความรอบรู เขาถึง สามารถพฒันาและใชประโยชนจากสารสนเทศไดอยางรูเทาทัน และเพิ่มการจางงานบุคลากร ICT (ICT Professional) เปนไมตํ่ากวารอยละ 3 ของการจางงานทั้งหมด

3. เพิ่มบทบาทและความสําคัญของอุตสาหกรรม ICT (โดยเฉพาะในกลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค) ตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยใหมีสัดสวนมูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT (รวมอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต) ตอ GDP ไมนอยกวารอยละ 18

4. ยกระดับความพรอมดาน ICT โดยรวมของประเทศไทย โดยใหประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่มีการพัฒนาสงูที่สุดรอยละ 25 (Top quartile) ของ Networked Readiness Index

Page 17: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

15

5. เพิ่มโอกาสในการสรางรายไดและมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน (โดยเฉพาะในกลุมผูดอยโอกาสทางสังคม) โดยเกิดการจางงานแบบใหมๆ ที่เปนการทํางานผานสือ่อิเล็กทรอนิกส

6. ทุกภาคสวนในสังคมมีความตระหนักถึงความสําคัญและบทบาทของ ICT ตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา โดยประชาชนไมนอยกวารอยละ 50 ตระหนักถึงความสําคัญและบทบาทของ ICT ตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคมที่เปนมิตรกบัสิ่งแวดลอม

ยุทธศาสตรท่ี 2 พัฒนาทุนมนุษยท่ีมีความสามารถในการสรางสรรคและใชสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรูเทาทัน รวมถึงพัฒนาบุคลากร ICT ท่ีมีความรูความสามารถและความเชี่ยวชาญระดับมาตรฐานสากล

2.5 สรางโอกาสในการเขาถึงและใชประโยชนจาก ICT เพื่อการเรียนรูของเด็กและเยาวชนเพื่อสรางแรงงานในอนาคต ที่มีความรูและทักษะในการใชประโยชนจาก ICT โดยสนับสนุนการแพรกระจายโครงสรางพื้นฐาน ICT ที่จําเปนและเหมาะสมไปยังหองเรียนในทุกระดับ และอบรมทักษะในการใช ICT รวมถึงการพัฒนาและประยุกตใชสื่อ ICT เพื่อการเรียนรูใหกับบุคลากรทางการศึกษาอยางตอเน่ืองพรอมทั้งกําหนดใหสถาบันการศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตองนํา ICT มาใชเปนเครื่องมือในการเรียนการสอนเพิ่มมากข้ึน ปรับปรุงเน้ือหาหรือหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับประถมและมัธยมศึกษา เพิ่มเน้ือหาที่เปนการเสริมสรางทักษะในการใชประโยชนจาก ICT ที่เหมาะสมกับการเรียนรู การดํารงชีวิตและการจางงานในศตวรรษที ่21 โดยใหความสําคัญกับทักษะ 3 ประการคือ

ทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT literacy)

การรอบรู เขาถึง สามารถพัฒนาและใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณ (Information literacy)

การรูเทาทันสื่อ (Media literacy) และใหมีหลักสูตรหรือเน้ือหาเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรมในการใช ICT ความรู ความเขาใจ และความตระหนักถึงผลกระทบของ ICT ตอสิ่งแวดลอมในช้ันเรียนทุกระดับ ทั้งน้ี กําหนดใหทุกสถาบนัการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา ตองจัดใหมีการทดสอบความรูดาน ICT พื้นฐาน (Basic ICT literacy) และความรูภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรียน/นักศึกษากอนจบการศึกษาตามหลักสูตร เพื่อใหนักเรียน/นักศึกษาที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาทุกคนมีความรูและทักษะดาน ICT และภาษาอังกฤษในระดับที่เปนที่ยอมรบัและสามารถเทียบเคียงไดกับมาตรฐานสากล

2.7 สรางโอกาสในการเขาถึงและใชประโยชนจาก ICT สําหรับประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะกลุมผูดอยโอกาส ผูสูงอายุ และผูพิการ โดยใชประโยชนจากศูนยสารสนเทศชุมชน หรือศูนย ICT ชุมชน ในการจัดอบรมความรูดาน ICT ใหแกประชาชนทั่วไปในชุมชน และจัดทําหลักสูตรและจดัอบรมความรูดาน ICT รวมถึงการใช ICT เพื่อการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันใหแกผูสูงอายุ

ยุทธศาสตรท่ี 6 พัฒนาและประยุกต ICT เพ่ือลดความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและสังคมโดยสรางความเสมอภาคของโอกาสในการเขาถึงทรัพยากรและบริการสาธารณะสําหรับ

Page 18: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

16

ประชาชนทุกกลุม โดยเฉพาะบรกิารพ้ืนฐานท่ีจําเปนตอการดํารงชวิีตอยางมีสุขภาวะท่ีดี ไดแก บรกิารดานการศึกษาและบรกิารสาธารณสขุ

6.3 สงเสริมใหมีสื่อดิจิทัลที่สามารถใชประโยชนในการดํารงชีวิต และกระบวนการเรียนรูของประชาชน โดยจัดสรรทรัพยากรการสื่อสารสําหรับโทรทัศนเพื่อการศึกษา การพัฒนาสื่อดิจิทัลในภาษาทองถ่ิน การแปลสื่อหรือหนังสือ การจัดทําสื่อภาษามอืสําหรับผูพิการทางการไดยินพรอมทั้งเรงกําหนดมาตรฐานของประเทศเรื่องรูปแบบของแฟมเอกสารอิเล็กทรอนิกส และสนับสนุนการทํางานในรูปแบบอาสาสมัคร เพื่อสรางสื่อที่เหมาะสมกับชุมชน โดยใชกลไกการทํางานของเครือขายสงัคมออนไลนเปนเครื่องมือในการทํางานรวมกนัของอาสาสมคัร

6.5 สงเสริมใหเกิดชุมชนหรือสังคมเรียนรูออนไลนที่สรางสรรค การจัดทําเว็บทา สื่ออิเล็กทรอนิกสที่หลากหลาย และการรวมกลุมทางสังคมที่เขมแข็ง การสรางเครือขายการเรียนรูระหวางสถาบนัการศึกษา วัด หองสมุด ศูนยการเรียนรูชุมชน เพื่ออํานวยความสะดวกในการเขาถึงแหลงความรูหรือขอมูลที่ เปนประโยชน และกระตุนใหเกิดการเผยแพร แลกเปลี่ยนเรียนรู และตอยอดวิชาการสมยัใหมจากแนวความคิดหรือความรูที่เปนภูมิปญ ญาทองถ่ิน อันจะนําไปสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต การสราง ตอยอด ถายทอด และบูรณาการความรู ที่เหมาะสมกับการพัฒนาชุมชน และสงเสริมใหประชาชนเขาถึง ตระหนัก เขาใจและเคารพในความหลากหลายทางสงัคมและวัฒนธรรมที่มีอยูในประเทศ

7. นโยบายรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ ชินวัตร เพื่อใหการบริหารราชการแผนดินสามารถบรรลุถึงภารกิจและดําเนินไปดวยแนวทางที่กลาวมา รัฐบาลจึงได

กําหนดนโยบายการบริหารราชการแผนดินไวโดยแบงการดําเนินการเปน 2 ระยะ คือ ระยะเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก และระยะการบริหารราชการ 4 ปของรัฐบาล เพื่อใหมีการพัฒนาอยางมีคุณภาพ สมดุล ย่ังยืน และมีภูมิคุมกันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังตอไปน้ี

1. นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก 1.15 จัดหาเครื่องคอมพิวเตอรแท็บเล็ตใหแกโรงเรียน โดยเริ่มทดลองดําเนินการในโรงเรียนนํา

รองสําหรับระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา พ.ศ. 2555 ควบคูกับการเรงพัฒนาเน้ือหาที่เหมาะสมตามหลักสูตรบรรจุลงในคอมพิวเตอรแท็บเล็ต รวมทั้งจัดทําระบบอินเทอรเน็ตไรสายตามมาตรฐานการใหบริการในสถานศึกษาที่กําหนด โดยไมเสียคาใชจาย

3. นโยบายเศรษฐกิจ 3.6 นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.6.1 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเรงรัดพัฒนาโครงขายสื่อสารความเร็วสูงใหครอบคลุม ทั่วถึง เพียงพอ มีคุณภาพดวยราคาที่เหมาะสม และการแขงขันที่เปนธรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไปสูสังคมแหงความรู ภูมิปญญา นวัตกรรม และความคิดสรางสรรค ชวยลดความเหลื่อมล้ําระหวางสังคมเมืองและชนบท สนับสนุนการเขาถึงขอมูลและขาวสาร ยกระดับคุณภาพการศึกษา เสริมสรางศักยภาพในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล สงเสริมการลดการใชพลังงาน

Page 19: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

17

เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันของประเทศในระยะยาว

3.6.2 สงเสริมการเขาถึงการใชบริการเครือขายอินเทอรเน็ตสาธารณะที่มีการใชงานตามความเหมาะสมโดยไมคิดคาใชจาย ผลักดันใหคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ใชกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชนสาธารณะจัดใหมีบริการเครือขายอินเทอรเน็ตตามมาตรฐานการใหบริการในพื้นที่สาธารณะ สถานที่ราชการ และสถานศึกษาที่กําหนดโดยไมคิดคาใชจาย หรือกําหนดเปนเงื่อนไขใหผูประกอบการจัดใหบริการโทรคมนาคมอยางทั่วถึง

4. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต 4.1 นโยบายการศึกษา

4.1.5 เรงพัฒนาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาใหทัดเทียมกับนานาชาติ โดยใชเปนเครื่องมือในการเรงยกระดับคุณภาพ และการกระจายโอกาสทางการศึกษา จัดใหมีระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกสแหงชาติ เพื่อเปนกลไกในการเปลี่ยนกระบวนทัศนการเรียนรูใหเปนแบบผูเรียนเปนศูนยกลาง และเอื้อใหเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต พัฒนาเครือขายสารสนเทศเพื่อการศึกษา พัฒนาระบบ “ไซเบอรโฮม” ที่สามารถสงความรูมายังผูเรียนโดยระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูง สงเสริมใหนักเรียนทุกระดับช้ันไดใชอุปกรณคอมพิวเตอรแท็บเล็ตเพื่อการศึกษา ขยายระบบโทรทัศนเพื่อการศึกษาใหกวางขวาง ปรับปรุงหองเรียนนํารองใหไดมาตรฐานหองเรียนอิเล็กทรอนิกส รวมทั้งเรงดําเนินการให “กองทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา” สามารถดําเนินการตามภารกิจได

4.1.6 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางทุนปญญาของชาติ พัฒนามหาวิทยาลัยใหมุงสูการเปนมหาวิทยาลัยวิจัยระดับโลก ระดมสรรพกําลังเพื่อพัฒนาระบบเครือขายการวิจัยแหงชาติเพื่อสรางทุนทางปญญาและนวัตกรรม ผลักดันใหประเทศสามารถพึ่งตนเองไดทางเทคโนโลยี เพื่อนําไปสูการสรางรากฐานใหมของเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม จัดต้ังศูนยความเปนเลิศเพื่อการวิจัยสําหรับสาขาวิชาที่จําเปน พัฒนาโครงสรางการบริหารงานวิจัยของชาติ โดยเนนความสัมพันธอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพระหวางองคกรบริหารงานวิจัยกับสถาบันอุดมศึกษา

4.1.7 เพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษยเพื่อรองรับการเปดเสรีประชาคมอาเซียน โดยรวมมือกับภาคเอกชนและสถาบันการศึกษา ในการวางแผนการผลติและพัฒนากําลังคนใหมีคุณภาพและปริมาณเพียงพอ สอดคลองตามความตองการของภาคการผลิตและบริการ เรงรัดการจัดทํามาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพรับรองสมรรถนะการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพ และการจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานใหครบทุกอุตสาหกรรม

6. นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม 6.2 เรงสรางนักวิทยาศาสตร นักวิจัย และครูวิทยาศาสตรใหเพียงพอตอความตองการ

ของประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศอยางมั่นคงและนําพาประเทศไทยเขาสู

Page 20: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

18

ระบบเศรษฐกิจฐานความรูแบบสรางสรรคและนวัตกรรมใหม พัฒนาสายงานการวิจัยเพื่อใหนักวิจัยมีระบบความกาวหนาในวิชาชีพ รวมทั้งพัฒนาแหลงงานดานการวิจัยเพื่อรองรับบุคลากรการวิจัยทั้งในภาครัฐและเอกชน

8. นโยบายรัฐมนตรี นายพงศเทพ เทพกาญจนา การศึกษาเปนหัวใจของการพัฒนาและการแขงขันของทุกประเทศ โดยเฉพาะอยางย่ิง ในยุคปจจุบันการ

แขงขันของประเทศข้ึนอยูกับความรูความสามารถของคน มากกวาจํานวนคนและทรัพยากรเชนในอดีต ซึ่งในการขับเคลื่อนการศึกษาของประเทศ เกี่ยวของกับบุคลากรและผูเรียนจํานวนหลายลานคน ประกอบกับผลสรุปของการศึกษาไทยที่ผานมา คือ “ใชเวลาเรียนมาก เรียนรูไดนอย มีความเครียด และคุณภาพผูสําเร็จการศึกษาตํ่า” ดังน้ัน การขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลดานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใตการบริหารงานของ นายพงศเทพ เทพกาญจนา รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ จึงเนนยํ้าใหดําเนินการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลดานการศึกษาอยางตอเน่ือง ปรับเปลี่ยนแนวทางวิธีการทํางานใหเหมาะสม และตองมีบทบาทในการสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายดานอื่นดวย รวมทั้งมุงเนนใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานใหมากข้ึน ผูบริหารตองใหความสําคัญ และขับเคลื่อนการทํางานอยางจริงจัง สําหรับนโยบายที่ผูบริหารตองใหความสําคัญและขับเคลื่อนการทํางาน มีดังน้ี

1. เรงพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพผูศึกษา 1.5 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศใหเปนประโยชนในการยกระดับคุณภาพการศึกษา ให

นําโรงเรียนตนแบบ หรือโรงเรียนตัวอยางที่สามารถจัดระบบการศึกษาโดยนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชประโยชนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไดดี มาเปนตัวอยาง เพื่อโรงเรียนอื่นนําไปปรับใชเพิ่มข้ึนตอไป

5. การจัดหาเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา (แท็บเล็ต) ในการจัดหาแท็บเล็ตสําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 และช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ตองดูแลใหมีการแขงขันอยางเปนธรรม และโปรงใส รวมทั้งเนนการพัฒนาเน้ือหาสาระเพื่อบรรจุในแท็บเล็ตใหมีความนาสนใจ และสงเสริมการเรียนรูของเด็ก

9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 11 พ.ศ. 2555-2559 การพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ไดกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรและ

แนวทางการพัฒนาที่มีลําดับความสําคัญสูง ดังน้ี วิสัยทัศน

“สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” พันธกิจ

1. สรางสังคมเปนธรรมและเปนสังคมที่มีคุณภาพ ทุกคนมีความมั่นคงในชีวิต ไดรับการคุมครองทางสังคมที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงและเทาเทียม มีโอกาสเขาถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรมอยางเสมอภาค ทุกภาคสวนไดรับการเสริมพลังใหสามารถมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา ภายใตระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปรงใส เปนธรรม

2. พัฒนาคุณภาพคนไทยใหมีคุณธรรม เรียนรูตลอดชีวิต มีทักษะและการดํารงชีวิตอยางเหมาะสมในแตละชวงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนทองถ่ินมีความเขมแข็ง สามารถปรับตัวรูเทาทันกับการเปลี่ยนแปลง

Page 21: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

19

3. พัฒนาฐานการผลิตและบริการใหเขมแข็งและมีคุณภาพบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิปญญา สรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน ปรับโครงสรางการผลิตและการบริโภคใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พรอมสรางความเช่ือมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม

4. สรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน รวมทั้งสรางภูมิคุมกัน เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ

ยุทธศาสตรการพัฒนา 5.2 ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางย่ังยืน

5.2.4 การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต มุงสรางกระแสสังคมใหการเรียนรูเปนหนาที่ของคนไทยทุกคน มีนิสัยใฝรู รักการอานต้ังแตวัยเด็ก และสงเสริมการเรียนรูรวมกันของคนตางวัย ควบคูกับการสงเสริมใหองคกร กลุมบุคคล ชุมชน ประชาชน และสื่อทุกประเภทเปนแหลงเรียนรูอยางสรางสรรค สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย รวมถึงสงเสริมการศึกษาทางเลือกที่สอดคลองกับความตองการของผูเรียน และสรางสังคมแหงการเรียนรูที่มีคุณภาพและสนับสนุนปจจัยที่กอใหเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต

10. แผนปฏิบัติราชการ 4 ป (พ.ศ. 2555-2558) ของกระทรวงศึกษาธิการ

วิสัยทัศน กระทรวงศึกษาธิการเปนองคกรหลักที่ทรงประสิทธิภาพในการสงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษยของชาติ สรางความเปนอยูที่ดี สรางความมั่งค่ังทางดานเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคมใหกับประเทศ ดวยฐานความรู ความคิดสรางสรรค และศักยภาพของประเทศ

พันธกิจ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถใหประชาชนมี

อาชีพที่สามารถสรางรายไดที่มั่งค่ังและมั่นคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรม จริยธรรม มีสํานึกความรับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่นและสังคม

2. เสริมสรางโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนอยางทั่วถึง เทาเทียม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล เนนการบูรณาการและสงเสริมการมี

สวนรวมของทุกภาคสวน ประเด็นยุทธศาสตร

1. การปรับตัวเขาสูประชาคมอาเซียน/ ประชาคมโลก 2. การพัฒนาสถานศึกษาและองคความรู 3. การพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องมืออุปกรณ 4. การพัฒนาครูทั้งระบบ 5. การพัฒนาศักยภาพผูเรียน 6. การวิจัยและถายทอดองคความรู

Page 22: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

20

7. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา 8. การสงเสริมการมีงานทํา 9. การบริหารจัดการกลยุทธของกระทรวงศึกษาธิการ

11. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553

หมวด 9 เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา มาตรา 63 รัฐตองจัดสรรคลื่นความถ่ี สื่อตัวนําและโครงสรางพื้นฐานอื่นที่จําเปนตอการสงวิทยุกระจาย

เสียง วิทยุโทรทัศน วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอื่น เพื่อใชประโยชนสําหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมตามความจําเปน

มาตรา 64 รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหมีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตารา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพอื่น วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเรงรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งน้ี โดยเปดใหมีการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม

มาตรา 65 ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต และผูใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหมีความรู ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ

มาตรา 66 ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทําได เพื่อใหมีความรูและทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรูดวยตนเองไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต

มาตรา 67 รัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรูของคนไทย

มาตรา 68 ใหมีการระดมทุน เพื่อจัดต้ังกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรัฐ คาสัมปทาน และผลกeไรที่ไดจากการดําเนินกิจการดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรประชาชน รวมทั้งใหมีการลดอัตราคาบริการเปนพิเศษในการใชเทคโนโลยีดังกลาวเพื่อการพัฒนาคนและสังคม หลักเกณฑและวิธีการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อการผลิต การวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 69 รัฐตองจัดใหมีหนวยงานกลางทําหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน สงเสริมและประสานการวิจัย การพัฒนาและการใช รวมทั้งการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

12. การมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 การมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ของผูเรียน ที่สามารถใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

เปนเครื่องมือสนับสนุนไดจะประกอบดวย

Page 23: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

21

Critical Thinking คือ การคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผลจากขอมูลความรูที่มีอยางหลากหลาย

Communication คือ การสื่อสารเช่ือมโยงกันระหวางผูเรียนและผูสอนไดอยางสะดวก

Collaboration คือ การสรางความรวมมือกันเพื่อใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูและทักษะประสบการณระหวางกัน

Creation คือ ความคิดสรางสรรคที่เกิดจากทักษะการเรียนรูแนวใหม รวมทั้งการตอยอดจากพื้นฐานองคความรูเดิม

การประเมินการใชแผนแมบท ICT พ.ศ. 2554-2556 กระทรวงศึกษาธิการ

การประเมินการใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ. 2554-2556 กระทรวงศึกษาธิการ ของหนวยงานในสังกัด ที่ไดจากการตอบแบบสํารวจรวมกับการประชุมระดมความคิดเห็นของผูแทนหนวยงานดังกลาว พอสรุปผลการประเมินในประเด็นตางๆไดดังน้ี

1. การจัดทําและการใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงศึกษาธิการ มีความ

จําเปนตอการดําเนินงานดาน ICT ในบางหนวยงาน ซึ่งสวนใหญมีการนําไปประยุกตใชเพียงบางสวน เพื่อการอางอิงในการของบประมาณ

2. การจัดทําและการดําเนินแผนงาน/โครงการตามนโยบายของผูบริหารระดับสูง มีความสําคัญไมย่ิงหยอนไปกวาการดําเนินงานตามแผนแมบทฯ ดังน้ัน บางสวนของเน้ือหาสาระหรือกิจกรรมโครงการที่มีปรากฏอยูในแผนแมบทฯ สามารถที่จะหยิบยกมาใชเปนตนแบบหรือโครงรางในการนําเสนอแผนงาน/โครงการตามนโยบายดังกลาวได

3. การจัดทํางบประมาณรายจายประจําปของแตละหนวยงาน มักดําเนินงานแลวเสร็จไปกอนหนาการประกาศใชแผนแมบทฯ ดังน้ันจึงมีหลายโครงการที่อาจเริ่มเตรียมการเบื้องตนไวแลว และไมสามารถที่จะยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงใดๆไดทันการณ

4. แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงศึกษาธิการ ไมไดกําหนดแผนปฏิบัติการไวอยางชัดเจน มีเพียงขอเสนอแนะ หรือตัวอยางโครงการเพื่อการพัฒนาดาน ICT จึงมักไมตรงกับโครงการที่แตละหนวยงานเตรียมการไว

5. หนวยงานสวนใหญเห็นพองกันวา กระทรวงศึกษาธิการควรจัดทําแผนแมบท ICT ฉบับเดียว เพื่อความเปนเอกภาพ และใหหนวยงานตางๆนําไปเปนกรอบการจัดทําแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามบริบทของแตละหนวยงานเอง

6. ดําเนินการจัดประชุมระดมความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาฐานขอมูลดานการศึกษา เชน กําหนดเวลาในการจัดสงขอมูล ประมวลผล และการนําฐานขอมูลกลางไปใชประโยชนตามบริบทของแตละฝายไดอยางถูกตองทันสมัย (Update) ในเวลาอันรวดเร็วตามสมควรหรือตามที่ตกลงกัน

7. สงเสริมสนับสนุนการใชประโยชนจากฐานขอมูลกลางใหมากที่สุด เพราะที่ผานมาหลายหนวยงานมีภาระการจัดสงขอมูล แตมักไมคอยมีโอกาสไดนํากลับมาใชประโยชน และอีกประการที่สําคัญคือ มักจะมีหนวยงานอื่นหรือหนวยงานภายนอกมาขอใชขอมูลจากสถานศึกษาโดยตรง จึงย่ิงเปนการเพิ่มภาระในการจัดเก็บตามความตองการที่มักจะแตกตางกันไปในแตละชวงเวลา

Page 24: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

22

8. เผยแพรประชาสัมพันธ และหาแนวทางสนับสนุนการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานตางๆ ทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พรอมทั้งหาแนวทางสรางความเช่ือมั่นในการใชฐานขอมูลกลางดวยวา ผูใชจะไดรับขอมูลที่ถูกตองทันสมัยตามรอบเวลาที่กําหนด เชน ระหวางภาคการศึกษา สิ้นภาคการศึกษา สิ้นปการศึกษา เปนตน

สรุปผลการวิเคราะห SWOT

จากการประชุมเชิงปฏิบัติการเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2556 ของผูแทนหนวยงานที่จัดการศึกษา ทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบกับการศึกษาวิเคราะหขอมูลการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ในประเด็นที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรค (SWOT analysis) ที่มีตอการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา สามารถสรุปไดดังน้ี

จุดแข็ง (Strength) หมายถึง การดําเนินงานหรือสถานการณเชิงบวกในกระทรวงศึกษาธิการที่สามารถกระทําไดดี หรือสามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนตอการพัฒนา ICT เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคตามที่กระทรวงศึกษาธิการตองการ

1. มีนโยบายในการยกระดับคุณภาพการศึกษา และพยายามสนับสนุนงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อ

การจัดสรรทรัพยากรใหแกสถานศึกษาในสังกัดอยางตอเน่ือง 2. มีระบบเครือขายที่สามารถเช่ือมโยงการทํางานดาน ICT ระหวางหนวยงานได และมีทีมงานเจาหนาที่ผูมี

ความรูความสามารถ รวมทั้งมีการประยุกตใช ICT ในแตละหนวยงาน 3. ใหการสนับสนุนผูสอนและบุคลากรทางการศึกษา ในการจัดอบรมเพิ่มพูนความรูความสามารถ เพื่อเพิ่ม

ศักยภาพในการปฏิบัติงานดาน ICT 4. มีหนวยงานในสังกัดที่เปนสถานศึกษาจํานวนมาก ซึ่งสามารถเปนแหลงขอมูลพื้นฐานที่มีประโยชนอยาง

มหาศาลสําหรับการกําหนดนโยบายการศึกษาในระดับประเทศ จุดออน (Weakness) หมายถึง ความสามารถในการดําเนินงานหรือสถานการณเชิงลบในกระทรวงศึกษาธิการ ที่สงผลใหไดผลลัพธไปในแนวทางไมดี หรือไมกอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนา ICT 1. การเปลี่ยนแปลงผูบริหาร จะมีผลกระทบตอการดําเนินโครงการที่ไมตอเน่ืองหรือจําเปนตองเปลี่ยนแปลง

โครงสรางการบริหารจัดการและการทํางาน จึงอาจสงผลใหการดําเนินงานตองลาชาหรือหยุดชะงักไป 2. บุคลากรผูปฏิบัติงานดาน ICT มีนอยและไมเพียงพอ อีกทั้งมีภาระงานหลักดานอื่นดวย ทําใหการพัฒนา

ดาน ICT เปนไปอยางลาชา 3. กําลังอยูระหวางการเช่ือมโยงบูรณาการระบบและทรัพยากรดาน ICT โดยเฉพาะสื่อ นวัตกรรม และองค

ความรูในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส สวนการจัดเก็บขอมูลมักไมทันตามกําหนดหรือไมครบถวน ทําใหระบบฐานขอมูลไมถูกตองทันสมัย ไมทันตอความตองการใชงาน รวมทั้งระบบการรักษาความปลอดภัยขอมูล ยังไมไดมาตรฐานเทาที่ควร

Page 25: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

23

4. การโยกยายตําแหนงของบุคลากร และความไมตอเน่ืองในการเขารวมประชุมดาน ICT ตลอดจนถึงการใชเจาหนาที่ไมตรงกับภาระงาน ทําใหขาดความเขาใจในการใหความรวมมือ การประยุกตใช ตลอดจนถึงการวิเคราะหผลขอมูลเชิงบริหาร

5. เจาหนาที่ขาดการพัฒนาดาน ICT ซึ่งอาจเน่ืองมาจากความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว 6. การแบงโครงสรางเปน 5 องคกรหลัก ทําใหขาดเอกภาพในการทํางาน ขาดการเช่ือมโยงบูรณาการระบบ

เทคโนโลยีสารสนเทศและทรัพยากรที่จําเปน เชน องคความรู นวัตกรรม และสื่อแบบอิเล็กทรอนิกส โอกาส (Opportunity) หมายถึง ปจจัยภายนอก สถานการณ หรือสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย เปนประโยชนตอการดําเนินงานและการพัฒนา ICT ของกระทรวงศึกษาธิการใหบรรลุวัตถุประสงค 1. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบัน สามารถนํามาใชในการสรางนวัตกรรมใหมทางการศึกษา และ

พัฒนาระบบการศึกษาผานระบบ ICT ชวยสนับสนุนการศึกษาคนควาขอมูลใหมีความสะดวกรวดเร็ว 2. พรบ.การศึกษา แผนแมบทฉบับตางๆ ระเบียบบริหารขอมูลสารสนเทศฯ นโยบายรัฐบาลและรัฐมนตรีฯ

ตลอดจนถึงกรอบนโยบาย IT2020 สนับสนุนใหนํา ICT มาใชเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. ความกาวหนาทางเทคโนโลยี สนับสนุนใหสามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาชวยในการ

พัฒนาระบบการสื่อสาร เพื่อนําสารสนเทศตางๆไปสูภูมิภาคไดอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็วย่ิงข้ึน 4. รัฐบาล/หนวยงานภาครัฐ/เอกชน และประชาชนใหความสําคัญตอขอมูลสารสนเทศจากระบบ ICT 5. เทคโนโลยีสมัยใหมเอื้อตอการแลกเปลี่ยนเรียนรู ประสบการณ และการขยายเครือขายความรวมมือใน

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาได

ภัยคุกคาม (Threat) หมายถึง ปจจัยภายนอก สถานการณ หรือสภาพแวดลอมภายนอกที่คอยขัดขวาง เปนปญหาอุปสรรคตอการดําเนินงานและการพัฒนา ICT ของกระทรวงศึกษาธิการ จนไมสามารถบรรลุวัตถุประสงค 1. นโยบายระดับประเทศมคีวามเปลี่ยนแปลง เกิดการเปลี่ยนแปลงรฐัมนตรบีอย และมักกําหนดนโยบาย

แบบเรงดวน สงผลกระทบทั้งทางตรงทางออมตอการดําเนินงานหลายอยางทีไ่มเปนไปตามแผนเดิม 2. โครงสรางพื้นฐานดาน ICT ของประเทศ ยังไมสามารถรองรับการพัฒนา ICT ของกระทรวงศึกษาธิการได

อยางมีประสิทธิภาพ ทําใหเสียเวลาวางแผนและงบประมาณจํานวนมากในการเช่ือมตอระบบเครือขาย 3. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีมีความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว จึงตองใชงบประมาณสูงข้ึนในการลงทุน

ดานอุปกรณเครื่องมือ ซอฟตแวร และการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรใหสามารถใช ICT ไดอยางมีประสิทธิภาพ ทันตอความเปลี่ยนแปลงดังกลาว

4. ถึงแมจะมีความพยายามในการบูรณาการระบบ ICT ระดับชาติ แตปจจุบันการพัฒนาระบบ ICT ยังอยูในชวงการเปลี่ยนผาน ซึ่งขาดความเช่ือมโยงสัมพันธกันทั้งระบบ จึงเกิดความสูญเปลาและใชทรัพยากรอยางไมคุมคา

Page 26: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 24

บทท่ี 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน

จากการศึกษาวิเคราะหแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการระดับชาติ นโยบายรัฐบาล กรอบนโยบายเทคโนโลยี

สารสนเทศ (ICT 2020) ตลอดจนถึงการประเมินสถานภาพปจจุบัน การวิเคราะหจุดแข็งจุดออน (SWOT) และแผนปฏิบัติราชการ 4 ปของกระทรวงศึกษาธิการ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ดังกลาวแลวในบทที่ 2. ประกอบกับการประชุมระดมความเห็นเบื้องตนจากคณะกรรมการฯและผูทรงคุณวุฒิ ทีร่วมกันพิจารณาแนวทางการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2557-2559 เพื่อตอบสนองทุกฝายที่เกี่ยวของ (Stakeholders) ทั้งในดานบริหารจัดการและการเรียนการสอน ในการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ สงเสริมการเรียนรูในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การอาชีวศึกษา การอดุมศึกษา การศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนถึงการเรียนรูตลอดชีวิต (Life Long Learning) ดวยรูปแบบการศึกษาทั้งในและนอกระบบ ผานการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรและมาตรการตางๆที่จะกลาวตอไป โดยมีหลักการสําคัญพอสรุปดังน้ีคือ

1. กําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร และเปาหมายการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสารเพื่อการศึกษา ใหมีความสอดคลองกับทิศทางการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ

2. กําหนดใหมีความครอบคลุมในมิติการเรียนการสอน การเรียนรู และการดําเนินงานของผูมีสวนเกี่ยวของ (Stakeholder) ต้ังแตครู อาจารย บุคลากรทางการศึกษา ผูผลิตสื่อการเรียนรู ตลอดจนถึงประชาชน

3. กําหนดระยะเวลาการดําเนินงานตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา ใหหมดวาระลงพรอมกับแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 และแผนปฏิบัติราชการ 4 ป ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2556-2559

4. ใชแผนแมบทฉบับน้ีเปนกรอบการจัดทําแผนปฏิบัติการของแตละองคกรหลัก

นิยามคําศัพท

เน่ืองจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มีการนิยามความหมายของคําศัพทที่เกี่ยวของกับการศึกษาไวในมาตรา 4 ดังน้ี

“การศึกษา” หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถายทอด

ความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคลเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต

“สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษาหรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอํานาจหนาที่หรือมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษา

“ผูสอน” หมายความวา ครูและคณาจารยในสถานศึกษาระดับตาง ๆ

Page 27: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 25

“คร”ู หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและการสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน

“คณาจารย” หมายความวา บุคลากรซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน

“ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแตละแหง ทั้งของรัฐและเอกชน

“ผูบริหารการศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษาต้ังแตระดับเขตพื้นที่การศึกษาข้ึนไป

“บุคลากรทางการศึกษา” หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา รวมทั้งผูสนับสนุนการศึกษาซึ่งเปนผูทําหนาที่ใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเน่ืองกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ

การจัดทําแผนแมบทฯฉบับน้ี ใชหลักการแนวคิดตามพระราชบัญญัติการศึกษาขางตน และไดเพิ่มนิยาม

ความหมายที่เกี่ยวของกับการศึกษา เพื่อความเหมาะสมในการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา โดยแบงออกเปน 2 ประเด็นคือ

ประเด็นที่ 1. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา ใหหมายรวมถึงคําวา “การศึกษา” และ “สถานศึกษา” (ตามนิยามขางตน) โดยมีการพัฒนาระบบฯใน 2 บริบทคือ

1. เพื่อการบริหารจัดการและการบริการดานการศึกษา 2. เพื่อการเรียนการสอนและการเรียนรู

ประเด็นที่ 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่ปรากฏในยุทธศาสตร มาตรการ และอื่นๆของแผนแมบทฉบับน้ี

จะประกอบดวย

1. ผูเรียน หมายถึง นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ซึ่งอาจเปนผูมีรางกายปกติ ผูพิการ ผูดอยโอกาส ตลอดจนถึงผูสูงอายุ ที่ไดรับการศึกษาแบบในระบบ การศึกษาแบบนอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาตลอดชีวิต (Life Long Learning)

2. ผูสอน หมายถึง ผูสอนตามนิยามขางตน รวมทั้งผูทรงคุณวุฒิ ปราชญชาวบาน ผูอาวุโสที่สามารถถายทอดวิชาความรูหรือองคความรูตางๆใหแกผูเรียนได

3. บุคลากรทางการศึกษา หมายถึง บุคลากรทางการศึกษาตามนิยามขางตน รวมทั้งบุคลากรที่ทําหนาที่ผลิต พัฒนา เผยแพร สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของหนวยงานตางๆ

ประเด็นที่ 3. ความหมายเฉพาะของคําศัพทที่ใชในแผนแมบทฉบับน้ี ซึ่งประกอบดวย

1. การเรียนรู หมายถึง การเรียนรูที่เกิดจากการเรียนการสอนระหวางผูสอนกับผูเรียน ตลอดจนถึงการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียน

Page 28: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 26

2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) หมายถึง การนําเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีดานการสื่อสารโทรคมนาคมมาชวยในการจัดเก็บและประมวลผลขอมูล เพื่อใหไดสารสนเทศที่สามารถนํามาเผยแพรในรูปแบบตางๆที่เหมาะสม เชน ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ และเสียง เปนตน เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการใชงาน

3. โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เครือขาย (Network) และเครื่องมืออุปกรณ (Hardware) ทางอิเล็กทรอนิกส เชน เครื่องคอมพิวเตอร เปนตน

4. หองเรียนอิเล็กทรอนิกส หมายถึง หองเรียนที่ใชสําหรับการเรียนรูของผูเรียนในสาขาวิชาตางๆ ดวยการใชเครื่องมืออุปกรณและสื่ออเิล็กทรอนิกสเปนปจจัยหลัก

วิสัยทัศน

ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดวยการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

พันธกิจ

1. ผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีศักยภาพดานการพัฒนาและการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส 3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหารจัดการและการบริการดานการศึกษา 5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

เปาหมาย

เพื่อที่จะยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูไดทุกที่ทุกเวลา ดวยการ

ใชประโยชนจากการบูรณาการเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ใชอยูในชีวิตประจําวัน มีความทันสมัยสามารถติดตอสื่อสารกันไดอยางสะดวก หรือที่เรียกวา “Ubiquitous Learning” ตลอดจนถึงการสรางหองเรียนแหงอนาคต (Future Class room) เพื่อสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อใหผูเรียนเปนศูนยกลางของการศึกษาใน 3 มิติ คือ

1. การเขาถึงแหลงเรียนรู (Enabling) คือ เพิ่มศักยภาพการศึกษาคนควาและการเขาถึงแหลงเรียนรูแบบ

ออนไลน (Online) 2. การเรียนรูทุกที่ทุกเวลา (Engaging) คือ เพิ่มประสบการณการเรียนรูโดยไมขาดความตอเน่ืองดวยการใช

อุปกรณสวนตัวที่ทันสมัย (BYOD : Bring Your Own Device) 3. ความหลากหลายของการเรียนรู (Empowering) คือ เพิ่มความสามารถและอิสระในการเลือกวิธีการและ

สื่อการเรียนรูในหลากหลายรูปแบบในหองเรียนแหงอนาคต (Future Class room)

Page 29: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 27

ยุทธศาสตร การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใหบรรลุพันธกิจและเปาหมายการยกระดับการพัฒนา

คุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมุงสงเสริมใหผูสอน บุคลากรทางการศึกษา และผูเรียน สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนเครื่องมือที่ใชเพื่อการศึกษาตามบริบทของแตละฝายไดอยางมีประสิทธิภาพ จะประกอบดวยยุทธศาสตรการดําเนินงาน 5 ประการ ดังรูปที่ 3.1

รูปที่ 3.1 ภาพรวมยุทธศาสตรการดําเนินงาน

ยุทธศาสตรที่ 1. ยกระดับความสามารถของผูสอนและบุคลากรทางการศึกษา ในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

ความหมาย : พัฒนาผูสอนและบุคลากรทางการศึกษา ใหมีความรูความสามารถในการพัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเปนกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนการเรียนการสอนและการเรียนรูของผูเรียน ใหมีความคิดสรางสรรค มีธรรมาภิบาล คุณธรรม จริยธรรม วิจารณญาณ และรูเทาทัน เปนประโยชนตอการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศตอไป เปาประสงค

ผูสอนและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาศักยภาพในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

Page 30: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 28

ตัวชี้วัด (ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ) 1. จํานวนผูสอนที่ไดรับการพัฒนา 2. จํานวนบุคลากรทางการศึกษาที่ไดรับการพัฒนา

หมายเหตุ : กําลังอยูระหวางการพิจารณาจาก “รายงานการวิจัยและพัฒนาตัวช้ีวัด ICT ดานการศึกษา

ของกระทรวงศึกษาธิการ”

มาตรการที่ 1.1 *สงเสริมสนับสนุนใหมีการพัฒนาและใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยในการทํางานประจํา

มาตรการที่ 1.2 สงเสริมสนับสนุนใหมีการศึกษาดูงานดานเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาตรการที่ 1.3 สรางแรงจูงใจและโอกาสความกาวหนาในสายงาน (Career path) ที่เหมาะสม ใหแกผูที่

ปฏิบัติงานดานการพัฒนาและใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ถึงแมจะไมตรงกับตําแหนงตามสายงานของตนเอง

มาตรการที่ 1.4 สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนมีการพัฒนาและใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยในการเรียนการสอน

มาตรการที่ 1.5 สรางกลไกความรวมมือกับภาคเอกชนในการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในประเด็นที่ขาดแคลน นวัตกรรมใหม หรือตลาดแรงงานมีความตองการ

มาตรการที่ 1.6 สงเสริมสนับสนุนใหมีการพัฒนาและใชงานซอฟตแวรแบบเปดเผยรหัส (Open Source)

ยุทธศาสตรที่ 2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกส

ความหมาย : พัฒนาผูเรียนดวยการพัฒนาและใชสื่อการเรียนการสอนและสื่อการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกส รวมทั้งกระบวนการเรียนการสอน เพื่อสรางแรงจูงใจหรือกระตุนใหเกิดความนาสนใจในการศึกษาคนควา ทั้งในแบบที่มีปฏิสัมพันธกับผูสอน ปฏิสัมพันธกันเองในหมูผูเรียน ตลอดจนถึงการเรียนรูดวยตนเอง เปาประสงค

มีสื่อเน้ือหาสาระการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกสสนับสนุนการเรียนการสอนอยางเหมาะสมตามหลักสูตร

ตัวชี้วัด (ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ) 1. จํานวนสื่อเน้ือหาสาระการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกสสนับสนุนการเรียนการสอนอยางเหมาะสม

ตามหลักสูตร 2. จํานวนผูใชสื่ออิเล็กทรอนิกส

หมายเหตุ : กําลังอยูระหวางการพิจารณาจาก “รายงานการวิจัยและพัฒนาตัวช้ีวัด ICT ดานการศึกษา

ของกระทรวงศึกษาธิการ”

Page 31: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 29

มาตรการที่ 2.1 สงเสริมสนับสนุนการผลิตสื่อการเรียนรู ในทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา เชน หลักธรรมคําสอนทางศาสนา รายการโทรทัศนเพื่อการศึกษา เปนตน ที่สามารถใชกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ทันสมัย

มาตรการที่ 2.2 สงเสริมสนับสนุนการผลิตสื่อการเรียนรู ที่สามารถใชรวมกันไดระหวางผูพิการและผูปกติ (Universal Design) รวมทั้งสื่อการเรียนรูที่เปนประโยชนตอผูพิการ ผูดอยโอกาส และผูสูงอายุ เชน หนังสือเสียงระบบ DAISY (Digital Accessible Information System) รายการโทรทัศนเพื่อสงเสริมคนพิการ เปนตน

มาตรการที่ 2.3 กําหนดใหมีหรือใชมาตรฐานที่จําเปนตอการพัฒนาสื่อการเรียนรู เชน SCORM เปนตน มาตรการที่ 2.4 จัดใหมีกระบวนการรับรองมาตรฐานสื่อการเรียนรู รวมทั้งมีการทบทวนและเผยแพรให

เหมาะสมตอความกาวหนาทางเทคโนโลยี มาตรการที่ 2.5 สงเสริมสนับสนุนการสรางความรวมมือกับองคกรที่ดูแลผูพิการ ผูดอยโอกาส และผูสูงอายุ

ในการจัดทําหลักสูตรและอบรมความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรการที่ 2.6 สงเสริมสนับสนุนการใชระบบการเรียนรูทางไกลผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร มาตรการที่ 2.7 *พัฒนาระบบบริหารจัดการการเรียนรู (Learning Management System : LMS) มาตรการที่ 2.8 พัฒนาระบบจัดการองคความรู (Knowledge Manangement : KM) ภายในหนวยงาน

ตลอดจนถึงการถายทอด เผยแพรความรูทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมสูประชาชน มาตรการที่ 2.9 *พัฒนาคุณภาพเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ใหมีความทันสมัยทันความกาวหนา

ทางเทคโนโลยี มาตรการที่ 2.10 บูรณาการระบบการเผยแพรสื่อการเรียนรูและผลงานการวิจัย รวมทั้งจัดต้ังศูนยกลาง

การบูรณาการดังกลาว มาตรการที่ 2.11 ผลักดันการบริหารจัดการเรื่องลิขสิทธ์ิ ในการพัฒนาตลอดจนถึงการใชสื่อการเรียนรู ให

เปนของกระทรวงศึกษาธิการ มาตรการที่ 2.12 สงเสริมสนับสนุนใหมีการพัฒนาและใชซอฟตแวรแบบเปดเผยรหัส (Open Source) เพื่อ

ลดงบประมาณคาใชจายดานลิขสิทธ์ิ

ยุทธศาสตรที่ 3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อขยายโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต

ความหมาย : พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยการพัฒนาระบบเครือขายและเครื่องมืออุปกรณที่จําเปนตอการเขาถึงระบบสารสนเทศและสื่อการเรียนรูของทุกฝายที่เกี่ยวของ ต้ังแตผูเรียน ผูสอน และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อขยายโอกาสในการเขาถึงแหลงเรียนรู ระบบบริหารจัดการ และระบบบริการทางการศึกษา

เปาประสงค มีการจัดสรรคลื่นความถ่ีและโครงสรางพื้นฐานในการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่สามารถใหบริการการศึกษาไดอยางทั่วถึงและมีเครื่องมืออุปกรณที่เพียงพอ

Page 32: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 30

ตัวชี้วัด (ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ)

1. จํานวนผูเรียนที่ไดรับ Tablet PC 2. จํานวนหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ไดรับบริการเครือขาย

อินเทอรเน็ต 3. จํานวนสถานศึกษานอกระบบในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และหองสมุดประชาชน ที่ใหบริการ

โทรทัศนเพื่อการศึกษา 4. จํานวนสถานศึกษาที่มีหองเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส

หมายเหตุ : กําลังอยูระหวางการพิจารณาจาก “รายงานการวิจัยและพัฒนาตัวช้ีวัด ICT ดานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ”

มาตรการที่ 3.1 บูรณาการเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้ง

การใชเทคโนโลยีไรสายที่ทันสมัย เชน เทคโนโลยี 3G เปนตน มาตรการที่ 3.2 สงเสริมสนับสนุนใหมีการใชเครื่องมืออุปกรณที่ทันสมัย ในการเขาถึงสื่อการเรียนการสอน

และการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกส ตลอดจนถึงระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษา มาตรการที่ 3.3 *สงเสริมสนับสนุนการนํารองพัฒนาหองเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส เชน การใชอินเทอรเน็ต

ไรสายที่มีคุณภาพ เปนตน รวมทั้งการปรับปรุงหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรใหกับผูเรียนอยางเพียงพอ ทั่วถึง

มาตรการที่ 3.4 *สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาเครือขายสารสนเทศเพื่อการศึกษาในระบบไซเบอรโฮม มาตรการที่ 3.5 จัดใหมีกระบวนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบ ICT อยางเครงครัด มาตรการที่ 3.6 จัดสรรงบประมาณที่เหมาะสมเพียงพอตอการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร มาตรการที่ 3.7 พัฒนาโครงขายดานวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน ใหกลุมเปาหมายสามารถรับบริการ

การศึกษาไดอยางทั่วถึงทั่วประเทศ

ยุทธศาสตรที่ 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการบริการ

ความหมาย : พัฒนาโปรแกรม ซอฟตแวร หรือระบบงานที่ใชในการจัดเก็บและประมวลผลขอมูลสารสนเทศ สําหรับการบริหารจัดการและการบริการดานการศึกษา ใหแกบุคลากรทางการศึกษา ผูสอน และผูเรียน เปนประโยชนตอการกําหนดนโยบายและวางแผนตัดสินใจดําเนินงานเพื่อการศึกษาของประเทศ เปาประสงค

มีคลังขอมูลและระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการบริการดานการศึกษา

ตัวชี้วัด (ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ)

Page 33: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 31

1. จํานวนงานบริการที่ใหบริการผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ศึกษาไดจาก ระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส : Smart Government)

2. จํานวนระบบฐานขอมูลที่มีการบูรณาการและใชประโยชนรวมกัน หมายเหตุ : กําลังอยูระหวางการพิจารณาจาก “รายงานการวิจัยและพัฒนาตัวช้ีวัด ICT ดานการศึกษา

ของกระทรวงศึกษาธิการ” มาตรการที่ 4.1 บูรณาการระบบสารสนเทศเพื่อลดปริมาณงานจัดเก็บและตรวจสอบขอมูล ที่มักจะซ้ําซอน

กันในหลากหลายระบบ และจัดต้ังศูนยกลางการบูรณาการขอมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา มาตรการที่ 4.2 พัฒนาระบบสารสนเทศและจัดกระบวนการใหเจาของขอมูลเปนผูกรอกและรับผิดชอบ

ความถูกตองของขอมูล เชน ใหผูปกครองหรือนักเรียนกรอกขอมูลของตนเอง เปนตน มาตรการที่ 4.3 จัดใหมีกระบวนการจัดเก็บ จัดสง และประมวลผลขอมูลดานการศึกษา รวมทั้งกําหนด

ผูรับผิดชอบดูแลขอมูลอยางเปนทางการ มาตรการที่ 4.4 ผลักดันการบริหารจัดการเรื่องลิขสิทธ์ิ ในการพัฒนาตลอดจนถึงการใชระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร ใหเปนของกระทรวงศึกษาธิการ มาตรการที่ 4.5 สงเสริมสนับสนุนใหมีการพัฒนาและใชซอฟตแวรแบบเปดเผยรหัส (Open Source) เพื่อ

ลดงบประมาณคาใชจายดานลิขสิทธ์ิ มาตรการที่ 4.6 สรางเครือขายความรวมมือกับองคกรหรือหนวยงานที่ไมแสวงผลกําไร เพื่อขอรับการ

สนับสนุนการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ยุทธศาสตรที่ 5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการศึกษา

ความหมาย : สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการศึกษา โดยเปดโอกาสใหผูเรียน ผูสอน และบุคลากรทางการศึกษามีสวนรวมในกระบวนวิจัยอยางกวางขวาง ซึ่งจะเปนประโยชนตอการพัฒนาความรูความสามารถของผูวิจัย ตลอดจนถึงการมีผลงานวิจัยที่สามารถนํามาใชงานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไดอยางเหมาะสม เปาประสงค

มีผลงานการวิจัยพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา

ตัวชี้วัด (ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ)

1. จํานวนผลงานการวิจัยและนวัตกรรมดานเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา หมายเหตุ : กําลังอยูระหวางการพิจารณาจาก “รายงานการวิจัยและพัฒนาตัวช้ีวัด ICT ดานการศึกษา

ของกระทรวงศึกษาธิการ” มาตรการที่ 5.1 *สงเสริมสนับสนุนการวิจัยที่สรางองคความรูใหมทางวิชาการ และกําหนดทิศทางการวิจัย

ที่กอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาความรูใหม

Page 34: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 32

มาตรการที่ 5.2 *สงเสริมสนับสนุนการวิจัยในระดับมัธยมศึกษา อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา เพื่อสรางสรรคองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ตอบสนองความตองการของสังคมประเทศชาติ

มาตรการที่ 5.3 *สรางเครือขายนักวิจัย และสนับสนุนการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในการพัฒนาสังคม ประเทศ หรือตอยอดในเชิงพาณิชย

มาตรการที่ 5.4 *สรางกลไกการวิจัยและถายทอดองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรม ระหวางภาคเอกชน สถานประกอบการ และสถานศึกษาทั้งในและตางประเทศ

มาตรการที่ 5.5 สงเสริมสนับสนุนกระบวนการวิจัยรวมกับกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรการที่ 5.6 *สงเสริมสนับสนุนการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู นําเสนอผลงานวิจัยระหวางสถานศึกษา

ทั้งในและตางประเทศ มาตรการที่ 5.7 *พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัย เพื่อสนับสนุนการศึกษาคนควาเกี่ยวกับงานวิจัย

Page 35: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

33

บทท่ี 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน

เน่ืองจากแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-

2559 มีการกําหนดยุทธศาสตรและมาตรการอยางกวางๆ ที่ครอบคลุมการดําเนินงานขององคกรหลัก ตลอดจนถึงหนวยงานในสังกัดและในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งน้ีเพื่อเปนกรอบในการจัดทําแผนปฏิบัติการที่มีความเปนเอกภาพเหมาะสมตามบริบทของแตละหนวยงาน ดังน้ัน ในทางปฏิบัติจึงจําเปนตองกําหนดรายละเอียดและวิธีปฏิบัติเฉพาะมาตรการที่เกี่ยวของกับบริบทของแตละหนวยงานเอง ซึ่งรวมถึงการกําหนดมาตรการยอยกับโครงการที่จําเปนเพิ่มเติม เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามเปาประสงคของแตละยุทธศาสตร ดวยความเปนเอกภาพของทุกหนวยงานที่จะตอบสนองภาพรวมการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

สําหรับมาตรการที่เกี่ยวของกับการบูรณาการ จําเปนจะตองมีการประสานความรวมมือและดําเนินงาน

รวมกันระหวางหนวยงานในสังกัดและในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจะกลาวถึงแนวปฏิบัติไว ณ ที่ น้ี ประกอบดวย

แนวทางการบูรณาการสารสนเทศเพื่อการศึกษา

แนวทางการบูรณาการสือ่การเรียนรู

เทคโนโลยีเพื่อการบูรณาการสารสนเทศและสื่อการเรียนรู

โครงการที่จําเปนตอการบูรณาการ

แนวทางการบูรณาการระบบเครือขายและเทคโนโลยี (กลาวไวในบทที่ 5.) แนวทางการบูรณาการสารสนเทศเพ่ือการศึกษา

การบูรณาการสารสนเทศเพื่อการศึกษา เกิดจากการพัฒนาฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา โดยการ

สงเสริมใหทุกฝาย มีกระบวนการจัดเก็บขอมูลรวมกันอยางเปนเอกภาพตามกรอบแนวทาง TH e-GIF เพื่อจัดทําและประยุกตใชมาตรฐานขอมูลดานการศึกษา ประกอบกับมาตรการสําคัญเพื่อการบูรณาการคือ

การบริหารจัดการมาตรฐานรายการขอมูล

การตรวจสอบความถูกตองของขอมูล

การกระจายความรับผิดชอบในการตรวจสอบขอมูล

การกระตุนหนวยงานดวยการจัดอันดับตามศักยภาพ

การพัฒนาคุณภาพและและประสิทธิภาพในการจัดเก็บขอมูล

การพัฒนาศักยภาพของการจัดสงขอมูล

การใหบริการขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา

การรักษาความมั่นคงปลอดภัยของขอมูล

Page 36: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

34

การบูรณาการสารสนเทศเพื่อการศึกษาในทางปฏิบัติ กําหนดใหมีการจัดต้ังศูนยกลางการเช่ือมประสานขอมูลสารสนเทศระหวางหนวยงานตางๆ ทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยอางอิงตาม “รายงานฉบับสมบูรณ (Final Report) ของโครงการวิจัยเพื่อจัดทําศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS : National Education Information System)” ซึ่งในที่น้ีไดมีการเพิ่มเติมในสวนของการพัฒนาคลังขอมูล เพื่อรองรับการใหบริการดานการศึกษาแกสาธารณชน และการทําเหมืองขอมูล (Data Mining) สําหรับการบริหารจัดการแบบอัจฉริยะ (Business Intelligence) ดังรูปที่ 4.1

รูปที่ 4.1 ศูนยกลางการเช่ือมประสานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา

นอกจากน้ีควรมีการกําหนดการสรางความรวมมือและกระบวนการไดมาของขอมูลที่ถูกตองสมบูรณ รวมกับ

หนวยงานที่มีบทบาทตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ ในการเรียกใชขอมูลดานการศึกษาจากศูนยกลางการเช่ือมประสานขอมูล (NEIS) กอนที่จะมีการดําเนินงานตามบทบาทหนาที่อยางใดอยางหน่ึง รวมกับหนวยงานหรือสถานศึกษาทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังรูปที่ 4.2 ซึ่งประกอบดวย

สํานักงบประมาณ (สงป.)

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (สทศ.)

สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

Page 37: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

35

รูปที่ 4.2 การเรียกใชขอมูลของหนวยงานที่มีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ประเด็นสําคัญของการประสานและสรางความรวมมือในการจัดเก็บและประมวลผลขอมูลสารสนเทศเพื่อ

การศึกษา ที่มีความถูกตองสมบูรณจะข้ึนอยูกับเสนอแนวทางการใชประโยชนของทุกฝายที่เกี่ยวของ ซึ่งผูใหขอมูลก็สามารถเปนผูรับประโยชนจากการใชขอมูลดวย ดังรูปที่ 4.3

รูปที่ 4.3 แนวทางการใชประโยชนจากขอมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา

Page 38: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

36

แนวทางการบูรณาการสื่อการเรียนรู

การบูรณาการสื่อการเรียนรูในทางปฏิบัติ กําหนดใหมีการจัดต้ังศูนยกลางการเช่ือมประสานสื่อการเรียนรูระหวางสถานศึกษาตางๆ ทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยพัฒนาใหมีการใชงานในลักษณะของ Web-Portal เพื่อใหบริการการเขาถึงสื่อและแหลงเรียนรูของประชาชนไดอยางสะดวก ดังรูปที่ 4.4

รูปที่ 4.4 ศูนยกลางการเช่ือมประสานสื่อการเรียนรู

เทคโนโลยีเพ่ือการบูรณาการสารสนเทศและสื่อการเรียนรู

การเช่ือมโยงขอมูลสารสนเทศและสื่อการเรียนรู จากสถานศึกษาหรือหนวยงานตนสังกัดมายังศูนยกลางการเช่ือมประสานตามหลักการขางตน จําเปนตองพิจารณาถึงความพรอมของหนวยงานเจาของขอมูล (ตนกําเนิดของขอมูล) โดยอาจเลือกใชเทคนิคอยางใดอยางหน่ึงหรือหลายอยางประกอบกัน ดังน้ีคือ

เทคนิคท่ี 1. เว็บแอพพลิเคชั่น (Web Application) เพื่อสนับสนุนการประมวลผลขอมูลและการประยุกตใชระบบสารสนเทศตางๆ ที่สามารถดําเนินการไดใน

ทํานองเดียวกับการใชเว็บไซต ซึ่งผูใชสวนใหญในปจจุบันมีความคุนเคยเปนอยางดี หรืออาจศึกษาเรียนรูวิธีใชงานไดไมยากนัก เพราะเปนการทํางานผานระบบเครือขาย ดวยรูปลักษณการใชงานที่สะดวกสบาย และถือไดวาเปนมาตรฐานเดียวกัน ต้ังแตสัญลักษณที่ปรากฏบนจอภาพขณะที่มีการเลื่อนเมาส ตลอดจนถึงวิธีเลือกรายการคําสัง่ตางๆ (Menu)

หลักการเบื้องตนทางเทคนิค ผูพัฒนาจะดําเนินการจัดทําฐานขอมูล และติดต้ังระบบสารสนเทศไวบนเครื่อง

แมขาย (Computer Server) เพื่อคอยใหบริการผานระบบเครือขาย (Network) แกผูใชที่ปฏิบัติงานดวยเครื่องคอมพิวเตอรจากสถานที่ตางๆ ที่สามารถเช่ือมโยงเขามาได (ไมจํากัดระยะทาง) เพื่อที่จะไดบันทึกและปรับปรุงฐานขอมูล เสมือนทํางานอยูในสถานที่เดียวกันดวยคอมพิวเตอรเครื่องเดียวกัน ดังรูปที่ 4.5

Page 39: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

37

รูปที่ 4.5 หลักการทางเทคนิคของเว็บแอพพลิเคช่ัน

เทคนิคท่ี 2. เว็บเซอรวิส (Web service)

เพื่อสนับสนุนการเช่ือมโยงรับสงขอมูลผานระบบเครือขายระหวางระบบสารสนเทศของแตละหนวยงานที่มีขอตกลงรวมกัน ตามกรอบแนวทาง TH e-GIF โดยการรับสงขอมูลจะปลอยใหเปนหนาที่ของเครื่องแมขาย (Server) ชวยดําเนินการแบบอัตโนมัติหรือแบบกึ่งอัตโนมัติ คือ ผูดูแลเครื่องแมขายอาจชวยกดปุมสั่งการทุกครั้งที่จะมีการรับสงขอมูลก็ได

หลักการเบื้องตนทางเทคนิค จะมีการพัฒนาระบบเช่ือมโยงข้ึนเปนพิเศษ (แยกตางหากจากระบบสารสนเทศและฐานขอมูลที่ใชงานประจํา) เพื่อไมใหกระทบตอการทํางานของระบบเดิม แตจะไดรับรูปแบบขอมูลที่ตองการหรือสามารถนํามาประยุกตใชงานในแตละฝายไดทันที ตอจากน้ันจะเปนหนาที่ของผูแลเครื่องแมขาย ที่จะคอยบํารุงรักษาหรือกดปุมสั่งการใหระบบเช่ือมโยงทํางานตามกําหนดเวลาที่ตกลงกัน โดยผูใชทั่วไปไมมีสวนเกี่ยงของใดๆ แตจะอํานวยความสะดวกใหแกผูใชทั้งสองฝาย ที่ไมตองเสียเวลาในการรับสงขอมูลระหวางปฏิบัติงานประจํา อีกทั้งชวยขจัดความยุงยากและปญหาบางประการเกี่ยวกับวิธีการรับสงขอมูลแบบอื่น เชน การรับสงขอมูลดวยแผนซีดี การถายขอมูลจากแผนซีดีเขาสูระบบฯ ซึ่งอาจติดขัดเรื่องความบกพรองของเครื่องอานหรือตัวแผนซีดี เปนตน ดังรูปที่ 4.6

รูปที่ 4.6 หลักการทางเทคนิคของเว็บเซอรวิส

Page 40: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

38

เทคนิคท่ี 3. คลาวดคอมพิวต้ิง (Cloud Computing) เพื่อสนับสนุนการประมวลผลขอมูลขนาดใหญ มีเครือขายความรวมมือในการรับสงขอมูลจํานวนมากไดใน

เวลาอันรวดเร็ว เพราะมีการใชเครื่องแมขายหลายชุดรวมกันประมวลผลเสมือนการใชเครื่องแมขายเพียงชุดเดียว สงผลใหการขยายขีดความสามารถและการซอมบํารุงเครื่องแมขาย สามารถดําเนินการไดตลอดเวลาโดยไมจําเปนตองหยุดพักการใชงาน สรางความตอเน่ืองในการใชงานของผูไดอยางตอเน่ืองตลอดเวลา

หลักการเบื้องตนทางเทคนิค อาศัยวิธีการเพิ่มจํานวนเครื่องแมขาย (Server) จํานวนแหลงและพื้นที่เก็บ

ขอมูล (Storage) ซึ่งอาจติดต้ังอยูตามสถานที่ตางๆ และอาจมีคุณลักษณะการทํางานที่แตกตางกัน แตมีการเช่ือมโยงใหเปนเครือขายเดียวกัน เพื่อชวยกันหรือแบงกันประมวลผลขอมูลเสมือนอยูในเครื่องเดียวกัน ทําใหความเร็วในการประมวลผลเพิ่มข้ึน โดยผูใชไมทราบเบื้องหลังการทํางานดังกลาว เชน การสืบคนขอมูลใน Google ที่ผูใชไมเคยทราบวา มีการใชเครื่องแมขายผสานกับแหลงจัดเก็บขอมูลจํานวนเทาใด และติดต้ังอยูที่ใดในโลก เปนตน ดังรูปที่ 4.7

รูปที่ 4.7 หลักการทางเทคนิคของคลาวดคอมพิวต้ิง

หมายเหตุ : สถานศึกษาหรือหนวยงานบางแหง ยังอาจมีความไมพรอมที่จะประยุกตใชเทคนิคขางตน แตก็

สามารถที่จะจัดสงขอมูลเขาสูสวนกลางได โดยจัดทําขอมูลดานการศึกษาในลักษณะของสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน แผนบันทึกขอมูล CD เปนตน ตามรูปแบบ (Format) ที่เปนมาตรฐานกลาง ซึ่งดําเนินการรวมกันอยูในปจจุบัน

Page 41: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

39

โครงการท่ีจําเปนตอการบูรณาการ

จากการประชุมเบื้องตนของคณะกรรมการฯ ในการพิจารณารางแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2557-2559 ประกอบกับแนวปฏิบัติขางตน อยางนอยจะตองจัดใหมีโครงการเพื่อการ บูรณาการหรือสนับสนุนการบูรณาการที่เหมาะสมตอยุทธศาสตรการดําเนินงาน โดยโครงการดังกลาวจะตองมีการจัดประชุมพิจารณารายละเอียดที่เหมาะสมตอไป

1. โครงการจัดทํามาตรฐานขอมูลดานการศึกษา เพื่อพัฒนามาตรฐานรายการขอมูลดานการศึกษาทั้งที่มีใชงานอยูในปจจุบัน และที่มีความตองการใชงานเพิ่มเติม (ตามกรอบแนวทาง TH e-GIF) โดยเฉพาะอยางย่ิงรหัสขอมูล (Code List) ดานการศึกษา ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการจะเปนเจาภาพหลักในการกํากับมาตรฐานรายการขอมูลดังกลาว

2. โครงการพัฒนาระบบเว็บเซอรวิสเพื่อการเช่ือมโยงขอมูลสารสนเทศ ระหวางหนวยงานทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มีความครอบคลุมการพัฒนาศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS : National Education Information System)

3. โครงการพัฒนาเว็บพอรทอล เพื่อตอบสนองการจัดศูนยกลางการเช่ือมประสานสื่อการเรียนรู ซึ่งอาจจัดต้ังเปนศูนยการเรียนรูแหงชาติ (NLC : National Learning Center) เพื่อใหบริการแกประชาชนในการเขาสื่อและแหลงเรียนรูไดอยางสะดวกรวดเร็ว

4. โครงการศึกษาและพัฒนาโครงสรางคลังขอมูลเพื่อการศึกษา (Data warehouse) เพื่อการจัดเก็บและประมวลผลขอมูลดานการศึกษาขนาดใหญ เตรียมความพรอมในการนําไปวิเคราะหเพื่อประกอบการวางแผนตัดสินใจและกําหนดนโยบายของผูบริหารระดับสูง

5. โครงการพัฒนาระบบรับสมัครและรายงานตัวผูเรียนผานระบบเครือขาย เพื่อใหบริการการรับสมัครผูเรียนผานระบบเครือขายและบัตรสมารทการด ซึ่งจะชวยใหสถานศึกษา หนวยงานตนสังกัด และศูนยกลางการเช่ือมประสานขอมูลไดรับขอมูลที่ถูกตองสมบูรณ รวมทั้งการรายงานตัวผูเรียนที่ผานการคัดเลือกดวยวิธีตางๆ สงผลใหแตละหนวยงานสามารถคาดการณพยากรณภาพรวมขอมูลดานการศึกษาไดอยางใกลเคียงขอเท็จจริงมากที่สุด

6. โครงการพัฒนาระบบสืบคนขอมูลผูสําเร็จการศึกษา เพื่อเปดใหบริการแกสถานศึกษาและหนวยงานทั้งของภาครัฐและเอกชน ในการสืบคนประวัติเบื้องตนในการจบการศึกษาของผูเรียน ปองกันการแอบอางทุจริตการใชเอกสารหรือขอมูลปลอมดานการศึกษา เพื่อการดําเนินธุรกรรมตางๆ เชน การสมัครงาน

7. โครงการจัดต้ังสํานักทะเบียนกลางของผูเรียน เพื่อเปนแหลงกลางในการกํากับดูแลทะเบียนกลางของผูเรียน ใหแตละหนวยงานที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาสามารถสืบคนและนําขอมูลไปใชงานไดอยางสะดวกตามบริบทของแตละหนวยงาน

8. โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการการเรียนรู (LMS : Learning Management System) เพื่อกํากับดูแลและบริหารจัดการการเรียนรูของผูเรียนไดอยางเปนระบบ ซึ่งสามารถที่จะนําขอมูลดังกลาวมาเปนสวนประกอบในการวิเคราะหความสําเร็จการศึกษาของผูเรียนไดดวย

9. โครงการพัฒนาระบบบริหารงานวิจัย (Research Management System) เพื่อกํากับดูแลและบริหารจัดการดานขอมูลการวิจัยทั้งระบบ ต้ังแตจุดเริ่มตนการขอโครงการวิจัย ผลของการวิจัย ตลอดจนถึงการนําผลการวิจัยไปใชงาน

Page 42: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

40

10. โครงการพัฒนาสื่อการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกส เพื่อสรางสื่อการเรียนรูที่เหมาะสมตามหลักสูตรและตอบสนองความตองการของผูเรียนในมิติตางๆตามเปาหมายของการจัดทําแผนแมบทฉบับน้ี โดยอาจใหผูเรียนมีสวนรวมในการพัฒนาสื่อการเรียนรูดวย

11. โครงการจัดอบรมความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่ออบรมเผยแพรความรูใหแกผูเรียน ผูสอน และบุคลากรทางการศึกษา ใหมีทักษะความรูทันตอความกาวหนาทางเทคโนโลยี

12. โครงการรักษาความปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อรักษาความปลอดภัยใหแกขอมูลสารสนเทศและสื่อการเรียนรู ซึ่งปจจุบันมีภัยคุกคามทางอิเล็กทรอนิกสอยางมากมาย

Page 43: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 41

บทท่ี 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ)

แนวทางการพัฒนาเครือขายเพื่อการศึกษา (Network Infrastructure) ของกระทรวงศึกษาธิการ พิจารณา

จากการดําเนินงานดานเทคโนโลยีดังน้ี

โครงสรางพื้นฐานดานเครือขายความเร็วสูง

การบริการอิเล็กทรอนิกส

การบริหารจัดการระบบเครือขาย

แนวทางการบูรณการระบบเครือขาย โครงสรางพ้ืนฐานดานเครือขายความเร็วสูง (Infrastructure)

โครงสรางพื้นฐานดานเครือขายความเร็วสูงของกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบดวย

1. เครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือพัฒนาการศึกษา (UniNet) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

โครงการ UniNet เริ่มดําเนินการต้ังแตป 2539 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนเครือขายแกนหลักทางการศึกษา

ระดับอุดมศึกษา มุงเนนการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาชวยในการจัดการเรียนการสอน รองรับปริมาณความตองการเขาศึกษาตอระดับอุดมศึกษาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 8 โดยมีเปาหมายเพื่อเปนการกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสูภูมิภาคโดยจัดต้ังเปนวิทยาเขตสารสนเทศ โดยที่ผานมา (ป 2539-2552) ไดดําเนินการจัดหาวงจรสื่อสัญญาณ (เชา) จากผูใหบริการพรอมทั้งเช่ือมโยงสถาบันอุดมศึกษาจํานวนกวา 200 แหง และเช่ือมโยงสื่อสัญญาณอินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษาวิจัยทั้งในและตางประเทศ รวมถึงเช่ือมโยงไปยังเครือขายอินเทอรเน็ตทั่วไป โดยบริหารจัดการเครือขายจากสวนกลางโดย UniNet และอาศัยทรัพยากรทางดานสถานที่และบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาทัว่ประเทศเพื่อบริหารและใหบริการเครือขายสําหรับใชประโยชนดานการศึกษาวิจัยรวมกัน

ตอมาสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดรับอนุมัติแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง

ตามแผนกระตุนเศรษฐกิจ ป พ.ศ. 2553-2555 โดยใหดําเนินโครงการพัฒนาและขยายเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) เพื่อรองรับการศึกษาทั้งระบบ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเครือขาย พรอมทั้งบูรณาการเครือขายของสถาบันการศึกษาทุกระดับ ไดแก เครือขายการศึกษาข้ันพื้นฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เช่ือมโยงเขาดวยกันบนเครือขายเดียวโดยใชช่ือเรียกวา “เครือขายเพื่อการศึกษาวิจัยแหงชาติ (National Education Network : NEdNet)” พรอมทั้งใหจัดสรางโครงขายใยแกวนําแสง (Fiber Optic) เช่ือมโยงสถาบันการศึกษาขางตนแทนการเชาใชจากผูใหบริการ โดยขยายเครือขายใหครอบคลุมดังน้ี

Page 44: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 42

จัดสรางเครือขายแกนหลักสวนกลางและสวนภูมิภาค จํานวน 23 โหนด ขนาดความเร็ว 50 กิกะบิตตอวินาท ี(DWDM ขนาด 5 แลมดา)

มีเครือขายกระจาย (Distribution Node) จํานวน 87 โหนด ครอบคลุมทุกจังหวัด เช่ือมโยงสื่อสัญญาณใยแกวนําแสงไปยังสถาบันการศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของ จํานวน 10,745

แหง ประกอบดวย - สถาบันอุดมศึกษา/สถาบันการศึกษาและวิจัยอื่นๆ 245 แหง (~1 Gbps) - อาชีวศึกษา 415 แหง (~100-1000 Mbps) - เขตพื้นที่การศึกษา 185 แหง (~10-100 Mbps) - โรงเรียนสังกัด สพฐ. 9,607 แหง (~10-100 Mbps) - หองสมุด กศน. 151 แหง (~10-100 Mbps) - โรงเรียนสังกัด สช. 142 แหง (~10-100 Mbps)

หมายเหตุ ขณะน้ี (พฤษภาคม 2556) ดําเนินการเสร็จสมบูรณแลวจํานวน 3,140 แหงสวนอีก 7,606 แหงจะแลวเสร็จภายในป 2557

เช่ือมตอสื่อสัญญาณอินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษาวิจัยกับเครือขายทั่วโลก ผานเครือขาย Internet2

ของประเทศสหรัฐอเมริกาเครือขาย JGN2Plus และเครือขาย TEIN4 ซึ่งเปนเครือขายความรวมมือของเครือขายเพื่อการศึกษาวิจยัในกลุมประเทศเอเชีย โดยไดรับการสนับสนุนจากกลุมสหภาพยุโรปตามมติที่ประชุมอาเซม ทําใหสถาบันการศึกษาที่เช่ือมตอกับเครือขาย UniNet ก็สามารถใชงานไดในลักษณะเดียวกันโดยลักษณะการเช่ือมตอดังกลาวถือเปนเครือขายเฉพาะกิจ และเครือขาย UniNet เปนแหงเดียวที่เช่ือมโยงเครือขายดังกลาวน้ี

เช่ือมตอสื่อสัญญาณอินเทอรเน็ตทั่วไปทั้งภายในประเทศ (Domestic Link) ที่ขนาดความเร็ว 20 กิกะบิตตอวินาที และตอสื่อสัญญาณอินเทอรเน็ตทั่วไปออกตางประเทศ (International Internet Gateway) ที่ขนาดความเร็ว 30 กิกะบิตตอวินาท ี

ลักษณะของการดําเนินงานโครงการดังกลาวปจจุบันไมมีความซ้ําซอนกับหนวยงานใดเน่ืองจากเริ่มดําเนินการ

มาต้ังแตป 2539 และลักษณะการบริหารจัดการเครือขายแตกตางจากหนวยงานอื่น ทําใหเสมือนวาเครือขายของสมาชิกทั่วประเทศเช่ือมกันในลักษณะเครือขายภายใน (Intranet) จากน้ันจะออกสูภายนอกผาน Gateway ของ UniNet โดยเฉพาะเครือขายเพื่อการศึกษาวิจัยซึ่งถือเปนเครือขายคือการบริหารจัดการเครือขายจะบริหารจากสวนกลางและประสานงานรวมกับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย เฉพาะกิจที่เช่ือมโยงไปสูเครือขายเพื่อการศึกษาวิจัยทั่วโลกทําใหสถาบันการศึกษาสามารถดําเนินกิจกรรมเพื่อการศึกษาวิจัยไดโดยแยกจากการใชงานอินเทอรเน็ตทั่วไปทําใหไมมี Traffic แบบอื่นมาเจือปน อีกทั้งโครงขายที่เช่ือมโยงถึงกันจะเปนในลักษณะเครือขายที่สรางข้ึนเองดวยสื่อสัญญาณใยแกวนําแสงโดยใชเทคโนโลยี DWDM ไมใชการเชาใชสื่อสัญญาณจากผูใหบริการ อีกทั้งกลุมเปาหมายที่ใหบริการยังมุงเนนเฉพาะสถาบันการศึกษาและหนวยงานวิจัยเทาน้ัน

2. เครือขายคอมพิวเตอรสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (MOE Net)

Page 45: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 43

การวางระบบเครือขาย MOENet ใชวิธีเชาโครงขายของบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) โดยใชสถาปตยกรรมผสมระหวาง Frame Relay, IP VPN, Metro LAN, ATM, ADSL และดาวเทียม IP Star ตามที่แสดงในตารางที่ 5.1

ตารางที่ 5.1 การใหบริการโครงขาย MOENet

สถาปตยกรรมเครือขาย MOENet ประกอบดวยการใหบริการผูใชปลายทาง (Last Mile) ดังรูปที่ 5.1 และ 5.2

รูปที่ 5.1 สถาปตยกรรมเครือขายของ MOENet

Page 46: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 44

รูปที่ 5.2 แผนผังการเช่ือมตอเครือขาย MOENet

3. เครือขายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (OBEC Net) การเช่ือมโยงระบบเครือขายคอมพิวเตอรระหวางหนวยงานในสังกัดต้ังแตระดับโรงเรียน สํานักงานในสวน

ภูมิภาค และสํา นักงานสวนกลาง ได ดํา เนินการตามโครงการมาต้ังแตป งบประมาณ พ .ศ. 2545 โดยกระทรวงศึกษาธิการ ไดขอความรวมมือไปยังกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อขอให บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) และบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) เปนผูดําเนินการเช่ือมตอระบบเครือขายไปยังโรงเรียน และหนวยงานในสังกัด ภายใตโครงการ MOE-Net ซึ่งมีคาใชจายในการเชาสื่อสัญญาณประมาณปละ 1,000 ลานบาท ปจจุบันมีสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตอเช่ือมกับโครงขาย MOENet 30,302 แหง ซึ่งสามารถจําแนกหนวยงานตามประเภทการเช่ือมตอ ดังตารางที่ 5.2

ตารางที่ 5.2 จํานวนสถานศึกษาและหนวยงานที่เช่ือมตอกับ MOENet ลําดับ รูปแบบการเช่ือมโยง สถานศึกษา (แหง) สพท. (แหง) รวม

1 สายเชาความเร็วสูง (Leased Line) 1,468 185 1,653 2 คูสายโทรศัพทความเร็วสูง (ADSL) 5,710 5,710 3 ระบบจานดาวเทียม (Satellite) 22,939 22,939 รวมทั้งสิ้น 30,117 185 30,302

Page 47: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 45

อยางไรก็ตาม ในปงบประมาณ 2553 คณะรัฐมนตรีมีมติใหกระทรวงศึกษาธิการขยายโครงขาย UniNet ซึ่งอยูภายใตการดูแลของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ใหครอบคลุมหนวยงาน และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งตามแผนการดําเนิน ภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2557 สถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานประมาณ 10,000 แหง จะปรับเปลี่ยนจากการเช่ือมตอระบบคอมพิวเตอรกับโครงขาย MOE-Net มาใชบริการบนโครงขาย Ned-Net โดยม ี

1). ระดับ Access Layer การจัดเตรียมระบบโครงขายคอมพิวเตอรเพื่อหนวยงานในสังกัดทั้งระดับสถานศึกษา และสํานักงานเขตพื้นที่

การศึกษาในระดับ Access Layer น้ัน เปนโครงขายโทรคมนาคมระดับโหนดปลายทาง (Access Network Security Gateway) เปนโครงขายในระดับของการใชงาน โดยมีอุปกรณที่ทําหนาที่กําหนดเสนทางใหกับผูใชงานภายในโรงเรียนตางๆ ไมวาจะเปน เครื่องคอมพิวเตอร, Notebook, Tablet และ Mobile devices ตางๆ ใหสามารถใชงานระบบ Application ตางๆของทางสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน หรือการใชงาน Internet เปนตนการพัฒนาและปรับปรุงโครงขายโทรคมนาคมของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อใชในการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางสถานศึกษาภายในจังหวัด และรองรบัระบบสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบตางๆ เชน e-Learning, Content Streaming และ Video on Demand (VoD) เปนตน สําหรับสถานศึกษาตางๆ เพื่อปรับปรุงรูปแบบและวิธีการในการเรียนการสอน ดังน้ันเพื่อใหการเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงไดเตรียมเสนทางของการใชงานที่เปนเสนทางหลักเฉพาะของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ผานทางโหนดหลัก (Core Node Router) โดยเสนทางน้ีจะตองรองรับการใชงาน IPv6 ในลักษณะ Native IPv6 หรือการใชงานแบบรวมกันระหวาง IPv4 กับ IPv6 ซึ่งข้ึนอยูกับความพรอมของอุปกรณของสถานศึกษา และยังมีเสนทางสํารอง (Backup Link) ในกรณีที่เสนทางหลัก (Link จาก Core Node หลักไปยัง Backbone ของ NedNet) ชํารุดเสียหาย โดยเมื่อระบบโครงขายโทรคมนาคมของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เสร็จสมบูรณ จะสามารถกําหนดนโยบายของการใชงานเครือขาย Internet และเพื่อใหบริการแกโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดอยางมีประสิทธิภาพและสมบูรณมากย่ิงข้ึน โดยมีกรอบความคิดการออกแบบตามรายละเอียด ดังรูปที่ 5.3

Page 48: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 46

รูปที่ 5.3 การเช่ือมโยงโครงขายโทรคมนาคมของสํานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน

Page 49: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 47

2). ระดับ Service Layer

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2556 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดจัดต้ัง OBEC Gateway เพื่อเปน Internet service Provider ใหหนวยงานในสังกัดทั้งระดับสํานักงาน และสถานศึกษา เช่ือมตอตรงมายังศูนย Data Center ของ สพฐ. เพื่อใหการเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยมีผูใหบริการดานโครงขายโทรคมนาคม (Network Provider) คือ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) และบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) และโครงขายเพื่อการศึกษาแหงชาติ (Ned-Net) ซึ่งในอนาคตสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจะปรับเปลี่ยนการใชบริการ Network Provider จากบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) และบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) มาใชบริการกับโครงขายเพื่อการศึกษาแหงชาติ (Ned-Net) โดยมีภาพการเช่ือมตอระบบดังรูปที่ 5.4

Page 50: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 48

รูปที ่5.4 การเช่ือมโยงโครงขายภายใน สํานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน

Page 51: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 49

อน่ึงสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดมกีารประสานงานในการดําเนินการพัฒนาโครงขายการศึกษาแหงชาติ (NEdNet) มาอยางตอเน่ืองต้ังแตเริ่มต้ังโครงขายการศึกษาแหงชาติในป พ.ศ. 2553 โดยมีขอตกลงรวมกันภายในกระทรวงศึกษาธิการวาการดําเนินการพัฒนาโครงขายแกนหลัก สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาจะเปนรับผิดชอบในการบริหารจัดการและการขอต้ังงบประมาณในการดําเนินการ ในสวนของการที่เปนโหนดกระจาย และโหนดปลายทางเจาของหนวยงานจะเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการของบประมาณ

ดังน้ัน ในปงบประมาณ 2557 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจึงไดหารือกับสํานักงานคณะกรรมการ

อุดมศึกษา เพื่อวางแผนรวมกันในการพัฒนาโครงขายการศึกษาแหงชาติ เพื่อใหโครงขายดังกลาวมีความมั่นคง สามารถใหบริการไดอยางตอเน่ือง มีประสิทธิภาพ รองรับการใชงานในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา ทั้งในรูปแบบของการศึกษาทางไกล เชน การจัดการเรียนการสอนแบบ Interactive Learning ผานระบบ Telepresence การจัดรายการการสอนทางไกลผาน IPTV เปนตน นอกจากน้ี โครงขายดังกลาวตองรองรับโครงการจัดหาเครื่องคอมพิวเตอรพกพา (Tablet Computer) ซึ่งในอนาคตอันไกลน้ี โรงเรียนในสังกัดจะมีเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพามากกวา 7,000,000 เครื่อง ที่จะใหโครงขายดังกลาวในการเขาถึงแหลงขอมูล

การบูรณาการเครือขาย

เน่ืองจากแตละหนวยงานมีชองทางสื่อสารขององคกรหลักไปตามผูใหบริการอินเทอรเน็ตของแตละองคกร

หลัก ในสวนของการใชงานอินเทอรเน็ตทั่วไปผานผูใหบริการ (ISP) ในสวนของเครือขายเพื่อการศึกษาวิจัย (REN) จะผานทาง UniNet เพื่อเช่ือมตอไปยังเครือขายเพื่อการศึกษาวิจัย (Research Education Network : REN) ตางประเทศตอไป โดยในสวนของการจัดการภายในองคกรหลักใหมีการจัดทําเครือขายเสมือน (Multiprotocol Label Switching-Virtual Private Networks, MPLS VPN) โดยให NOC ของแตละองคกรหลักเปนผูดูแล เช่ือมตอไปยังผูใหบริการอินเทอรเน็ต รวมทั้งการกําหนดนโยบายในการใชเครือขายตามความเหมาะสม ดังรูปที่ 5.5

Page 52: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 50

รูปที่ 5.5 การบูรณาการเครือขายคอมพิวเตอร กระทรวงศึกษาธิการ

เครือขายแกนหลัก (Backbone) ซึ่งมีการติดต้ังทั่วประเทศ ดังรูปที่ 5.6 โดยมีขนาดชองทางสื่อสารของระบบ

เครือขายรวมทั้งสิ้น 6 Lamda (6x10 Gbps) ดังน้ี

สพฐ. 2 Lamda (2x10 Gbps)

อาชีวศึกษา 1 Lamda (10 Gbps)

สกอ. 2 Lamda (2x10 Gbps)

เครือขายเพื่องานวิจัย 1 Lamda (10 Gbps)

Page 53: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 51

AD

AD

T

R

R

RR

T

R

AD

R

AD

AD

AD

AD

AD

ADAD

ADAD

AD

AD

AD AD

AD

T

AD

AD

AD

T

ADAD

T

AD

AD

AD

T

T

AD

AD

AD AD

T

TAD

AD

AD

AD

AD

TT

T

AD

AD

AD

AD AD

AD AD

TAD

ADAD

T

AD

TAD

ADAD

AD

AD

ADAD

AD

T

AD

R

RR

AD

T

R

R

R

R

R

R

R

R RR

R

RR

R

R

RR

RR

R

R

RRR

R

R

R

RR

R

R

R

R

R

R

RR

R

R

R

RR

RR

R R R

R

R

AD

AD

T

AD

AD

AD

T

R

DWDM Terminal

Add/Drop Terminal

Repeater Terminal

OFC 24 Core

ICON_Symbol

T

T

T

T

ADAD

AD

AD

AD

T

BKN

PYT

BMD

SLY PTWPSM

LBG

HMK

BSE

TPJ

รูปที่ 5.6 เสนทางเครือขายแกนหลัก

สําหรับการเช่ือมตอไปยังเครือขายปลายทาง (Last mile) จะตองใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่ที่

สถานศึกษาต้ังอยู โดยพิจารณาจากเทคโนโลยีของ FTTs (Fiber to school) กอน ซึ่งอาจจะมีการประสานกับผู

Page 54: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 52

ใหบริการโครงขาย เชน บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) โดยเช่ือมสถานศึกษาเขากับเครือขายของ NEdNetในจุดที่ใกลที่สุด แทนการเช่ือมไปยังผูใหบริการโครงขาย ซึ่งจะทําใหประหยัดคาใชจายไดจํานวนมาก แตในกรณีที่ไมสามารถติดต้ัง FTTs ได ใหเลือกใชเทคโนโลยี WiFi, WiMaxหรือ 3G แลวแตกรณี แตไมแนะนําใหใชดาวเทียมเพราะไดชองทางสื่อสารแคบ ใชระยะเวลาในการเขาถึงขอมูลสูง และเสียคาใชจายสูง ยกเวนในกรณีที่ไมสามารถใชวิธีการอื่นใดไดทั้งสิ้น บริการอิเลก็ทรอนิกส (e-Services)

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดดําเนินโครงการพัฒนาเครือขายหองสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ซึ่งมีรายละเอียดฐานขอมูลและระบบบริหารจัดการที่ไดใชประโยชนในดานการศึกษาวิจัยรวมกันระหวางสถาบันการศึกษา ดังน้ี

1. ฐานขอมูลจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส (Thai Digital Collection) เพื่อเปนแหลงความรูภายในประเทศ โดยไดพัฒนาความรวมมือและดําเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการสําหรับจัดเก็บขอมูลและสืบคนเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกสของวิทยานิพนธในระดับบัณฑิตศึกษา งานวิจัย บทความวิชาการ หนังสือหายากปจจุบันมีความรวมมือกับสถาบันอุดมศึกษา ทั้งรัฐและเอกชนรวมมือจัดเก็บมากวา 150 แหง มีเอกสารฉบับเต็มเผยแพรในรูปอิเล็กทรอนิกส มากกวา 300,000 รายการพรอมน้ีการจัดเก็บขอมูลยังอยูในรูปมาตรฐานกลางการจัดเก็บในรูป Metadata Dublin core และสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลไดผานโปรโตคอล z39.5 และ OAI PMH

2. ฐานขอมูลสหบรรณานุกรม (Union Catalog) เพื่อเปนแหลงจัดเก็บรวบรวมขอมูลบรรณานุกรมของทรัพยากรหองสมุด และใหบริการคนหาสารสนเทศที่ตองการ เพื่อนําไปสูการยืมคืนระหวางหองสมุดที่จะทําใหสมาชิกหองสมุดสามารถเขาใชบริการหองสมุดใน ThaiLIS ไดเสมือนหองสมุดที่เปนสมาชิก และสามารถสืบคนขอมูลทั้งหมดโดยการเขาถึงเพียงครั้งเดียวผานเครือขายอินเตอรเน็ตปจจุบันมีขอมูลบรรณานุกรมจัดเก็บกวา 3,000,000 ระเบียน ทําใหผูสืบคนทราบวาแหลงที่จัดเก็บของเอกสารที่ตองการ พรอมน้ีการจัดเก็บขอมูลยังอยูในรูปมาตรฐานกลางการจัดเก็บในรูป MARC21 และสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลไดผานโปรโตคอล z39.5 และ OAI PMH

3. ฐานขอมูลวารสารสําหรับอางอิงตางประเทศ ซึ่งเปนฐานขอมูลที่จัดเก็บขอมูลวารสารวิชาการจากทั่วโลกซึ่งมีขอมูลหลากหลายกลุมสาขาวิชา โดยปจจุบัน สกอ. ไดดําเนินการบอกรับฐานขอมูลที่จําเปนตอการจัดการศึกษาในข้ันพื้นฐานครอบคลุมทุกสาขาวิชาในลักษณะ consortium ที่ดําเนินการจากสวนกลาง การใชงานจําเปนตองสืบคนไปยังเครื่องแมขายของสํานักพิมพตางประเทศ (foreign host)

4. พัฒนาโปรแกรมหองสมุดอัตโนมัติ สกอ. สนับสนุนมหาวิทยาลัยพัฒนาโปรแกรมหองสมุดอัตโนมัติ เพื่อมอบใหสถาบันการศึกษา และหนวยงานภาครัฐที่สนใจใชงานโดยไมคิดมูลคาตัวซอฟแวรทั้งน้ี โปรแกรมดังกลาวกําหนดใหรองรับมาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอมูลผานโปรโตคอล z39.5

การบูรณาการทรัพยากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

การบูรณาการเครือขายและเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการใชงานระบบเครือขายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) สํานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา จึงจําเปนตองมีการ

Page 55: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 53

พัฒนาการสรางบริการทางการศึกษาบนเครือขายการศึกษาแหงชาติ (NEdNet) โดยเสนอโครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรแมขายแบบองครวม (ดังรูปที่ 5.7) เพื่อบริการดานทรัพยากรการศึกษาวิจัย (Education Cloud) เพื่อพัฒนา/สนับสนุน/สงเสริมการใช ICT เพื่อการจัดการศึกษา ใหมีความสะดวกรวดเร็วมั่นคงปลอดภัยมีมาตรฐานที่เช่ือถือได สนับสนุนการประมวลผลขอมูลและการประยุกตใชระบบสารสนเทศตางๆเปนการเพิ่มศักยภาพของการบริหารทรัพยากรที่มีอยูเพิ่มจํานวนเครื่องแมขาย (Server) จํานวนแหลงขอมูลและพื้นที่เก็บขอมูล (Storage) ซึ่งอาจติดต้ังอยูตามสถานที่ตางๆโดยมีการเช่ือมโยงใหเปนเครือขายเดียวกันสงผลใหคณาจารย นิสิต นักศึกษา ของสถาบันอุดมศึกษาที่เปนสมาชิกเครือขายฯ สามารถใชประโยชนเพื่อสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนและการวิจัย ตลอดจนสามารถแลกเปลี่ยนสารสนเทศระหวางกันไดอยางมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน

รูปที่ 5.7 สถาปตยกรรมของระบบระบบคอมพิวเตอรแมขายแบบองครวมเพื่อบริการทรัพยากรดานการศึกษาวิจัย

วัตถุประสงค 1. เพื่อสงเสริมใหเกิดการใชประโยชนจากเครือขายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา UniNet โครงการ

เครือขายการศึกษาแหงชาติ ใหมีประสิทธิภาพเพิ่มมากข้ึน 2. เพื่อศึกษาวิจัยแนวทางในการใหบริการ Cloud Computing สําหรับภาคการศึกษา โดยใชเทคโนโลยีที่

หลากหลาย 3. เพื่อบูรณาการโครงสรางพื้นฐานและทรัพยากรเครือขายตลอดจนระบบสารสนเทศของภาคการศึกษา 4. เพื่อพัฒนาขับเคลื่อนแนวทางและยุทธศาสตรการสรางบริการทางการศึกษา ขยายกรอบบริการใหกับ

สถาบันการศึกษาสามารถบริหารจัดการและสรางระบบสนับสนุนการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน 5. เพื่อใหหนวยงานการศึกษาที่ยังขาดแคลนทรัพยากรที่จําเปนตอการจัดการศึกษาโดยใช ICT ไดมีโอกาส

พัฒนาระบบสารสนเทศของหนวยงาน

Page 56: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 54

6. เพื่อประหยัดงบประมาณในการลงทุนดานทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรเครือขายคอมพิวเตอร และพลังงานไฟฟา สําหรับภาคการศึกษา

เปาหมาย

1. พัฒนาระบบบริการทางการศึกษาของประเทศครอบคลุมดานตางๆ ไดแก - การใหบริการโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure as a Service: IaaS) เปนการใหบริการเฉพาะ

โครงสรางพื้นฐาน มีประโยชนในการประมวลผลทรัพยากรจํานวนมาก - การใหบริการแพลทฟอรม (Platform as a Service : PaaS) เปนการประมวลผลซึ่งมีระบบ

ปฏิบัติการและการสนับสนุนเว็บแอปพลิเคชันรวมดวย - บริการระบบจัดเก็บขอมูล (Data Storage as a Service : dSaaS) ระบบการจัดเก็บขอมูลที่มีขนาด

ใหญไมจํากัดรองรับการสืบคนและการจัดการขอมูลข้ันสูง - การใหบริการซอฟตแวร (Software as a Service: SaaS) อาทิ e-Learning, e-Library เปนตน - บริการรวมรวมลําดับความเช่ือมโยง (Composite Service :CaaS) คือ สวนทําหนาที่รวมโปรแกรม

ประยุกต หรือจัดลําดับการเช่ือมโยงแบบ workflow ขามเครือขาย รวมถึงการจัดการดานความปลอดภัย

2. สามารถใหบริการสถาบันการศึกษาที่จําเปนและยังไมมีระบบบริการทางการศึกษาไดเพิ่มข้ึน และมีประสิทธิภาพเพิ่มมากข้ึน

3. สามารถใหบริการเน้ือหา ขอมูลทางดานการศึกษากับ คณาจารย ครู นักวิจัย นักเรียน นักศึกษาไดทั่วถึง 4. สนับสนุนนโยบายแท็บเล็ต

ดวยสภาพปจจุบัน สกอ. ไดจัดวางระบบโครงขายสื่อสัญญาณใยแกวนําแสงพรอมเช่ือมโยงเครือขายเขากับเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ทําใหสถาบันการศึกษาตางๆ โดยเฉพาะกลุมโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สามารถใชงานอินเทอรเน็ตความเร็วสูง พรอมเช่ือมตอเครือขายออกสูภายนอกได และนอกจากน้ีภายหลังเช่ือมโยงเครือขายดังกลาวแลวเสร็จ ปญหาสําคัญที่พบอีกประการคือโรงเรียนตางๆ มีความประสงคที่จะพัฒนาเว็บไซต จัดทําสื่อการเรียนการสอน และระบบหองสมุดบริการภายในโรงเรียนของตนเอง แตสภาพแวดลอมไมเอือ้อํานวยอีกทั้งยังมีบุคลากรจํากัดรวมถึงภาระดานคาใชจาย เชน เครื่องคอมพิวเตอรแมขาย ระบบรักษาความปลอดภัยขอมูล รวมถึงคาไฟฟาซึ่งมีภาระผูกผันในอัตราที่สูง อีกทั้งยังตองทําหนาที่ติดต้ังระบบตางๆ ที่เกี่ยวของจําเปนดวยตนเอง ทําใหความตองการมีเน้ือหาการเรียนการสอน และการบริการดานวิชาการทําไดในวงจํากัด สกอ. จึงเห็นควรพัฒนาระบบคอมพิวเตอรแมขายแบบองครวมข้ึน ณ สวนกลาง หรือ หนวยงานการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูง พรอมทั้งจัดใหบริการ Platform ระบบที่จําเปน อาทิ ระบบหองสมุด ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน และเว็บไซดเปนตน และหากระบบมีความสมบูรณ สามารถพัฒนาใหหนวยงานระดับชุมชน โรงเรียนในพื้นที่ สามารถถายทอดองคความรูที่มีอยูไดอยางทั่วถึงและมีความเทาเทียมมากข้ึน

ระบบหรืออุปกรณที่มีอยูในปจจุบันของหนวยงาน

ปจจุบันหนวยงานมีระบบคอมพิวเตอรในลักษณะเครื่องแมขายเสมือน Virtualization Machine Server เพื่อทําหนาที่ใหบริการระบบจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มของวิทยานิพนธ งานวิจัย บทความวิชาการ และ

Page 57: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 55

หนังสือหายาก ซึ่งดําเนินการรวมกันกับสถาบันอุดมศึกษาทั่งประเทศกวา 150 แหง ปจจุบันมีขอมูลของเอกสารฉบับเต็มกวา 300,000 เลม รวมทั้งจัดเก็บขอมูลตางๆ ในโครงการพัฒนาเครือขายหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา อาทิ ฐานขอมูลสหบรรณานุกรม, ฐานขอมูลการประชุมวิชาการในประเทศ และฐานขอมูลโครงการ Teacher TV พรอมน้ีเน่ืองจากมีผูใชบริการตอเน่ืองเพื่อใหสามารถบริการขอมูลไดเต็มประสิทธิภาพหนวยงานไดจัดใหมีระบบเครื่องแมขาย DR Site (Diasater Recovery Site) เปนตน

ระบบที่พัฒนาข้ึนจะประกอบไปดวยฮารดแวร และซอฟตแวรระบบบริหารจัดการพื้นที่เครื่องแมขาย

พรอมทั้งพัฒนา platform ระบบการจัดการศึกษาที่จําเปน อาทิ ระบบหองสมุด ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน และเว็บไซดเปนตน โดยองคประกอบระบบทั้งหมดน้ีเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาใหกับหนวยงานการศึกษาที่ขาดแคลนอุปกรณเครื่องมือ งบประมาณ และบุคลากร ดังน้ัน ปริมาณงานที่จะสนับสนุนใหกับผูใชจะข้ึนอยูกับลักษณะเน้ือหาขอมูลที่จัดเก็บและรูปแบบการเผยแพร สําหรับกลุมผูใชงานประกอบดวย นักเรียน ครู อาจารย บุคลากรทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป พรอมน้ีการรองรับจํานวนผูใชงานสูงสุดในเวลาเดียวกันสามารถรองรับไดจํานวนมากเน่ืองการระบบที่รองรับจํานวนผูใชพรอมกันได รวมถึงมีขนาดชองสัญญาณอินเทอรเน็ตในขนาดที่สูง

ระบบน้ีจะทําใหหนวยงานที่ขาดแคลนเครื่องมือ และยังไมมีระบบบริหารจัดการศึกษาของตนเอง

เทาน้ัน ดังน้ัน หนวยงานจะรับบริการจะยังไมมีการจัดเก็บขอมูลในรูปอิเล็กทรอนิกส หรือหากมีการจัดเก็บแลวและหากเปนไปตามมาตรฐานการจัดเก็บขอมูล หรือการแลกเปลี่ยนขอมูลก็สามารถทําไดโดยสะดวก

สถาปตยกรรมการจัดการองคกร (Enterprise Architecture) ซึ่งมีองคประกอบดังน้ี

สถาปตยกรรมการจัดการองคกรดานพันธกิจ (Business Architecture) ควรประกอบไปดวยความ

สอดคลองเชิงยุทธศาสตรของโครงการ (เชน นโยบายรัฐบาล, แผนแมบท ICT, แผนยุทธศาตร เปนตน) และสอดคลองกับแผนนโยบายที่รัฐบาลแถลงตอรัฐสภาดังน้ี

• เพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน สําหรับระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกสแหงชาติ • เพื่อพัฒนาเปนระบบหลักสําหรับเครือขายสารสนเทศเพื่อการศึกษา ซึ่งทําใหเกิดการเรียนรูแบบไซ

เบอรโฮม ที่สามารถสงความรูมายังผูเรียนโดยระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูง

• สงเสริมใหนักเรียนทุกระดับช้ันไดใชอุปกรณคอมพิวเตอรแท็บเล็ต เพื่อการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ โดยเปนแหลงรวมเน้ือหาทางการศึกษาและบริการที่เปนประโยชน

• เพื่อเปนระบบการเรียนรูสํารองในพื้นที่วิกฤติ หรือภาวะไมปกติ เพื่อทําใหเกิดการเรียนอยางตอเน่ือง เชน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต

ขอ ๔.๑.๖ • เปนแกนระบบเครือขายการวิจัยแหงชาติเพื่อสรางทุนทางปญญาและนวัตกรรม ผลักดันใหประเทศ

สามารถพึ่งตนเองไดทางเทคโนโลยีเพื่อนําไปสูการสรางรากฐานใหมของเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม

Page 58: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 56

ขอ ๖.๑ • เปนโครงสรางพื้นฐาน IT ที่มุงพัฒนาใหประเทศไทยเปนสังคมที่อยูบนพื้นฐานขององคความรู โดย

พัฒนาความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใหประชาชนไดใชในชีวิตประจําวันใหทัดเทียมกับพัฒนาการในระดับนานาชาติ ดวยการจัดใหมีแหลงความรูสาธารณะเพิ่มข้ึนผานทางเครือขายเทคโนโลยี

กระบวนการดําเนินงาน 1. วิเคราะหออกแบบระบบ Infrastructureและระบบบริหารจัดการ Cloud Computing 2. คัดเลือก cloud storage solution 3. ศึกษาออกแบบและคัดเลือก Platform สําหรับงานบริการทางการศึกษา 4. จัดทําขอกําหนดคุณลักษณะ (TOR) โครงการศึกษาวิจัยและวางระบบระบบคอมพิวเตอรแมขายแบบองค

รวมเพื่อบริการดานทรัพยากรการศึกษาวิจัย 5. วางระบบความปลอดภัย 6. จัดทํา Model การใหบริการ cloud Education 7. ทดสอบระบบในระดับ Cloud Infarstructure และ cloud storage 8. จัดฝกอบรมและใหความรูกับผูเกี่ยวของระดับตาง ๆ 9. ผลการวิเคราะหและแนวโนมในการพัฒนาในระยะถัดไป ผูใชงานระบบ แบงออกเปน 2 กลุม ไดแก ระดับที่ 1. สถาบันการศึกษา ระดับที่ 2. ผูเรียน ผูสอน และบุคลากรทางการศึกษา

สถาปตยกรรมการจัดการองคกรดานระบบสารสนเทศ (Application Architecture) ควรประกอบไปดวย - ช่ือของระบบสารสนเทศ - High level application flow with user roles participationing (SOD) - โปรแกรมประยุกตอื่นๆที่ตองเช่ือมโยงดวย (รวมถึงช่ือของหนวยงานเจาของระบบ)

o ระบบหองสมุดอัตโนมัติ คัดเลือกตามความเหมาะสม/เนนระบบที่เปน Open Source อาทิ UlibMมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, Koha เปนตน

o ระบบบริหารจัดการสื่อการเรียนการสอน อาทิ TCU LMS (โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา), LearnSquare (NECTEC), Moodle

o โครงการโทรทัศนครู (Teacher TV) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

สถาปตยกรรมการจัดการองคกรดานขอมูล (Data Architecture) ควรประกอบไปดวย - ขอมูลที่จําเปนของระบบ

o เน้ือหาการเรียนรูสื่อการเรียนการสอน o ขอมูลบรรณานุกรมหนังสือของหองสมุด

Page 59: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 57

o ขอมูลองคความรูเพื่อใหบริการทางการศึกษาอื่นที่จําเปน เชน บทความวิชาการ หนังสืออิเล็กทรอนิกส เปนตน

- ช่ือของหนวยงานเจาของขอมูล o สถาบันการศึกษาที่รวมโครงการ

- โครงสรางฐานขอมูล o จัดเก็บขอมูลตามมาตรฐาน Metadata, MARC, SCORM เปนตน

- มาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอมูลที่ใช เชน TH e-GIF, StatXML, ebXML เปนตน o มาตรฐานที่ใชในการแลกเปลี่ยนขอมูลไดแก OaiPMH, Z3950 เปนตน

สถาปตยกรรมการจัดการองคกรดานเทคโนโลยี (Technology Architecture) ควรประกอบไปดวย - ภาษาที่ใชในการพัฒนาระบบสารสนเทศ

o PHP, Java หรืออื่น ๆตามความเหมาะสมและเปนไปตามยุคสมัย - ระบบปฏิบัติการของระบบสารสนเทศ

o UNIX, Linux เปนตน - คาใชจายในการบํารุงรักษาระบบสารสนเทศตอป

o 10% ของงบลงทุน - ระบบปฏิบัติการของระบบฐานขอมูล

o MySQL - อัตราการโตของฐานขอมูล (%)

o 20-30% ตอป - คาใชจายในการบํารุงรักษาระบบฐานขอมูลตอป

o 10% ของงบลงทุน - การวิเคราะหปญหาของระบบงานเดิม และทางเลือกในการออกแบบระบบ - การวิเคราะหขนาดความสามารถทางความเร็วของซีพียู ขนาดหนวยความจํา ความจุขอมูลของดิสก และความเร็วใน

การสื่อสารขอมูล ที่ตองการตามปริมาณงานในขอ ๗ - ปจจัยสําเร็จของโครงการ - เทคโนโลยีของระบบที่เสนอ พรอมเหตุผล - แผนผังการเช่ือมโยงเครือขาย (Network diagram) - แผนผังการเช่ือมโยงระบบ (system diagram) และการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Network, system,

and information security)

Page 60: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

58

บทท่ี 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม

การขับเคลื่อนยุทธศาสตรและมาตรการตางๆ ตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ

การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 ใหสามารถดําเนินการสําเร็จภายใตทรัพยากรดานเวลา บุคลากร และงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัด ซึ่งมีผลกระทบตอการบริหารจัดการ การกํากับติดตาม และการประเมินผลการประยุกตใชระบบ ICT ขององคกรหลัก หนวยงานในสังกัด และหนวยงานในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ ควรจะดําเนินการตามองคประกอบที่สําคัญในเบื้องตนคือ

1. การกําหนดนโยบาย หมายถึง กําหนดนโยบายที่มีผลตอการขับเคลื่อนและผลักดันการดําเนินงานตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับน้ี ซึ่งประกอบดวย

กําหนดใหองคกรหลักและหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ใชแผนแมบทฉบับน้ีเปนกรอบแนวทางการจัดทํา/พัฒนาแผนปฏิบัติการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของแตละหนวยงาน เพื่อความเปนเอกภาพในการพัฒนาการศึกษาและใชประโยชนรวมกัน

กําหนดใหมีการเช่ือมประสานและบูรณาการสื่อการเรียนการสอน และขอมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา

พัฒนาเครือขายความรวมมือของหนวยงานทางการศึกษา และหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน

ใหมีการนํามาตรฐานมาใชในการพัฒนาซอฟตแวรเพื่อการบริหารจัดการ และสื่อการเรียนรู

พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาในการกาวสูประชาคมอาเซียน (AC)

กําหนดใหการพัฒนาและประยุกตใชโปรแกรมประเภทเปดเผยรหัส (Open Source) เปนเครื่องมือสําคัญเพื่อการศึกษาของประเทศ

2. การสรางความรับรูเก่ียวกับแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง จัดใหมีการเผยแพรและสรางความรับรูเกี่ยวกับแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับน้ี เพื่อใหทุกฝายไดเขาใจถึงความสําคัญของวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร และมาตรการตางๆที่กําหนดไว ซึ่งมีผลตอการพัฒนา การประยุกตใช และการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมถึงการใหความสําคัญตอโครงการเพื่อบูรณาการ ในอันที่จะมองเห็นทิศทางการพัฒนาดวยเปาหมายและความเขาใจที่ถูกตองตรงกัน รวมทั้งมองเห็นประโยชนที่จะไดรับรวมกัน

3. การกําหนดระดับการบริหาร หมายถึง องคกรหลักควรกําหนดระดับของการบริหาร การกํากับติดตาม และการประเมินผลแผนแมบท เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับน้ี โดยอาจกําหนดกลไก นโยบายที่จําเปน รวมถึงแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมตอบริบทของหนวยงานในสังกัด และในกํากับของแตละองคกรหลัก เพื่อใหเกิดความเปนไปไดจากการใหความรวมมือของผูสอนและบุคลากรทางการศึกษา

Page 61: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

59

4. การสงเสริมสนับสนุนศักยภาพการดําเนินงาน หมายถึง การสงเสริมสนับสนุนหนวยงานในสังกัด หนวยงานในกํากับ ตลอดจนถึงบุคลากรทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ใหมีศักยภาพการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับ ICT อยางนอยดังตอไปน้ีคือ

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย

การบูรณาการสารสนเทศดวยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย

สมรรถนะการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย โครงสรางการบริหาร

การบริหาร กํากับติดตาม และประเมินผล การประยุกตใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2557 - 2559 ประกอบดวย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา โดยแบงออกเปน 2 ประเด็นดังน้ีคือ

ประเด็นท่ี 1. การบริหารจัดการและกํากับติดตามระบบโครงขายพ้ืนฐาน (Network Infrastructure) เน่ืองจากสถาปตยกรรมเครือขายของกระทรวงศึกษาธิการมีลักษณะการรวมศูนย (Centralized) โดยมีแกนหลัก (Backbone) เช่ือมโยงออกไปจากศูนยกลางที่กรุงเทพฯ และมีศูนยกระจายในระดับภาคและภูมิภาค ดังรูปที่ 6.1

รูปที่ 6.1 การเช่ือมโยงเครือขายในระดับตาง ๆ

Page 62: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

60

เมื่อพิจารณาในประเด็นที่สถาบันการศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการที่มีการเช่ือมโยงระบบเครือขาย อาจจําแนกไดเปน 3 ระดับ คือ 1. สามารถชวยเหลือตัวเอง และสามารถที่จะชวยเหลือสถาบันอื่นได ซึ่งประกอบดวยสถาบันอุดมศึกษาทั้งที่

เปนของรัฐและในกํากับของรัฐ 2. สามารถชวยเหลือตัวเองไดอยางเดียว ซึ่งประกอบดวยสถาบันอาชีวศึกษาเขตพื้นที่การศึกษา 3. ไมสามารถชวยเหลือตัวเองได ซึ่งประกอบดวยโรงเรียนบางแหงและศูนยการศึกษานอกโรงเรียน

ดังน้ัน การบริหารจัดการระบบเครือขายสวนกลางจะดําเนินการที่ UniNet สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ตามแผนผังการบริหารจัดการดังรูปที่ 6.2

รูปที่ 6.2 แผนผังการบริหารจัดการเครือขายศูนยปฎิบัติการเครือขายสวนกลาง (Central NOC)

จัดต้ังศูนยปฎิบัติการดานเครือขายสวนกลาง (Central-NOC) โดยความรวมมือกับสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป., MOE-Net NOC) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา (สอศ., VEC-Net NOC) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ., OBEC-Net NOC) โดยมีการแบงความรับผิดชอบในการดูแลโครงขายรวมกัน ทั้งน้ีในสวนของ Backbone จะเปนความรับผิดชอบของ UniNet

ศูนยปฎิบัติการดานเครือขายสวนกลาง (Central-NOC) จะตองมีเจาหนาที่วิศวกรทําหนาที่ ดูแล บริหาร จัดการ ใหคําปรึกษาสมาชิกในเครือขาย

มีศูนยรับแจงเหตุ ขัดของและประสานงานกลาง

ในกรณีมี่ตองมีการซอมแซม บํารุงรักษา อุปกรณเครือขาย อาจจะมีการจาง Out Source

ศูนยปฎิบัติการดานเครือขายภาค (Regional NOC, RNOC)

ทําหนาที่บริหารจัดการเครือขายระดับภาค (Regional Node) โดยประสานกับ Central NOC เพื่อดูแลสมาชิกภายในภาค ซึ่งมีทั้งสถาบันอุดมศึกษา สถาบันอาชีวะศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน และศูนยการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีข้ันตอนดังน้ี

Page 63: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

61

ประสานกับกับเจาหนาที่ของศูนย/สํานัก คอมพิวเตอรหรือสํานักงานไอทีของสถาบันการศึกษาระดับภาคที่ติดต้ังระบบเครือขาย ทั้งน้ี RNOC อาจจะอยูภายใต สกอ. สอศ. สพฐ. หรือ สป. ก็ได

ประสานงานความรวมมือกับ Central NOC ในการ ดูแล ตรวจสอบ และประสานงาน ในการบริการจัดการระบบ

ในกรณีที่เกิดปญหาการใชงานระบบเครือขายใหสถาบันที่เกิดปญหา แจงรายละเอียดกับ RNOC จากน้ัน เจาหนาที่ของ RNOC จะตรวจสอบและแกไขปญหาเบื้องตน ในกรณีที่สามารถแกไขปญหาไดทันที ก็จะดําเนินการจนแลวเสร็จ และรายงานผลตอ Central-NOC ในกรณีที่ไมสามารถแกไขปญหาได ก็ใหประสานกับ Central-NOC เพื่อแกไขปญหาตอไป

สําหรับการบริหารจัดการ Central-NOC และ RNOC น้ันอาจจะต้ังเปนหนวยงานเสมือน (Virtual Organization, VO) โดยการจัดต้ังเปนคณะกรรมการซึ่งอาจมีโครงสรางดังน้ี

1. กรรมการอํานวยการศูนยปฎิบัติการเครือขายสวนกลาง (Steering Committee) ประกอบดวย

1. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ปรึกษา 2. เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่ปรึกษา 3. เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ปรึกษา 4. เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ปรึกษา 5. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง สกอ. ประธาน 6. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง สป. รองประธาน 7. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง สอศ รองประธาน 8. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง สพฐ. รองประธาน 9. ผอ.ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป. กรรมการ 10. ผอ.ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สพฐ. กรรมการ 11. ผอ.ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สอศ. กรรมการ 12. ผูทรงคุณวุฒิดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3 คน กรรมการ 13. ผอ.ศูนยเทคโนโลยีฯ UniNet กรรมการ และเลขานุการ 14. เจาหนาที่ UniNet ผูชวยเลขานุการ

อํานาจหนาที่ 1. กําหนดนโยบายในการบริหารจัดการเครือขายของกระทรวงศึกษาธิการ 2. จัดหางบประมาณในการบริหารจัดการเครือขาย ทั้งในสวนของครุภัณฑ การดําเนินการ การ

บํารุงรักษา และการพัฒนาบุคลากร 3. จัดทํารายงานนําเสนอตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

Page 64: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

62

2. กรรมการศูนยปฎิบัติการเครือขายสวนกลาง (Steering Committee) ประกอบดวย

1. ผูอํานวยการ UniNet ประธาน 2. ผูแทนจาก สกอ. จํานวน 2 คน กรรมการ 3. ผูแทนจาก สป. จํานวน 2 คน กรรมการ 4. ผูแทนจาก สอศ. จํานวน 2 คน กรรมการ 5. ผูแทนจาก สพฐ. จํานวน 2 คน กรรมการ 6. เจาหนาที่ของ UniNet กรรมการและเลขานุการ อํานาจหนาที่ 1. กําหนดข้ันตอน และรายละเอียดในการบริหารจัดการเครือขายของกระทรวงศึกษาธิการ 2. จัดทํารายละเอียดงบประมาณในการบริหารจัดการเครือขาย ทั้งในสวนของครุภัณฑ การ

ดําเนินการ การบํารุงรักษา และการพัฒนาบุคลากร 3. บริหารจัดการ แกไขปญหาของสมาชิกในสวนกลาง และ Backbone 4. ประสานงานกับศูนยปฎิบัติการระดับภาค (RNOC) ในการจัดการ และแกไขปญหา

3. ศูนยปฎิบัติการเครือขายระดับภาค ประกอบดวย

1. ผูอํานวยการศูนยคอมพิวเตอรของสถาบันแมขายระดับภาค ประธาน 2. ผูแทนสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรรมการ 3. ผูแทนจากสถาบัน สกอ. ในภาคน้ัน กรรมการ 4. ผูแทนจากสถาบัน สอศ. ในภาคน้ัน กรรมการ 5. ผูแทนจากสถาบัน สพฐ. ในภาคน้ัน กรรมการ 6. ผูแทนจากสถาบัน กศน. ในภาคน้ัน กรรมการ 7. ผูแทนจากศูนยคอมพิวเตอรของสถาบันแมขายระดับภาค เลขานุการ

อํานาจหนาที่ 1. บริการจัดการ แกไขปญหา เครือขายของสมาชิกในระดับภาค 2. จัดหาครุภัณฑ จัดจางการบํารุงรักษา และการพัฒนาบุคลากร โดยไดรับการจัดสรรของ

Central NOC 3. ประสานงาน และจัดทํารายงานนําเสนอตอ Central NOC

ในกรณีที่มีการจัดต้ังสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (รายละเอียดตามรางพระราชบัญญัติในภาคผนวก ก.) ให

โอนยายภารกิจ หนาที่ ของศูนยปฎิบัติการเครือขายทั้งหมดไปที่สถาบันฯ

Page 65: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

63

ประเด็นท่ี 2. การบริหารจัดการและกํากับติดตามท่ัวไป

แนวทางการบริหารจัดการและกํากับติดตามการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่นอกเหนือจากพัฒนาโครงขายพื้นฐาน (Network Infrastructure) ควรมีการกําหนดผูรับผิดชอบ พรอมทั้งขอความรวมมือในการปฏิบัติงานอยางพรอมเพรียงกัน เน่ืองจากมีความเกี่ยวของกับหนวยงาน/บุคคลหลายฝาย โดยการจดัต้ังคณะกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ประกอบดวย

1. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ประธาน 2. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ปรึกษา 3. เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่ปรึกษา 4. เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ปรึกษา 5. เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ปรึกษา 6. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง สกอ. กรรมการ 7. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง สป. กรรมการ 8. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง สอศ กรรมการ 9. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง สพฐ. กรรมการ 10. ผอ.ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป. กรรมการและเลขานุการ

อํานาจหนาที่

1. แตงต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน โดยมีผูแทนจากหนวยงานที่เกี่ยวของกับการดําเนิน

ยุทธศาสตร มาตรการ หรือโครงการเพื่อการบูรณาการตางๆ 2. กําหนดตัวช้ีวัดและคาเปาหมายในระดับองคกรหลัก โดยอางอิงจากตัวช้ีวัดที่กําหนดไวในแผน

แมบทฯฉบับน้ี หรือปรับปรุง/กําหนดเพิ่มเติมไดเพื่อความเหมาะสมตอการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ

ภาพรวมแนวทางการบริหารจัดการและดําเนินงานของคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานที่ไดรับการแตงต้ังจากคณะกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ประกอบดวย

1. การจัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อดําเนินกาตามแผนแมบทฉบับน้ี 2. การออกกฎระเบียบที่จําเปนตอการพัฒนาระบบ ICT ของกระทรวงศึกษาธิการ 3. การดําเนินโครงการเพื่อการบูรณาการและการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบ ICT และการ

ประเมินผลตามคาบเวลาที่กําหนดไว 4. การรวมกันแกไขปญหาอุปสรรคที่อาจเกิดข้ึนในระหวางการพัฒนาระบบ ICT 5. การทบทวน และปรับแผนการดําเนินงานตามความจําเปนอยางเหมาะสม เพื่อใหเกิดความสําเร็จใน

การดําเนินงานตามยุทธศาสตรที่ไดกําหนดไว

Page 66: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

64

ปจจัยเก้ือหนุนตอความสําเร็จ การพัฒนาระบบ ICT เพื่อการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ จําเปนตองอาศัยกระบวนการการมีสวนรวม

ของทุกฝาย ตลอดจนชวยกันเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงระบบ ICT ใหเปนประโยชนรวมกัน ซึ่งอาจพบปญหาอุปสรรคนานัปการที่สามารถฟนฝาใหผานพนไปได หากทุกฝายรวมกันตระหนักถึงปจจัยแหงความสําเร็จดังตอไปน้ี

1. ผูบริหาร/ผูมีอํานาจตัดสินใจของกระทรวงฯ ตองใหความสําคัญและความรวมมือ การพัฒนาระบบ ICT ใหประสบความสําเร็จ ผูบริหารและผูมีอํานาจตัดสินใจของกระทรวงศึกษาธิการ สมควรดําเนินการดังตอไปน้ี

เห็นความสําคัญและประโยชนของระบบสารสนเทศวา สามารถชวยในการบริหารงานได

ใหความรวมมือกับทีมงานผูพัฒนาระบบสารสนเทศอยางเต็มที่

ผลักดันใหเกิดการใชระบบสารสนเทศอยางจริงจัง

เปนแบบอยางแกเจาหนาที่ในการประยุกตใชระบบสารสนเทศ กระตุนและสรางความตระหนักในความสําคัญของระบบสารสนเทศ

สั่งการใหเจาหนาที่ใหความรวมมือในการพัฒนาและใชงานระบบสารสนเทศ รวมทั้งนํามากําหนดเปนตัวช้ีวัดในการประเมินผลงานของเจาหนาที่ โดยเฉพาะอยางย่ิงเมื่อการพัฒนาระบบและการใชงานประสบความสําเร็จ

2. ความเขาใจในขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Implementation)

ผูบริหารและผูปฏิบัติงานสวนหน่ึงมักมองการพัฒนาระบบสารสนเทศเปนเรื่องงายๆ และเปนเรื่องของนักเทคนิคผูพัฒนาเพียงฝายเดียว ทั้งที่จริงทุกฝายที่เกี่ยวของสมควรมีความรูความเขาใจในกระบวนการ หรือข้ันตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศตามลําดับในภาพรวม ดังน้ีคือ

ทราบความตองการดานสารสนเทศที่จะพัฒนาใหชัดเจน (Requirement Specification) กอนที่จะจัดซื้อจัดจางผูพัฒนา โดยรวมกันหาขอสรุปความตองการดานสารสนเทศที่กําลังจะพัฒนาจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เพราะจะมีผลตอการออกแบบ พัฒนา ตลอดจนถึงการประยุกตใชงาน

หลังจากการวิเคราะหออกแบบ ควรมีการยืนยันความเขาใจระหวางผูพัฒนากับผูใชงานวา มีความถูกตองตรงกันหรือไม เพราะในข้ันตอนน้ียังถือวาสามารถเปลี่ยนแปลงแกไขไดงายกวาจะรอใหการพัฒนาเสร็จสิ้นลง

การพัฒนาและติดต้ัง (Implement) สมควรทดสอบรวมกันระหวางผูพัฒนาและผูใช ตลอดจนถึงการฝกอบรม เพื่อใหเกิดความเขาใจในการใชงาน และการปรับปรุงที่เหมาะสมตามสภาพการณจริง

การบันทึกและตรวจสอบความถูกตองของขอมูล (Data entry & Verify) เพราะฐานขอมูลที่เกิดข้ึนสามารถนํามาประยุกตใชไดอยางกวางขวาง (ทั้งดานบริหารและการเรียนการสอน) จึงสมควรจะมีการตรวจสอบความถูกตองจากตนทางของแหลงขอมูลเสมอ เน่ืองจากขอมูลที่มีความผิดพลาดบางสวนอาจจะลดความนาเช่ือถือของขอมูลที่เหลือทั้งหมดได

Page 67: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

65

การบํารุงรักษา (Maintenance) ถือเปนสวนหน่ึงของกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศดวย เพราะในทางปฏิบัติมักมีความเปลี่ยนแปลงที่สงผลกระทบตอการใชระบบสารสนเทศอยูตลอดเวลา เชน ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ความเปลี่ยนแปลงของกฎระเบียบและลักษณะงาน เปนตน

3. ประสิทธิภาพของระบบเครือขาย

ระบบเครือขาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมตอการใชงานสารสนเทศในปจจุบัน เพราะจะชวยลดเวลาและประหยัดคาใชจายไดมากกวาการติดตอสื่อสารดวยวิธีอื่น อีกทั้งยังสามารถประยุกตใชกับการเรียนการสอนไดอยางกวางขวาง จึงควรตระหนักในประเด็นตางๆอยางนอยดังตอไปน้ี

การกระจายอยางทั่วถึงของระบบเครือขาย เพื่อใหทุกฝายสามารถเขาถึงสารสนเทศไดอยางเทาเทียมกัน

ความรวดเร็วในการรับ-สงขอมูลดวยอัตราคงที ่เพราะถาอัตราความเร็วไมสม่ําเสมอหรือมีความลาชาจนเกินไป จะย่ิงเปนการเสียเวลาจนถึงข้ันใชการไมไดเลย

ความมั่นคงปลอดภัยจากการถูกบุกรุก เชน ไวรัส ผูไมประสงคดี เปนตน รวมถึงเสถียรภาพของเครือขายเอง ซึ่งลวนมีผลตอความนาเช่ือถือของขอมูลและผูใชงานทุกฝาย

4. การบูรณาการระบบสารสนเทศ

การพัฒนาระบบสารสนเทศโดยทั่วไป มักจะพัฒนาทีละระบบตามความตองการของแตละสวนงานในแตละชวงเวลา จึงคอนขางพัฒนาอยางเปนอิสระ ขาดมุมมองหรือแผนการที่จะบูรณาการระบบเหลาน้ันดวยกัน ทําใหเกิดปญหาในการทํางาน เชน ตองกรอกขอมูลซ้ําซอนกันในแตละระบบ เปนตน จึงสมควรที่ทุกฝายจะบูรณาการดวยความตระหนักในประเด็นตางๆ ดังน้ี

ความต้ังใจของทุกฝายในการบูรณาการสารสนเทศรวมกัน เพราะเทคโนโลยีปจจุบันเอื้อใหเกิดการบูรณาการไดอยางแนนอน

ความยอมรับขอบกพรองของขอมูลที่จัดเก็บไวต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน เพราะเปนธรรมดาที่การบูรณาการขอมูลมักจะแสดงใหเห็นความคลาดเคลื่อนของขอมูลระหวางระบบเสมอ

ความยอมรับของผูบริหารในการไมถือโทษ หรือถือเปนความผิดกรณีที่พบความบกพรองคลาดเคลื่อนของขอมูล โดยเฉพาะอยางย่ิงในระยะเริ่มตนของการบูรณาการสารสนเทศ

5. กฎเกณฑ ระเบียบ หรือขอตกลงเพ่ือการบริหารงานรวมกัน

กระทรวงศึกษาธิการควรวางกฎเกณฑ ระเบียบ หรือขอตกลงเพื่อการบริหารงานดาน ICT เปน 2 กลุม เพื่อใหเหมาะสมกับสถานการณที่เปนจริงดังน้ีคือ

กลุมที่ 1 กฎเกณฑ ระเบียบ หรือขอตกลงตามภารกิจหลักของกระทรวงศึกษาธิการ โดยพยายามรักษาใหมีความมั่นคงแนนอน (ไมเปลี่ยนแปลงบอยๆ) ซึ่งจะสงใหเกิดการพัฒนาอยางถาวรตอเน่ือง

Page 68: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

66

กลุมที่ 2 กฎเกณฑ ระเบียบ หรือขอตกลงตามนโยบายของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีวาการฯ ซึ่งมักจะเปนเรื่องจําเปนเรงดวนหรือมีความสําคัญตามสถานการณในแตละชวงเวลา

6. ผลประโยชนท่ีเกิดขึ้นรวมกัน

หมายความวา ผลประโยชนจะที่ไดรับหรือที่จะเกิดข้ึนกับการทํางานของแตละฝาย สามารถปรากฏไดอยางชัดเจน คือ ผูพัฒนา ผูใหขอมูล และผูดูแลระบบสมควรที่จะไดรับประโยชนดวย เชน ถือเปนคะแนนตัวช้ีวัดการทํางาน ที่สําคัญเทียบเทาการปฏิบัติงานตามตําแหนงหนาที่ เปนตน

7. กําลังใจในการพัฒนา การพัฒนาระบบสารสนเทศแมจะเปนเพียงงานเบื้องหลังภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการก็ตาม แตเมื่อสําเร็จตามวัตถุประสงคแลว มักสงผลใหการทํางานของทุกฝายเกิดความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีข้ึนไมมากก็นอย เชน ทํางานไดรวดเร็วข้ึน ทํางานไดสะดวกข้ึน เปนตน ฉะน้ันสมควรที่ทุกฝายจะเห็นความสําคัญและตระหนักถึงประโยชนที่ไดรับจากการใชระบบสารสนเทศ โดยเฉพาะอยางย่ิงในชวงการพัฒนาและเตรียมการนําระบบงานไปใช ผูปฏิบัติงานตองทํางานอยางหนักทั้งงานประจําที่ทําอยูและงานดานขอมูล ดังน้ัน ผูบริหารควรจะใหขวัญกําลังใจแกผูปฏิบัติงาน เห็นความสําคัญและคุณคาในงานที่เจาหนาที่ดําเนินงานอยู

8. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปจจุบันความรูความเขาใจในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการขยายตัวครอบคลุมพื้นที่ตางๆไดอยางกวางขวาง การเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถทําไดคอนขางสะดวกกวาในอดีต สงผลใหการเช่ือมโยงระหวางกระทรวงศึกษาธิการ บุคลากรทางการศึกษาตลอดจนถึงนักเรียนและประชาชนทั่วไป ซึ่งสามารถที่จะเรียนรูผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดตลอดเวลา

Page 69: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

ภาคผนวก ก. รางพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา

รางฯ ท่ีสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) ตรวจพิจารณาแลว เรื่องเสร็จท่ี ๕๐๕/๒๕๕๓

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบรางพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พ.ศ. ....

หลักการ

ใหมีกฎหมายวาดวยสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เหตุผล

โดยที่มาตรา ๖๙ แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดบัญญัติใหมีหนวยงานกลางเพื่อทําหนาที่พิจารณาเสนอนโยบายและแผนการสงเสริม การประสานการวิจัยการพัฒนาและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งน้ี เพื่อใหผูผลิต ผูใชและผูเรียนมีความรูความสามารถในการผลิตหรือนําสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชในการพัฒนากระบวนการเรียนรูทางการศึกษาใหเปนไปอยางคุมคาและเหมาะสม นอกจากน้ี มาตรา ๖๘ แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดบัญญัติใหมีการระดมทุนเพื่อจัดต้ังกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาสําหรับใชในการสงเสริมการผลิต การวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัติน้ี

Page 70: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

2ราง พระราชบัญญัติ สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พ.ศ. ....

หลักการ โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกวา “พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พ.ศ. ....” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัติน้ี “เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา” หมายความวา การสื่อสารผานระบบคลื่นความถ่ี ระบบสื่อตัวนํา หรือโครงสรางพื้นฐานอื่นที่จําเปนตอการแพรภาพ เสียง รวมถึงการสื่อสารในรูปแบบอื่นซึ่งครอบคลุมสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม สื่อโสตทัศน แบบเรียน ตํารา หนังสือทางวิชาการ หรือแหลงการเรียนรูที่นํามาใชเพื่อประโยชนในการใหบริการทางการศึกษา “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา “กรรมการ” หมายความวา กรรมการสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา “พนักงาน” หมายความวา พนักงานสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา “ลูกจาง” หมายความวา ลูกจางสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา “สถาบัน” หมายความวา สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา “กองทุน” หมายความวา กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี

มาตรา ๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี

หมวด ๑ สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา ๕ ใหจัดต้ังสถาบันข้ึน เรียกวา “สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา”เปนหนวยงานกลางตามมาตรา ๖๙ แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มีวัตถุประสงค ดังตอไปน้ี

(๑) เสนอนโยบายและแผนเกี่ยวกับการวิจัย การพัฒนาและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตอ คณะรัฐมนตร ี (๒) สงเสริมและประสานงานการผลิต การวิจัย การพัฒนา และการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (๓) ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (๔) พัฒนาและบริหารจัดการระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศของสถาบัน เพื่อสนับสนุนการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งในระดับชาติและระดับทองถ่ิน

Page 71: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

3 (๕) พัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหมีความรูความสามารถและทักษะในการผลิตและการใชเทคโนโลยี มาตรา ๖ ใหสถาบันมีฐานะเปนหนวยงานของรัฐที่เปนนิติบุคคล และไมเปนสวนราชการตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น กิจการของสถาบันไมอยูภายใตบังคับแหงกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน กฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ กฎหมายวาดวยการประกันสังคม และกฎหมายวาดวยเงินทดแทน แตพนักงานของสถาบันตองไดรับประโยชนตอบแทนไมนอยกวาที่กําหนดไวตามกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน กฎหมายวาดวยการประกันสังคม และกฎหมายวาดวยเงินทดแทน มาตรา ๗ ใหสถาบันมีที่ต้ังของสํานักงานแหงใหญอยูในกรุงเทพมหานครหรือจังหวัดอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๘ ใหสถาบันมีอํานาจกระทํากิจการตางๆ ภายในขอบแหงวัตถุประสงคตามมาตรา ๕ และอํานาจเชนวาน้ีใหรวมถึง (๑) สงเสริม ประสานงาน และสนับสนุนการจัดใหมีสถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อใหบริการทางการศึกษา (๒) จัดใหมีการผลิตสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อใชเปนตนแบบสําหรับการเผยแพรแกสาธารณชนโดยสถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทัศน สื่อประสม หรือโดยวิธีการสื่อสารรูปแบบอื่น ทั้งน้ี สถาบันอาจจัดใหมีสถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทัศน หรือสื่อประสม เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานดังกลาวไดดวย (๓) ประสานงานและสนับสนุนการผลิต การวิจัย การพัฒนาและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษากับบุคคล กลุมบุคคล องคกร หรือสถาบันการศึกษา ทั้งในประเทศและตางประเทศ (๔) ทําความตกลงและรวมมือกับหนวยงานของรัฐและภาคเอกชนหรือกับองคการตางประเทศในกิจการที่เกี่ยวกับวัตถุประสงคของสถาบัน (๕) เรียกเก็บคาตอบแทนหรือคาบริการในการดําเนินกิจการตามวัตถุประสงคของสถาบัน (๖) กระทําการอยางอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเกี่ยวเน่ืองเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของสถาบัน มาตรา ๙ ทุนและทรัพยสินของสถาบันมีดังตอไปน้ี (๑) เงินหรือทรัพยสินที่ไดรับโอนมาตามมาตรา ๔๒ (๒) เงินที่รัฐบาลจายใหเปนทุนประเดิม (๓) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรใหเปนรายป (๔) เงินอุดหนุนจากองคกรปกครองสวนทองถ่ินหรือองคกรอื่นทั้งในประเทศและตางประเทศ หรือองคการระหวางประเทศและเงินหรือทรัพยสินที่มีผูอุทิศให (๕) คาตอบแทนคาบริการหรือรายไดจากการดําเนินกิจการ หรือสิทธิประโยชนของสถาบัน (๖) ดอกผลหรือผลประโยชนใดๆที่เกิดจากทรัพยสินของสถาบัน มาตรา ๑๐ รายไดของสถาบันไมเปนรายไดที่ตองนําสงคลังเปนรายไดแผนดินตามกฎหมายวาดวยเงินคงคลังและกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ

Page 72: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

4 มาตรา ๑๑ นโยบายและแผนตามมาตรา ๕ (๑) ใหจัดทําข้ึนเพื่อกําหนดแนวทางหลักของประเทศในการวิจัย การพัฒนาและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา สําหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งในระดับชาติและระดับทองถ่ิน ซึ่งอยางนอยตองมีรายละเอียดดังตอไปน้ี (๑) ความสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ (๒) เปาประสงคและผลที่จะไดรับ (๓) การกําหนดหนาที่ในการดําเนินการตามภารกิจแกหนวยงานของรัฐ (๔) ประมาณการทางการเงินที่ตองใชในการปฏิบัติตามนโยบายและแผน (๕) ผลสัมฤทธ์ิของงาน (๖) แนวทางการติดตามและประเมินผล นโยบายและแผนตามวรรคหน่ึง ใหสถาบันจัดทําเปนแผนสี่ป มาตรา ๑๒ การกําหนดหนาที่ใหหนวยงานของรัฐดําเนินการตามมาตรา ๑๑ (๓) ถาการดําเนินงานเกี่ยวของกับหนวยงานใด ใหรับฟงความคิดเห็นจากหนวยงานน้ันกอนเสนอตอคณะรัฐมนตร ี เมื่อคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบนโยบายและแผนตามมาตรา ๕ (๑) ที่สถาบันเสนอแลว ใหหนวยงานของรัฐดังกลาวมีหนาที่ดําเนินการตามภารกิจน้ัน มาตรา ๑๓ ใหมีคณะกรรมการคณะหน่ึง เรียกวา “คณะกรรมการสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา” ประกอบดวย (๑) ประธานกรรมการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงต้ังจากผูซึ่งมิใชขาราชการหรือผูปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐที่มีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํา และมีความรูความเช่ียวชาญดานการศึกษาหรือดานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (๒) กรรมการโดยตําแหนงจํานวนหกคน ไดแก ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเลขาธิการสภาการศึกษา (๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนแปดคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงต้ังจากผูมีความรูความเช่ียวชาญดานการศึกษา ดานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ดานสื่อสารมวลชนหรือเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม ดานกฎหมาย ดานเศรษฐศาสตรหรือการคลัง อยางนอยดานละหน่ึงคน ทั้งน้ี ตองมาจากผูซึ่งมิใชขาราชการหรือผูปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐที่มีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํา จํานวนไมนอยกวาสี่คน ใหผูอํานวยการเปนกรรมการและเลขานุการ และใหแตงต้ังพนักงานของสถาบันอีกสองคนเปนผูชวยเลขานุการ

มาตรา ๑๔ ประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปน้ี ก. คุณสมบัติ

(๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไมตํ่ากวาสามสบิหาปบริบูรณ และไมเกินเจ็ดสิบปบริบูรณ ข. ลักษณะตองหาม (๑) เปนขาราชการการเมือง ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการหรือผูดํารงตําแหนงที่

รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมืองหรือเจาหนาที่พรรคการเมือง

Page 73: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

5 (๒) เปนผูมีสวนไดเสียในกิจการที่เกี่ยวของกับสถาบัน หรือกิจการที่ขัดหรือแยงกับวัตถุประสงค

ของสถาบันไมวาโดยทางตรงหรือทางออม (๓) เปนคนไรความสามารถ หรือคนเสมือนไรความสามารถ (๔) เปนบุคคลลมละลาย (๕) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการหรือหนวยงานของรัฐ (๖) เปนผูเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่

ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๑๕ ประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสี่ปนับแตวันที่ไดรับแตงต้ัง และอาจไดรับแตงต้ังอีกได แตตองไมเกินสองวาระติดตอกัน ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงกอนครบวาระ ใหผูไดรับแตงต้ังแทนตําแหนงที่วางอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของผูซึ่งตนแทน ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงตามวาระ หากยังมิไดแตงต้ังประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิข้ึนใหม ใหประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระน้ัน อยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับแตงต้ังใหมเขารับหนาที่ มาตรา ๑๖ ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงกอนครบวาระและยังมิไดแตงต้ังประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิแทนตําแหนงที่วาง ใหประธานกรรมการและกรรมการที่เหลืออยูปฏิบัติหนาที่ตอไปได เมื่อตําแหนงประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิวางลงกอนครบวาระใหดําเนินการแตงต้ังประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายในสามสิบวัน เวนแตวาระของประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิเหลือไมถึงหน่ึงรอยแปดสิบวันจะไมแตงต้ังแทนก็ได มาตรา ๑๗นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ ประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีใหออกเพราะบกพรองตอหนาที่มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหยอนความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามอยางใดอยางหน่ึงตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๘ ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปน้ี (๑) ควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของสถาบันใหเปนไปตามวัตถุประสงค (๒) กําหนดทิศทาง เปาหมายและนโยบายการบริหารงานของสถาบัน (๓) อนุมัติแผนการเงินและงบประมาณประจําปของสถาบัน (๔) กําหนดนโยบายการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในกระทรวงศึกษาธิการที่ไดรับการจัดสรรตามกฎหมายวาดวยองคกรจัดสรรคลื่นความถ่ีและกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชนสําหรับการศึกษา

Page 74: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

6 (๕) เสนอแนวทางการระดมทุนจากคาสัมปทานและผลกําไรที่ ไดจากการดําเนินการดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคมหรือจากองคกรภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนตอคณะรัฐมนตร ี (๖) เสนอแนวทางเพื่อใหมีการลดอัตราคาบริการในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (๗) ประเมินและติดตามผลงานและการใชจายเงินของผูที่ไดรับการสงเสริมจากกองทุน (๘) กําหนดหลักเกณฑและมาตรฐานการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (๙) ออกขอบังคับกําหนดอัตราคาตอบแทนหรือคาบริการในการดําเนินกิจการตามวัตถุประสงคของสถาบัน (๑๐) ออกขอบังคับวาดวยการจัดแบงสวนงานการบริหารงานการบริหารงานบุคคลและการเงินของสถาบัน (๑๑) กําหนดจํานวน ตําแหนง ระยะเวลาจาง อัตราเงินเดือน คาจางและเงินเดือนของพนักงานและลูกจาง (๑๒) ออกขอบังคับวาดวยคุณสมบัติและการคัดเลือกผูอํานวยการการปฏิบัติงานของผูอํานวยการ รวมถึงการกําหนดอัตราเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่นของผูอํานวยการ (๑๓) ออกขอบั งคับ เกี่ ยวกับการบริหารและการจัดการกองทุนโดยความเห็นชอบ ของกระทรวงการคลัง (๑๔) ปฏิบั ติการอื่นใดตามที่กฎหมายบัญญัติให เปนหนาที่ของคณะกรรมการ หรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๑๙ การประชุมของคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหน่ึงของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเปนองคประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดใหกรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึงเปนประธานในที่ประชุมสําหรับการประชุมคราวน้ัน กรรมการผูใดมีสวนไดเสียไมวาโดยตรงหรือโดยออมในเรื่องซึ่งที่ประชุมพิจารณา ใหแจงการมีสวนไดเสียของตนใหคณะกรรมการทราบลวงหนากอนการพิจารณาเรื่องน้ันและหามมิใหผูน้ันเขารวมประชุมพิจารณาในเรื่องดังกลาว การวินิจฉัยช้ีขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหน่ึงใหมีเสียงหน่ึงเสียงในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มข้ึนอีกเสียงหน่ึงเปนเสียงช้ีขาด

มาตรา ๒๐ ใหคณะกรรมการมีอํานาจแตงต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอยางใดอยางหน่ึงตามที่คณะกรรมการมอบหมาย การประชุมของคณะอนุกรรมการ ใหนํามาตรา ๑๙ มาใชบังคับโดยอนุโลม มาตรา ๒๑ ใหประธานกรรมการ กรรมการและอนุกรรมการไดรับเบี้ยประชุมและผลประโยชนตอบแทนอื่นตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๒๒ ใหสถาบันมีผูอํานวยการคนหน่ึงซึ่งคณะกรรมการแตงต้ังจากบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปน้ี ก. คุณสมบัติ

Page 75: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

7 (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไมเกินหกสิบหาปบริบูรณ (๓) สามารถทํางานใหแกสถาบันไดเต็มเวลา ข. ลักษณะตองหาม (๑) เปนขาราชการการเมือง ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการหรือผูดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมืองหรือเจาหนาที่พรรคการเมือง (๒) เปนขาราชการ พนักงานหรือลูกจางของสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของราชการสวนทองถ่ิน (๓) เปนผูมีสวนไดเสียในกิจการที่เกี่ยวของกับสถาบัน หรือกิจการที่ขัดหรือแยงกับวัตถุประสงคของสถาบันไมวาโดยทางตรงหรือทางออม (๔) เปนคนไรความสามารถ หรือคนเสมือนไรความสามารถ (๕) เปนบุคคลลมละลาย (๖) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการหรือหนวยงานของรัฐ (๗) เปนผูเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๒๓ ผูอํานวยการมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสี่ปนับแตวันที่ไดรับแตงต้ัง และอาจไดรับแตงต้ังอีกได แตตองไมเกินสองวาระติดตอกัน

มาตรา ๒๔ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ ผูอํานวยการพนจากตําแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๒ (๔) คณะกรรมการมีมติใหออก เพราะบกพรองหรือทุจริตตอหนาที่มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหยอนความสามารถ มาตรา ๒๕ ผูอํานวยการมีหนาที่บริหารกิจการของสถาบันใหเปนไปตามวัตถุประสงคและอํานาจหนาที่ของสถาบัน และตามนโยบาย ขอบังคับ และมติที่คณะกรรมการกําหนด กับมีอํานาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจางทุกตําแหนง ผูอํานวยการตองรับผิดชอบตอคณะกรรมการในการบริหารกิจการของสถาบัน มาตรา ๒๖ ใหสถาบันมีรองผูอํานวยการตามจํานวนที่คณะกรรมการกําหนดเพื่อชวยผูอํานวยการในการปฏิบัติหนาที่ตามที่ผูอํานวยการมอบหมาย มาตรา ๒๗ ผูอํานวยการมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปน้ี (๑) เสนอเปาหมาย แผนงาน และโครงการตอคณะกรรมการ เพื่อใหการดําเนินงานของสถาบันบรรลุตามวัตถุประสงค (๒) บรรจุ แตงต้ัง ถอดถอน เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือคาจาง ลงโทษทางวินัยพนักงานและลูกจาง ตลอดจนใหพนักงานหรือลูกจางออกจากตําแหนง ทั้งน้ี ตามขอบังคับที่คณะกรรมการกําหนด แตถาเปนพนักงาน

Page 76: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

8ตําแหนงรองผูอํานวยการ ผูบริหารระดับสูงตามที่คณะกรรมการกําหนด และผูตรวจสอบภายใน ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกอน (๓) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของสถาบันโดยไมขัดหรือแยงกับขอบังคับหรือมติที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๘ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ใหผูอํานวยการเปนผูแทนสถาบัน ผูอํานวยการจะมอบอํานาจใหตัวแทนหรือบุคคลใดกระทํากิจการเฉพาะอยางแทนก็ได แตตองเปนไปตามขอบังคับที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๙ ในกรณีที่ไมมีผู ดํารงตําแหนงผูอํานวยการหรือมีแตไมอาจปฏิบั ติหนาที่ไดใหคณะกรรมการแตงต้ังรองผูอํานวยการคนหน่ึงเปนผูรักษาการแทน ในกรณีที่ไมมีรองผูอํานวยการหรือมีแตไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหคณะกรรมการแตงต้ังพนักงานของสถาบันคนหน่ึงเปนผูรักษาการแทนผูอํานวยการ ใหผูรักษาการแทนผูอํานวยการตามวรรคหน่ึงมีอํานาจหนาที่อยางเดียวกับผูอํานวยการ มาตรา ๓๐ การบัญชีของสถาบันใหจัดทําตามหลักสากลตามแบบและหลักเกณฑที่คณะกรรมการกําหนด และตองจัดใหมีการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การพัสดุ และการดําเนินการของสถาบัน ตลอดจนรายงานผลการตรวจสอบใหคณะกรรมการทราบอยางนอยปละครั้ง ใหผูตรวจสอบภายในรับผิดชอบและรายงานตอคณะกรรมการ มาตรา ๓๑ ใหสถาบันจัดทํางบการเงินและบัญชีทําการสงผูสอบบัญชีภายในหน่ึงรอยย่ีสิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีทุกป ในทุกรอบป ใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินหรือบุคคลภายนอกตามที่คณะกรรมการแตงต้ังดวยความเห็นชอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน เปนผูสอบบัญชีและประเมินผลการใชจายเงินและทรัพยสินของสถาบัน โดยใหแสดงความคิดเห็นเปนขอวิเคราะหวาการใชจายดังกลาวเปนไปตามวัตถุประสงค ประหยัด และไดผลตามเปาหมายเพียงใด แลวทําบันทึกรายงานผลการสอบบัญชีตอคณะกรรมการ เพื่อการน้ีใหผูสอบบัญชีมีอํานาจตรวจสอบสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานตางๆที่เกี่ยวของของสถาบัน สอบถามผูอํานวยการผูตรวจสอบภายในพนักงานและลูกจาง และเรียกใหสงสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานตางๆ ของสถาบันเปนการเพิ่มเติมไดตามความจําเปน มาตรา๓๒ ใหสถาบันจัดทํารายงานประจําปเสนอตอคณะรัฐมนตรี รายงานน้ีใหกลาวถึงผลงานของสถาบันในปที่ลวงมาแลวบัญชีทําการพรอมทั้งรายงานของผูสอบบัญชี รวมทั้งคําช้ีแจงเกี่ยวกับนโยบายของคณะกรรมการโครงการและแผนงานที่จะจัดทําในภายหนา มาตรา ๓๓ ใหรัฐมนตรีมีอํานาจหนาที่กํากับดูแลการดําเนินกิจการของสถาบันใหเปนไปตามกฎหมายและใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของสถาบัน นโยบายของรัฐบาล และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของ เพื่อการน้ี ใหรัฐมนตรีมีอํานาจสั่งใหสถาบันช้ีแจง แสดงความคิดเห็น หรือทํารายงานหรือยับย้ังการกระทําของสถาบันที่ขัดตอวัตถุประสงคของสถาบัน นโยบายของรัฐบาล หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของ ตลอดจนสั่งสอบสวนขอเท็จจริงเกี่ยวกับการดําเนินการได

Page 77: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

9หมวด ๒ กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา ๓๔ เพื่อประโยชนในการระดมทุนสําหรับสงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามมาตรา ๖๘ แห งพระราชบัญญั ติการศึกษาแหงชาติ พ .ศ. ๒๕๔๒ ใหจัดต้ังกองทุน ข้ึนกองทุนห น่ึง ในกระทรวงศึกษาธิการ เรียกวา “กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนทุนในการสงเสริมและสนับสนุนการผลิต การวิจัย การพัฒนา และการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา ๓๕ กองทุนประกอบดวย (๑) เงินที่รัฐบาลจายใหเปนทุนประเดิม (๒) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรใหเปนรายป (๓) เงินที่ไดรับการจัดสรรตามกฎหมายวาดวยองคกรจัดสรรคลื่นความถ่ีและกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม (๔) เงินคาสัมปทานและผลกําไรที่ไดจากการดําเนินการดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคมตามที่ไดรบัการจัดสรรตามกฎหมาย ระเบียบ หรือมติคณะรัฐมนตรี (๕) เงินหรือทรัพยสินที่มีผูบริจาคหรือมอบให (๖) ดอกผลของเงินหรือทรัพยสินของกองทุน (๗) รายไดอื่น มาตรา ๓๖ เงินและทรัพยสินของกองทุนตามมาตรา ๓๕ ไมตองนําสงคลังเปนรายไดแผนดินตามกฎหมายวาดวยเงินคงคลังและกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ มาตรา ๓๗ การจัดสรรเงินเพื่อการผลิต การวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของกองทุนตามพระราชบัญญัติน้ีใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๖๘ แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๘ ใหมีคณะกรรมการกองทุนคณะหน่ึง ประกอบดวย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เปนประธานกรรมการ ผูแทนกระทรวงการคลัง ผูแทนสํานักงบประมาณ และผูอํานวยการเปนกรรมการ ใหคณะกรรมการกองทุนแตงต้ังขาราชการในกระทรวงศึกษาธิการหรือพนักงานของสถาบันเปนเลขานุการคนหน่ึง และผูชวยเลขานุการสองคน มาตรา ๓๙ ใหคณะกรรมการกองทุนมีอํานาจหนาที่ดังตอไปน้ี (๑) พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๖๘ แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑและวิธีการขอรับการจัดสรรเงินของกองทุน (๓) รายงานสถานะการเงินของกองทุนเพื่อประกอบการพิจารณาจัดทํานโยบายของคณะกรรมการ (๔) เสนอแนวทางการใชจายเงินของกองทุนใหเปนไปตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวในมาตรา ๓๔ ตอคณะกรรมการ (๕) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย

Page 78: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

10 มาตรา ๔๐ ใหนําความในมาตรา ๑๙ มาใชบังคับแกการประชุมของคณะกรรมการกองทุนโดยอนุโลม มาตรา ๔๑ ภายในหน่ึงรอยย่ีสิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชี ใหคณะกรรมการกองทุนเสนองบการเงินและรายงานการรับจายเงินกองทุนในปที่ลวงมาแลวตอสํานักงานการตรวจเงินแผนดินเพื่อตรวจสอบรับรองและเสนอตอรัฐมนตร ี งบการเงินและรายงานการรับจายเงินดังกลาว ใหรัฐมนตรีเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ และจัดใหมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา

บทเฉพาะกาล มาตรา ๔๒ ใหโอนบรรดากิจการ ทรัพยสิน สิทธิ หน้ี รวมทั้งงบประมาณของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับสํานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา และของสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดใน ราชกิจจานุเบกษาไปเปนของสถาบันตามพระราชบัญญัติน้ี มาตรา ๔๓ เมื่อพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ในวาระเริ่มแรก ใหคณะกรรมการประกอบดวย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเลขาธิการสภาการศึกษาเปนกรรมการ และใหรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการซึ่งปฏิบัติหนาที่ผูอํานวยการเปนกรรมการและเลขานุการ ทั้งน้ีตองไมเกินหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ มาตรา ๔๔ ในวาระเริ่มแรก ใหรัฐมนตรีแตงต้ังรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ คนหน่ึงปฏิบัติหนาที่ผูอํานวยการเพื่อดําเนินการตามพระราชบัญญัติน้ีไปพลางกอน มาตรา ๔๕ ขาราชการหรือลูกจางของสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ในสวนที่เกี่ยวกับงานของศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับกิจการที่โอนไปตามมาตรา ๔๒ ผูใดสมัครใจจะไปเปนพนักงานหรือลูกจางของสถาบัน ใหแสดงเจตนาเปนหนังสือตอผูบังคับบัญชาภายในหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ สําหรับผูไมไดแจงความจํานงภายในระยะเวลาดังกลาว

ใหกลับไปปฏิบัติหนาที่ในสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ใหขาราชการและลูกจางที่ปฏิบัติหนาที่ในสถาบันตามวรรคหน่ึงไดรับเงินเดือนหรือคาจางรวมทั้งสิทธิและประโยชนตางๆ เทากับที่เคยไดรับอยูเดิมไปพลางกอน จนกวาจะไดบรรจุและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงในสถาบัน แตจะแตงต้ังใหไดรับเงินเดือนหรือคาจางตํ่ากวาเงินเดือนหรือคาจางที่ไดรับอยูเดิมไมได ใหโอนเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนและคาจางประจําของขาราชการและลูกจาง สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ในสวนที่เกี่ยวกับงานของศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา สํานักงานสงเสริม

Page 79: ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

11การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งไดรับการบรรจุและแตงต้ังใหเปนพนักงานหรือลูกจางของสถาบันไปเปนของสถาบัน นับแตวันที่ไดรับการบรรจุและแตงต้ัง ขาราชการที่พนจากราชการเพื่อไปเปนพนักงานของสถาบันตามวรรคสอง ใหถือวาเปนการใหออกจากราชการ เพราะทางราชการเลิกหรือยุบตําแหนงตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการ หรือกฎหมายวาดวยกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ แลวแตกรณี ลูกจางของสวนราชการที่ไปเปนลูกจางของสถาบันตามวรรคสอง ใหถือวาเปนการออกจากงานเพราะทางราชการเลิกหรือยุบตําแหนงหรือเลิกจางโดยไมมีความผิดและใหไดรับบําเหน็จตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยบําเหน็จลูกจาง ผูรับสนองพระบรมราชโองการ .................................. นายกรัฐมนตร ี