e-book เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 3...

21
~ 1 ~

Upload: -

Post on 23-Jul-2015

42.516 views

Category:

Education


2 download

TRANSCRIPT

~ 1 ~

 

~ 2 ~

ขอบเขตเนื้อหา

ความรูทั่วไปเก่ียวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ประวัติความเปนมา 5 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 5 อํานาจหนาท่ี 5 วิสัยทัศนและพันธกิจ 6 ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) 7

ความรูเฉพาะเฉพาะตําแหนงเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน ความรูทางดานตรวจสอบภายใน 8 หนาท่ีของกลุมตรวจสอบภายใน 8 มาตรฐานดานคุณสมบัติ 14 มาตรฐานดานการปฏิบัติงาน 18 จริยธรรมของผูตรวจสอบภายใน 25 หลักปฏิบัติงาน 26

กฎหมายท่ีเก่ียวของกับเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พศ. 2540 28 ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพ่ิมเติม 42 ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 68 ระเบียบฯ วาดวยการงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2541 และที่แกไขเพิ่มเติม 137 ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545 146 แนวขอสอบ พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พศ. 2540 150 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพ่ิมเติม 158 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ.2535

และที่แกไขเพิ่มเติม 168 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2541

และที่แกไขเพิ่มเติม 190 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545 197

กฎหมายท่ีเก่ียวของกับกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน สรุป ระเบียบฯวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 201 องคการรักษาความปลอดภัย 202 ผูมีอํานาจกําหนดชั้นความลับ 202 การปรับชั้นความลับ 204 นายทะเบียน 205 การตรวจสอบ 206 สรุป ระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม 211

การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง 211 การจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค 213 การจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น 216 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 216

สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม 219 สภาองคการบริหารสวนจังหวัด 219 นายกองคการบริหารสวนจังหวัด 220 อํานาจหนาท่ีขององคการบริหารสวนจังหวัด 221 การงบประมาณและการคลัง 221 การกํากับดูแล 222

สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับท่ี 13 พ.ศ.2552 225 การจัดตั้งเทศบาล 225

~ 3 ~

สภาเทศบาล 225 อํานาจหนาท่ีของนายกเทศมนตร ี 227 เทศบัญญัติ 227 การคลังและทรัพยสินของเทศบาล 228 การควบคุมเทศบาล 228 คณะกรรมการที่ปรึกษาการเทศบาล 229

สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง 238 ฉบับท่ี 6 พ.ศ. 2552 สภาตําบล 238 การกํากับดูแลสภาตําบล 240 งบประมาณรายจายประจําป 243 การกํากับดูแลองคการบริหารสวนตําบล 244

สรุปพรบ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 3 245 พ.ศ. 2551 การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนจังหวัด 245 การบริหารงานบุคคลในเทศบาล 245 การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนตําบล 246 การบริหารงานบุคคลในกรุงเทพมหานคร 247 การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา 248 คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น 248

สรุปสาระสําคัญพ.ร.บ.กําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครอง 252 สวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับท่ี 2 พ.ศ.2549 คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น 252 แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น 253

สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี 255 พ.ศ. 2546 การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี 255 การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน 255 การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ 256 การบริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ 257 การลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน 258 การปรับปรุงภารกิจของสวนราชการ 258 การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชน 259 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 260

สรปุสาระสําคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมอืงพัทยา พ.ศ.2552 และแกไขเพิ่มเติม 261 การบริหารเมอืงพัทยา 261 สภาเมืองพัทยา 261 นายกเมืองพัทยา 261 ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา 262 ขอบัญญัติเมืองพัทยา 262 การกํากับดูแล 264

~ 4 ~

ประวัตคิวามเปนมา

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนสวนราชการที่จัดตั้งข้ึนใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญในการสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนําองคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้

อํานาจหนาที่ 1. ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบรูณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ

ในการติดตามและประเมนิ ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น 3. ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอาํนาจ หนาที่ขององคการปกครองสวนทองถิ่น

4. กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบรหิารงานบุคคลขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น

5. สงเสริม สนบัสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การพัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญช ีและ การพัสดุขององคการปกครองสวนทองถิ่น

6. สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

7. กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีว้ัดเพือ่เปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน

8. สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

~ 5 ~

9. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการขององคการปกครองสวนทองถิ่น

10. พัฒนาบุคลากรขององคการปกครองสวนทองถิน่และของกรม

11. ปฏิบัติการอืน่ใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรอืตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศใชกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551 โดยกําหนดใหมีราชการบริหารสวน ภูมิภาค และจัดตั้งสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดข้ึนในกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่น เพื่อทําหนาที่ประสานงานและปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทนของกรม ในราชการสวนภูมิภาค เพื่อใหการดําเนินการกํากับ ดูแล และสนับสนุนการปฎิบัติงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางคลองตัว และมีประสิทธิภาพ และจัดตั้งกลุม ตรวจสอบภายในและกลุมพัฒนาระบบบริหารข้ึนในกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ สนับสนุนการปฏิบัติงานของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และพัฒนาการบริหารของสวนราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา

วิสัยทัศนและพันธกิจ

วิสัยทัศนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Vision)

“ เปนองคกรหลักในการสงเสริมให อปท. เขมแข็งอยางย่ังยืน ”

พันธกิจกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Mission)

1. พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง 2. สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรระดับชาต ิระดับจังหวัด

และตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตกระบวนการมีสวนรวมจาก ภาคีเครือขาย

3. สงเสริมระบบบริหารงานบุคคลของ อปท. ใหเปนไปตามหลกัคุณธรรม และเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากร อปท. ใหทํางานอยางมืออาชีพ

4. พัฒนาระบบงบประมาณและการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีประสิทธิภาพและสามารถพึ่งตนเองได

5. พัฒนาระบบกฎหมายเพื่อเพิ่มประสทิธิภาพการบริหารงานของ อปท. และสนับสนุนผูกํากับดูแล อปท.

~ 6 ~

ความรูทางดานตรวจสอบภายใน

หนาที่ของกลุมตรวจสอบภายใน 1. จัดทําแผนการตรวจสอบ และแผนปฏิบัติงาน 2. ตรวจสอบความถูกตองและเชื่อถือไดของขอมูลทางการเงิน และบัญช ี 3. สอบทานการควบคมุดูแลการเบิกจาย เก็บรักษา และการใชทรัพยสิน

4. ประเมินระบบการควบคุมภายใน

5. จัดทํารายงานผลการตรวจสอบเสนอตอผูบริหารและหนวยรับตรวจ 6. ตดิตามผลการตรวจสอบ เสนอแนะ และใหคําปรึกษาแกผูบริหารและหนวยรับตรวจ

ตามที่รัฐบาลมีนโยบายปฏิรูประบบราชการ เพื่อปรับเปล่ียนระบบบริหารภาครัฐไปสูการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม ซึ่งมุงเนนผลสัมฤทธิ์ของงานโดยใหความสําคัญกับความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความประหยัดของการดําเนินงานสวนราชการจึงตองใหความสําคัญกับการวัดและประเมินผลงานเพื่อใหเกิดการแขงขันและพัฒนางานใน ความรับผิดชอบใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลย่ิงข้ึน รวมทั้งสามารถตอบแทนผลสําเร็จจากการทํางานไดอยางเปนธรรมและมีความโปรงใสนั้นไดสงผลใหการตรวจสอบภายในตองปรับตัวเองเพื่อใหสามารถตอบรับการเปล่ียนแปลงดังกลาวในฐานะที่เปนเครื่องมือหรือผูชวยของผูบริหารในการติดตามและประเมินการปฏิบัติงานของสวนงานตางๆในหนวยงาน และเสนอแนะแนวทางหรือมาตรการที่จะทําใหผลการดําเนินงานมีประสิทธิภาพและบรรลุผลตาม วัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด โดยขยายขอบเขตของการตรวจสอบภายในจากการตรวจสอบความถูกตองในการใชจายเงินไปสูการตรวจสอบที่เนนประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ของงานเปนสําคัญ แนวคิดและวิธีปฏิบัติจะเปล่ียนไป ลักษณะและขอบเขตของงานตรวจสอบภายในจะขยายกวางและหลากหลายมากขึ้น งานตรวจสอบภายในในอนาคตคืองานบริการท่ีจะใหหลักประกันที่เที่ยงธรรมและคําปรึกษาที่เปยมดวยคุณคาแกสวนราชการ ดวยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมและการกํากับดูแลภายในสวนราชการอยางเปนระบบ เพื่อใหการดําเนินงานของสวนราชการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสําเร็จตามท่ีมุงหวัง กรมบัญชีกลางในฐานะท่ีเปนหนวยงานกลางที่รับผิดชอบในการกํากับดูแลการตรวจสอบภายในของสวนราชการ จึงไดปรับปรุงมาตรฐานการตรวจสอบภายในที่ใชอยูใน

~ 7 ~

ปจจุบันใหสอดคลองกับแนวคิดดังกลาว โดยเปล่ียนเนื้อหาของมาตรฐานใหมีความเปนสากลมากย่ิงข้ึน

เนื่องจากมาตรฐานการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในที่ใชอางอิงกันในระดับสากล คือ มาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน (The Professional Practice Standards for Internal Auditing ) ของสถาบันผูตรวจสอบภายใน (The Institue of Internal Auditors : IIA ) และปจจุบัน IIA และ IIA Research Foundationของสหรัฐอเมริกาไดปรับปรุงและแกไขมาตรฐานการปฏิบัติงานตรวจสอบใหมใหมีความเหมาะสมและสอดคลองกับสถานการณในปจจุบัน โดยปรับเปล่ียนคํานิยามของการตรวจสอบภายในใหม ซึ่งเนนเรื่องการเปนหลักประกันที่เที่ยงธรรมและการเปนที่ปรึกษาอิสระของผูบริหาร ดังนั้นในการปรับปรุงมาตรฐานการตรวจสอบภายในของสวนราชการฉบับที่ 1 ซึ่งเปนมาตรฐานทั่วไปจึงไดใชมาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายในดังกลาวเปนหลักโดยปรับใหเหมาะสมและสอดคลองกับสภาพแวดลอมของทางราชการ

มาตรฐานการตรวจสอบภายในฉบับนี้จะประกอบดวยขอปฏิบัติหลัก ๆ ของการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน โดยแยกเปน 2 สวน คือ มาตรฐานดานคุณสมบัติและมาตรฐานการปฏิบัติงานและเพื่อสะดวกตอการทําความเขาใจและนําไปใชตลอดจนการอางอิงและปรับปรุงแกไขตอไป จึงใหมีรหัสตัวเลขกํากับในแตละหมวดแตละหัวขอของมาตรฐาน พรอมกับคําอธิบายถึงการนํามาตรฐานไปใชในงานบริการดานการใหหลักประกัน งานบริการใหคําปรึกษาดังนี้

• มาตรฐานดานคุณสมบัติ ( รหัสชุด 1000 ) เปนมาตรฐานที่กลาวถึงลักษณะของหนวยงานและบุคลากรท่ีทําหนาที่ตรวจสอบภายใน โดยจะเริ่มตั้งแตรหัสมาตรฐานที่ 1000 เปนตนไป เชน รหัส 1210 จะเปนมาตรฐานที่เกี่ยวกับคุณสมบัติดานความเชี่ยวชาญ

• มาตรฐานการปฏิบัติงาน ( รหัสชุด 2000 ) เปนมาตรฐานที่กลาวถึงลักษณะของงานตรวจสอบภายในและบรรทัดฐานที่สามารถใชประเมินผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน โดยจะเริ่มตั้งแตรหัสมาตรฐานที่ 2000 เปนตนไป เชน รหัส 2400 จะเปนมาตรฐานการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรายงานผล

• การนํามาตรฐานไปปฏิบัติ ( รหัสชุดท่ี nnnn.xn ) เปนการอธิบายถึงการนํามาตรฐานดานคุณสมบัติและมาตรฐานการปฏิบัติงานมาประยุกตใชในแตละเรื่องโดยสําหรับงานดานการใหหลักประกันจะแทนดวยเลขรหัสมาตรฐานที่มีอักษร A ตอทาย เชน

~ 8 ~

หลักปฏิบัติงาน 1. ความมีจุดยืนที่ม่ันคง (Integrity)

1.1 ผูตรวจสอบภายในตองปฏิบัติหนาที่ของตนดวยความซื่อสัตย ขยันหม่ันเพียรและมีความรับผิดชอบ

1.2 ผูตรวจสอบภายในตองไมเขาไปเก่ียวของในการกระทําใดๆ ที่ขัดตอกฎหมายหรือไมเขาไปมีสวนรวมในการกระทําที่อาจนําความเสื่อมเสียมาสูวิชาชีพการตรวจสอบภายใน หรือสรางความเสียหายตอสวนราชการ 1.3 ผูตรวจสอบภายในตองใหความเคารพและสนับสนุนการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และจรรยาบรรณของทางราชการ 2. ความเที่ยงธรรม (Objectivity)

2.1 ผูตรวจสอบภายในตองไมมีสวนเกี่ยวของหรือสรางความสัมพันธใด ๆ ที่จะนําไปสูความขัดแยงกับผลประโยชนของทางราชการ รวมทั้งกระทําการใดๆ ที่จะทําใหเกิดอคติจนเปนเหตุใหไมสามารถปฏิบัติงานตรวจสอบตามหนาที่ความรับผิดชอบไดอยางเที่ยงธรรม

2.2 ผูตรวจสอบภายในไมพึงรับสิ่งของใด ๆ ที่จะทําใหเกิด หรืออาจกอใหเกิดความไมเที่ยงธรรมในการใชวิจารณญาณเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพพึงปฏิบัติ

2.3 ผูตรวจสอบภายในตองเปดเผยหรือรายงานขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ทั้งหมดที่ตรวจพบ ซ่ึงหากละเวนไมเปดเผยหรือไมรายงานขอเท็จจริงดังกลาวแลว จะทําใหรายงานการตรวจสอบบิดเบือนไปจากขอเท็จจริง หรือเปนการปดบังการกระทําที่ผิดกฎหมาย 3. การปกปดความลับ (Confidentiality) 3.1 ผูตรวจสอบภายในตองมีความรอบคอบในการใชขอมูลตาง ๆ ที่ไดรับจากการปฏิบัติงานตรวจสอบ 3.2 ผูตรวจสอบภายในตองไมนําขอมูลดังกลาวไปใชในการแสวงหาผลประโยชนเพ่ือตนเองและจะไมกระทําการใด ๆ ที่ขัดตอกฎหมาย และประโยชนของทางราชการ 4. ความสามารถในหนาที่ (Competency)

4.1 ผูตรวจสอบภายในตองปฏิบัติหนาที่ดวยความรูความสามารถ ทักษะ และประสบการณ

4.2 ผูตรวจสอบภายในจะตองปฏิบัติหนาที่โดยยึดหลักมาตรฐานการตรวจสอบ ภายในของสวนราชการ

4.3 ผูตรวจสอบภายในตองพัฒนาศักยภาพของตนเอง รวมทั้งพัฒนาประสิทธิผลและคุณภาพของการใหบริการอยางสมํ่าเสมอและตอเน่ือง

~ 9 ~

พระราชบัญญัตขิอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันท่ี 2 กันยายน พ.ศ.2540 เปนปท่ี 52 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหประกาศวา โดยท่ีเปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของราชการ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภาดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ีเรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540” มาตรา 2 พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับเม่ือพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ และขอบังคับอื่น ในสวนท่ีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัติน้ี หรือซ่ึงขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัติน้ีใหใชพระราชบัญญัติน้ีแทน มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติน้ี

“ขอมูลขาวสาร” หมายความวา ส่ิงท่ีส่ือความหมายใหรูเร่ืองราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือส่ิงใดๆ ไมวาการส่ือความหมายน้ันจะทําไดโดยสภาพของสิ่งน้ันเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเคร่ืองคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใดท่ีทําใหส่ิงท่ีบันทึกไวปรากฏได “ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารท่ีอยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนท่ีไมเกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและหนวยงานอื่นตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง “เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ผูซ่ึงปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ

“ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับส่ิงเฉพาะตัวของบุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน

~ 10 ~

แนวขอสอบพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 3. ขอมูลขาวสารท่ีอยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือขอมูลขาวสารเก่ียวกับเอกชน หมายความถึงขอใด ก. ขอมูลขาวสาร ข. ขอมูลขาวสารของราชการ ค. ขอมูลราชการ ง. ขอมูลหนวยงาน 4. ขอใดหมายถึง หนวยงานของรัฐ ก. ราชการสวนกลาง ข. ราชการสวนภูมิภาค ค. ราชการสวนทองถิ่น ง. ถูกทุกขอ 5. ขอใดหมายถึง ขอมูลขาวสารสวนบุคคล ก. ลายพิมพน้ิวมือ ข. ประวัติอาชญากรรม ค. แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน ง. ถูกทุกขอ 6. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ คนตางดาว ก. บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นท่ีอยูในประเทศไทย ข. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และมีถิ่นท่ีอยูในประเทศไทย ค. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และไมมีถิ่นท่ีอยูในประเทศไทย ง. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย 7. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร พ.ศ. 2540 คือ ก. นายกรัฐมนตรี ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวง ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 8. ขอมูลขาวสารใดที่ตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา ก. โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน ข. สรุปอํานาจหนาท่ีท่ีสําคัญและวิธีการดําเนินงาน ค. สถานท่ีติดตอเพ่ือขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ ง. ถูกทุกขอ

~ 11 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 แกไขเพิ่มเตมิถึง(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2543

4. สภาทองถิ่น หมายความถึงขอใด

ก. สภาองคการบริหารสวนจังหวัด ข. สภาเทศบาล ค. สภาองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

“สภาทองถิ่น” หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาล

สภาองคการบริหารสวนตําบล และสภาทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง 5. “ผูบริหารทองถิ่น” หมายความถึงขอใด

ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. นายกเทศมนตรี ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

ผูบริหารทองถิ่น” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี คณะเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล และผูบริหารทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง 6. กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคง ซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หมายถึง ก. ตูนิรภัย ข. กลองบรรจุ ค. หีบหอ ง. ตูเซฟ ตอบ ก. ตูนิรภัย

“ตูนิรภัย” หมายความรวมถึง กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 7. หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว เรียกวา ก. หลักฐานจายเงิน ข. หลักฐานการจาย ค. ใบสําคัญคูจาย ง. ใบสําคัญจาย

~ 12 ~

ตอบ ก. หลักฐานจายเงิน

“หลักฐานการจาย” หมายความวา หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแก

ผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว

8.หลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ธนาคาร เรียกวา

ก. หลักฐานจายเงิน ข. หลักฐานการจาย

ค. ใบสําคัญคูจาย ง. ใบสําคัญจาย

ตอบ ค. ใบสําคัญคูจาย

“ใบสําคัญคูจาย” หมายความวา หลักฐานการจายเงินที่เปนใบเสร็จรับเงินหลักฐานของธนาคารแสดงการจายเงินแกเจาหนี้ หรือหลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ธนาคาร และใหรวมถึงใบนําสงเงินตอหนวยงานคลังดวย

9.เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บ เรียกวา

ก. เงินรายรับ ข. เงินจัดเก็บ

ค. เงินนอกงบประมาณ ง. เงินทุน

ตอบ ก. เงินรายรับ

“เงินรายรับ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บหรือไดรับไวเปนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรม

10. เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาลอุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุวัตถุประสงค เรียกวา

ก. เงินรายรับ ข. เงินจัดเก็บ

ค. เงินนอกงบประมาณ ง. เงินทุน

ตอบ ค. เงินนอกงบประมาณ

“เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาล

อุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุวัตถุประสงค

~ 13 ~

11. เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใดยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติราชการอื่นใด เรียกวา ก. เงินงบประมาณ ข. เงินนอกงบประมาณ ค. เงินยืม ง. เงินยืมจาย ตอบ ค. เงินยืม

“เงินยืม” หมายความวา เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกร

ปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใดยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติราชการอื่นใด 12. แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือตามท่ีกฎหมายกําหนด เรียกวา ก. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา ข. แผนพัฒนาสามป ค. แผนพัฒนา ง. แนวนโยบายของรัฐ ตอบ ค. แผนพัฒนา

“แผนพัฒนา” หมายความรวมถึง แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือตามที่กฎหมายกําหนด 13. แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงินของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดย่ืนตอหนวยงานคลัง ทุกระยะเวลาใด

ก. สามเดือน ข. หกเดือน ค. หนึ่งป ง. ปครึ่ง ตอบ ก. สามเดือน

“แผนการใชจายเงิน” หมายความวา แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงิน

ของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดย่ืนตอหนวยงานคลัง ทุระยะสามเดือน 14. ยอดเงินสะสมประจําทุกส้ินปงบประมาณ เพื่อรักษาเสถียรภาพการเงินการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรอยูที่เทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละสิบ ค. รอยละสิบหา ง. รอยละย่ีสิบหา

~ 14 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535

และที่แกไขเพิ่มเติม ถึง (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2553 4. “การพัสดุ” หมายความถึงขอใด ก. การจัดทําเอง ข. การซื้อ ค. การจาง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

“การพัสดุ” หมายความวา การจัดทําเอง การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษาการจาง ออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปล่ียน การเชา การควบคุม การจําหนาย และการดําเนินการอื่นๆ ที่กําหนดไวในระเบียบนี้ 5. ขอใด หมายถึง “พัสดุ” ก. วัสดุ ข. ครุภัณฑ ค. ที่ดินและสิ่งกอสราง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

“พัสดุ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวในหนังสือการ จําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกูจากตางประเทศ 6. เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นจัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปนการเฉพาะเจาะจง หมายความถึงขอใด ก. เงินเฉพาะกิจ ข. เงินนอกงบประมาณ

ค. เงินกู ง. เงินยืม ตอบ ข. เงินนอกงบประมาณ

“เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นจัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปนการเฉพาะเจาะจง 7. เงินกูจากตางประเทศ หมายถึงเงินขอใด ก. เงินยืม ข. เงินกู

~ 15 ~

ค. เงินชวยเหลือ ง. เงินกูเฉพาะกิจ ตอบ ข. เงินกู “เงินกู” หมายความวา เงินกูจากตางประเทศ

8. “เงินชวยเหลือ” หมายความถึงเงินชวยเหลือจากขอใด ก. มูลธินิปวีณา ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ ค. เงินชวยเหลือจากรัฐบาล ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ “เงินชวยเหลือ” หมายความวา เงินที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ

องคการระหวางประเทศ สถาบันการเงินระหวางประเทศ องคการตางประเทศทั้ง ในระดับรัฐบาลและท่ีมิใชระดับรัฐบาล มูลนิธิหรือเอกชนตางประเทศ 9. ขอใด หมายถึง “หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” ก. องคการบริหารสวนจังหวดเทศบาล ข.องคการบริหารสวนตําบล

ค. กิจการพาณิชยของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวน

จังหวดเทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล ทั้งนี้ ใหหมายความรวมถึงกิจการพาณิชยของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นดวย

10. “หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึงใคร ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. นายกเทศมนตรี ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ “หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึง นายก

องคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี และนายกองคการบริหารสวนตําบล 11. “รัฐวิสาหกิจ” หมายความถึง

ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ ข. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการคลัง

~ 16 ~

ค. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการพัสดุ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ

“รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ

12. คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละเทาใดในกิจการนั้น ก. รอยละย่ีสิบ ข. รอยละย่ีสิบหา ค. รอยละสี่สิบหา ง. รอยละหาสิบเอ็ด

ตอบ ข. รอยละยี่สิบหา

คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละย่ีสิบหา ในกิจการนั้นหรือในอัตราอื่น ตามที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรประกาศกําหนดสําหรับกิจการบางประเภทหรือบางขนาด 13.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองานเพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําส่ังดังกลาวตอผูใด

ก. ปลัดอําเภอ ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ตอบ ข. ผูวาราชการจังหวัด

14.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองานเพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําส่ังโดยตองอุทธรณภายในระยะเวลาใด ก. 3 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 15 วัน ตอบ ก. 3 วัน

ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองานเพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําส่ังดังกลาวตอผูวาราชการจังหวัด โดยอุทธรณภายใน 3 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงพรอมทั้ง แสดงเหตุผลของการอุทธรณและเอกสารที่เกี่ยวของมาดวย

~ 17 ~

15. การซื้อหรือการจางกระทําไดกี่วิธี ก. 3 วิธี ข. 4 วิธี ค. 5 วิธี ง. 6 วิธี

ตอบ ค. 5 วิธี

วิธีซ้ือและวิธีจาง

การซื้อหรือการจางกระทําได 5 วิธี คือ (1) วิธีตกลงราคา (2) วิธีสอบราคา (3) วิธีประกวดราคา (4) วิธีพิเศษ (5) วิธีกรณีพิเศษ

16. การซื้อหรือการจางโดยวิธีตกลงราคาครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเทาใด

ก. ไมเกิน 100,000 บาท ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ค. มีราคาเกิน 2,000,000 บาท ง. แลวแตกรณี ตอบ มีราคาเกิน 2,000,000 บาท

การซื้อหรือการจางโดยวิธีตกลงราคา ไดแก การซื้อหรือการจางครั้ง หนึ่งซึ่งมีราคาไมเกิน 100,000 บาท 17. การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคาครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเทาใด

ก. ไมเกิน 100,000 บาท ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ค. มีราคาเกิน 2,000,000 บาท ง. แลวแตกรณี ตอบ ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท

การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคา ไดแก การซื้อหรือการจางครั้ง หนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท

~ 18 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยวิธีการงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2541

แกไขเพิม่เตมิถึง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2543

4. แผนงานหรืองานสําหรับประมาณการดานรายรับและรายจายแสดงในรูปตัวเลขจํานวนเงิน หมายความถึง ก. โครงการ ข. งบประมาณ ค. การตั้งงบประมาณ ง. แผนงาน ตอบ ข. งบประมาณ

"งบประมาณ" หมายความวา แผนงานหรืองานสําหรับประมาณการดานรายรับและรายจายแสดงในรูปตัวเลขจํานวนเงิน การตั้งงบประมาณ คือการแสดงแผนดําเนินงานออกเปนตัวเลขจํานวนเงิน 5. ภารกิจแตละดานที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่ตามกฎหมายวาดวยองคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบ หมายความถึง ก. แผนงาน ข. นโยบาย ค. ยุทธศาสตร ง. เปาหมาย

ตอบ ก. แผนงาน

"แผนงาน" หมายความวา ภารกิจแตละดานที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาท่ีตามกฎหมายวาดวยองคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบ 6. "สภาทองถิ่น" หมายความถึงขอใด

ก. สภาองคการบริหารสวนจังหวัด ข. สภาเทศบาล ค. สภาองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

"สภาทองถิ่น" หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาลและสภาองคการบริหารสวนตําบล

~ 19 ~

7. "ปงบประมาณ" หมายถึงชวงเวลาใด ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 31 กรกฎาคมของปถัดไป ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 กันยายน ของปหนึ่งถึงวันที่ 31 สิงหาคมของปถัดไป ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 มกราคา ของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปถัดไป ตอบ ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป

ถัดไป

"ปงบประมาณ" หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ.ที่ถัดไปนั้นเปนชื่อสําหรับปงบประมาณนั้น 8. "เจาหนาที่งบประมาณ" หมายถึงผูใด

ก. ปลัดองคการบรหิารสวนจังหวัด ข. ปลัดเทศบาล ค. ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

"เจาหนาที่งบประมาณ" หมายความวา ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด ปลัดเทศบาลและปลัดองคการบริหารสวนตําบล 9. รูปแบบและเอกสารใด ๆ ตลอดจนระบบและวิธีการงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหเปนไปตามที่ผูใดกําหนด

ก. ก.พ.ร. ข. กพ. ค. กรมการปกครอง ง. อบจ. ตอบ ค. กรมการปกครอง บรรดารูปแบบและเอกสารใด ๆ ตลอดจนระบบและวิธีการงบประมาณ

ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหเปนไปตามที่กรมการปกครองกําหนด 10.งบประมาณรายจายประจําปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น จําแนกไดเปน

ก. งบประมาณรายจายทั่วไป ข. งบประมาณรายจายเฉพาะการ ค. ถูกท้ัง ขอ ก. และ ขอ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง

~ 20 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2545

2. “การตรวจสอบภายใน” หมายความถึงขอใด

ก. การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนงานที่เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณการเงิน การพัสดุและทรัพยสิน

ข. การตรวจสอบบัญชี ค. การวิเคราะหประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในขององคกรปกครองสวน

ทองถิ่น ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ

“การตรวจสอบภายใน” หมายถึง การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนงานที่เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณการเงิน การพัสดุและทรัพยสิน การบริหารงานดานอื่น ๆ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชี การวิเคราะหประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของการควบคุมภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมทั้งการรายงานผลการตรวจสอบและขอเสนอแนะ 3. หนวยงานตามโครงสรางการแบงสวนราชการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และใหหมายความรวมถึงกิจการที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นบริหารหรือกํากับดูแล หมายความถึงขอใด ก. หนวยกํากับดูแล ข. หนวยรับตรวจ ค. หนวยติดตาม ง. หนวยตรวจสอบ

ตอบ ข. หนวยรับตรวจ

“หนวยรับตรวจ” หมายถึง หนวยงานตามโครงสรางการแบงสวนราชการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และใหหมายความรวมถึงกิจการที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นบริหารหรือกํากับดูแล 4. ผูตรวจสอบภายในเสนอแผนการตรวจสอบประจําปตอผูบริหารทองถิ่น เพื่อพิจารณาอนุมัติภายในเดือนใดของทุกป ก. เดือนสิงหาคม ข. เดือนกันยายน

~ 21 ~

ส่ังซื้อไดท่ี

www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740