Transcript
Page 1: TPA 17 Calibration ความรู้ทั่วไป Calibration ... · TPA news 17 Calibration Calibration September 2011 No. 177 ประเภทของเครื่องแก้ววัดปริมาตร

17TPA news

Calibration

Calib

ration

September 2011 ● No. 177

ประเภทของเครื่องแก้ววัดปริมาตร

เครือ่งแก้ววดัปรมิาตร(Volumetricglassware)ทีใ่ช้ภายในห้องปฏบิตักิารมหีลายประเภทด้วย

กันขึ้นกับการใช้งานเช่นขวดวัดปริมาตร(Volumetricflask)ส�าหรับเตรียมสารละลายที่ต้องการความ

เข้มข้นท่ีแน่นอนหรือถ่ายของเหลวที่ต้องการปริมาตรที่แน่นอนจากภาชนะหนึ่งไปยังอีกภาชนะหนึ่ง

กระบอกตวง(Cylinder)ส�าหรบัวดัปรมิาตรของของเหลวหรอืใช้ในการถ่ายของเหลวจากภาชนะหนึง่ไป

ยังอีกภาชนะหนึ่ง(ในกรณีที่ไม่ต้องการความแม่นสูง)ปิเปตต์(Pipette)ส�าหรับตวงหรือถ่ายปริมาตร

ตามความต้องการบิวเรตต์(Burette)ส�าหรับการไทเทรต

ถ้าใช้วิธีการสอบเทียบมาเป็นเกณฑ์การแบ่งชนิดของเครื่องแก้ววัดปริมาตรจะแบ่งได้2ชนิด

1. เครื่องแก้วส�าหรับบรรจุ (To Contain) ใช้ตัวย่อ TC หรือ C หรือ In เช่นขวดวัดปริมาตร

ขวดวัดความถ่วงจ�าเพาะเครื่องแก้วชนิดนี้เมื่อใส่ของเหลวเข้าไปจะได้ปริมาตรตามที่ระบุ

2. เครื่องแก้วส�าหรับถ่ายเท (To Deliver) ใช้ตัวย่อ TD หรือ D หรือ Exเช่นปิเปตต์บิวเรต

กระบอกตวง เครื่องแก้วชนิดนี้ เมื่อใส่ของเหลวเข้าไปจะไม่รู้ปริมาตรที่แน่นอน แต่เมื่อถ่ายออกมา

ปริมาตรที่ถ่ายออกมาจะได้ปริมาตรตามที่ระบุ

พรพรรณ ผายพิมพ์

หัวหน้าห้องสอบเทียบปริมาตร

ฝ่ายบริการสอบเทียบและวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ส.ส.ท.

เก่ียวกับเครื่องแก้ววัดปริมาตร

ความรู้ทั่วไป

Page 2: TPA 17 Calibration ความรู้ทั่วไป Calibration ... · TPA news 17 Calibration Calibration September 2011 No. 177 ประเภทของเครื่องแก้ววัดปริมาตร

18 TPA news

Calibration

No. 177 ● September 2011

มุมความรู้CEถาม-ตอบ ห้องปฏิบัติการ

(LABORATORIES)

TPAnews

เครื่องแก้วบางประเภทมีท้ังชนิดTo containและTode-

liverเช่นกระบอกตวงขวดวัดปริมาตรหรือเครื่องแก้วบางชิ้นผู้ผลิต

ออกแบบให้ใช้งานได้ทั้งชนิด To containและ Todeliver ดังนั้น

ผู้ใช้งานต้องดูให้แน่ใจก่อนน�าไปใช้

ถ้าแบ่งตามระดับชั้นคุณภาพของเครื่องแก้วแบ่ง จะแบ่งได้

ดังนี้

1. Class A ใช้สัญลักษณ์ Aเป็นเครือ่งแก้วท่ีมคีวามแม่นย�า

สูงมีค่าความคลาดเคลื่อนของปริมาตร(Tolerance)ต�่าใช้ส�าหรับ

งานทดสอบงานวิเคราะห์ที่ต้องการความแม่นสูง

2. Class B ใช้สญัลกัษณ์ Bเป็นเครือ่งแก้วทีม่คีวามแม่นย�า

ต�่ากว่าและมีค่า Tolerance เป็นสองเท่าของเครื่องแก้วClassA

(ASTM,ISO,BS)

3. General Purpose เป็นเครือ่งแก้วทีไ่ม่จดัรวมในClassA

และClassBค่าความคลาดเคลื่อนขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์การใช้

งาน

4. Special Tolerance เป็นเครื่องแก้วที่การก�าหนดค่า

ความคลาดเคลื่อนส�าหรับการใช้งานเฉพาะด้าน

ส่ิงที่ควรจะต้องค�านึงถึงเมื่อต้องการที่จะเลือกใช้งานเครื่อง-

แก้ววัดปริมาตร คือ ชนิดของเครื่องแก้วปริมาตร หรือปริมาณสาร

ความถูกต้อง ความแม่นย�าและความละเอียดของเครื่องแก้ว โดย

สามารถพิจารณาได้จากรายละเอียดที่ระบุไว้บนเครื่องแก้ววัด

ปริมาตร เพื่อเลือกใช้เครื่องแก้วได้อย่างเหมาะสมและตรงตาม

วัตถุประสงค์

ที่มา

1. เอกสารการอบรมและสมัมนาหลกัสตูร“การสอบเทยีบเครือ่งแก้ว

วัดปริมาตร”โดยอาจารย์อุมาพรสุขม่วงกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กระทรวง

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2. wwwdeqp.go.th“ความรูท้ัว่ไปเกีย่วกบัเครือ่งแก้ววดัปรมิาตรตอน

ที่1”โดยฉันทนาบัวล้อม

ห้องปฏบิตักิารทดลองทางด้านวทิยาศาสตร์ต้องควบคมุอณุหภมูิความชืน้ความดนัอากาศทศิทางการไหลความดงัของเสยีง

และการก�าจัดอากาศเสียที่เกิดจากการปฏิบัติให้สามารถท�าการทดลองได้ภายใต้สภาวะอากาศทุกฤดูกาลแบ่งเป็นห้องปฏิบัติการ

ชีวภาพ (Biological Lab)จะท�าการทดลองที่เกี่ยวข้องกับวัตถุที่มีชีวิตหรือสกัดมาจากสิ่งมีชีวิตห้องปฏิบัติการเคมี (Chemical lab)

ท�างานกับสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ห้องปฏิบัติการสัตว์ทดลอง (Animal Lab)จะใช้สัตว์ทดลองในการปฏิบัติงานส่วนห้องปฏิบัติ

การทางฟิสิกส์ (Physical Lab)จะปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับสารและพลังงานเช่นแสงเลเซอร์นิวเคลียร์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นต้น

(ที่มา : ACAT)

สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่

ฝ่ายบริการสอบเทียบและวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ส.ส.ท.

คุณนวลจันทร์ ฤทธิเกิด คุณสุวรัตน์ เชยขุนทด คุณจุฬาพร โอทองโทรศัพท์ 0 2717-3000 ต่อ 82, 107, 108, 109 โทรสาร 0 2719 9484 หรือ 0 2717-3609


Top Related