lesson 4 visual intepretation

Post on 27-Mar-2016

217 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

การแปลอิเมจจากภาพดาวเทียม

TRANSCRIPT

การตคีวามด้วยสายตา

Image Interpretation :

1

Visual Interpretation

เนื�อหา

1. ความหมายการแปลภาพด้วยสายตา2. องค์ประกอบการตคีวาม

2

2. องค์ประกอบการตคีวาม3. คุณสมบัตขิองผู้แปล4. หลกัในการแปลภาพ5. เทคนิคในการแปลภาพ6. ตวัอย่างการแปลภาพ7. แบบทดสอบ

1. ความหมาย

การวเิคราะห์ข้อมูลจากดาวเทยีมด้วยสายตา (Visual Analysis) หรือ การแปลตคีวามหมาย (Photographic Interpre tation)

3

Analysis) หรือ การแปลตคีวามหมาย (Photographic Interpre tation)

หมายถึงการวนิิจฉัย (Identification) หรือ พสิูจน์ข้อมูลหรือสิFงทีFปรากฎอยู่ในลกัษณะต่าง ๆ ในข้อมูลจากดาวเทยีม หรือภาพถ่ายจากดาวเทยีมนั�น ๆ (Satellite Image) ว่าควรเป็นสิFงใด หรือน่าจะเป็นอะไร

การแปลตคีวามหมายจากข้อมูล ดาวเทยีม มใิช่เป็นการแปล (Translation)

ดงันั�น จึงจําเป็นต้องมีการศึกษาวเิคราะห์ (Analyze) กนั

4

แปล (Translation) ดงันั�น จึงจําเป็นต้องมีการศึกษาวเิคราะห์ (Analyze) กนั

อย่างมรีะบบโดยการ นําเอาข้อมูล (Data) และข้อสนเทศ (Information) จากหลาย ๆ ด้าน มาประกอบกนัเพืFอช่วยในการวเิคราะห์วนิิจฉัยว่าข้อ มูลหรือสิFงทีFปรากฎในภาพ หรือ ข้อมูลจากดาวเทยีมนั�น ๆ ว่าน่าจะเป็นสิFงใดในพื�นทีFจริง ๆ

2. องค์ประกอบการตคีวามVisual elements

การตคีวามข้อมูลดาวเทยีมด้วยสายตานั�น ต้องมีความรู้เรืFองคุณลกัษณะต่างๆ ของวตัถุนั�นเป็นอย่างด ี

5

ความรู้เรืFองคุณลกัษณะต่างๆ ของวตัถุนั�นเป็นอย่างด ีโดยสามารถเห็นความแตกต่างได้ชัดเจน พร้อมทั�งเป็นผู้ทีFมีความคุ้นเคยกบัพื�นทีF จึงสามารถตคีวามได้ด ีทั�งนี�สิFงทีFต้องพจิารณาดงันี�

6http://www.r-s-c-c.org/rscc/v1m2images/elements_of_interp_pryamid.jpg

1. Tone ระดบัสีเทา

2. Shape รูปร่าง

3. Size ขนาด

4. Pattern รูปแบบ

7

4. Pattern รูปแบบ

5. Texture ความหยาบละเอยีด

6. Shadow เงา

7. Association ความสัมพนัธ์

1. Tone ระดบัสีเทา

หมายถงึระดบัความสว่างหรือสีของวตัถุต่างๆ โดยทัFวไปจะมองเห็นได้

8

โดยทัFวไปจะมองเห็นได้ก่อนเป็นอนัดบัแรกๆ เพืFอจําแนกประเภทต่างๆ ของวตัถุ

2. Shape รูปร่างหมายถงึรูปร่าง โครงสร้าง หรือลกัษณะแต่ละชนิดของวตัถุ ซึFงเป็นกญุแจสําคญัในการจําแนกความแตกต่างระหว่างวตัถุได้ เช่นรูปร่างทีFมีกรอบเป็นเส้นตดักนั อาจจะเป็นถนน หรือคลองส่งนํ�า อยู่ในเขตเมือง หรือ

9

คลองส่งนํ�า อยู่ในเขตเมือง หรือพื�นทีFการเกษตร เป็นต้น ขณะทีFเขตพื�นทีFป่าไม้กจ็ะเห็นกรอบพื�นทีFป่าทีFไม่สมํFาเสมอ ยกเว้นพื�นทีFบุกรุกจะเห็นร่องรอยชัด หรือระบบการทําฟาร์ม เป็นต้น

3. Size ขนาดหมายถึง ขนาดของวตัถุ ซึFงมี

ความสําคญัต่อการประเมนิขนาดความสัมพนัธ์ของวตัถุเป้าหมายกบัวตัถุอืFนๆ ข้างเคยีงได้โดยตรง เช่นการจําแนกการใช้ทีFดนิระหว่าง

10

จําแนกการใช้ทีFดนิระหว่างบ้านและโรงงาน ซึFงสามารถเห็นสัดส่วนอสังหาริมทรัพย์นี�ได้ ทีFจะบ่งชี�ว่าเป็นย่านทีFพกัอาศัยหรือไม่

4. Pattern รูปแบบหมายถึง การจัดระเบียบทาง

พื�นทีF ซึFงทาํให้เห็นการจัดเรียงของวตัถุนั�นๆได้ มีลาํดบัความซํ�าซ้อนอย่างไร ลาํดบัของระดบัสีเทา เช่นสวนผลไม้ จะเห็นการจัด

11

สวนผลไม้ จะเห็นการจัดระเบียบช่องไฟระหว่างต้นได้ชัดเจน หรือการวางระบบถนนในเมอืงค่อนข้างเป็นระบบ มพีื�นทีFว่างของทีFอยู่อาศัยเป็นต้น

5. Textureความหยาบละเอยีด

หมายถึง การจัดระเบียบและความถีFของงวตัถุทีFมรีะดบัทีFหลากหลาย เช่นความหยาบจะทาํให้มองเห็นถึงการกระจัดกระจายของสีเป็นจุดๆ แต่ถ้าหากมคีวามละเอยีดมากจะเห็นความเนียนของสีซึFงบ่งถึงลกัษณะความเป็น

12

เนียนของสีซึFงบ่งถึงลกัษณะความเป็นหน่วยเดยีวกนั เช่น ผวิของแปลงนา ถนนทีFลาดยางมะตอย และคอนกรีต ทุ่งหญ้า เรือนยอดต้นไม้ หากเป็นภาพทีFได้จากระบบเรดาร์จะเห็นความหยาบละเอยีดได้ชัดเจน

6. Shadow เงา

หมายถงึ เงาทีFทอดออกไปในแนวทางอย่างไร จะทาํให้ช่วยในการแปลด้วยสายตาได้ว่าวตัถุนั�นๆ มีความสัมพนัธ์กบัความสูงอย่างไร แต่เงากจ็ะทาํให้ไปลดระดบัความสว่างของ

13

ความสูงอย่างไร แต่เงากจ็ะทาํให้ไปลดระดบัความสว่างของวตัถุอกีชนิดหนึFงลงเช่นกนั เงาจึงมีความสําคญัมากในระบบเรดาร์ และการทาํภาพ 3 มิติ

7. Association ทีFตั�งสัมพนัธ์

หมายถึงความสัมพนัธ์ระหว่างวตัถุต่างๆ กบัวตัถุข้างเคยีง ดูความสัมพนัธ์ด้านคุณลกัษณะต่างๆ เพืFอเป็นข้อมูลประกอบการพจิารณาวตัถุนั�นว่าเป็นอะไร เช่น ย่านการค่าจะสัมพนัธ์กบัถนน

14

ย่านการค่าจะสัมพนัธ์กบัถนนหลกัสําหรับการขนส่งหลกัของเมอืง แต่ย่านทีFอยู่อาศัยอาจจะสัมพนัธ์กบัโรงเรียน แหล่งทะเลสาบสัมพนัธ์กบัเรือ และแหล่งทีFพกัตากอากาศ เป็นต้น

3. คุณสมบัตขิองผู้แปล

15

3. คุณสมบัตขิองผู้แปล

การแปลภาพดาวเทยีมต้องอาศัยความรู้ในหลายสาขา ( Multi disciplinary) มาประกอบกนัเพืFอวนิิจฉัยสิFงทีFถูกต้อง ผู้แปลต้องมีคุณสมบัตดิงันี�

1. ความรู้ภูมหิลงั เป็นผู้มีความรู้ในสาขานั�นๆ และมีความรู้ทัFวไปเกีFยวกบัภาพดาวเทยีมในแต่ละระบบทีFใช้

16

มีความรู้ทัFวไปเกีFยวกบัภาพดาวเทยีมในแต่ละระบบทีFใช้ และอยู่ในสายงานทีFจะนําภาพดวเทยีมไปใช้ เช่น การแปลภาพด้านธรณวีทิยา ผู้แปลต้องมีความรู้ทางด้านธรณวีทิยาเป็นอย่างด ีตลอดจนต้องรู้ในศาสตร์แขนงต่างๆ ทีFเกีFยวข้องอกีด้วย

2. ความสามารถทางสายตา ต้องเป็นผู้ทีFมีสายตาด ีไม่เป็นอุปสรรคในการมองภาพ ไม่สั�นหรือยาวเกนิไป ทั�งนี�จําเป็นต้องมีความสามารถในการพจิารณาอย่างละเอยีดในสิFงทีFปรากฏในภาพ ทั�งสี ความหยาบละเอยีดของภาพ ความเข้มของสี และต้อง

17

หยาบละเอยีดของภาพ ความเข้มของสี และต้องสามารถมองเห็นเป็นสามมิตไิด้ หรือรับรู้ถงึความสูงของวตัถุนั�นๆ จึงจะสามารถใช้เครืFองมือช่วยการแปลภาพได้เป็นอย่างดี

3. ความสามารถในจิตใจ ต้องเป็นผู้ทีFมกีารตดัสินใจด ีการวเิคราะห์หรือสรุปผลจากการแปลภาพต้องมีความเดด็เดีFยวในการวนิิจฉัย มีความมัFนใจในการตดัสินใจลงไปว่าควรจะจัดกลุ่มอย่างไร ดงันั�นการเป็นคนทีFมคีวาม

18

ไปว่าควรจะจัดกลุ่มอย่างไร ดงันั�นการเป็นคนทีFมคีวามเข้มแขง็ทางจิตใจ จึงสัมพนัธ์กบัภูมิหลงั ประสบการณ์ ใจเยน็ รอบคอบ ช่างสังเกต จึงจะแปลภาพได้ดี

4. ประสบการณ์ ต้องเป็นผู้ทีFมีประสบการณ์ ซึFงได้จากการฝึกฝนให้เกดิความชํานาญ และมีความสนใจ เอาใจใส่ ช่างสังเกต มมีโนภาพ มีความพยายามในการค้นคว้า สังเกต และจดจํา

19

พยายามในการค้นคว้า สังเกต และจดจํา

4. หลกัในการแปลภาพ

20

4. หลกัในการแปลภาพ

หลกัการแปลภาพเพืFอให้เกดิประสิทธิภาพในการแปลภาพดาวเทยีม มลีาํดบั

การแปลดงันี�1. เริFมจากสิFงทีFเห็นชัดเจนก่อน เข้าใจและวนิิจฉัยได้ง่าย

ทีFสุดไปหายากทีFสุดเพืFอหลกีเลีFยงความท้อใจ เบืFอหน่ายในการแปลภาพ

21

แปลภาพ2. จากสิFงทีFคุ้นเคยหรือพบเห็นในชีวติประจําวนั หรือใกล้

ตวัก่อน สิFงทีFมคีวามรู้น้อยให้แปลภายหลงั ทั�งนี�ขึ�นอยู่กบัประสบการณ์และความรู้พื�นฐานของผู้แปล

3. ตคีวามจากเรืFองทัFวไปเป็นกลุ่มใหญ่ แล้วจึงพจิารณาแยกรายละเอยีดในแต่ละประเภทจากหยาบไปหาละเอยีด เช่นเริFมจากการใช้ทีFดนิในระดบัทีF 1 จากนั�นจําแนกเป็นการใช้ทีFดนิประเภท ทีFอยู่อาศัย การเกษตร ป่าไม้ เป็นต้น จากนั�นจําแนกย่อยเป็นลาํดบัทีF 2 คอืทีFดนิการเกษตร ได้แก่ นาข้าว

22

จําแนกย่อยเป็นลาํดบัทีF 2 คอืทีFดนิการเกษตร ได้แก่ นาข้าว พชืไร่ พชืสวน จนถึงลาํดบัทีF 3 พชืไร่ ได้แก่ อ้อย มนัสําปะหลงั ข้าวโพด เป็นต้น

4. เรียงลาํดบัอย่างเป็นระบบให้ครบวงจร คือแปลเป็นแต่ละประเภทๆ ไป ไม่ควรสลบัไปมา เพราะจะทาํใหร้ายละเอียดของขอ้มลูไม่ต่อเนื)องกนั หรืออาจจะขาดหายไปได ้

5. ใช้ปัจจัยหรือข้อมูลทีFมคีวามสัมพนัธ์กนัเป็นพื�นฐาน ที)จะวนิิจฉยัไดอ้ยา่งถูกตอ้ง เช่นการตีความแหล่งนํ/า ซึ) งมี

หลกัการ.....

23

ใช้ปัจจัยหรือข้อมูลทีFมคีวามสัมพนัธ์กนัเป็นพื�นฐานวนิิจฉยัไดอ้ยา่งถูกตอ้ง เช่นการตีความแหล่งนํ/า ซึ) งมีวตัถุประสงคไ์วเ้พื)อเพาะปลูก จะมีความสมัพนัธ์กบัพื/นที)ตอ้งการนํ/า เช่น หากเป็นที)เนินพื/นที)รับนํ/าควรเป็นพืชสวน หากเป็นพื/นที)ราบ พื/นที)รับนํ/าควรเป็นนาขา้ว หรือพืชสวนครัว เป็นตน้ ซึ) งเป็นไปตามวตัถุประสงคใ์นการสร้างอ่างเกบ็นํ/ า

5. เทคนิคในการแปลภาพ

24

5. เทคนิคในการแปลภาพ

เทคนิคการแปลภาพ

ก่อนอืFน ผู้แปลต้องเป็นผู้ทีFมจีินตนาการ (imaginary ) พอควรต้องเป็นผู้ทีFสามารถสร้างแนวคดิขึ�นเอง (conceptual model ) และสร้างจินตนาการเป็นชั�นๆ ได้ด้วย ตาม

25

model ) และสร้างจินตนาการเป็นชั�นๆ ได้ด้วย ตามความสัมพนัธ์ของระบบนิเวศ

5.1 ศึกษาคุณลกัษณะทางกายภาพ (Physical Characteristics)

-รูปร่างทางภูมศิาสตร์ (Land form)ดูความสูงตํFาของพื�นทีF สามารถทาํรูปหน้าตดัได้(Profile ) ซึFงจะทาํให้จําแนกพื�นทีFภูเขา ทีFราบ แม่นํ�าได้อย่างกว้างๆ ได้

26

จําแนกพื�นทีFภูเขา ทีFราบ แม่นํ�าได้อย่างกว้างๆ ได้

-รูปร่างทางธรณวีทิยา (Geology) เช่นภูเขาหินปูน จะมีลกัษณะเป็นภูเขาหลายยอด ( Karst Topography) แตกต่างจากภูเขาลกัษณะอืFนๆ เป็นต้น

5.2 ลกัษณะธรรมชาติของสิFงมชีีวติ ( Biological Charateristics)

-การใช้ทีFดนิทางธรรมชาต ิ(Natural Landuse ) พื�นทีFทีFเป็นภูเขาจนถึงเนินเขาโดยทัFวไปจะเป็นพื�นทีFป่าไม้ ส่วนพื�นทีFถัดลงมาจะเป็นพชืไร่ และนํ�าท่วมถึง และป่าชายเลน เป็นต้น

-ประโยชน์ของมนุษย์ ( Human use) หมายถงึการได้

เทคนิค....

27

-ประโยชน์ของมนุษย์ ( Human use) หมายถงึการได้เรียนรู้ถึงวถิีชีวติ เช่นเผ่าม้ง ชอบอาศัยอยู่บนภูเขาเกนิกว่า 700 เมตรขึ�นไป และนิยมปลูกฝิF น เดมิปลูกเพืFอใช้ในการรักษาโรค และพชืนี�ต้องการอากาศแบบนั�น ส่วนอกี้อจะมอีาชีพทาํนา อาศัยอยู่ในระดบัตํFาลงมา เป็นต้น

ความแตกต่างด้านสังคมเหล่านี�จะเป็นตวัช่วยพจิารณาความเป็นไปได้ในการทาํการเกษตรนั�น และมรีอบการเกษตรอย่างไร การศึกษาข้อมูลสัมพนัธ์เหล่านี�มคีวามสําคญัอย่างยิFงต่อการตีความ

-ข้อจํากดัในการใช้ทีFดิน (Landuse Requirement and Limitation ) เนืFองจากการศึกษาธรรมชาตขิองพชื

28

Limitation ) เนืFองจากการศึกษาธรรมชาตขิองพชื ตลอดจนข้อจํากดัทั�งระยะเวลาและความต้องการของพชืทั�งดนิ ภูมอิากาศ ความต้องการแสง นํ�า ซึFงความรู้พื�นฐานเหล่านี�มผีลต่อการคาดคะเนว่าพื�นทีFนั�น โดยปกตแิล้วน่าจะปลูกอะไรได้บ้าง

5.3 การศึกษาข้อมูลทีFมอียู่เดมิ( secondary data)-ภาพถ่ายทางอากาศ จะช่วยให้ผู้แปลมจีินตนาการใน

พื�นทีFได้ดขีึ�น-แผนทีFมาตราส่วน 1: 50,000 ยงัเป็นข้อมูลเพืFอการ

วางแผนพฒันาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

เทคนิค...

29

วางแผนพฒันาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

5.4 ความสัมพนัธ์ของสิFงแวดล้อมและรูปแบบของกจิกรรมทีFมนุษย์ทาํขึ�น (Human Activities)

-โครงสร้างพื�นฐานอืFนๆ ไม่ว่าจะเป็นถนน หมู่บ้าน การเกาะกลุ่มของบ้านเรือน มแีหล่งทีFตั�งบ่งบอกระบบนิเวศน์และสิFงแวดล้อมในบริเวณนั�น ลกัษณะทีFนา และนากุ้งจึงมคีวามแตกต่างกนั เพราะคาํนึงถึงแหล่งทีFตั�ง

30

นิเวศน์และสิFงแวดล้อมในบริเวณนั�น ลกัษณะทีFนา และนากุ้งจึงมคีวามแตกต่างกนั เพราะคาํนึงถึงแหล่งทีFตั�งด้วย

ดงันั�นเทคนิคการแปลภาพดาวเทยีม จึงเป็นทั�งศาสตร์และศิลป์ทีFต้องผสมผสานเข้าด้วยกนั จึงจะทาํให้เป็นผู้แปลได้ดี

6. ตวัอย่าง

31

6. ตวัอย่าง

Lat N17:21:00Long E102:54:00Width 240 km Height 200 km

32

Height 200 km20 Apr 2001 Landsat 7

33

Landsat 7วนัทีF 20 Apr 2001 แบนด์ R5G4B3

34 http://put.gistda.or.th/gistda1/60years/img/pasak2.jpg

แบบทดสอบ

35

36ตึกสูง สะพาน ท่าเรือ เมือง สเตเดียม เรือแล่น

http://ccrs.nrcan.gc.ca/resource/tutor/planet/2_2_e.php

เฉลยพื�นทีFเมอืง

A: Tall buildings and their shadows B: Bridges C: Residential street patterns

37

C: Residential street patterns D: A large stadium E: Marinas for small boats F: A ship and its wake

38http://ccrs.nrcan.gc.ca/resource/tutor/planet/2_2_e.php

แม่นํ�าใหญ่ แม่นํ�าสายเลก็ พื�นทีFปลูกพชืเกษตร พื�นทีFว่าง ป่า ถนน บ่อหรือสระ

เฉลยพื�นทีFกจิกรรมในป่า

A: A large river B: A small, meandering river C: Farm fields with crops

39

C: Farm fields with crops D: Farms fields showing bare ground E: Forest F: Roads G: Small ponds

40 http://ccrs.nrcan.gc.ca/resource/tutor/planet/2_2_e.php

พื�นทีFป่า การทาํป่าไม้รุ่นใหม่ การทาํป่ารุ่นเก่า แม่นํ�าในหุบเขา ถนน พื�นทีFชุ่มนํ�า

เฉลยพื�นทีFเกษตร

A: Standing forest B: Recent forest clearcut C: Older forest clearcut

41

C: Older forest clearcut D: Deep river valley E: Logging roads F: Swamp

42 http://ccrs.nrcan.gc.ca/resource/tutor/planet/2_2_e.php

ตะกอนบริเวณปากแม่นํ�า นํ�าตื�น นํ�าลกึ เมฆและเงา พื�นทีFป่าไม้

เฉลยพื�นทีFปากแม่นํ�า

A: A river carrying sediment into the Basin B: Shallow water areas C: Deep water areas

43

C: Deep water areas D: Clouds and their shadows E: Forests

จงจําแนกคุณลกัษณะของภาพดังนี�

1. ถนน2. แม่นํ�า3. สะพาน4. เขืFอน

44

4. เขืFอน5. ทีFอยู่อาศัย6. สนามกฬีา

เฉลย� The race track in the lower left of the image is quite

easy to identify because of its characteristic shape.

� The river is also easy to identify due to its contrasting tone with the surrounding land and also due to its shape.

� The roads in the image are visible due to their shape (straight in many cases) and their generally bright tone contrasting against the other darker features.

� Bridges are identifiable based on their shape, tone, and association with the river - they cross it!

45

� Bridges are identifiable based on their shape, tone, and association with the river - they cross it!

� Residential areas on the left hand side of the image and the upper right can be identified by the pattern that they make in conjunction with the roads. Individual houses and other buildings can also be identified as dark and light tones.

� The dam in the river at the top center of the image can be identified based on its contrasting tone with the dark river, its shape, and its association with the river - where else would a dam be!

http://ccrs.nrcan.gc.ca/resource/tutor/fundam/chapter4/02_e.php#Top

46

http://www.comet.ucar.edu/nsflab/web/satellite/215.htm

top related