flood diversion channel

Post on 21-Apr-2015

170 Views

Category:

Documents

11 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

จัดท าโดยส านักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ

โครงการจัดท าทางผันน้ าในเขตลุ่มน้ าเจ้าพระยา

การบรหิารจัดการความเส่ียง(Risk Management)

Risk = Probability x Consequence

Acceptable Riskความเสี่ยงที่ประชาสังคม/ผู้ได้รับผลกระทบยอมรับ

Tolerable Riskความเสี่ยงที่สูงกว่าระดับประชาสังคม/ผู้ได้รับผลกระทบยอมรับ แต่ความรุนแรง/ความเสียหายยังอยู่ในระดับพอทนได้

No Regret Solutionแนวทางแก้ปัญหาที่ไม่เสยีใจในภายหลัง

วิธีการลดระดับน้ าและปริมาณน้ าในล าน้ าสายหลักในภาวะอุทกภัย ระดับน้ าในแม่น้ าสูงกว่าคันกั้นน้ าและไหลบ่าเข้าท่วมพื้นที่ต่างๆ หลังคันกั้นน้ า

เพิ่มความจุของล าน้ าโดยเพิ่มความกว้างของแม่น้ า โดยขยับแนวคันกั้นน้ าฝั่งใดฝั่งหนึ่งของแม่น้ าออกไป

ใช้เขื่อนและพื้นที่รับน้ าในการการบริหารจัดการน้ า เพื่อลดปริมาณน้ าในแม่น้ า

อาจต้องสร้างเขื่อนกั้นน้้าทะเลบริเวณปากแม่น้้า

ขุดแม่น้ าให้มีความลกึขึ้น เพื่อให้สามารถรับน้ าปริมาณมากขึ้น

Discharge channel

(flood bypass)

สร้างทางผันน้ าเพื่อลดปริมาณน้ าในแม่น้ า

Source: Takeya Kimio (2012) JICA’s Support to “Toward Safe & Resilient Thailand” through revising the Comprehensive Flood Management

Plan for the Chao Phraya River Basin.

หลักการเลือกทางผันน้ าส าหรับแมน่้ าเจ้าพระยา● เหตุการณ์อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 มีปรมิาณน้ าไหลลงสู่เขื่อนเจ้าพระยา 5,300 ลบ.ม./วินาที (q1)

●ต้องควบคุมน้ าที่ไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยาไม่ให้เกนิ 3,500 ลบ.ม./วินาที (q4)

● เบี่ยงน้ า/ผนัน้ าไปทิศตะวนัตก 300 ลบ.ม./วนิาที (q2) และทิศตะวนัออก 1,500 ลบ.ม./วินาที (q3)

q1

q2 q3

q4

5,300 CMS

1,500 CMS300 CMS

3,500 CMS

qmax – qdivert = qallowable

q1 – q2 – q3 = q4

5,300 cms – 300 cms – 1,500 cms = 3,500 cms

เส้นทางผันน้ า (Flood Diversion Channel)

ความยาวของทางผันน้ า 258 กม.ความกว้างของทางผันน้ าเฉล่ีย 160 ม.

ศาลาครุ

หนองหมูหนองโรง

กุ่มหัก

หนองโดนตลาดน้อยสร่างโศกบ้านหมอ

บางโขมด บ้านครัวท่าหลวงจ าปา

หนองจรเข้คชสิทธิ์

หนองแคไผ่ต่ า

หนองไข่น้ าหนองปลิง

หนองปลาหมอโคกตูม

หนองน้ าใส

หนองขนากหนองกบดอนหญ้านาง

ท่าน้ าอ้อย

ม่วงหักท่าฉนวนศิลาดาน

วัดโคกหางน้ าสาคร

อู่ตะเภา

เสอืโฮกพรหมนมิิต

ช่องแค

ตาคลี

จันเสน

หนองกระเบียน

หนองเมือง

บ้านกล้วยหนองทรายขาว

พุคาเขาพระงาม

โคกกะเทยีม ท่าแคถนนใหญ่ทะเลชุบศร

ป่าตาล กกโก

บ้านกลับบ้านโปร่ง

ลอดใต้แม่น้ าป่าสักและใช้ siphon

บางเพรยีง คลองด่าน

บางเสาธงเปร็ง

ชุมทอง คลองหลวงแพ่งล าต้อยติ่ง

กระทุ่มรายหนองจอก

คลองสิบสอง

พืชอุดมบึงคอไห

บึงน้ ารักษ์

หนองสามวัง

ศาลาครุ

หนองหมูหนองโรง

กุ่มหัก

หนองโดนตลาดน้อยสร่างโศกบ้านหมอ

บางโขมด บ้านครัวท่าหลวงจ าปา

หนองจรเข้คชสิทธิ์

หนองแคไผ่ต่ า

หนองไข่น้ าหนองปลิง

หนองปลาหมอโคกตูม

หนองน้ าใส

หนองขนากหนองกบดอนหญ้านาง

หนองทรายขาวพุคา

เขาพระงามโคกกะเทยีม ท่าแค

ถนนใหญ่ทะเลชุบศรป่าตาล กกโก

บ้านกลับบ้านโปร่ง

ลอดใต้แม่น้ าป่าสักและใช้ siphon

ความยาวของทางผันน้ า 258 กม.●

ความลาดชันของทางผันน้ า

●ออกแบบให้การไหลของน้ าอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก เพื่อลดค่าไฟฟ้าในการสูบน้ าออกทะเล

●ความแตกต่างของระดับน้ าระหว่างต้นน้ ากับปลายน้ าเท่ากับ 18 เมตร

● จุดเริ่มต้นที่ จ.นครสวรรค์ = 20 ม.ทรก.

● จุดสิ้นสุดที ่จ.สมุทรปราการ = 2 ม.ทรก.-10.00

-5.00

0.00

5.00

10.00

15.00

20.00

25.00

0 50 100 150 200 250

Distance, km

Ele

va

tio

n,

m.M

SL

Bottom Elev, m.msl Water Surface, m.msl Origianl Elev , m.MSL

กม. 0 + 200 คลองชัยนาท - ป่าสัก

อัตราการไหล 1,516.93 ลบ.ม./วินาที ความลาดชันด้านข้าง 1 : 1.5พื้นที่หน้าตัดการไหล 1,348.38 ตร.ม. ความลาดชันทางน้้า 0.00006รัศมีชลศาสตร์ 5.91 เมตรระดับก้นคลอง 12.50 ม.รทก. ความกว้างท้องคลอง 54 เมตรระดับชานพักซ้าย 17.00 ม.รทก. ความกว้างชานพักด้านซ้าย 70 เมตรระดับชานพักขวา 17.00 ม.รทก. ความกว้างชานพักด้านขวา 70 เมตรระดับตลิ่งซ้าย 22.50 ม.รทก. ความกว้างส้ันคันด้านซ้าย 5 เมตรระดับตลิ่งขวา 22.50 ม.รทก. ความกว้างส้ันคันด้านขวา 10 เมตรระดับผิวน้้า 22.00 ม.รทก. ความกว้างเขตคลองทั้งหมด 224 เมตรระดับดินเดิม 18.80 ม.รทก.

กม. 33 + 500 คลองชัยนาท - ป่าสัก

อัตราการไหล 1,516.93 ลบ.ม./วินาที ความลาดชันด้านข้าง 1 : 1.5พื้นที่หน้าตัดการไหล 1,348.38 ตร.ม. ความลาดชันทางน้้า 0.00006รัศมีชลศาสตร์ 5.91 เมตรระดับก้นคลอง 10.17 ม.รทก. ความกว้างท้องคลอง 54 เมตรระดับชานพักซ้าย 14.67 ม.รทก. ความกว้างชานพักด้านซ้าย 70 เมตรระดับชานพักขวา 14.67 ม.รทก. ความกว้างชานพักด้านขวา 70 เมตรระดับตลิ่งซ้าย 20.17 ม.รทก. ความกว้างส้ันคันด้านซ้าย 5 เมตรระดับตลิ่งขวา 20.17 ม.รทก. ความกว้างส้ันคันด้านขวา 10 เมตรระดับผิวน้้า 19.67 ม.รทก. ความกว้างเขตคลองทั้งหมด 224 เมตรระดับดินเดิม 13.10 ม.รทก.

กม. 50 + 000 คลองใหม่

อัตราการไหล 1,527.03 ลบ.ม./วินาที ความลาดชันด้านข้าง 1 : 1.5พื้นที่หน้าตัดการไหล 1,148.38 ตร.ม. ความลาดชันทางน้้า 0.00008031รัศมีชลศาสตร์ 6.10 เมตรระดับก้นคลอง 9.13 ม.รทก. ความกว้างท้องคลอง 54 เมตรระดับชานพักซ้าย 13.63 ม.รทก. ความกว้างชานพักด้านซ้าย 50 เมตรระดับชานพักขวา 13.63 ม.รทก. ความกว้างชานพักด้านขวา 50 เมตรระดับตลิ่งซ้าย 19.13 ม.รทก. ความกว้างส้ันคันด้านซ้าย 5 เมตรระดับตลิ่งขวา 19.13 ม.รทก. ความกว้างส้ันคันด้านขวา 10 เมตรระดับผิวน้้า 18.63 ม.รทก. ความกว้างเขตคลองทั้งหมด 184 เมตรระดับดินเดิม 15.73 ม.รทก.

กม. 170 + 000 คลองใหม่

อัตราการไหล 1,527.03 ลบ.ม./วินาที ความลาดชันด้านข้าง 1 : 1.5พื้นที่หน้าตัดการไหล 1,148.38 ตร.ม. ความลาดชันทางน้้า 0.00008031รัศมีชลศาสตร์ 6.10 เมตรระดับก้นคลอง -0.51 ม.รทก. ความกว้างท้องคลอง 54 เมตรระดับชานพักซ้าย 3.99 ม.รทก. ความกว้างชานพักด้านซ้าย 50 เมตรระดับชานพักขวา 3.99 ม.รทก. ความกว้างชานพักด้านขวา 50 เมตรระดับตลิ่งซ้าย 9.49 ม.รทก. ความกว้างส้ันคันด้านซ้าย 5 เมตรระดับตลิ่งขวา 9.49 ม.รทก. ความกว้างส้ันคันด้านขวา 10 เมตรระดับผิวน้้า 8.99 ม.รทก. ความกว้างเขตคลองทั้งหมด 184 เมตรระดับดินเดิม 5.42 ม.รทก.

กม. 250 + 000 คลองใหม่

อัตราการไหล 1,527.03 ลบ.ม./วินาที ความลาดชันด้านข้าง 1 : 1.5พื้นที่หน้าตัดการไหล 1,148.38 ตร.ม. ความลาดชันทางน้้า 0.00008031รัศมีชลศาสตร์ 6.10 เมตรระดับก้นคลอง -6.94 ม.รทก. ความกว้างท้องคลอง 54 เมตรระดับชานพักซ้าย -2.44 ม.รทก. ความกว้างชานพักด้านซ้าย 50 เมตรระดับชานพักขวา -2.44 ม.รทก. ความกว้างชานพักด้านขวา 50 เมตรระดับตลิ่งซ้าย 3.06 ม.รทก. ความกว้างส้ันคันด้านซ้าย 5 เมตรระดับตลิ่งขวา 3.06 ม.รทก. ความกว้างส้ันคันด้านขวา 10 เมตรระดับผิวน้้า 2.56 ม.รทก. ความกว้างเขตคลองทั้งหมด 184 เมตรระดับดินเดิม 1.71 ม.รทก.

การใช้ประโยชน์ของทางผันน้ าพื้นที่การเกษตรที่เคยรับน้ าจากคลองชัยนาทป่าสักจะยังคง

ได้รับน้ าจากทางผันน้ าที่สร้างขึ้นใหม่

• รายได้จากการเก็บค่าน้ าดิบต่อปเีท่ากับ 858 ล้านบาท (อัตรากรมชลประทาน) ถงึ 15,873 ล้านบาท

(อัตราโครงการ East Water)

การประปานครหลวงและการประปาส่วนภูมภิาค อาจใช้น้ า

จากทางผันน้ าเพ่ือเป็นน้ าดิบในการผลิตน้ าประปา

• คาดว่าจะสร้างผลประโยชน์จากการคมนาคมตลอดเส้นทางได้ไม่นอ้ยกว่า 122.94 ล้านบาทต่อปี

คันกั้นทางผันน้ าทั้ง 2 ฝั่ง อาจได้รับการออกแบบให้เป็น

เส้นทางหลวงสายรอง

ประมาณการงบประมาณโครงการฯคาดว่าจะใช้เงินลงทุนประมาณ 200,000,000,000 บาท (สองแสนล้านบาทถ้วน)

รายละเอียด จ านวนเงนิ

1. ค่าใช้จ่ายในการเวนคนืที่ดินตามแนวผันน้ า 76,000.00 ล้านบาท

2. ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง 124,000.00 ล้านบาท

2.1 เข่ือนริมตล่ิงแบบเข่ือนหนิกันกดัเซาะ ระยะทาง 258 กม. ตลอดแนวทั้ง 2 ฝั่ง รวมพ้ืนที่ 4.64 ลา้น ตรม. ราคา 4,755 บาทต่อ ตรม.

22,063.20 ลา้นบาท

2.2 เข่ือนดินใช้ดินและหินบดอัด 202 ลา้น ลบ.ม. ราคา 350 บาทต่อ ลบ.ม. 70,700.00 ลา้นบาท

2.3 ถนนทั้ง 2 ฝั่งมพ้ืีนที่ 15.12 ลา้น ตรม. ราคา 400 บาทต่อ ตร.ม. 6,048.00 ลา้นบาท

2.4 ค่าใชจ้่ายในการท้าประตูน้้าเพ่ือการชลประทาน สะพานข้าม และคลองลอด 25,188.80 ลา้นบาท

รวม 200,000 ล้านบาท

หมายเหตุ งบประมาณก่อสร้างโครงการจะชัดเจนขึ้น ก็ตอ่เมื่อมีการศึกษาออกแบบอย่างละเอียด พร้อมทัง้วิเคราะห์ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดลอ้ม

การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์สมมติฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์● อัตราดอกเบี้ยเงินกูต้่างประเทศ 6% (ส้านักบรหิารหนีส้าธารณะ)

● อัตราคิดลด ใช้อัตราดอกเบี้ยพันธบตัรรัฐบาล 30 ปี 4.25 %

● ต้นทุนด้าเนนิการโครงการเป็นระยะ 8 ปีมคี่าปีละเท่าๆ กัน

● เงินเฟ้อ (หมวดวสัดุก่อสร้าง) เพิ่มขึน้ 1.95% ต่อป ี(คิดจากค่าเฉลี่ยเงินเฟอ้ในอดีต 10 ป)ี

● โครงการมอีายุ 60 ปี

● ผลประโยชน์ค้านวณจากผลประโยชน์ทั้งหมดของทุกโครงการย่อย

● ค่าใช้จ่ายในการเวนคืนทีด่ิน ประมาณ 76,000 ล้านบาท

● ค่าใช้จ่ายในการท้าคันดิน ผิวถนน เข่ือนตลิง่ ค่าใช้จ่ายในการท้าประตนู้า้เพื่อการชลประทาน สะพานข้าม และคลองลอด รวม 124,000 ล้านบาท

ผลการวิเคราะห์โครงการเบ้ืองต้นกรณีใช้ราคาน้ ากรมชลประทาน

ความถี่ของอุทกภัยกรณีปกติ

กรณีต้นทุนโครงการปรับตัวสูงขึ้น 50%

กรณีต้นทุนโครงการปรับตัวสูงขึ้น 100%

NPV(ล้านบาท)

IRR BCRNPV

(ล้านบาท)IRR BCR

NPV(ล้านบาท)

IRR BCR

กรณีนับเฉพาะความเสยีหาย*

15 ปี 1,415,132 12% 4.15 1,104,831 9% 2.45 734,107 6% 1.65

30 ปี 457,924 7% 2.02 147,623 5% 1.19 -223,102 - 0.80

50 ปี 2,936 4% 1.01 -307,364 - 0.60 -678,089 - 0.40

กรณีนับรวมความสูญเสีย**

15 ปี 3,738,054 19% 9.32 3,427,754 14% 5.51 3,057,029 11% 3.70

30 ปี 1,573,331 10% 4.50 1,263,030 8% 2.66 892,305 6% 1.79

50 ปี 544,377 6% 2.21 234,076 5% 1.31 -136,648 - 0.88

*ความเสียหาย (Damage) หมายถึง ความเสียหายที่เกิดขึน้กับทรัพย์สิน ในช่วงกอ่น และระหว่างที่มีอุทกภัย รวมถึงงบประมาณป้องกันและบรรเทาที่ได้ใช้จ่ายไปตั้งแต่กอ่นและระหว่างที่มีอุทกภัย**ความสูญเสีย (Losses) หมายถึง ความสูญเสียที่เกิดขึน้ภายหลงัอุทกภัย ความเสียหายที่เกิดขึน้จากการสูญเสียรายได้นับรวมไปจนกระทั่งสามารถกลับมามีรายได้เท่าเดิม รวมถึงแผนการก่อสรา้ง/ป้องกันอุทกภัยในอนาคต

ผลการวิเคราะห์โครงการเบ้ืองต้นกรณีใช้ราคาน้ าโครงการ East water

ความถี่ของอุทกภัยกรณีปกติ

กรณีต้นทุนโครงการปรับตัวสูงขึ้น 50%

กรณีต้นทุนโครงการปรับตัวสูงขึ้น 100%

NPV(ล้านบาท)

IRR BCRNPV

(ล้านบาท)IRR BCR

NPV(ล้านบาท)

IRR BCR

กรณีนับเฉพาะความเสียหาย

15 ปี 1,674,601 13% 4.73 1,364,300 10% 2.80 993,575 7% 1.88

30 ปี 717,393 8% 2.60 407,092 6% 1.54 36,367 4% 1.03

50 ปี 262,405 6% 1.58 -47,896 - 0.94 -418,620 - 0.63

กรณีนับรวมความสูญเสีย

15 ปี 3,997,523 20% 9.90 3,687,222 15% 5.85 3,316,498 12% 3.93

30 ปี 1,832,799 11% 5.08 1,522,498 8% 3.00 1,151,774 7% 2.02

50 ปี 803,846 7% 2.79 493,545 6% 1.65 122,820 5% 1.11

*ความเสียหาย (Damage) หมายถึง ความเสียหายที่เกิดขึน้กับทรัพย์สิน ในช่วงกอ่น และระหว่างที่มีอุทกภัย รวมถึงงบประมาณป้องกันและบรรเทาที่ได้ใช้จ่ายไปตั้งแต่กอ่นและระหว่างที่มีอุทกภัย**ความสูญเสีย (Losses) หมายถึง ความสูญเสียที่เกิดขึน้ภายหลงัอุทกภัย ความเสียหายที่เกิดขึน้จากการสูญเสียรายได้นับรวมไปจนกระทั่งสามารถกลับมามีรายได้เท่าเดิม รวมถึงแผนการก่อสรา้ง/ป้องกันอุทกภัยในอนาคต

พิจารณาผลการวิเคราะห์

● โครงการฯ มีผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์เบ้ืองต้นเป็นบวก และมีความอ่อนไหวต่ า

● สามารถรองรับได้ในกรณีที่ต้นทุนโครงการปรับตัวสูงข้ึน 100%

● ลดโอกาสในการเกิดอุทกภัยท่ีกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน และความเสียหายทางเศรษฐกิจ

● หากมีการอนุมัติในหลักการจ าเป็นต้องท าการประเมินโครงการโดยละเอียด

การบรหิารจัดการและการลงทุน

● การดูแล ควบคุม และบ ารุงรักษา ให้อยู่ภายใต้การดูแลของกรมชลประทาน หรือหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นใหม่เพื่อท าหน้าที่รบัผดิชอบโครงการนี้โดยเฉพาะ

● รูปแบบการลงทุนที่เหมาะสม ควรมกีารศึกษาโดยละเอียด เพื่อพิจารณาแหล่งทุนที่เหมาะสม และรูปแบบการจ่ายคืนเงินกู้

● กบอ./สบอช. ตั้งงบประมาณส าหรับโครงการ Flood Diversion 1.2 แสนล้านบาท

● เงินส่วนต่างอีกจ านวน 8 หมื่นล้านบาทอาจพจิารณามาตรการเพ่ิมเติม เช่น การออกพันธบัตร หรอืการออกกฎหมายเพื่อจัดเก็บภาษจีากการป้องกนัอุทกภัย เป็นต้น

คณะท างานโครงการจัดท าทางผันน้ าในเขตลุ่มน้ าเจ้าพระยา

1. รศ.ดร. อภิชาต อนุกูลอ าไพ สมาคมทรัพยากรน้ าแห่งประเทศไทย

2. รศ.ดร. นิพนธ์ พัวพงศกร สถาบันวจิัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

3. นางสาวพัชร ีบ ารุงธรรม สถาบันวจิัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

4. นางสาวพิศสม มีถม สถาบันวจิัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

5. นางสาวปริญญารัตน์ เลีย้งเจริญ สถาบันวจิัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

6. นายกัมพล ปั้นตะกั่ว สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

7. นายสุทธิพงษ์ สุรปริญญากุล กรมธนารักษ์

8. นางสาววิลาวัลย์ วีระกุล กรมธนารักษ์

9. ว่าที่ ร.ท. ยรรยง อรัญญาเกษมสุข กรมธนารักษ์

10. นายสมชาย สุทธิกุล กรมเจ้าท่า

11. ศ.ดร. ธนวัฒน์ จารพุงษ์สกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

12. ดร. พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ สวทน.

13. ศ.ดร. นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย สวทน.

14. ดร. สมชาย ฉัตรรัตนา สวทน.

15. ดร. นเรศ ด ารงชัย สวทน.

16. ดร. สุชาต อุดมโสภกิจ สวทน.

17. นายอาศิร จริะวิทยาบุญ สวทน.

18. ดร. ณัฐ มาแจ้ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

top related