ผู ช วยศาสตราจารย ดร. สุคนธา ... · 2015-12-04 ·...

Post on 21-Jan-2020

3 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุคนธา ศิริภาควิชาระบาดวทิยา

คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวทิยาลัยมหดิล

อาจารย รังสิมา พัสระอาจารย รังสิมา พัสระวท.ม. (สาธารณสุขศาสตร)

Principles of Epidemiology

• อธิบายคําจํากัดความของระบาดวิทยา• สรุปวิวัฒนาการของระบาดวิทยา• บอกประโยชนที่สําคัญของระบาดวิทยา

วัตถุประสงควัตถุประสงค

• บอกประโยชนที่สําคัญของระบาดวิทยา• บอกหนาที่หลักของระบาดวิทยาในงานสาธารณสุข• อธิบายการประยุกตเบื้องตนเพื่อนําระบาดวิทยาไปใชในงานสาธารณสุข• บอกลักษณะสําคัญและประโยชนของระบาดวิทยาเชิงพรรณนา• บอกลักษณะสําคัญและประโยชนของระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห• อธิบายองคประกอบของปจจัยสามทางระบาดวิทยา (Epidemiologic Triad)• อธิบายวิธีการถายทอดโรคติดตอแบบตางๆในชุมชน

�คําจํากัดความของระบาดวิทยา�คําจํากัดความของระบาดวิทยา

�แนวคดิของระบาดวิทยา�แนวคดิของระบาดวิทยา

�วิวัฒนาการของระบาดวิทยา�วิวัฒนาการของระบาดวิทยา

ระบาดวิทยาระบาดวิทยา

�ประโยชนของระบาดวิทยา�ประโยชนของระบาดวิทยา

�วิธีการเรียนรูทางระบาดวิทยา (Epidemiologic Approach)�วิธีการเรียนรูทางระบาดวิทยา (Epidemiologic Approach)

หนาที่หลักของระบาดวิทยาหนาที่หลักของระบาดวิทยา

�ระบาดวิทยาเชงิวิเคราะห (Analytic Epidemiology)�ระบาดวิทยาเชงิวิเคราะห (Analytic Epidemiology)

�ระบาดวิทยาเชงิพรรณนา (Descriptive Epidemiology)�ระบาดวิทยาเชงิพรรณนา (Descriptive Epidemiology)

�แนวคดิของการเกิดโรค�แนวคดิของการเกิดโรค

ระบาดวิทยาระบาดวิทยา

ธรรมชาติและพิสัยของการเกิดโรค (Natural History and Spectrum of Disease)�ธรรมชาติและพิสัยของการเกิดโรค (Natural History and Spectrum of Disease)

�การเกิดการระบาดของโรค�การเกิดการระบาดของโรค

�หวงโซของการตดิเชือ้ (Chain of Infection)�หวงโซของการตดิเชือ้ (Chain of Infection)

Case studyCase study

6

People in the community are sick from arsenic poisoning which

come from water

5030

5

โรงงานอุตสาหกรรม

โบสถ

15

7

20 15

8

From the given data set I

• Who is the polluter?

• How do you know?

The factory owner has demonstrated that their

factory is not responsible for arsenic in the

ground water.

What needs to be done?

Could it be? Why?Could it be? Why?

Arsphenamine � �� Salvarsan

แนวคิดของระบาดวิทยาแนวคิดของระบาดวิทยา• ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด (Epidemiology) เปน

วิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานของงานสาธารณสุขและงานเวชศาสตรปองกัน งานทั้งสองสาขานี้เปนงานที่เกี่ยวของกับการจัดการใหประชากรมีสขุภาพอนามยัที่ดีและมีชีวิตอยูในสังคมไดอยางเปนสุข และไมเพียงแตไมปวยเปนโรคเทานั้นสุข และไมเพียงแตไมปวยเปนโรคเทานั้น

• งานสาธารณสุข เปนงานที่มุงหวังใหประชากรมีสขุภาพอนามยัที่ดี และเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว นักสาธารณสุขจึงจําเปนตองใชความรูดานวิทยาการระบาดมาเปนเครื่องมือดําเนินงาน

คําจํากัดความของระบาดวิทยาคําจํากัดความของระบาดวิทยา

�ระบาดวิทยา (Epidemiology) มีรากศัพทมาจากภาษากรกี คือ

�Epi = on upon�Epi = on upon

�Demos = people, population, man

�Logos = study

คําจํากัดความคําจํากัดความ�ระบาดวิทยา หมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับการ

กระจายของโรคหรือปญหาสุขภาพและปจจัยที่มีอทิธิพลตอภาวะสุขภาพของมนุษยทั้งโรคติดเชื้อ โรคไมติดเชื้อ อุบัติเหตุหรือเหตุการณ เพื่อเชื้อ โรคไมติดเชื้อ อุบัติเหตุหรือเหตุการณ เพื่อประโยชนการปองกันและควบคุมโรคหรือแกไขปญหาสุขภาพ การศึกษาทางระบาดวิทยาจึงครอบคลมุประเด็นสําคัญ ดังนี้ ( ไพบูลย โลหสุนทร, 2538 )

ประเด็นสําคัญทางระบาดวิทยาประเด็นสําคัญทางระบาดวิทยา1. ประชากรมนุษย ( Human population )2. การกระจายโรค ( Distribution of disease )3. ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดโรค ( Determinants )4. การเปลี่ยนแปลงหรือพลวัตรของโรค ( Dynamic of disease )5. โรคติดเชื้อและโรคไรเชื้อ ( Infectious or non infectious 5. โรคติดเชื้อและโรคไรเชื้อ ( Infectious or non infectious

disease )6. ภาวะที่เปนโรคและไมเปนโรค ( Disease or non disease

conditions )7. การปองกันและการควบคุมโรค ( Prevention and control of

disease )

วิวัฒนาการของระบาดวทิยาวิวัฒนาการของระบาดวทิยา

วิวัฒนาการของระบาดวทิยาวิวัฒนาการของระบาดวทิยา

สมัยอยุธยาตอนตน

วิวัฒนาการของระบาดวทิยาวิวัฒนาการของระบาดวทิยา

• กรุงรัตนโกสินทรตอนตน รัชกาลที่ 3

• นายแพทยแดน บีซ บรัดเลย (Dan Beach บรัดเลย (Dan Beach Bradley) ผูเผยแพรคริสตศาสนาชาวอเมริกัน ไดริเริ่มการปองกนัโรคติดตอครั้งแรก โดยปลูกฝปองกันไขทรพิษซึ่งไดผลดี

วิวัฒนาการของระบาดวทิยาวิวัฒนาการของระบาดวทิยา

สมัยรัชกาลที่ 4 ควบคุมอหิวาตกโรคโดยการใชทิงเจอรผสมน้ําใหดื่ม

วิวัฒนาการของระบาดวทิยาวิวัฒนาการของระบาดวทิยา

•สมัยรัชกาลที่ 5 ประกาศใชกฎหมายเกี่ยวกับสุขาภิบาลเปนครั้งแรกเรียกวา พระราชบัญญัติธรรมเนียมคลอง พ.ศ. 2413 เพื่อใหมีการรักษาความสะอาดเพื่อใหมีการรักษาความสะอาดของคลองไมใหเปนบอเกิดของโรคภัยไขเจ็บ •มีการจัดตั้งโรงพยาบาลศิริราชขึ้น

วิวัฒนาการของระบาดวทิยาวิวัฒนาการของระบาดวทิยา

•สมัยรัชกาลที่ 6 ในป พ.ศ. 2461 มีการจัดตั้งกรมสาธารณสุขขึ้นในกระทรวงมหาดไทย มีกรมพระยาชัยนาทนเรนทร เปนอธิบดีคนยาชัยนาทนเรนทร เปนอธิบดีคนแรก •สมเด็จพระบรมราชชนก สนใจในเรื่องการแพทยและการสาธารณสุข ทรงมุงมั่นเรียนตอทางดานการสาธารณสุขและการแพทยจนจบทั้งสองปริญญา เนื่องจากทรงตระหนักดีวาการปองกันดีกวาการรักษา

วิวัฒนาการของระบาดวทิยาวิวัฒนาการของระบาดวทิยา

สมัยรัชกาลที่ 8 ในป 2485 ไดมีการจัดตั้งกระทรวงสาธารณสุขขึ้น และมีการดําเนินงานเพื่อปราบโรคระบาดตางๆเชน คุดทะราด มาเลเรีย พยาธิลําไส คุดทะราด มาเลเรีย พยาธิลําไส ฯลฯ มีการตั้งกองควบคุมโรคติดตอ ภายใตกรมอนามัย

�ใชในการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของการเกดิโรคในชุมชน

�ใชในการวินิจฉัยชุมชน�ใชในการรักษาและปองกนัโรค

ประโยชนของระบาดวิทยา ประโยชนของระบาดวิทยา ( ( Uses of epidemiology )Uses of epidemiology )

�ใชในการรักษาและปองกนัโรค�ใชในการคนหาโรคในระยะเริ่มแรก�ใชในการปองกันและควบคุมการระบาดของ

โรค

ประโยชนของระบาดวิทยา ประโยชนของระบาดวิทยา ( ( Uses of epidemiology )Uses of epidemiology )

�ใชวางแผนงานดานการบริการดานการแพทยและสาธารณสุข

�ใชชวยในการจําแนกโรค�ใชประเมินผลโครงการสาธารณสุขตาง ๆ�ใชประเมินผลโครงการสาธารณสุขตาง ๆ�ใชในการวิจยั�ใชในการวางแผนเพื่อพฒันาประเทศ

หนาที่หลักของหนาที่หลักของระบาดวิทยา ระบาดวิทยา

�เพื่อทราบการกระจายของโรคในชุมชน�เพื่อทราบสาเหตหุรือปจจยัสนับสนุนที่ทําให

เกดิโรคในชุมชน�เพื่ออธิบายธรรมชาตขิองการเกดิโรค�เพื่ออธิบายธรรมชาตขิองการเกดิโรค�เพื่อเปนแนวทางในการปองกันและควบคุม

โรค�เพื่อการวิจยั

จุดมุงหมายของระบาดวทิยา จุดมุงหมายของระบาดวทิยา ( ( Purposes of epidemiology )Purposes of epidemiology )

�ศึกษาถึงการกระจายของโรคในชุมชนตามบุคคล ( Person ) สถานที่ ( Place ) เวลา ( Time ) และปจจัยที่มีอทิธิพลตอการกระจายของโรคในชุมชน

�ศึกษาถึงปจจัยที่เสี่ยงตอการเกิดโรคหรือปจจัยเสี่ยง และสาเหตุของโรค

�ศึกษาถึงปจจัยที่เปนสาเหตุของการระบาดของโรค

�ศึกษาถึงแนวทางในการปองกนัและควบคุมโรค

วิธีการเรียนรูทางระบาดวทิยา วิธีการเรียนรูทางระบาดวทิยา ((Epidemiologic Approach)Epidemiologic Approach)

1. ระบาดวิทยา เชิงพรรณนา(Descriptive Epidemiology)

2. ระบาดวิทยา เชิงวิเคราะห(Analytical Epidemiology)(Analytical Epidemiology)

3. ระบาดวิทยาเชิงปฏิบัติการ(Operational Epidemiology)

1.ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (Descriptive Epidemiology)

� เปนการศึกษาถึงสภาพความเปนจริง (Fact) ของสภาวะการเกิดโรคหรือปญหาสุขภาพที่เปนอยูใน

ชนิดของระบาดวิทยาชนิดของระบาดวิทยา

สภาวะการเกิดโรคหรือปญหาสุขภาพที่เปนอยูในขณะนั้น โดยทําการวิเคราะหสภาพการเกิดโรคจําแนกตามชนิดของโรค ลักษณะบุคคลที่ปวยดวยโรคนั้น (อายุ เพศ อาชีพ ระดับการศึกษา ฐานะทางสังคมเศรษฐกิจ เปนตน) ลักษณะของสถานที่ที่พบโรคนั้นมาก (จําแนกตามสภาพภูมิศาสตร หรือตามสภาพการบริหารงาน) และชวงเวลาที่พบโรคมาก (ตามชวงเวลาของวัน เดือน ป หรือ ตามฤดูกาล)

• ชนิดของโรค (WHAT)

• ปจจัยในแงของบุคคล (WHO)

ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา จะทําไดตามระบาดวิทยาเชิงพรรณนา จะทําไดตามหัวขอตางๆตอไปนี้หัวขอตางๆตอไปนี้

• ปจจัยในแงของสถานที่ (WHERE)

• ปจจัยในแงของเวลา (WHEN)

1.รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการเกิดโรค2.ทําการแจงนับการเกิดโรคตามลักษณะตางๆขางตน3.ใชสถิติที่เหมาะสมในการคํานวณหาอัตราปวย (และ/หรืออัตราตาย) ในประชากรแตละกลุมที่ไดแจกแจงไว

วิธีการของระบาดวิทยาเชิงพรรณนา วิธีการของระบาดวิทยาเชิงพรรณนา

หรืออัตราตาย) ในประชากรแตละกลุมที่ไดแจกแจงไว และนําเสนอดวยกราฟที่เหมาะสม4.แปลผลขอมูล วิเคราะหหาเหตุผลที่พบโรคมากหรือนอยในประชากรแตละลักษณะ และตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับปจจัยที่อาจมีสวนเกี่ยวของกับการเกิดโรคนั้นๆ

รูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดรูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาเชิงพรรณนา

1. Case reports and Case series• ในการศึกษาแบบนี้ใชการรวบรวมขอมูลจาก

ผูปวยเปนรายบุคคล หรือเปนกลุมของผูปวยที่ปวยดวยโรคเดียวกันปวยดวยโรคเดียวกัน

รูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดรูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาเชิงพรรณนา

�Case reports : คือการรายงานผูปวย 1 ราย โดยครอบคลุมอยางละเอียดลึกซึ้งในดานตางๆ อาจจะรายงานโดยแพทยคนเดียว หรือกลุมของแพทยก็ได โดยมากมักเปนผูปวยดวยโรคใหมซึ่งไมเคยพบมากอนกอน

�Case series : คือการรายงานผูปวยหลายๆคนที่ปวยดวยโรคเดียวกันในชวงระยะเวลาหนึ่ง (ซึ่งอาจจะสั้นหรือยาวเปนปก็ได) และมักจะเปนโรคที่เกิดขึ้นใหมหรือเกี่ยวของกับปจจัยบางอยางที่อาจจะเปนพิษภัยจากสิ่งแวดลอม หรือพฤติกรรมบางอยาง

รูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดรูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาเชิงพรรณนา

� ตัวอยาง� การรายงานเบื้องตนถึงการเจ็บปวยดวย Angiosarcoma ของตับ

ในผูปวย 3 ราย ที่เคยทํางานในโรงงาน Vinyl chloride� การรายงานการปวยเปนโรคปอดบวมจากเชื้อซึ่งไมธรรมดานัก

คือ Pneumocystis carinii ในผูปวย 5 คน ซึ่งเปนคนหนุมและคือ Pneumocystis carinii ในผูปวย 5 คน ซึ่งเปนคนหนุมและเปนเกย ในลอสแองเจลิสในชวงระหวางตุลาคม 1980 ถึงพฤษภาคม 1981 เปนเหตุใหมีการสอบสวนและเก็บรวบรวมผูปวยประเภทนี้ขยายวงกวางไปทั่วสหรัฐโดย CDC (Centre for Diseases Control) และเปนการเริ่มตนของการวินิจฉัยโรค AIDS และสาเหตุของโรคนี้ในเวลาตอมา

2.Correlation Study (Ecological study)• ในการวิจัยประเภทนี้ คือการอธิบายการเกิดโรค

ในประชากรทั้งหมด ในเชิงความสัมพันธกับปจจัยบางอยาง

รูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดรูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาเชิงพรรณนา

ปจจัยบางอยาง

• ตัวอยาง• - การศึกษาความสัมพันธระหวางจํานวนบุหรี่ที่ขายได

กับอัตราตายของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบใน 44 รัฐของอเมริกา

รูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดรูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาเชิงพรรณนา

ของอเมริกา• - ปริมาณการบริโภคไขมันและการตายจากโรคมะเร็ง

เตานมในหญิงของประเทศตางๆ• - ระดับของการบริโภคแอลกอฮอลและการตายของโรค

หลอดเลือดหัวใจตีบ• - ผลของการตรวจมะเร็งระยะเริ่มแรก (Screening) กับ

การตายจากมะเร็งปากมดลูก

3. Cross-Sectional Surveys (Prevalence survey)• ในการศึกษาแบบนี้ กระทําโดยการสํารวจในชวงระยะเวลาใด

เวลาหนึ่งในประชากรกลุมเปาหมาย ในการกระทําดังกลาว การเจ็บปวยและปจจัยอื่นที่คิดวาจะเกี่ยวของกับการเจ็บปวยนั้นจะถูกวัดไปพรอมๆกัน หรือในเวลาเดียวกัน

รูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดรูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาเชิงพรรณนา

ถูกวัดไปพรอมๆกัน หรือในเวลาเดียวกัน

• ตัวอยาง• - การสํารวจสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชน

ในสหรัฐอเมรกิาโดยการสัมภาษน• - การสํารวจความชุกของโรค อันเปนผล

รูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดรูปแบบของการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาเชิงพรรณนา

• - การสํารวจความชุกของโรค อันเปนผลเนื่องมาจากการทํางานในกลุมอาชีพบางอยาง เชน คนงานโรงงานอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ

• - ความสัมพันธระหวางการออกกําลงักาย และการปวยดวยโรคหลอดเลอืดหัวใจตีบ

� เปนการศึกษาวิจัยอยางมีระบบ เพื่อคนหาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการเกิดโรค โดยสิ่งนั้นอาจจะเปนปจจัยที่เปนสาเหตุ หรือเปนปจจยัสนับสนุนสงเสริมใหเกิดโรค ทั้งนี้ เพื่อนําไปใชในการปองกนัและควบคุมโรคนั้นๆในประชากรตอไป

ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะหระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห (Analytical Epidemiology)(Analytical Epidemiology)

โรคนั้นๆในประชากรตอไป

• โรคเกิดขึ้นเพราะอะไร (WHY)

• ปจจัยนั้นทําใหเกิดโรคไดอยางไร (HOW)

ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะหจะตอบคําถามระบาดวิทยาเชิงวิเคราะหจะตอบคําถาม

1.การตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับปจจัยและโรคที่ตองการศึกษา

2.วางรูปแบบการศึกษาที่เหมาะสม case-control study, cohort study, experimental study, field trial, community study

วิธีการของระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห วิธีการของระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห ประกอบไปดวยประกอบไปดวย

3.ดําเนินการตามแผนและเก็บขอมูลจากประชากรที่ศึกษา

4.วิเคราะหขอมูล และแปลผล

5.สรุปผลการศึกษา

รูปแบบของการศึกษาระบาดวิทยารูปแบบของการศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะหเชิงวิเคราะห

• 1. การศกึษายอนหลัง (Retrospective studies)– การศึกษาแบบเคสคอนโทรล (Case control

study) เปนการศึกษาโดยเริ่มจากผลไปหาสาเหตุstudy) เปนการศึกษาโดยเริ่มจากผลไปหาสาเหตุ

Case control studyCase control study

• การศกึษาไปขางหนา (Prospective studies)

• การศึกษาแบบโคฮอรต (Cohort study หรือ Longitudinal study หรือ Follow-up study)

รูปแบบของการศึกษาระบาดวิทยารูปแบบของการศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะหเชิงวิเคราะห

Longitudinal study หรือ Follow-up study) เปนการศึกษาโดยเริม่จากสาเหตุไปหาผล ปกติมักจะเปนการศึกษาตอเนื่องมาจาก retrospective

Cohort studyCohort study

�เปนการนําความรูที่ไดจากระบาดวิทยาเชิงพรรณนาและระบาดวิทยาเชิงวิเคราะหมาใชในการวางแผนและดําเนินการควบคุมโรคหรือปญหาสุขภาพในชุมชน ซึ่งจะตองนําความรูดังกลาวมาประกอบกับความรูเกี่ยวกับชุมชน เชน ความเชื่อ พฤติกรรม ศาสนา

33. . ระบาดวิทยาเชิงปฏิบัติการ ระบาดวิทยาเชิงปฏิบัติการ (Operational epidemiology)(Operational epidemiology)

ชุมชน เชน ความเชื่อ พฤติกรรม ศาสนา สภาพแวดลอมดานเศรษฐกิจและการดําเนินชีวิต ความชุกของโรคและปจจัยอื่นๆ เพื่อใหการดําเนินการควบคุมโรคไดผลดี

� จะตองทําอะไรบาง เพื่อควบคุมโรคในชุมชน (What needs to be done?)

� จะตองทําอยางไร (How to do it?)

ระบาดวิทยาเชิงปฏิบัติการ จะชวยในระบาดวิทยาเชิงปฏิบัติการ จะชวยในการตอบคําถามการตอบคําถาม

� จะตองทําอยางไร (How to do it?)

1.การวางแผนและประเมินผลการควบคุมโรค

2.การเฝาระวังโรค

วิธีการของระบาดวิทยาเชิงปฏิบัติการ วิธีการของระบาดวิทยาเชิงปฏิบัติการ ประกอบไปดวยประกอบไปดวย

3 การสอบสวนการระบาดของโรค

4.การคัดกรองโรค

ระบาด:วิธีการทางวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของกับปจจัย ตางๆที่มีสวนเกี่ยวของกับการเกิดโรคหรือปญหาสุขภาพ ความพิการ และการตายในชุมชน

จากองคความรูและขอมูลที่มีอยูแลวและนํามาวิเคราะหวิจารณถึงสภาพความเปน

จริงที่เกิดขึ้นระบาดวิทยาเชงิพรรณนา

ศึกษาหาความรูใหมเพื่อยืนยันหรือพิสูจนขอสงสัยที่ยังไมชัดเจนในการศึกษาเชิง

พรรณนาระบาดวิทยาเชงิวิเคราะห

- ตั้งสมมติฐาน- ทบทวนวรรณกรรม- วางรูปแบบการศึกษาและเก็บขอมูล- วิเคราะหขอมูลและสรุปผลการศึกษา

ดําเนินการเก็บขอมูลเพิ่มเติมในปจจัยตางๆที่อาจเกี่ยวของทั้งในดานของ

Host, AgentและEnvironment- วิเคราะหขอมูลและสรุปผลการศึกษา- เสนอแนะในการนําผลการศึกษาไปใช

เปนประโยชนในการคนหาคําตอบตอขอสงสัยเหลานั้น โดย

เปนประโยชนในการระบุถึงขอสงสัยเกี่ยวกับปญหานั้นๆที่ยังไมทราบ

คําตอบแนชดัโดย

ศึกษาประวัติศาสตรของการเกิดโรคศึกษาประวัติและสภาพของชุมชน

ประมาณคาความเสี่ยงตอการเกิดโรคในประชากรกลุมตางๆ

ศึกษาผลของปจจัยที่อาจเปนสาเหตุของโรคศึกษาขนาด อิทธพิล และผลกระทบตอชุมชน

ประเมินผลความสําเร็จของโครงการควบคุมโรค

ดําเนินการแกไขปญหาเพื่อการปองกันและควบคุมโรคหรือปญหาสุขภาพนั้นๆในชุมชนได

ระบาดวิทยาเชิงปฏิบัติการ

แนวคิดของการเกิดโรคแนวคิดของการเกิดโรค

ปจจัยการเกดิโรคและปจจัยการเกดิโรคและภยัภยั�ปจจัยที่เกี่ยวของกับการเกิดโรคที่สําคัญมี 3

ประการ หรือที่เรยีกกันวาเปนปจจัยสามทางระบาดวิทยา ( Epidemiology triad )

มนุษย มนุษย ( Human host )( Human host )

ภาวะสุขภาพ

ภูมิคุมกันโรคอายุ

เพศ

พันธุกรรม

สุขภาพกายและจิตใจ

พฤติกรรมสุขภาพ การ

กิน

สิ่งกอโรค สิ่งกอโรค ( Agent ) ( Agent ) สิ่งกอโรคทาง

กายภาพ สิ่งกอโรคทาง

ชีวภาพ

รอน เย็น แสง เสียง รังสี แรง

เชื้อจุลินทรีย แมลง สัตว พืชที่เปนพิษ

Agentสารเคมี

สิ่งที่ทําใหเกิดโรคทางสรีรวิทยา

เสียง รังสี แรงกลไก

สารกําจดัศตัรูพืช สารกอภูมิแพโรงงาน มลพิษยารักษาโรค บานเรือน

พืชที่เปนพิษ

อาหารพันธุกรรมสารเคมีในรางกายวัยตั้งครรภ

สิ่งแวดลอมทางกายภาพ

( Physical environment )

สิ่งแวดลอมทางเคมี

( Chemical environment )

สิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม ( Environment )( Environment )

ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ

สิ่งแวดลอมที่มีสารพิษในน้ํา ใน

EnvironmentEnvironment

สิ่งแวดลอมทางชีวภาพ

( Biological environment )

สิ่งแวดลอมทางสังคมเศรษฐกิจ

( Socioeconomic environment )

ประเทศ ภูมิอากาศ

สิ่งแวดลอมที่มีสิ่งมีชีวิต

สารพิษในน้ํา ในอากาศ

อาชีพ การศึกษา ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ฐานะเศรษฐกิจ

ความสัมพันธของปจจยัสามตอความสัมพันธของปจจยัสามตอการเกดิโรคการเกดิโรค

�ตามแนวคิดของ ดร.จอหน กอรดอน ( Dr.JohnGordon ) อธิบายการเกิดโรคจากความสัมพันธระหวางบุคคล (Host) สิ่งกอโรค (Agent) และสิ่งแวดลอม (Environment) โดยเปรยีบเทียบสิ่งแวดลอม (Environment) โดยเปรยีบเทียบบุคคลกับสิ่งกอโรค เปนน้ําหนักถวงบนคานทั้ง2 ขาง โดยมีสิ่งแวดลอมเปนจุดหมุน (Fulcum)

เมื่อปจจัยทั้งสามอยูในภาวะสมดุลภาวะเมื่อปจจัยทั้งสามอยูในภาวะสมดุลภาวะสุขภาพของบุคคลหรือชุมชนเปนปกติสุขภาพของบุคคลหรือชุมชนเปนปกติ

A H

E

เมื่อสิ่งกอโรคเพิม่ชนิดหรือจํานวนมากขึน้ในเมื่อสิ่งกอโรคเพิม่ชนิดหรือจํานวนมากขึน้ในสิ่งแวดลอมเดิม ทําใหคนเกดิโรคเนื่องจาก สิ่งแวดลอมเดิม ทําใหคนเกดิโรคเนื่องจาก

Agent Agent แพรกระจายเพิ่มขึ้นแพรกระจายเพิ่มขึ้น

A

H

A

E

เมื่อบคุคลมีภูมิคุมกันโรคลดลงหรือพฤตกิรรมเมื่อบคุคลมีภูมิคุมกันโรคลดลงหรือพฤตกิรรมเสี่ยงเพิม่ขึ้นในสิ่งแวดลอมเดิมทําใหคนเกิดเสี่ยงเพิม่ขึ้นในสิ่งแวดลอมเดิมทําใหคนเกิด

โรคโรค

A

HH

E

เมื่อสิ่งแวดลอมเปลีย่นแปลงสนับสนุนใหมีสิ่งเมื่อสิ่งแวดลอมเปลีย่นแปลงสนับสนุนใหมีสิ่งกอโรคเพิ่มขึ้น ทําใหคนปวย กอโรคเพิ่มขึ้น ทําใหคนปวย

H

AE

การเสียสมดุลกอใหเกิดโรค การเสียสมดุลกอใหเกิดโรค ���� ����

สิ่งแวดลอมเปลี่ยนสิ่งแวดลอมเปลี่ยน

Host- Agent- สิ่งกอHost-คน

Agent- สิ่งกอโรค

Environment -สิ่งแวดลอม

เมื่อสิ่งแวดลอมเปลีย่นแปลงสนับสนุนใหคนเมื่อสิ่งแวดลอมเปลีย่นแปลงสนับสนุนใหคนเสี่ยงตอโรค โดยมีภูมิคุมกันโรคลดลง หรือมีเสี่ยงตอโรค โดยมีภูมิคุมกันโรคลดลง หรือมี

พฤตกิรรมเสีย่งเพิ่มขึ้นพฤตกิรรมเสีย่งเพิ่มขึ้น

A

HE

ธรรมชาติของโรค ( Natural history

ระยะมีความไวตอการเกิดโรค (Stage of

susceptibility)

ระยะมีอาการของโรค (Stage of

clinical disease)

( Natural history of disease )

ระยะมีความพิการของโรค (Stage of disability)

ระยะกอนมีอาการของโรค (Stage of pre-clinical

disease)

หวงโซของโรคติดเชื้อหวงโซของโรคติดเชื้อแหลงรังโรค

ชองทางของการติดตอ

เชื้อ

ทางเขาของเชื้อโรค

โฮสตที่มีภมูิไวรับ

Principles of Epidemiology, 2nd Edition, Centers for Disease Control and Prevention

เชื้อโรค

กระบวนการที่จะทําใหเกิดโรคติดเชื้อ จะประกอบไปดวยปจจัยตางๆ 6 ประการ ดังนี้

1.เชื้อโรคตนเหตุ (Etiological agent)2.แหลงขังโรค (Reservoir)

กระบวนการเกิดโรคติดเชื้อกระบวนการเกิดโรคติดเชื้อ

2.แหลงขังโรค (Reservoir)3.ทางออกของเชื้อโรคจากแหลงขังโรค (Mode of

escape) เชน สารคัดหลั่ง4.หนทางการแพรโรค (Mode of transmission)5.ทางเขาสูรางกาย (Mode of entry)6.บุคคล (Human host)

2.1 ผูปวยดวยโรคนั้น 2.1.1 ผูปวยที่มีอาการ (clinical case) มีโอกาสที่จะแพรเชื้อนอยกวากลุมอื่น 2.1.2 ผูปวยที่ไมมีอาการ(Subclinical case, asymptomatic case) จะเปนกลุมที่สามารถแพรโรคไดมาก2.1.3 ผูเปนพาหะ(Carrier) มีเชื้อโรคอยูในรางกาย แตไมปวยเนื่องจากรางกายมีความแข็งแรงดี

22..แหลงขังโรค แหลงขังโรค (Reservoir) (Reservoir) แบงออกแบงออก

ไดเปนไดเปน

ความแข็งแรงดี2.1.3.1 Healthy carrier ผูที่มีสุขภาพแข็งแรงทั่วๆไป 2.1.3.2 Contact carrier บุคคลผูที่ไปสัมผัสกับผูที่เปนโรค และนําเชื้อโรคนั้น

ไปใหผูอื่นได2.1.3.3 Incubatory carrier บุคคลที่ไดรับเชื้อ เชื้อเขาสูภายในรางกายและ

เจริญเติบโตจนสามารถทําใหเกิดโรคได แตยังอยูในระยะฟกตัวของโรค อาการยังไมทันปรากฏ ก็จะแพรเชื้อโรคไปใหผูอื่นได

2.1.3.4 Convalescent carrier บุคคลที่เปนโรคและไดรับการรักษาจนอาการทุเลาหรือหมดอาการ แตยังมีเชื้อโรคอยูภายในรางกายและสามารถแพรไปใหกับผูอื่นได

2.2 แหลงขังโรคที่เปนสัตว (animal reservoir) เชน สุนัข วัวควาย แมว คางคาว เปนตน

2.3 แหลงขังโรคที่ไมมีชีวิต (inanimate reservoir) เชน

22..แหลงขังโรค แหลงขังโรค (Reservoir) (Reservoir) แบงออกแบงออก

ไดเปนไดเปน

2.3 แหลงขังโรคที่ไมมีชีวิต (inanimate reservoir) เชนมูลสัตว ดิน บอน้ํา เปนตน

4.1 การแพรเชื้อโดยทางตรง ไดแก4.1.1 การสัมผัสโดยตรงกับผูปวย เชน การจูบ การ

รวมประเวณี4.1.2 การสัมผัสจากสารคัดหลั่งที่มีเชื้อโรคอยู

44..หนทางการแพรโรคหนทางการแพรโรค

(Mode of transmission) (Mode of transmission)

4.1.2 การสัมผัสจากสารคัดหลั่งที่มีเชื้อโรคอยู เชน เสมหะ น้ํามูก น้าํลาย หรือ droplet ที่เกิดจากการไอ จาม ซึ่งเชื้อโรคจะอยูในสิ่งแวดลอมเปนชวงระยะเวลาสั้นๆ หากมีการเขาใกลผูปวย อาจทําใหเกิดการติดเชื้อได

4.2 การแพรเชื้อโดยทางออม ซึ่งไดแก การมีพาหะนําเชื้อจากผูปวยไปยังผูอื่น วิธีนีจ้ะแพรโรคไปไดเปนระยะทางไกลและผูติดเชื้อใหมอาจไมเคยเขาใกลผูปวยเลย

4.2.1 สิ่งที่เปนพาหะเปนสิ่งไมมีชีวิต (vehicle) ไดแกสิ่งที่ปนเปอนเชื้อโรคจากผูปวย เชน ของใช ของเลน เสื้อผา เครื่องมือแพทย น้ํา อาหาร นม ดิน และอื่นๆ

4.2.2 สิ่งที่เปนพาหะเปนสิ่งมีชีวิตจําพวกแมลง (vector) ซึ่งอาจเปน4.2.2.1 Mechanical vector แมลงจะนําเชื้อโรคจากผูหนึ่งไปสูอีกผูหนึ่ง

44..หนทางการแพรโรคหนทางการแพรโรค

(Mode of transmission) (Mode of transmission)

4.2.2.1 Mechanical vector แมลงจะนําเชื้อโรคจากผูหนึ่งไปสูอีกผูหนึ่ง โดยการติดไปตามขาและปก โดยที่เชื้อโรคนั้นไมไดเจริญเติบโตภายในแมลง เชน

อหิวาตกโรค4.2.2.2 Biological vector แมลงจะนําเชื้อโรคจากผูหนึ่งไปสูอีกผูหนึ่ง

โดยดูดกินเชื้อโรคเขาไปในตัว และเชื้อมีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มจํานวนโดยอาศัยแมลงเปนโฮสทระยะหนึ่ง แลวแมลงจึงถายทอดเชื้อนั้นไปสูโฮสทที่เปนมนุษย เชน มาเลเรีย เทาชาง เปนตน

4.2.3 สิ่งที่เปนพาหะเปนสิ่งมีชีวติจําพวกสตัวอื่นๆหรือมนุษย (carrier) ซึ่งอาจเปน

4.2.3.1 Healthy carrier ผูทีม่ีสุขภาพสมบูรณดี แตมีเชื้อโรคอยูในรางกาย ในบางกรณี อาจเปนสัตวอื่นก็ได แตมักเปนสตัวตระกูลเดยีวกับมนุษย คือกลุม mammals เพราะเชื้อ ที่กอโรคในมนุษยจะสามารถอาศัยอยูในรางกายของสตัวกลุมนี้ไดเชนเดยีวกัน

44..หนทางการแพรโรคหนทางการแพรโรค

(Mode of transmission) (Mode of transmission)

ในรางกายของสตัวกลุมนี้ไดเชนเดยีวกัน4.2.3.2 Contact carrier ผูทีม่ีสุขภาพสมบูรณแข็งแรงดี และ

ไปสัมผสัเชื้อโรคจากผูปวย และนํามาแพรใหผูอื่น และอาจเปนสตัวเลี้ยงที่คลุกคลีกับมนุษยไดเชนกัน

4.2.4 การแพรโดยทางอากาศ มักจะมีสิ่งเปนพาหะ ไดแก ฝุนละอองในอากาศที่ปนเปอนเชื้อโรค หรือ droplet nuclei คือสิ่งคดัหลั่งที่ถูกไอหรือจามออกมา แลวสวนที่เปนน้ําระเหยแหงไป กลายเปนฝุนผงที่มีองคประกอบของเชื้อโรคที่สามารถทนความแหงแลงได และจะปลิวฟุงกระจายไปในอากาศไดเปนระยะทางไกลๆ

การวิเคราะหการวิเคราะหสาเหตุของสาเหตุของ

ปญหาปญหา

• เปนการทําความรูจกักบัชุมชนอยางถองแท

ความสาํคญัของการวิเคราะหสาเหตุของความสาํคญัของการวิเคราะหสาเหตุของปญหา ปญหา

• สรางความเขาใจตอชุมชนมากยิ่งขึ้น ถาสามารถนําชุมชนมารวมในการวเิคราะหสาเหตุของปญหา

ความสาํคัญของการวิเคราะหสาเหตขุองความสาํคัญของการวิเคราะหสาเหตขุองปญหาปญหา

• ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหลักเพื่อการสรางเสริมสุขภาพเปนที่ยอมรับของชุมชนไดโดยงาย

ความสาํคัญของการวิเคราะหสาเหตขุองความสาํคัญของการวิเคราะหสาเหตขุองปญหาปญหา

• สามารถดําเนินการแกไขปญหาไดตรงตามสาเหตุ

ความสาํคัญของการวิเคราะหสาเหตขุองความสาํคัญของการวิเคราะหสาเหตขุองปญหาปญหา

• ประหยัดทรัพยากรตางๆได

ความสาํคัญของการวิเคราะหสาเหตขุองความสาํคัญของการวิเคราะหสาเหตขุองปญหาปญหา

•• โรคทองรวงอยางเฉียบพลันในเดก็อายุต่ํากวา โรคทองรวงอยางเฉียบพลันในเดก็อายุต่ํากวา 2 2 ปปปจจัยทางดาน ปจจัยทางดาน host host ไดแก ไดแก •• อายุต่ํากวา อายุต่ํากวา 2 2 ปป•• การมีภาวะการมีภาวะทุพทุพโภชนาการโภชนาการ

การเกิดโรคเปนผลลัพธของหลายสาเหตุการเกิดโรคเปนผลลัพธของหลายสาเหต/ุ/ปจจยัรวมกันปจจยัรวมกัน

ปจจัยทางดาน ปจจัยทางดาน agent agent ไดแกไดแก• Bacteria• Vibro• Shigella

การเกิดโรคเปนผลลัพธของหลายสาเหตุการเกิดโรคเปนผลลัพธของหลายสาเหตุ//ปจจัยปจจัยรวมกันรวมกัน

• Shigella• Salmonella• Parasites• Viruses• Rotavirus• Others

ปจจยัทางดาน ปจจยัทางดาน environment environment ไดแกไดแก•• บุคคลที่เปนพาหะบุคคลที่เปนพาหะ•• พฤตกิรรมอนามัยของผูเลี้ยงเดก็พฤตกิรรมอนามัยของผูเลี้ยงเดก็•• สุขาภิบาลสิ่งแวดลอมสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม

การเกิดโรคเปนผลลัพธของหลายสาเหตุการเกิดโรคเปนผลลัพธของหลายสาเหต/ุ/ปจจยัรวมกันปจจยัรวมกัน

•• สุขาภิบาลสิ่งแวดลอมสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม•• ดินฟาอากาศ ภูมิประเทศดินฟาอากาศ ภูมิประเทศ•• ฐานะเศรษฐกจิของผูเลีย้งดูเดก็ฐานะเศรษฐกจิของผูเลีย้งดูเดก็

1. ทบทวนธรรมชาติของการเกิดโรคที่เปนปญหาสาธารณสุขของชุมชนโดยละเอียด

2. สรางโยงใยแหงเหตุของปญหา (web of causation) ระหวางโรคกับปจจัยสาเหตุ/ปจจัยเสี่ยง/สาเหตุของปจจัยเสี่ยง

ขั้นตอนในการวิเคราะหปญหาขั้นตอนในการวิเคราะหปญหา

เสี่ยง/สาเหตุของปจจัยเสี่ยง3. ตัดปจจัยที่ไมเกี่ยวของกับปญหาในชุมชนนั้นออก4. ใชวิทยาการระบาดเพื่อกําจัดปจจัยบางตัวออกจาก

โยงใยทางทฤษฎีที่สรางไว5. เก็บขอมูลเชิงคุณภาพ โดยเฉพาะทางดาน

พฤติกรรมศาสตรและสังคม

6. เปรียบเทียบโอกาสการเปนสาเหตขุองโรคโดยการใชวิทยาการระบาดเชงิวิเคราะห

7. สรางโยงใยแหงเหตขุองโรคที่แทจริงของชุมชน (actual web of causation)

ขั้นตอนในการวิเคราะหปญหาขั้นตอนในการวิเคราะหปญหา

ชุมชน (actual web of causation)8. บูรณาการปจจยัตางๆ ในโยงใยแหงเหตุ

ของโรคในขอ 7 กบัภาพลักษณของชุมชนที่พึงประสงคที่ไดจากกระบวนการเรียนรูอยางมีสวนรวม

กิจกรรมภาพฝนกิจกรรมภาพฝน

• เหตุจะตองเกิดกอนผล• การเปนเหตุและผลนั้นจะตองมีความเปนไปไดตาม

หลักวิทยาศาสตร• ความจําเพาะของเหตุที่ทําใหเกิดผล• ปจจัยที่มคีาของอัตราเสี่ยงสัมพัทธก็ยิ่งมีโอกาสจะ

หลักการของทฤษฎแีหงหลักการของทฤษฎแีหงความสัมพันธระหวางเหตุและผล ความสัมพันธระหวางเหตุและผล

• ปจจัยที่มคีาของอัตราเสี่ยงสัมพัทธก็ยิ่งมีโอกาสจะเปนสาเหตุไดมากขึ้น

• ถามีปจจัยเสี่ยงมากก็ยิ่งพบวามีการเกิดโรคมาก และปจจัยเสี่ยงนอยก็พบวามีการเกิดโรคนอย ปจจัยนั้นก็ยิ่งมีโอกาสจะเปนสาเหตุของโรคไดมากขึ้น

• ถาการศึกษาโดยวิธีการตางๆ แสดงวาปจจัยนั้นสัมพันธกับการเกิดโรคเหมือนๆกัน ปจจัยนั้นก็ยิ่งมีโอกาสเปนสาเหตุของโรคไดมากขึ้น

• ความสัมพันธโดยทางตรง (Direct of causation)

• ความสัมพันธโดยทางออม (Indirect of

Web of causation Web of causation เกดิจากความสัมพันธเกดิจากความสัมพันธของโรคและปจจยัตางๆ ของโรคและปจจยัตางๆ 2 2 แบบ คือแบบ คือ

• ความสัมพันธโดยทางออม (Indirect of causation)

Web of Web of causationcausation

..\โยงใยปญหา.docx

top related