อุทยานธรณี(geopark) -...

Post on 29-Dec-2019

10 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

อุทยานธรณี(GEOPARK)

มิติใหมของการอนุรักษและทองเที่ยวอยางยั่งยืนโดยการมีสวนรวมโดย กรมทรัพยากรธรณี

29 ส.ค.55

กรอบเนื้อหา

• ความเปนมา/ความหมาย ของGeopark

• การบรหิารจัดการของ UNESCO

• กรอบแนวคดิ

• ประโยชน

• จังหวัดตองทําอะไร

• แหลงในประเทศไทย

• อุทยานธรณีตางประเทศ

ความเปนมา

• UNESCO เปนผูรเิริ่ม เพื่ออนุรักษมรดกทาง

ธรรมชาติรวมทั้งวัฒนธรรมและประเพณีที่มีคุณคา

ของโลก เมื่อ พ.ศ.2549

• แลวพัฒนาสู Global Geoparks Network(GGN)

• ปจจุบันมีสมาชิก 27 ประเทศ มีเครือขายอุทยานธรณี

89 แหง ใน SEA 2 แหง คือ มาเลเซีย และ เวียดนาม

เครือขายอทุยานธรณีระดับโลก

ความหมาย

• เชิงกระบวนการ

• เชิงพื้นที่

ความหมายในเชิงกระบวนการ

• การรวมมือกันในการอนุรักษมรดกทาง

ธรรมชาติอยางยั่งยืน…การมีสวนรวม… เปนอุบายใหมารวมกันแบบ win-win

• เปนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแบบหนึ่งที่

สรางงาน สรางรายได และสรางความมั่นคง…เปนเครื่องมือชนิดหนึ่ง

อุทยานธรณีในเชิงกระบวนการ

• เปนการบริหารจัดการและมีแนวทางการ

พัฒนาและสงเสริมการมีสวนรวมของ

ประชาชนในพ้ืนที่ เพ่ือประโยชนในการ

ทองเที่ยวเชิงวิชาการ

ความหมายในเชิงพ้ืนที่

• “พ้ืนที่ที่ประกอบดวย แหลงอนุรักษ

ธรณีวิทยา แหลงธรณีวิทยาหรือแหลง

อนุรักษธรณีวิทยาที่เปนที่รูจักหรือมี

ช่ือเสียง แหลงทองเที่ยวเชิงธรณีวิทยา

แหลงธรณีวิทยา รวมทั้งแหลงโบราณคดี

นิเวศวิทยา และวัฒนธรรม”

อุทยานธรณี

“ขอบเขตแหงความรวมมือ”

การบรหิารจัดการอุทยานธรณีของ

UNESCO

• เชิญชวนใหประเทศตางๆสามารถเสนอพื้นที่

มายัง UNESCO เพื่อการพจิารณาใหเปนสมาชิก

อุทยานธรณี และมี Logo มอบให

• กําหนดองคประกอบของอุทยานธรณี

องคประกอบของอุทยานธรณี

• มีแหลง ธรณีวิทยา โบราณคดี นิเวศวิทยา

วัฒนธรรมและประเพณี

• มีการบริหารจัดการ และอนุรักษ

• มีการถายทอดองคความรู

• มีการบูรณาการจากทุกสวนที่เก่ียวของ

กรอบแนวคิด

• กรมทรัพยากรธรณีศึกษาเรื่องอุทยานธรณี

ของUNESCO ทําใหรูวาอุทยานธรณีดี มี

ประโยชน

• ประกอบกับประเทศไทยมีแหลงธรณีวิทยา

หรือมรดกทางธรรมชาติที่มีคุณคาทาง

วิชาการและใชอางอิงมากมายกระจายอยู

ทุกภาค

แหลงธรณีวิทยาในประเทศไทย

• จากการสํารวจ ศึกษา ทราบวามีแหลงธรณีวิทยาที่

มีคุณคาอยูมากมายทั่วทุกภูมิภาคกวา 800 แหลง

• หลายแหลงเปนแหลงทองเที่ยวระดับโลก

• สมควรอนุรักษไวเปนมรดกทางธรณีวิทยาไวให

ลูกหลาน

แหลงธรณีวิทยาที่มีคุณคาในไทย

• ประเทศไทยมีแหลงธรรมชาติที่

สวยงามมากมาย กระจายอยูทั่ว

ทุกภาคกวา 800 แหลง หลายแหลง

เปนแหลงธรรมชาติที่มีคุณคาทาง

วิชาการดานธรณีวิทยา และเปน

แหลงทองเที่ยวระดับโลก

แหลงอนรุกัษธรณวีทิยา

๑. อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน๒. อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี๓. กิ่ง อ.เตางอย จ.สกลนคร๔. อ.คอนสวรรค จ.ชัยภูมิ๕. อ.เมือง และ อ.บานเขวา จ.ชัยภูมิ๖. อ.หนองบัวแดง จ.ชัยภูมิ๗. อ.กุฉินารายณ จ.กาฬสินธุ๘. อ.สหัสขันธ จ.กาฬสินธุ๙. อ.กิ่งนาคู จ.กาฬสินธุ๑๐. อ.ภูหลวง จ.เลย๑๑. อ.เมือง จ.มุกดาหาร๑๒. บ.โคกกรวด จ.นครราชสีมา๑๓. อ.น้ําหนาว จ.เพชรบูรณ๑๔. จ.หนองบัวลําภู๑๕. จ.อุบลราชธานี๑๖. อ.ทาอุเทน จ.นครพนม

แผนท่ีแสดงแหลงซากดึกดําบรรพไดโนเสาร

ภาคตะวันออกเฉยีงเหนอืประเทศไทย

กรอบแนวคิด

• มรดกทางธรรมชาติที่มีคุณคาเหลานี้กําลัง

ถูกทําลายและเสือ่มโทรมอยางรวดเร็ว ทั้ง

โดยรูเทาไมถึงการณและตั้งใจ ขาด

แนวทางอนุรักษที่ชัดเจน ขาดสมดุล

ระหวางการพัฒนาและการอนุรักษสงผล

เสียตอสภาพแวดลอมอยางกวางขวาง

กรอบแนวคิด

• กรมทรัพยากรธรณีเห็นความจําเปนในการ

อนุรักษมรดกทางธรรมชาติที่มีคุณคา

เหลานั้น ไวใหเปนแหลงอางอิงทางวิชาการ

อยายั่งยนื

กรอบแนวคิด

• ประกอบกับกรมทรัพยากรธรณีมีขอมูลวิชาการ

ดานธรณีวิทยาเก่ียวกับมรดกดังกลาว หรือแหลง

ธรณีวิทยามากมาย ซึง่สามารถนํามาประยุกตใช

ใหเกิดประโยชนแกการทองเที่ยวเชิงวิชาการ

และการพฒันาทางเศรษฐกิจและสงัคมอยาง

ยั่งยืน ตามแนวทางของอุทยานธรณีได

แหลง

ธรณีวิทยา

แหลงอนุรักษ

ธรณีวิทยา

เศรษฐกิจ

และสังคม

ที่พัฒนา

อุทยานธรณี

หลักเกณฑการ

ประเมินฯ

ทะเบียนแหลง

อนุรักษฯ

ผลสมัฤทธ์ิผลลัพธ

ผลลัพธสูงสุด

ประเมินอนุรักษ ย่ังยืน มี

สวนรวม

บริหารจดัการและ

พัฒนาตอยอดโดย

พื้นท่ี

กรอบแนวคิด:อุทยานธรณีมิติใหมของการอนุรักษเฉพาะดานเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมอยางยั่งยืนโดยมีสวนรวม

แนวทางการจดัต้ังอุทยานธรณี

(ระดับตางๆ คุณสมบัติ ขั้นตอน)

ทธ.+นธ.

ทธ. +

คณะอนุกรรมการ

อนุรักษฯทธ. + ผูมีสวนไดสวนเสีย

ทธ. + ผูมี

สวนได

สวนเสีย +

ประเทศ

ไทย

ปรับแนวทางของUNESCO มาใช

• โดย กําหนดคุณสมบัติอุทยานธรณี และเขต

อนุรักษธรณีวิทยาระดับ คือ ระดับทองถ่ินแ ละ

จังหวัด ประเทศ

ศัพทที่ใชเก่ียวกับอุทยานธรณี

• อุทยานธรณี : Geopark

• อุทยานธรณีระดับโลก: Global geopark

• แหลงอนุรักษธรณีวิทยา: Geoconservation site

• แหลงธรณีวิทยา: Geosite

หลักเกณฑการประเมินเพ่ือกําหนดแหลง

อนุรักษธรณีวิทยา

เปนเร่ืองเกณฑทาง

วิชาการทางวิชาการ

แนวคิดในการอนุรักษและบริหารจัดการ

แหลงธรณีวิทยาที่มีคุณคา

• กรมทรัพยากรเหน็วาอุทยานธรณีตามแนวคิดของ

UNESCO สามารถนํามาประยุกตใชเพ่ือการอนุรกัษ

แหลงธรณีวิทยาและทรัพยากรธรรมชาติไดอีกทั้ง

สามารถใชเปนเครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แนวคิดในการอนุรักษและบริหารจัดการ

แหลงธรณีวิทยาที่มีคุณคา

• มี พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม

พ.ศ.2535

• มีคณะอนกุรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ

และศิลปกรรมภายใตคณะกรรมการกรรมการ

สิ่งแวดลอมแหงชาติ

แนวคิดในการอนุรักษและบริหารจัดการ

แหลงธรณีวิทยาที่มีคุณคา

• แหลงธรณีวิทยาทีม่ีคุณคามกัอยูในพ้ืนที่ทีม่ี

ผูรับผิดชอบอยูแลว

• ตองมกีารกําหนดแหลงอนุรกัษธรณีวิทยา

• ควรใชวิธีการประสานงาน โนมนาว แนะนําใหเกิด

ความรวมมือของพ้ืนที่ในการจัดต้ังอุทยานธรณี และ

มีการบริหารจัดการตามสภาพ

แนวทางการจัดต้ังอุทยานธรณี

• ความเปนมา

• คําจํากดัความ

• คุณสมบัติของอุทยานธรณีระดับตางๆ

• ขอกําหนดการจัดตั้งอุทยานธรณี: ข้ันตอน/คณะทาํงาน/อนุกรรมการ 2 คณะ

• มาตรการและแนวทางการบริหารจัดการอุทยานธรณี

ข้ันตอนแนวทางการจัดต้ังอุทยานธรณี

จัดทําขอเสนอขอจัดตั้งอุทยานธรณีเสนอ ทธ.

“คณะอนกุรรมการจัดตั้งอุทยานธรณี”ตรวจสอบ

นําเสนอ “คณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ”

นําเขา “ท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี”ใหความเห็นชอบ

ประกาศเปน “อุทยานธรณี”

จังหวัดจัดตั้ง “คณะทํางานอุทยานธรณีประจําจังหวัด”

•ดานการอนุรักษ: แหลงอนุรักษธรณีวิทยาไดรับการดูแล ลดภาระภาครัฐ

•ดานการทองเที่ยว: การทองเที่ยวที่มีคุณภาพ การประสานงานและขอมูล

ประโยชนของอุทยานธรณี

ประโยชนของอุทยานธรณี

• ดานการศึกษา: แหลงเรียนรู ศึกษา วิจัย

ของนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป

นักวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ

• ดานเศรษฐกิจและสังคม: สรางงาน สราง

รายได สรางความมั่นคงในชีวิตละสังคม

รักษาและสืบทอดวัฒนธรรมและประเพณี

ประโยชนของอุทยานธรณี

• ดานการประชาสมัพันธ: ทองถิ่น และ

ประเทศ

• ความสัมพันธระหวางประเทศ

จังหวัดจะตองดําเนินการอยางไร?• ต้ังคณะทํางานอุทยานธรณีประจําจงัหวัด โดย

ผูวาราชการจงัหวดั

• คณะทํางานประกอบดวยบุคลากรจากทุกภาค

สวนที่มีสวนไดสวนเสีย และผูแทน ทธ. ทสจ.

เปนเลขาฯ

จังหวัดจะตองดําเนินการอยางไร?• คณะทํางานจัดทําขอเสนอขอจัดต้ังอุทยานธรณี

ระดับจังหวัด โดย ใชเอกสาร “แนวทางการ

จัดต้ังอุทยานธรณี” และประสานงานโดยตรง

กับสํานักงานทรัพยากรธรณี เขต หรือ สวน

อนุรักษธรณีวิทยา สํานักธรณีวิทยา

• คณะทํางานบริหารจัดการอุทยานธรณี

ตัวอยางแหลงธรณีวทิยาทีม่ีคุณคา

ในประเทศไทย

ลงอนุรักษธรณีวิทยา และขอบเขตอุทยานธรณีที่กรม

ศักยภาพแหลง

ธรณีวิทยาของ

จังหวัดเลย

ก ข

ค ง

ก. ธรณีวิทยา 3 มิติภูกระดึง

ข. MESA

ค. แผนท่ีแหลงทองเท่ียวภู

กระดงึ

ง. พระอาทิตยตกดนิท่ีผา

หลมสัก

จ. นํ้าตกขุนพองและใบ

เมเปล

ชัน้หนิทรายอายุ 65-200

ลานป (ภูกระดงึ พระวหิาร

เสาขัว ภูพาน)

น้ําตกขุนพองท่ีใหญท่ีสุดของภูกระดงึ

ถ้ําโพธิสัตว อ.หนองหิน

สวนหินผางาม ต.หนองหิน อ.หนองหนิ จ.เลย ประกอบดวนชั้นหนิปูนอายุกวา 250 ลานปทีม่ี

ซากดกึดําบรรพหลายชนิด เชน คตขาวสาร(fusulinid) ไบรโอซวั(bryozoa) เปนตน เกิดจาก

กระบวนการทางธรณวีทิยา 2 กระบวนการ คือ การกรอน(erosion) และผุพังอยูกับท่ี

(weathering) ทําใหเกิดเปนหนาผา หลุมยุบ โขดหิน โพรง ถ้ํา หรือเรียกรวมๆวาเปนภูมิประเทศ

แบบคาสต (karst topography)

ถํ้าประกายเพชร บ.โพนสวาง ต.นา

ดอกคํา อ.นาดวง จังหวัดเลย เปนถํ้า

เปน live caveกวาง x ยาว ประมาณ

30 x 50 เมตร

ภูผาเทิบ จ.มุกดาหาร

ภาพจําลองขบวนการเกิดหินเทิบ

- ลักษณะคลายดอกเห็ดบาน

- หมวดหินภูพาน

- การทนทานตอการกรอน

ของชั้นหินที่แตกตางกัน

ภูผาเทิบ จ.มุกดาหาร

เสาเฉลียง จ.อุบลฯ

เสาเฉลียงยักษ(Giant pillar)

ในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม

บริเวณโดยรอบมีปาโบราณ

โรงศพไมอายุประมาณ

3000 ป แหลงโบราณคดี

สวนหินสีประกายแสง

อ.โพธ์ิไทร จ.อุบลราชธานี

เกิดจากสารละลายซิลิกา

เขาแทนที่เนื้อหินทราย

ของหมวดหินภูพาน

ผาแตม

แสดงใหเห็นหิน 2 หมวดหินซอนกัน

ดานบนหมวดหินภูพาน ดานลางหมวดหิน

เสาขัว ทั้ง 2 หมวดหนิมีอายุประมาณ 100

ลานป(Cretaceous ตอนตน)

รองรอยทาง

โบราณคดี??!!

สามพันโบก จ.อุบลฯ

ซากดึกดําบรรพกระดูกไดโนเสาร

บานโคกผาสวม- แหลงไดโนเสารยุคสดุทาย

- หมวดหินโคกกรวด ประกอบดวยหินทราย สี

นํ้าตาลแดงอมมวง

- พบซากกระดูกและฟนของไดโนเสารภูเวียงโก

ซอรัสสิรินธรเน และไดโนเสารอิกัวโนดอนช่ือสยาม

โมดอนนิ่มงามอิ(Siamodon nimngami) - ไดโนเสาที่มีอายุออนที่สุดในประเทศไทยมีอายุ

๑๒๐ ลานป

- พบซากดึกดําบรรพชนิดอืน่เชน ฟนปลาฉลาม

โบราณ เกลด็ปลาโบราณ และกระดองเตาโบราณ

รอยตีนไดโนเสารภูแฝก ตําบลภูแลนชาง กิ่งอําเภอนาคู

จังหวัดกาฬสินธุแหลงรอยเทาไดโนเสารภูแฝก กิง่อําเภอนาคู จังหวัด

กาฬสินธุ อยู ในพื ้นที ่ของวนอุทยานภูแฝก ภายใตการ

ควบคุมดูแลของหนวยจัดการตนน้าํลําหวยผึ ้ง-ลําพะยัง

กรมปาไม การเขาถึงพื้นที่ใชเสนทางหลวงสาย 213 จาก

จังหวัดกาฬสินธุ ไปอําเภอสมเด็จ ระยะทางประมาณ 30

กิโลเมตร เมือ่ถึงอําเภอสมเด็จ ใหเลีย้วขวาไปตามเสนทาง

หลวงสาย 2042 ไปทางอําเภอหวยผึ้งและกุฉินารายณ เมื่อ

ถึงอําเภอหวยผึ้งใหเลี้ยวซายเขาเสนทางหลวงสาย 2101 ไป

อีกประมาณ 8 กิโลเมตร จะมีทางเลี้ยวซายเขาหนวยจัดการ

ตนน้ําลําหวยผึ้ง-ลําพะยัง เปนระยะทาง 4 กิโลเมตร จึงถึง

แหลงรอยเทาไดโนเสาร ระยะทางทั ้งหมดจากจังหวัด

กาฬสินธุรวม 62 กิโลเมตร

ปรากฏใหเห็นเปนรอยทางเดิน 3 แนว คือ แนวท่ีมุง

หนาไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต จํานวน 7 รอย

แนวทางเดินที่มุ งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

เปนมุม 60 องศา จํานวน 2 รอย และแนวทางเดินที่

มุงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือดวยมุม 37 องศา

จํานวน 3 รอย รอยเทาทัง้หมดเปนรอยเทาทีมี่นิว้ 3

นิว้ รอยตีนมีขนาดโดยเฉลีย่มีความยาวประมาณ 45

เซนติเมตร กวาง 40 เซนติเมตร

ลักษณะของแหลงรอยตีนไดโนเสารกินเนื้อขนาดใหญท่ีเคยเดินทอมๆ หากินอยูตามพื้นทราย

ชุมน้ําตามขอบชายบึงหรือแมน้ําเปนไดโนเสารท่ีเดินดวยสองขาหลัง กาวเดิน

ไปอยางชาๆ ในชวงเวลาประมาณ 140 ลานปมาแลว

Phuwiang dinosaur museum in Phuwiang

National Park.

นํ้าตกตาดใหญ อ.ภูผามาน จ.ขอนแกน เปนผลจากกระบวนการกัดเซาะโดย

น้ําไปตามรอยแตกในเนื้อหิน

ถํ้าพญานาคราช

อุทยานแหงชาติภู

ผามาน อ.ภูผา

มาน จ.ขอนแกน

ปากถ้ําสูงจากระดบันํ้าทะเล 559 เมตร และสงูจากระดบัพ้ืนดนิประมาณ 40 เมตร กวาง

ประมาณ 1 x 3 เมตร การเดนิทางเขาภายในถ้าํตองไตบันไดไมลงไปจะพบหองโถงขนาด

ประมาณ 30 x 30 เมตร สูงประมาณ 15 เมตร ภายในถ้าํพบหนิงอก หนิยอย เสาหนิ ทํานบ

หนิปูน และหนิปูนฉาบเปนจาํนวนมาก

The outcrop of Cambrian fossiliferous sandstone, Ao Mo Lae, Tarutao National Park, Satun Province.

The oldest fossil in Thailand, Eosaukia buravasi(approximately 500 million years:genal spine).

Sea caves in folded Ordovician limestone.

A soft sand- beach into which we can sink.

An “ancient city”, the weathered Cambrian rock, at Tarutao island

Upper Ordovician stromatolitc limestone in Amphoe La Ngu,

Satun Province, Southern Thailand.

ตัวอยางอุทยานธรณีในตางประเทศ

อุทยานธรณีที ่ประเทศจีน มี

ทั้งหมด 24 แหง แตละแหงมีความ

โดดเดนแตกตางกัน อาทิทางดาน

ธรณีสัณฐาน ดานซากดึกดําบรรพ

Jingpo LakeFuniushan

Leiqiong VolcanoFangshan

Wangwu-Daimei Mountains Mount Tai

อุทยานธรณ ีประเทศเกาหลีใต

1

2

3

Lava bridge

4Sanbangsan lava dome

5

Schematic illustration of the subsurface stratigraphy of Jeju Island

6

Outcrops of the volcanic deposits exposed along the coastal cliffs

1 23

45

6 7 8Columnar joints at Jungmun Daepo Coast

7

Cheonjiyeon Water Fall

6

อุทยานธรณี เกาะลังกาวี

ประเทศมาเลเซีย

“มีสวนรวม ชวยเศรษฐกิจสังคมพัฒนา

รักษาคุณคาแหลงอนุรักษธรณีวิทยา

แกปญหาสิ่งแวดลอม”

GeoparkThe Challenging Step

ขอบคุณครับ

top related