การแต งคําประพันธ ประเภท ร าย - nssc · 2018. 12....

Post on 18-Aug-2020

19 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

การแตงคําประพันธ ประเภท “ราย”

ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๕

- โคลง - ฉันท - กาพย - กลอน

- ราย

รูปแบบคําประพันธไทย (รอยกรอง)

บทรอยกรอง

ลิลิต

รูปแบบคําประพันธไทย (รอยกรอง) ราย + โคลง

ตัวอยางวรรณคดีประเภทลิลิต ลิลิตพระลอ, ลิลิตตะเลงพาย, ลิลิตยวนพาย, ลิลิตนิทราชาคริต

การแตงคําประพันธประเภทราย

"ราย" แปลวา อาน เสก หรือ เดิน

ราย เปนชื่อของคําประพันธ ชนิดหน่ึง ซึ่งไมกําหนดวา จะตอง

มีบท หรือบาท เทาน้ัน เทาน้ี จะแตงใหยาวเทาไรก็ได เปนแตตอง เรียงคํา ใหคลองจองกันตามขอบังคับ เทาน้ัน

ลักษณะบังคับตางๆ ใชอยางเดียวกับ โคลง ๒ และโคลง ๓ คําราย

แผนผัง รายสุภาพ

ฉันทลักษณ ของรายสุภาพ

บทหนึ่งๆ มีตั้งแต ๕ วรรคข้ึนไป จัดเปนวรรคละ ๕ คํา หรือจะเกิน

๕ คําบางก็ได แตไมควรเกิน ๕ จังหวะในการอาน จะแตงยาวกี่วรรคก็ได

แตตอนจบจะตองเปนโคลงสองสุภาพเสมอ

สัมผัส โดย คําสุดทายของวรรคหนา ตองสัมผัสคําท่ี ๑ หรือ ๒

หรือ ๓ เปนวรรคถัดไปทุกวรรค *นอกจากตอนจบ...

ฉันทลักษณ ของรายสุภาพ

คําสุภาพ คือ คําที่ไมมีรูปวรรณยุกต

การแตงราย

คําสัมผัสระหวางวรรคคําสุภาพตองสัมผัสกับคํา

สุภาพนั้น คํ าที่ มี รูปวรรณยุกตต องสัม ผัสกับ คํ าที่ มี รูปวรรณยุกตเดียวกันนั้น

การแตง...รายสุภาพ

ตอนจบ...จะตองใหสัมผัสแบบโคลงสองสุภาพ

คําเอก-โท

มีบังคับเอก ๓ แหง และคําโท ๓ แหง ตามแบบของ

“โคลงสองสุภาพ”

ถาคําสัมผัสท่ีสงเปนคําเปนหรือคําตาย คําท่ีรับสัมผัส

จะตองเปนคําเปนหรือคําตายดวย และคําสุดทายของบท

หามใชคําตาย

การแตงรายสุภาพ

ตอนจบจะตองใหสัมผัสแบบโคลงสองสุภาพ

เติมสรอยในตอนสุดทายของบทไดอีก ๒ คํา หรือ

จะเติมทุกๆ วรรคของบทก็ไดพอถึงโคลงสองตองงด เวน

ไวแตสรอยของโคลงสองเอง

สรอยชนิดนี้ตองเหมือนกันทุกวรรค เรียกช่ือวา

"สรอยสลับวรรค"

แผนผัง โคลงสองสุภาพ

ลักษณะบังคับของโคลงสองสุภาพ โคลงสองสุภาพบทหนึ่งมี ๓ วรรค ๆ หนึ่งมี ๕ คํา ยกเวนวรรคสุดทายมีเพียง ๔ คํา ในตอนทายมี

คําสรอยได ๒ คํา สัมผัสของโคลงสองสุภาพมีเพียงแหงเดียว คือ คําสุดทายของวรรคแรกสงสัมผัสไปยังคําสุดทายของวรรคที่ ๒ จะไดแผนภูมิดานบน

โคลงสองสุภาพ

ลักษณะบังคับของโคลงสองสุภาพ โคลงสองสุภาพบทหน่ึงจะมี ๓ วรรค - วรรคหน่ึงและวรรคสอง จะมีจาํนวนคาํวรรคละ ๕ คาํ

- ในวรรคสาม จะมีจาํนวนคาํ ๔ คาํซึ่งรวมทัง้หมด ๓ วรรค

- จะมีจาํนวนคาํรวมทัง้สิน้ ๑๔ คาํ

และในวรรคสุดท้ายสามารถที่จะใส่คาํสร้อยได้เพิ่มขึน้อีก ๒ คาํ

เพ่ือเพ่ิมความไพเราะให้กบับทกลอน วรรคหนึ่งและวรรคสอง วรรคสาม

โคลงสองสุภาพ

ลักษณะบังคับของโคลงสองสุภาพ

ในวรรคสุดทายสามารถที่จะใสคําสรอยไดเพิ่มขึ้น อีก ๒ คํา

เพื่อเพิ่มความไพเราะใหกับบทกลอน วรรคหนึ่งและวรรคสอง

วรรคสาม คําสรอย

โคลงสองสุภาพ

ลักษณะบังคับของโคลงสองสุภาพ

การสัมผัสของบทกลอน คําที่ ๕ วรรคหน่ึง จะตองสัมผัสกับคําที่ ๕ วรรคสอง

หากเปนการแตงเพ่ือเขาลลิติ จะตองใหคําสุดทายของบทสัมผัสกับคําที่ ๑ คําที่ ๒ หรือ

คําที่ ๓ ของบทตอๆ ไปในทุกบท

แผนผัง โคลงสองสุภาพ

การแตงเพื่อเขาลลิติ

ตัวอยาง... โคลงสองสุภาพ พระภูบาลปนเกลา ปตะราชพระเสด็จเตา

แขกทายฤๅแล พอเอย

บแปรพักตรตอไท บสั่งสักคําไว

แกแมเลยสุดใจ แมเอย

วรรณคดีไทย แตงดวยรายเปนหลัก

- สุภาษิตพระรวง

หรือเรียกวา บัญญัติพระรวง แตงในสมัยสุโขทัย แตไมทราบแนชัดวา

แตงรัชกาลใด

วรรณคดีไทย แตงดวยรายเปนหลัก

- มหาชาตคํิาหลวง

แตงสมัยอยุธยาตอนตน ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โปรดเกลาให

บัณฑติแปลและแตงขึ้นราว พ.ศ. ๒๐๒๕ ใชรายยาวเปนหลัก

วรรณคดีไทย แตงดวยรายเปนหลัก

- กาพยมหาชาต ิ แตงในสมัยอยุธยาตอนตน ในสมัยพระเจาทรงธรรม

แตงเปนรายยาว และอานงายกวามหาชาตคิําหลวง

วรรณคดีไทย แตงดวยรายเปนหลัก

- นันโทปนันทสูตรคําหลวง แตงในสมัยอยุธยาตอน-ปลาย

ในสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกศ

พระนิพนธโดย เจาฟาธรรมธิเบศร หรือเจา

ฟากุง ใชรายยาวเปนหลัก

วรรณคดีไทย แตงดวยรายเปนหลัก

- พระมาลัยคําหลวง ใชรายสุภาพเปนหลักใน

การแตง จบดวยโคลงสี่สุภาพ

วรรณคดีไทย แตงดวยรายเปนหลัก

- รายทําขวัญนาคหลวง

พระนิพนธโดยสมเด็จพระมหาสมณ

เจา พรมพระปรมานุชิต-ชิโนรส ในสมัย ร.๔ แตง

ดวยราย-ยาว

วรรณคดีไทย แตงดวยรายเปนหลัก

วรรณคดีไทย แตงดวยรายเปนหลัก

รายยาวมหาเวสสันดรชาดก เรียกอีกอยางวา “มหาชาติกลอน

เทศน” ม ี๑๓ กัณฑ แตงเปนรายยาว

การแตงราย...ใหไพเราะ

- การแตงคําประพันธประเภทราย

ใหไดผลด ี

ตองมีการทองจําบทประพันธตนแบบ เพื่อนําไวศึกษา

เวลาที่แตงเอง จะไดแตงไดถูกตอง

๑. วิธกีารแตง

- ตองมวัีตถุประสงคและแนวความคดิ

ท่ีชัดเจน

- มคีวามแมนยําในระเบยีบบังคับคําประพันธ

๒. สิ่งที่ผูแตงคําประพันธพงึระลกึไวเสมอ

- งานชิ้นน้ีเปนของ......

- งานท่ีสะทอน

- บุคลกิภาพ

- ทัศนคตขิองเราโดยเฉพาะ

- มคิวรลอกเลยีนจากผูอื่นมาเปนของตน

- รายโบราณ

- รายดั้น

- รายสุภาพ

- โคลงสองสุภาพ

• ร่ายยาว คือ ร่ายท่ีไม่กําหนดจํานวนคําในวรรคหนึง่ ๆ แต่ละวรรคจงึอาจมีคําน้อยมากแตกต่างกนัไป การสมัผสั คําสดุท้ายของวรรคหน้าสมัผสักบัคําหนึง่คําใดในวรรคถดัไป จะแต่งสัน้ยาวเท่าไรเม่ือจบนิยมลงท้ายด้วยคําว่า แล้วแล นัน้แล นีเ้ถิด โน้นเถิด ฉะนี ้ฉะนัน้ ฯลฯ เป็นต้น

• ตัวอย่าง โพธิสตฺโต สมเด็จพระบรมโพธิสตัว์ อนัสร้างสมดงึส์ปรมตัถบารมี เม่ือจะรับวโรรัตนเรืองศรีแปดประการ แด่สํานกันิท้าวมฆัวานเทเวศร์ ก็ทลูแก่ท้าวสหสัเนตรฉะนี ้

• — กาพย์มหาชาต ิสักรบรรพ

• ร่ายโบราณ คือ ร่ายท่ีกําหนดให้วรรคหนึ่งมีคําห้าคําเป็นหลกั บทหนึ่งต้องแต่งให้มากกวา่ห้าวรรคขึน้ไป การสมัผสั คําสดุท้ายของวรรคหน้าสมัผสักบัคําท่ีหนึ่ง สอง หรือสาม คําใดคําหนึ่งของวรรคถดัไป และยงักําหนดอีกวา่ หากสง่ด้วยคําเอก ต้องสมัผสัด้วยคําเอก คําโทก็ด้วยคําโท คําตายก็ด้วยคําตาย ในการจบบทนัน้ ห้ามไม่ให้ใช้คําท่ีมีรูปวรรณยกุต์ประสมอยู่เป็นคําจบบท อาจจบด้วยถ้อยคํา และอาจแต่งให้มีสร้อยสลบัวรรคก็ได้

• ตัวอย่าง ...พระบาทเสด็จ บ มิช้า พลหวัหน้าพะกนั แกวง่ตาวฟันฉฉาด แกวง่ดาบฟาดฉฉดั ซ้องหอกซดัยยุ่ง ซ้องหอกพุ่งยย้าย ข้างซ้ายรบ บ มิคลา ข้างขวารบ บ มิแคล้ว แกล้วแลแกล้วชิงข้า กล้าแลกกล้าชิงขนั รุมกนัพุ่งกนัแทง เข้าต่อแย้งต่อยทุธ์ โห่องึอดุเอาชยั เสียงปืนไฟกึกก้อง สะเทือนท้องพสธุา หน้าไม้ดาปืนดาษ ธนสูาดศรแผลง แข็งต่อแข็งง่าง้าง ช้างพะช้างชนกนั ม้าผกผนัคลกุเคล้า เข้ารุกรวนทวนแทง รแรงเร่งมาหนา ถึงพิมพิสารครราช พระบาทขาดคอช้าง ขนุพลคว้างขวางรบ กนัพระศพกษัตริย์ หนีเมือ้เมืองท่านไท้ ครัน้พระศพเข้าได้ ลัน่เข่ือนให้หบัทวาร ท่านนา

• ตัวอย่างแบบมีสร้อยสลับวรรค เจ้าเผือเหลือแผน่ดิน นะพี ่หลากระบลิในแหลง่หล้า นะพี ่บอกแล้วจะไว้หน้าแห่งใด นะพี ่ความอายใครช่วยได้ นะพี ่อายแก่คนไสร้ท่านหวั นะพี ่แหนงตวัตายดีกวา่ นะพี ่สองพ่ีอย่าถามเผือ นะพี ่เจ็บเผ่ือเหลือแห่งพร้อง โอเอน็ดรัูกน้อง อย่าซํา้จําตาย หนึ่งรา.

• — ลิลิตพระลอ

• ร่ายดัน้ คือ ร่ายที่กําหนดคําในวรรคและการสมัผสัเหมือนร่ายโบราณ แตไ่ม่เคร่งเร่ืองการรับสมัผสัระหวา่งชนิดคํา คือ คําเอกไม่จําเป็นต้องรับด้วยคําเอก เป็นต้น สว่นการจบบท ใช้บาทที่สามและสี่ของโคลงดัน้มาปิดท้ายบท และอาจแตง่ให้มีคําสร้อยสลบัวรรคก็ได้

• ตัวอย่าง ศรีสนุทรประฌาม งามด้วยเบญจพิธ องค์ประดิษฐ์อตุดม อญัขยมประจงถวาย พร้อมด้วยกายวาจาจิต...มวลมารพา่ยแพ้สญู สิน้เสร็จ ทรงพระคณุลํา้ล้น เลิศครู

• — ลิลิตดัน้มาตาปิตุคุณคาถาบรรยาย - พระยาอุปกิตศิลปสาร (น่ิม กาญจนาชีวะ)

• ร่ายสภุาพ คือ ร่ายท่ีกําหนดคําในวรรคและการสมัผสัเหมือนร่ายดัน้ทกุประการ ส่วนการจบบท ใช้โคลงสองสภุาพจบ และนิยมมีคําสร้อยปิดท้ายด้วย และอาจแต่งให้มีคําสร้อยสลบัวรรคก็ได้

• ตัวอย่าง สรวมสวสัดวิิชยั เกริกกรุงไกรเกรียงยศ เกียรติปรากฏขจรขจาย สบายทัว่แหล่งหล้า ฝนฟ้าฉ่ําชุ่มชล ไพศรพณ์ผลพนูเพิม่ เหิมใจราษฎร์บําเทิง...ประเทศสยามช่ืนช้อย ทกุข์ขกุเข็ญใหญ่น้อย นาศไร้แรงเกษม โสตเทอญ

• — ลิลิตนิทราชาคริต - พระบาทสมเดจ็พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์

top related