พืชพล ังงาน พลังงานทางเล ือกเพ...

Post on 02-Feb-2020

8 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

พืชพลังงาน : พลังงานทางเลือกเพื่ออนาคตของ GMS

โดย

คุณรังสรรค สโรชวิกสิต ผูอํานวยการสํานักวิจัยคนควาพลังงาน

สํานักวิจัยคนควาพลังงานกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน

ประเด็นนาํเสนอ

1. นโยบายการใชพลังงานทดแทนจากพืชพลังงานในกลุม GMS

2. การพัฒนาพลงังานทดแทนของไทยเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน

2.1 Bio-diesel

2.2 Gasohol

3. ผลประโยชนที่จะไดรับ

1. นโยบายการใชพลงังานทดแทนจากพืชพลงังานกลุม GMS

1. นโยบายการใชพลังงานทดแทนจากพืชพลงังานในกลุม GMS

นโยบายการประชุมสุดยอดผูนําทั้ง GMS และ ACMECS ในป 2548 เห็นชอบใหมีการสงเสริม Contract Farming รวมถึงพืชพลังงานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาพลังงานทดแทน

แผนงาน/โครงการ

การผลิตพลังงานทดแทน : ไทยใหความชวยเหลือทางวิชาการกับประเทศเพื่อนบานในโครงการสาธิตการใชไบโอดีเซลชุมชน

การปลูกพืชพลังงาน : ภายใตกรอบ ACMECS มีการสงเสริมความรวมมือในการทํา contract farming ในกลุมพืชพลังงาน ซึ่งสําหรับประเทศไทยกําหนดสงเสริมเฉพาะปาลมน้ํามัน

• Jatropha

• Oil Palm

• Soybean

• Peanut

Potential of Agricultural products for bio-fuel

1. นโยบายการใชพลังงานทดแทนจากพืชพลงังานในกลุม GMS

BIODIESEL

• Cassava

• Sugarcane

• Corn

• Rice

GASOHOL

พืชเปาหมายสาํหรับประเทศไทย

1. นโยบายการใชพลังงานทดแทนจากพืชพลงังานในกลุม GMS

ขอเสนอแนะ

การสงเสริมการเพาะปลูกพืชพลังงาน

การสงเสริมการผลิตพลังงานทดแทน

1. รัฐบาลจัดทําแผนการพัฒนาดาน Bio-Fuel แตละชนิดใหชัดเจน ครอบคลุมการจัดหาวัตถุดิบ สงเสริมวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต และการตลาด โดยในระยะเริ่มตนควรเนนการใชระดับชุมชนกอนขยายผลเปนเชิงพาณิชย

2. สงเสริมเอกชนจดัตั้งโรงงานเอธานอล และไบโอดีเซลโดยรัฐสนับสนุนสิทธิประโยชน

1. กําหนดพืชเปาหมาย Zoning พื้นที่เพาะปลูก และสงเสริมเทคนิควิชาการการเพาะปลูก ผลิต และตรวจคุณภาพสินคาใหไดมาตรฐาน

2. สงเสริมเกษตรกรเพาะปลูก และกระตุนภาคเอกชนเขาลงทุน Contract Farming กับเกษตรกร โดยรัฐบาลเปนผูอํานวยความสะดวกการลงทุน ไดแก การจัดหาเมล็ดพันธ แหลงเงินทุน ระบบประกันราคาผลผลิต ฯลฯ

นโยบายการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพในประเทศ GMS มคีวามชัดเจนในจีนและไทยเทานั้น ในขณะที่ CLM กระทรวงพลังงานไดใหความชวยเหลือทางวิชาการไปแลว

2.1 Bio-Diesel

2 การพัฒนาพลังงานทดแทนและโอกาสการลงทนุของไทย

8.502.151.650.85กําลังผลิตติดตั้ง(ลานลิตร/วนั)

*สวนใหญใชน้ํามันพืชใชแลวเปนวตัถดุบิและคณุภาพ B100 ยังไมได spec**ราคาน้าํมันดีเซลหนาโรงกลัน่ (30 มิ.ย. 49) เทากบั 21.12 บาท/ลิตร

559.36.11.2ลดการนําเขา**(พันลานบาท/ป)

40864*จํานวนโรง

B100การผลติไบโอดีเซล

2.470.420.140.06Demand น้ํามันปาลม

(ลานตนั/ป)

วัตถุดบิ(น้ํามันปาลม)

Supply-Demand

Supply ทั้งประเทศ+เพื่อนบาน(ลานตนั/ป)

2.410.420.670.37

-0.0600.530.31

2012201120102009200820072006

2.1 Bio-diesel : Roadmap

ผสมไบโอดีเซล 10% ในน้ํามนัดีเซลทั่วประเทศภายใน 2012 ซึ่งตองใช B100 8.5 ลานลิตร/วัน.

เปาหมาย

2.1 Bio-diesel : กระบวนการผลิตและการสนับสนนุจากรัฐ

โรง CPO/RBD

ผลิต B100สนับสนนุเอกชนจัดตัง้โรง B100 ใหได 8.5 ลานลิตร ป 2555

ผูคาน้ํามนัปม B100+B5/B10ปลูกปาลม

5 ลานไรภายใน 2555 เพื่อนบาน

1 ลานไร

ไทย 4 ลานไร

ตลาดบริโภค RBD

เกษตรกร/ชมุชน

ประชาชน

รถขนสง

เรือประมง

แนวทางแนวทาง

สกัด CPO ในเพื่อนบาน

Supply Side Demand Side

ModelModel

1. การปลูก : สงเสรมิปลูกปาลมในประเทศ 4 ลานไร โดยผลิตตนกลา งานวิจัยพัฒนา ขยายพื้นที่ ใหแรงจูงใจปลูกปาลมแขงกับยาง / ปลูกในเพื่อนบาน 1 ลานไร

2. การขายผลผลิต : บริหารราคาผลผลิตปาลมและราคา CPO และทํา Contract เกษตรกร-โรง CPO-B100

1. การตั้งโรงงาน B100 : ใหสิทธิพิเศษจัดตั้งโรง B100

2. จําหนาย : ยกเวนภาษี/เก็บเงนิเขากองทนุเพื่อใหราคา B5 ต่ํากวาดีเซล / จัดตัง้ปมใหไดตามเปา/สงเสรมิการใชน้ํามันมากกวา B10

3. ควบคมุคุณภาพ B100 , B5

4. งานวิจัย : ทดสอบการใช B10 – 100 /พัฒนา By Product

สงเสริมเอกชนเขาลงทุนเพาะปลูกและตั้งโรงงาน B100 ใหมีกําลังผลิต 8.5 ลานลิตร/วันในป 2555

2.1 Bio-diesel : ผลการดําเนนิการภายในประเทศ

จัดหาวัตถุดิบ

การผลิต B100

ควบคุมคุณภาพ

จําหนาย/ตลาด

จัดหา CPO พอจนถึง 2007 โดยไมนําเขา โดยใช CPO สวนเกินการบริโภครวมกับแผนการปลูกปาลมสําหรับไบโอดีเซลมีการลงทะเบียน ป 2005-2660 ปลูกปาลมใหม 420,000 ไร

430.22.138200864

โรงงาน57.130.852006142.51.632007

ไบโอดีเซลชุมชน 7,000 ลิตร/วัน ใชน้ํามันพืชใชแลว CPO น้ํามันสบูดํา โดยป 2006 แลวเสร็จ 70 ชุมชน ทดแทนน้ํามันดีเซล 2.3 ลานลิตร/ป

ประมาณผลิตจริง (ลิตร/ป)กําลังผลิต (ลานลิตร/วัน)ป

สถานีบริการ B5 จํานวน 200 สถานี ภายในมกราคม 2550 ราคาปลีก B5 ต่ํากวาดีเซล 0.50 บาท/ลิตร

SPEC เชิงพาณิชยประกาศใช ส.ค 48SPEC ชุมชน สําหรับเครื่องจักรกลเกษตรประกาศใช มิ.ย 49

ลานตัน/ป

การจัดหา CPO เพื่อผลิตไบโอดีเซล

255525542553255225512550

2.411.731.090.680.410.61รวม

0.180.090.05---3. CPO จากแผนปลูกในเพื่อนบาน**

1.781.190.590.230.03-2. CPO จากแผนปลูกในประเทศ

1. CPO สวนเกินจากการบริโภค

(รวมสงออก)

0.450.450.450.450.370.61การจัดหา CPO

0.10

0.58

0.22

0.87

0.60

1.13

-0.06- 0.0070.54Supply-Demand

2.470.420.14ความตองการ CPO เพื่อผลิต B100

หมายเหตุ : CPO จากแผนการปลูกในประเทศจะตองมีการพิจารณาปรับลดอีกครั้งในปลายป 2549 โดยคาดวา จะไดนอยกวาเปาเนื่องจากสถานการณยาง / ในเพื่อนบานจะปรับตามจริงภายหลังการเจรจา สัมปทานที่ดินในปลายป 2549

การใช การใช CPO CPO สวนเกินบริโภค รวมกับ สวนเกินบริโภค รวมกับ CPO CPO จากแผนการปลูกเชิงพาณิชย จากแผนการปลูกเชิงพาณิชย จะสนับสนุนการจะสนับสนุนการผลิตไบผลิตไบโอดีเซลและปองกันปญหาที่จะเกิดกับเกษตรกรในประเทศไดดี โอดีเซลและปองกันปญหาที่จะเกิดกับเกษตรกรในประเทศไดดี

โดยผานการบริหารจัดการรวม โดยผานการบริหารจัดการรวม 3 3 กระทรวง พนกระทรวง พน.. พณพณ.. กษกษ..

2.1 Bio-diesel : ผลการดาํเนนิการในประเทศเพื่อนบาน

แยก CPO ที่จะนําเขาป 2553 มาผลิตไบโอดีเซลออกจาก CPO บริโภค โดยกําหนดใหเปนสินคาที่ขออนุญาตนําเขาในกลุมน้ํามันเชื้อเพลิงและยกเวนภาษีนําเขา

3. อนุมตัิปริมาณ/นําเขา CPO โครงการป 2553

ผูประกอบการ Contract Farming และผลิตน้ํามันปาลมจะจําหนายผลผลิตใหกับผูผลิตและจําหนายไบโอดีเซลในราคาตามกลไกตลาด และในปริมาณตามขอตกลง

4. รับซื้อตามขอตกลง/ราคาตลาด

มอบหมาย สศช. กต. กษ. พน. จัดคณะเจรจากับเพื่อนบานพิจารณาอนุมัตแิผนลงทนุ (ที่ดิน / แรงงาน / คุมครองลงทุน/ นําเขา-สงออก) และรับรองแผนการผลิตแตละรายเปนกรณีพิเศษ

1. เจรจากับประเทศเพื่อนบาน

EXIM รวมกับ ธกส. พิจารณาสนับสนุนทางการเงินทั้งการลงทุน Contract Farming และการจัดตั้งโรงงานตามความเหมาะสม

5. สนับสนุนทางการเงิน

มอบหมาย กษ. จัดทําโครงการใหความชวยเหลือวิชาการพัฒนาการปลูก ผลิต และตรวจคุณภาพสินคา เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิตสนับสนุนความรวมมือในระยะยาว และใหความรูเทคนิคแกนักลงทุน

2. ชวยเหลือวิชาการ/เทคนิค

การดําเนินการสนับสนุนครบวงจร 5 ดาน จําเปนตองรวมผลักดันระหวาง 6 กระทรวง 15 กรม

0.460.532.941.410.180.231.250.742555

0.250.291.581.410.100.120.670.702554

0.140.160.891.410.050.060.360.672553

---1.41---0.642552

---1.41---0.592551

---1.41---0.572550

นําเขา CPO

(ลานตนั)CPO

(ลานตนั)FFB

(ลานตนั)พื้นที่

(ลานไร)

นําเขา CPO

(ลานตนั)CPO

(ลานตนั)FFB

(ลานตนั)พื้นที่

(ลานไร)

แผนการลงทุนตามพื้นที่เปาหมายประมาณการการลงทุนที่คาดวาจะทําได

2.1 Bio-diesel : ผลการดาํเนนิการในประเทศเพื่อนบาน

พื้นที่ : 740,500 ไร - 1,405,500 ไรในป 2555

การผลิต 30 ป : ในป 2555 นําเขา CPO 0.18 ลานตัน (69%ความตองการตามแผน กษ.) และหากเพื่อนบานจัดหาพื้นทีไ่ดตามเปาจะนําเขา CPO 0.47 ลานตัน

จางงาน : 22,700 คน

จัดตั้งโรงสกัด : CPO 6 แหง (พมา 2 แหง สปป.ลาว 2 แหง กมัพูชา 2 แหง)

1. เอกชน 4 ราย

2. พื้นที่ 1,405,500 ไร

- พมา 838,000 ไร- ลาว 280,000 ไร - กัมพชูา 287,500 ไร

ป 2550 = 0.2-0.57 ลานไร ป 2555 = 0.74 ลานไร

3. นําเขา CPO 0.18 ลานตัน (ป 2555)

- พมา 12,101 ตัน- ลาว 81,386 ตัน - กัมพชูา 86,526 ตัน

4. โรงงานสกัด/ไบโอดีเซล 6 โรง

5. การสนับสนุนจากรัฐบาลไทย

- กาํหนดปริมาณ/ภาษีนําเขา CPO - การสนับสนุนทางการเงิน**

6. การสนับสนุนจากรัฐเพื่อนบาน

- การรับรองและจัดหาที่ดิน - คุมครองการลงทุน 30 ป - อื่นๆ : ภาษ ี ผานแดน

7. ผลประโยชนเพื่อนบาน

- สรางงาน 22,700 คน- TA ยกระดับคุณภาพการผลิต- พัฒนาพื้นที่/Infraเพิ่มคุณภาพชวีติ

สัญลักษณ

Contract Farming

โรงกลัน่ CPO

2. แผนลงทุนในประเทศเพื่อนบาน

2.2 Gasohol

-15-

2 การพัฒนาพลังงานทดแทนและโอกาสการลงทนุของไทย

1.6 2.1 2.1 2.21.10.42ความตองการความตองการเอทานอลสําหรับเอทานอลสําหรับgasohol gasohol เฉลี่ยเฉลี่ย

Action

ปรมิาณ(ลานลิตร/วัน)

ใช Ethanol แทน MTBE

2554255325522551

ป 2552 จําหนาย E10 ทั่วประเทศ

พัฒนาพันธุมันสําปะหลงั 5 ตนั/ไร และออย 15 ตัน/ไร

8.1 8.3 8.5 8.684Gasohol Gasohol 9595 เฉลีย่ เฉลีย่

พัฒนาพันธุมันสําปะหลงั 10 ตนั/ไร และออย 20 ตัน/ไร

Gasohol Gasohol 9191 เฉลีย่ เฉลีย่ 3 8 12.4 12.7 130.2

25502549

61.60.46การผลิตเอทาการผลิตเอทานอลนอลจริงจริง

เฉลี่ยเฉลี่ย

รวมรายไดจากลดการนํารวมรายไดจากลดการนําเขาน้ํามนัเขาน้ํามนั

((พันลานบาทพันลานบาท//ปป))12 15 15 1683

หมายเหตุ : วัตถุดิบในประเทศมีเพียงพอ หากมกีารพัฒนาผลผลิตตอไรตามแผน กษ.นโยบายใช E10-E100 พน. ประสานกลุมผูผลิตยานยนต และผูคาน้ํามันในป 2550

ป 2551 จําหนาย E100 ในบางพื้นที่

Road Map Gasohol ระยะยาว (ป ’50-’54)Ethanol HubEthanol Hub

หนวยงานพน.

กษ.

พน.กชช.

2.2 Gasohol : Road Map

ไดรับอนุมัติ 40 โรง 8 ลานลิตร/วัน

2.2 Ethanol : กระบวนการผลิตและการสนบัสนนุจากรัฐ

โรง ethanol ผูคาน้ํามนั

พัฒนาพันธุในประเทศ

- มนั 5 ตนั/ไร- ออย 15 ตนั/ไร ประชาชน

แนวทางแนวทาง

Supply Side Demand Side

ModelModel

1. การปลูก : พัฒนาพันธุเนนเพิม่ yield

2. การบริหารผลผลิต : สงเสรมิContract farming โรงงานเอทานอล-เกษตรกร เพื่อความแนนอนวัตถุดบิในการผลิตเอทานอล

1. การตั้งโรงงาน ethanol : เปดเสรีโรงงานเอทานอลเรงจัดตัง้โรงงานและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต

2. วิจัยพัฒนา : เพิ่มมูลคา By Product (acetic acid, ethyl acetate)

3. จําหนาย : ขยายปม Gasohol 95 ทั่วประเทศในป 2006 และเรงสงเสรมิ Gasohol 91 ตั้งแตป ’2007 รวมทั้งสงเสรมิรถยนต FFV

4. อนุญาตใหสงออกเอทานอลสวนเกนิตัง้แตป 2008

ตลาดบริโถค/มนัสงออก

สงออก2008

2.2 Gasohol : ผลการดําเนนิการ

การผลิต /จัดหาethanol

จําหนาย/ตลาด

Gasohol

การใชแกสโซฮอล

• ปจจุบันใช Gasohol = 3.5 ลานลิตร/วัน และกําหนดใช 8 ลานลิตรป 2550

• สถานีบริการ 3,241 แหง

รัฐบาลไทยเตรียมการยกเลิกเบนซิน 95 ใน 1 ม.ค 2550

สงออก ethanol5881,995312008

402153

ความตองการลานลิตร/ป

จํานวนวัตถุดิบในประเทศเพียงพอตอการผลิตในกรณีการเพิ่ม yield เปนไปตามเปาหมาย

316

โรงงาน

ใช Stock Ethanol เดิม1482006โรงงานใหมผลิตปลายป 19 โรง4922007

หมายเหตุผลผลิต เอทานอล

3. ผลประโยชนที่ไดรบั

3. ผลประโยชนทีไ่ดรับ

ประเทศ/GMS

1. เกิดความมั่นคงดานพลังงานและลดการนําเขาน้ํามัน

2. เพิ่มขดีความสามารถการแขงขันอุตสาหกรรมดานพลังงานทดแทนจากการเชื่อมโยงปจจัยการผลิตในกลุมประเทศ

3. ยกระดับคุณภาพการผลิตพชืพลังงานประเทศเพื่อนบาน โดยไทยใหความชวยเหลือทางดานวิชาการและการถายโอนเทคโนโลยีการเพาะปลูก เพื่อใหไดผลิตผลมีคุณภาพไดมาตรฐาน

1. สรางงานใหประชาชนในประเทศเพื่อนบานจากการสงเสริมการ Contract Farming และจัดตั้งโรงงาน CPO ในประเทศ

เพื่อนบานนําไปสูการแกไขปญหาความยากจนและลดปญหา สังคมโดยเฉพาะการเคลื่อนยายแรงงานตางดาวไดอยางเปน รูปธรรม

2. เกิดการพัฒนาพื้นที่และพัฒนาโครงสรางพื้นฐานจําเปนอัน เนื่องจากการลงทุน สงผลตอการยกระดับสภาพแวดลอมชุม

ชนและคุณภาพชีวิตประชาชนในประเทศเพื่อนบาน

ชุมชน/ภาค

Ministry of Energy

top related