ครูสุดเฉลิม อ่อนเปี่ยม...

Post on 06-Feb-2016

74 Views

Category:

Documents

2 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

สื่อประกอบการ ศึกษา. เรื่อง เวลา ยุคสมัย และหลักฐานประวัติศาสตร์. ครูสุดเฉลิม อ่อนเปี่ยม โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม จ.พะเยา. การนับเวลา. การนับเวลาตามระบบสุริ ยคติ. หมายถึง วิธีนับและเดือนโดยถือตำแหน่ง ดวงอาทิตย์เป็นหลัก. การนับเวลาตาม ระบบจันทรคติ. - PowerPoint PPT Presentation

TRANSCRIPT

ครูสดุเฉลิม อ่อนเปี่ ยมโรงเรยีนฟากกวา๊นวทิยาคม จ.พะเยา

เรื่อง เวลา ยุคสมยั และ

หลักฐานประวติัศาสตร์

สื่อประกอบการศึกษา

การนับเวลา

หมายถึง วธินัีบและเดือนโดยถือตำาแหน่ง

ดวงอาทิตยเ์ป็นหลัก

การนับเวลาตามระบบสรุยิคติ

หมายถึง วธินีับและเดือนโดยถือตำาแหน่ง

ดวงจนัทรเ์ป็นหลัก

การนับเวลาตามระบบจนัทรคติ

เดือนเต็ม เดือนคู่ มขีา้งขึ้น 15 วนั ขา้งแรม 15 วนั รวมแล้วมวีนัครบ 30 วนั

เดือนค่ี มขีา้งขึ้น 15 วนั ขา้งแรม 14 วนั รวมเป็น 29 วนั ไมค่รบ 30 วนั

เป็นปีท่ีมเีดือน 8 สองหน เดือนจนัทรคติใน 1 ปี รวมวนัได้เพยีง 354 วนัจงึแก้โดยการปรบับางปีให้ม1ี3 เดือน โดยเพิม่เดือน 8 หลังต่อจากเดือน 8 แรก

ปอีธกิมาส

วนัจะเพิม่ขึน้ 1 วนั ในเดือน 7 ปีนัน้มถึีงวนัแรม 15 คำ่า

เดือนอธกิวาร

การนับศักราช การนับศักราชแบบไทย

การนับศักราชของไทยท่ีใชใ้นปัจจุบนั คือ แบบ พ.ศ. หรอื พุทธศักราช เริม่ใช้เมื่อพระพุทธเจา้เสด็จดับขนัธป์รนิิพพานไปแล้ว 1 ปี มหาศักราช หรอื ม.ศ. นิยมใชม้ากในหลักฐานทางประวติัศาสตรป์ระเภทศิลาจารกึและพงศาวดารต่าง ๆ ทั้งสมยัสโุขทัย และสมยัอยุธยาตอนต้น มหาศักราชถกูตั้งขึน้โดยพระเจา้ กนิษกะแห่งราชวงศ์กษุาณะ โดยเริม่ภายหลังพุทธศักราช 622 (มหาศักราชตรงกับ พ.ศ. 622) จุลศักราช หรอื จ.ศ. เป็นศักราชท่ีเราใชกั้นก่อนใชศั้กราชรตันโกสนิทร ์เริม่ภายหลังพุทธศักราช 1181 ปี รตันโกสนิทรศ์ก หรอื ร.ศ. เริม่

ตั้งแต่พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก ทรงสถาปนากรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2325

การนับศักราชสากลท่ีนิยมมากท่ีสดุในปัจจุบนัคือแบบครสิต์ศักราช หรอื ค.ศ. การนับครสิต์ศักราชท่ี 1 จะเริม่จากปีท่ีพระเยซูพระศาสดาในศาสนาครสิต์ประสติู ถือวา่เป็นปีแห่งพระเจา้ สว่น B.C. ยอ่มาจาก Before Christ หมายถึง การนับศักราชก่อนท่ีจะถึง ค.ศ. 1 หรอืก่อนพระเยซูประสติู

การนับศักราชแบบสากล

สว่นศักราชของชาวมุสลิมได้แก่ ฮิจญ์เราะหศั์กราช หรอืฮ.ศ. เริม่ตัง้แต่ พ.ศ. 1165 เมื่อปีท่ีท่านนบมุีฮัมมดั อพยพจากเมอืงเมกกะ ไปยงัเมอืงเมดีนา โดย ฮ.ศ. 1 ตรงกับ พ.ศ. 1165

ร.ศ.+ 2324 = พ.ศ.จ.ศ.+ 11851 = พ.ศ.ม.ศ.+ 621 = พ.ศ.

พ.ศ - 2324 = ร.ศ. พ.ศ.- 1181 = จ.ศ.พ.ศ.- 621 = ม.ศ.

การเปรยีบเทียบศักราช

ค.ศ.+ 543 = พ.ศ.ฮ.ศ.+ 621 = ค.ศ.ฮ.ศ.+ 1164 = พ.ศ.

พ.ศ. - 543 = ค.ศ.ค.ศ.- 621 = ฮ.ศ.พ.ศ. - 1164 = ฮ.ศ.

การนับทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ วรรษ หมายถึง ป ี

ทศ หมายถึง สบิ ทศวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 10 ปี ศต หมายถึง รอ้ย ศตวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 100 ปี สหัส หมายถึง พนั สหัสวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 1,000 ปี

ทศวรรษ (decade)   คือ รอบ 10 ปี นับจากศักราชท่ีลงท้ายด้วย 1 ไปจนถึงศักราชท่ีลงท้ายด้วย 0  เชน่ ทศวรรษท่ี 1990 ตามครสิต์ศักราช หมายถึง ค.ศ.1991-2000

ศตวรรษ (Century)   คือ รอบ 100ปี นับจากศักราชท่ีลงท้าย 1 ไปจนครบ 100ปี ในศักราชท่ีลงท้ายด้วย 00  เชน่ พุทธศตวรรษท่ี26 คือ พ.ศ.2501-2600  สหัสวรรษ (Millenium)   คือ รอบ 1000 ปี ศักราชท่ีครบแต่ละสหัสวรรษ จะลงท้ายด้วย000 เชน่ สหัสวรรษท่ี 2 นับตามพุทธศักราช คือ พ.ศ. 1001-2000

ยุคสมยัก่อนประวติัศาสตรส์ากลแบง่ออกเป็น 2 ยุคใหญ่ คือยุคหิน และยุคโลหะ เกณฑ์ท่ีใชใ้นการแบง่ยุค คือเครื่องมอืเครื่องใช ้รวมท้ังสภาพแวดล้อมท่ัวไป

ยุคสมยัในประวติัศาสตรส์ากลแบง่ออกเป็นยุคก่อนประวติัศาสตรแ์ละยุคประวติัศาสตร์

ยุคก่อนประวติัศาสตร์

การแบง่ยุคสมยัก่อนประวติัศาสตร์ ยุคสมยั ลักษณะการดำารง

ชวีติ เครื่องมอืท่ีพบ

ยุคหิน

ยุคหินเก่า

ดำารงชวีติด้วยการล่าสตัว ์พชืผลไมเ้ป็นอาหาร

เครื่องมอืหินกะเทาะ ขวานกำาปั้ น

ยุคหินกลาง

มกีารล่าสตัว ์แต่พฒันามากขึน้

เครื่องมอืหินกะเทาะท่ีมคีวามประณีต

ยุคหินใหม่

อยูร่วมกันเป็นกลุ่ม มีการเพาะปลกู ประดิษฐ์เครื่องมอืเครื่องใช้อยา่งประณีตด้วยการขดั

ขวานหินขดั

ยุคโลหะ

ยุคสำารดิ

รูจ้กันำาทองแดงและดีบุกมาผสมหล่อทำารูปแบบต่าง ๆ

ภาชนะสำารดิ ขวานสำารดิ หัวลกูศร

ยุคเหล็ก

นำาเหล็กมาหลอมเป็นเครื่องมอืเครื่องใชใ้นการล่าสตัว์

เครื่องมอืเครื่องใชจ้ากเหล็กเชน่ขวาน ลกูศร

ยุคประวติัศาสตร์

*สมยัโบราณ อารยธรรมกรกี - โรมนัโบราณเจรญิสงูสดุ

*สมยักลาง ยุคมดื / ศักดินาสวามภัิกด์ิ / ศาสนจกัร

มบีทบาทมาก*สมยัใหม ่ ยุคการฟื้ นฟูศิลปวทิยาการกรกี

โรมนั *สมยัปัจจุบนั หลังสงครามโลกครัง้ท่ี 2 /

สงครามเยน็

หลักฐานทางประวติัศาสตร์

รอ่งรอยของสิง่ท่ีเป็นขอ้เท็จจรงิ ที่เกิดขึ้นในอดีต และเหลือเป็นมรดกสบืต่อใหน้ักประวติัศาสตร ์ นำามาเป็นขอ้มูลในการศึกษาค้นควา้ต่อไป

ประเภทของหลักฐานทางประวติัศาสตร์ 1.หลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ จารกึ ตำานาน พงศาวดาร

ฯลฯ2.หลักฐานท่ีไมเ่ป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ โบราณสถาน โบราณวตัถ ุ ภาพเขยีน เครื่องประดับ ฯลฯ

ตัวอยา่งหลักฐานทางประวติัศาสตรท์ี่พบในประเทศไทย

ภาพเขยีนสก่ีอนประวติัศาสตร ์ท่ีอุทยานแห่งชาติผาแต้ม อำาเภอโขงเจยีม จงัหวดัอุบลราชธานีอายุระหวา่ง 1,000-4,000 ปี ภาพแบง่เป็น 4 ประเภท คือ 1. สตัว ์ 2. เครื่องมอื เครื่องใช ้ 3. สญัลักษณ์ 4. คน

แหล่งโบราณคดีบา้นเชยีง อำาเภอหนองหาน จงัหวดัอุดรธานี

มนุษยก่์อนประวติัศาสตรท่ี์บา้นเชยีงน้ีรูจ้กัการหล่อโลหะสำารดิเป็นเครื่องประดับ สรา้งรูปแบบมดี หอก ขวาน หัวลกูศร ฯลฯ ได้เมื่อ 4,900 -5,600 ปีมาแล้ว รูจ้กัถลงุเหล็กแล้วนำามาหลอมตีขึน้รูปเป็นเครื่องมอืเครื่องใช ้ เมื่อ 3,200 – 3,600 ปีมาแล้ว รูจ้กัปลกูขา้ว เล้ียงสตัว ์ (ควาย และทอผ้าไหมได้ ซึง่พบหลักฐานทางโบราณคดีเป็นเศษผ้าไหมบนกระดกูมนุษยโ์บราณในหลมุสำารวจ) รูจ้กัวธิทีำาเครื่องป้ันดินเผาท่ีมลีักษณะเด่นเฉพาะท้องท่ี คือ  การเขยีนลายเชอืกทาบ  เป็นลวดลายเฉพาะ  ไมเ่หมอืนแหล่งโบราณคดีท่ีใดในแถบเอเชยีตะวนัออกเฉียงใต้ 

               

ในยุคก่อนประวติัศาสตร ์จากการสำารวจถำ้าผีแมนและรอบ ๆ ถำ้าในเขตอำาเภอปางมะผ้า พบหลักฐานเกี่ยวกับเครื่องมอืหนิเชน่ เครื่องมอืหนิขดัเป็นขวานหนิรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า มอีายุประมาณ 8,600 ปีมาแล้ว และได้พบเมล็ดพชืที่ใชเ้ป็นอาหารมากมายหลายชนิด เชน่ เมล็ดนำ้าเต้า แตงกวา และพชืตระกลูถัว่ฝักยาว พบวา่มอีายุเก่าแก่กวา่ 12,000 ปีมาแล้ว ทำาใหสั้นนิษฐานได้วา่ บรเิวณนี้มมีนุษยอ์าศัยอยูม่าแต่สมยัหนิเก่า นอกจากน้ียงัค้นพบเศษภาชนะดินเผา เครื่องมอืหนิกะเทาะและขวานหนิที่มอีายุประมาณ 4,000 - 8,000 ปีมาแล้ว เป็นจำานวนมาก

แหล่งโบราณคดีถำ้าผีแมน อำาเภอเมอืง จงัหวดัแมฮ่่องสอน เป็นถำ้าท่ีพบหลักฐาน วา่มมีนุษยเ์ขา้มาอาศัยในถำ้าน่ี เมื่อประมาณ 11,000 -12,000 ปีมาแล้ว เนื่องจากพบวา่มเีครื่องมอืเครื่องใช ้ ท่ีทำาจากหินกรวดแมน่ำ้า นอกจากน้ีในระหวา่ง 6,000 – 9,000 ปี ได้พบชิน้สว่นของเมล็ดพชื จำาพวกพรกิไทย นำ้าเต้า ถัว่ และผักบางชนิด ท่ีทำาให้เขา้ใจได้วา่มนุษยใ์นยุคนัน้ได้รูจ้กัใชพ้ชืบรโิภค หรอือาจจะรูจ้กันำามาเพาะปลกู

แหล่งโบราณคดีบา้นเก่า  อำาเภอเมอืง  จงัหวดักาญจนบุร ี 

  เป็นชุมชนท่ีมอีายุประมาณ  3,800 - 4,000 

ปีมาแล้ว เชื่อวา่น่าจะเป็นชุมชนท่ีมกีารทำาเกษตรกรรม  โดยรูจ้กัเพาะปลกูและเลี้ยงสตัว ์ พบภาชนะดินเผาท่ีทีรูปแบบและทรงต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งวธิกีารตกแต่งผิวด้านนอกแตกต่างจากภาชนะดินเผาจากท่ีแห่งอ่ืน  สว่นใหญ่เป็นภาชนะสดีำา  สเีทาเขม้ และสนีำ้าตาลเขม้  แหล่งโบราณคดีแห่งน้ีพบภาชนะท่ีสรา้งลักษณะพเิศษแตกต่างจากท่ีอ่ืนคือ  ภาชนะดินเผาสามขา   

ครูสดุเฉลิม อ่อนเป่ียมโรงเรยีนฟากกวา๊นวทิยาคม จ.พะเยา

โปรดติดตามเรื่องต่อไป... เรว็ ๆ นี้

top related