บทที่ 4 (2) ความเหมาะสมของภาษี (optimal taxation)

Post on 17-Mar-2016

86 Views

Category:

Documents

14 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

บทที่ 4 (2) ความเหมาะสมของภาษี (Optimal Taxation). ความหมายของความเหมาะสมของภาษี. คุณสมบัติของการเก็บภาษีด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) กับความเท่าเทียม (Equity) ที่ต้องคำนึงอยู่เสมอในการเก็บภาษี ความเสมอภาคในแนวนอน (Horizontal Equity) ความเสมอภาคในแนวดิ่ง (Vertical Equity) - PowerPoint PPT Presentation

TRANSCRIPT

1

บทท่ี 4 (2) ความเหมาะสมของภาษี (Optimal Taxation)

2

ความหมายของความเหมาะสมของภาษี คณุสมบติัของการเก็บภาษีด้านประสทิธภิาพ

(Efficiency) กับความเท่าเทียม (Equity) ท่ีต้องคำานึงอยูเ่สมอในการเก็บภาษี◦ ความเสมอภาคในแนวนอน (Horizontal Equity)◦ ความเสมอภาคในแนวดิ่ง (Vertical Equity)

เนื่องจากการจดัเก็บภาษีทกุๆ ครัง้ก่อใหเ้กิดการบดิเบอืน ของการจดัสรรทรพัยากร ยกเวน้ภาษีท่ีไมท่ำาใหร้าคา เปรยีบเทียบเปล่ียนแปลง (ภาษีแบบเหมาจา่ย) และมผีล

ต่อความเป็นธรรมระหวา่งผู้เสยีภาษีทำาใหก้ารออกแบบภาษีต้องคำานึงวา่จะทำาอยา่งไรจงึจะทำาให้การจดัเก็บภาษีท่ีผลต่อการเปล่ียนแปลงของราคาใหน้้อย

ท่ีสดุ ที่นำาไปสูก่ารหลบเล่ียงภาษีน้อยที่สดุ

3

ความเหมาะสมของภาษีเก็บจากสนิค้า(Optimal Community Taxation) เป็นตัวอยา่งที่ดีแสดงการเก็บภาษีที่เหมาะสม

เพราะมปีัจจยัประกอบทัง้ราคาสนิค้า และการ จดัสรรทรพัยากรสำาคัญ คือเวลาท่ีใชใ้นการ

ทำางานหารายได้ หลักการพจิารณาคือ จะเก็บภาษีอยา่งไร

อัตราท่ีเหมาะสม สนิค้าใดควรถกูจดัเก็บภาษี อยา่งไร ภายใต้ขอ้สมมุติการหารายได้จาก

ภาษีของรฐับาลต้องมภีาระภาษีสว่นเกิน(Deadweight loss) ท่ีตำ่าท่ีสดุ โดยไมใ่ช่การเก็บแบบเหมาจา่ย

4

ความเหมาะสมของภาษีเก็บจากสนิค้า(Optimal Community Taxation)

Optimal commodity taxation คือการเลือกอัตราภาษีระหวา่งสนิค้าต่างๆ ที่ เหมาะสมท่ีทำาใหเ้กิดภาระสว่นเกินน้อยที่สดุ

แล้วทำาใหร้ฐับาลสามารถได้รบัรายได้ตามที่กำาหนด

5

ตัวอยา่งการศึกษาสมมุติมผีู้บรโิภคคนหนึ่งท่ีสามารถเลือกการ

บรโิภคสนิค้า 2 ชนิดคือ x และ y และเลือกเวลา กากรพกัผ่อน (การทำางาน) L โดยมเีง่ือนไขดังนี้

โดย w = อัตราค่าจา้ง T* = time endowment (24 ชัว่โมง) Px = ราคาสนิค้า x Py = ราคาสนิค้า y

yx PyPxLTw )*(

6

ตัวอยา่ง

wLPyPxwT yx *

จดัเทอมใหมไ่ด้คือ

สมมุติมกีารจดัเก็บภาษีสนิค้าทัง้สองและการพกัผ่อนเพิม่ขึ้นโดยรฐับาลทำาใหเ้ป็น

LtwPtyPtxwT yx )1()1()1(*

7

ตัวอยา่งการเก็บภาษีท่ีเหมาะสม หารตลอดด้วย (1+t) จะได้

ซึ่งเมื่อเปรยีบเทียบก่อนและหลังการเก็บภาษีพบวา่การเก็บภาษี อัตรา t เหมอืนเป็นการเก็บภาษีแบบเหมาจา่ย เพราะเป็นการทำาให้ มูลค่า time endowment ลดลงในสดัสว่นของอัตราภาษีท่ีจดั

เก็บ แต่ความจรงิคือจะเก็บภาษีจากการพกัผ่อนอยา่งไร ท่ีเทียบเท่ากับ

สนิค้าท่ีเป็นรูปธรรมชดัเจนได้ ดังนัน้การเก็บภาษีท่ีขาดการเก็บจากการพกัผ่อนจงึทำาใหเ้กิดการบดิเลือนอยา่งแน่นอน

wLyPxPwTt yx

*]

)1(1[

8

ตัวอยา่งการเก็บภาษีท่ีเหมาะสมดังนัน้การเก็บภาษีจากสนิค้าทกุประเภทที่

ปรารถนาใหม้คีวามเป็นกลาง (neutral tax) ในอัตราเดียวกัน ท่ีไมร่วมการพกัผ่อน

จงึไมอ่าจทำาได้ โดยไมก่่อใหเ้กิดความไมม่ีประสทิธภิาพ

9

Ramsey Rule’sเป็นความพยายามเก็บภาษีที่ทำาใหม้ภีาระสว่น

เกินน้อยที่สดุ ขณะที่รฐับาลยงัสามารถได้รายได้ภาษีตามต้องการจำานวนหนึ่ง

10

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะสม Optimal commodity taxation and Ramsey rule กฎของ Ramsey คือ:

คือกำาหนดอัตราภาษีระหวา่งสนิค้าต่างๆ ท่ีทำาให้ สดัสว่นระหวา่ง สว่นเพิม่ของภาระสว่นเกิน

(marginal deadweight loss) กับ รายได้ สว่นเพิม่ท่ีเก็บได้เพิม่ (marginal revenue

raised) เท่ากันในทกุๆ สนิค้า

MDWLMR

i

i D

11

ราคา

ปรมิาณสนิค้า

DxP0

P0+ux

a

b

c

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะสม

สมมุติมสีนิค้า 2 ชนิดท่ีไมท่ดแทนหรอืใชร้ว่มกัน ทำาให้การเก็บภาษีกับสนิค้าหนึ่งท่ีมผีลกระทบต่อราคา

ของสนิค้ายอ่มไมก่ระทบอีกสนิค้าหน่ึง โดยสมมุติวา่Supply ขนานกับแกนนอน

x0X1

∆X

โดยเริม่ต้นบรโิภคสนิค้าท่ี x0 แต่หลังมภีาษี ราคา เพิม่เป็น P0 + ux ทำาใหก้ารบรโิภคลดเหลือเพยีง x1

ทำาใหภ้าระสว่นเกินเท่ากับพื้นท่ี abc

12

ราคา

ปรมิาณสนิค้า

DxP0

P0+ux

a

b

c

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม

x0X1

∆x

X2

P0+ux +1g

h

j

f

i

e

ต่อมามกีารเก็บภาษีเพิม่อีกหนึ่งหน่วย เป็น P0+ux+1 ภาระสว่นเกินเพิม่เป็น fec โดยจะหาภาระสว่นเกินสว่นเพิม่จาก

พื้นท่ี fec – abc เท่ากับขนาดของ marginal Deadweight loss ท่ีเท่ากับ พื้นท่ี feab ท่ีมค่ีาเท่ากับ ½ ∆ x[ux +(ux + 1)] ∆โดย x คือหน่วยสดุท้ายของภาระภาษีในรูปสนิค้า x ท่ีลดน้อยลง

13

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม ขณะน้ีเราสามารถหาค่าภาระสว่นเกินของภาษีได้แล้ว

สิง่ท่ีเหลือคือการหาค่ารายได้ภาษีสว่นเพิม่ โดยจากรูป ค่ารายได้ภาษีสว่นเพิม่อีกหนึ่ง หน่วยคือการเก็บเพิม่

จาก ux เป็น ux+1 จากรูปคือพื้นท่ีสีเ่หล่ียม ghif แต่การขึ้นภาษียงัมี

สว่นรายได้ภาษีท่ีหายไปอีกจากภาระสว่นเกิน คือพื้นที่ibea

ผลต่างของรายได้รายได้ภาษีสทุธจิงึเป็น พื้นท่ี ghif – ibea โดยสามารถเขยีนเป็นสตูรคณิตศาสตรไ์ด้คือ

x2(ux+1) – x1ux Marginal excess burden จงึเป็น 1/2∆x[ux +

(ux +1)] ∆ซึ่งมค่ีาเท่ากับ X

14

เพราะวา่ 1/2∆x[ux + (ux +1)] ∆หรอื xux + ½∆x

∆สามารถประมาณได้เท่ากับ xux เนื่องจากค่า เทอมที่สอง มขีนาดเล็กจนอาจกำาหนดใหเ้ท่ากับ

ศูนย์ และค่า 1/∆x เท่ากับ ux/∆X เพราะต่างเท่ากับ

slope ของเสน้ demand ดังนัน้∆xux = ∆X ซึ่งคือค่า excess burden ของภาษีที่เพิม่ขึ้น 1 หน่วยนัน่เอง

ขัน้ตอนถัดไปคือการหาค่ารายได้ภาษีท่ีเพิม่ขึ้นเพื่อหาสดัสว่นรายได้ภาษีที่เพิม่จากการเพิม่

อัตราภาษี (ux)

15

ราคา

ปรมิาณสนิค้า

DxP0

P0+ux

a

b

c

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม

x0X1

∆x

X2

P0+ux +1g

h

j

f

i

e

จากรูปในท่ีน้ีการหารายได้ท่ีเพิม่จากการเพิม่แตราภาษีดังกล่าวคือรายได้ภาษี = uxX1 (อัตราภาษีคณูกับหน่วยสนิค้าท่ีขาย) และ ขนาดรายได้ภาษีเท่ากับ hbaj ณ อัตราภาษีคือ ux และเมื่อเพิม่ เป็น ux + 1 ขนาดภาษีเท่ากับ gfih โดยมเีสยีภาษีไป ibae หรอืเท่ากับ X2 - (X1 – X2)ux

16

เพราะ marginal tax revenue เท่ากับX2 (ux +1) – X1ux = X2 + ux(X2 – X1) เพราะจากรูป X2 = X1 - ∆x แทนค่าได้ X1 = ∆x -ux ∆x ∆แต่เพราะวา่ x = ∆X/ux

ดังนัน้ X1 - ∆X(1 + ux)/ux

แต่ ux > 1 เสมอ ทำาให้ ประมาณได้เท่ากับ X1 - ∆X เท่ากับ marginal tax revenue

marginal excess burden/ เงินรายได้ ภาษีที่เพิม่ขึ้น คือ ∆X/X1 - ∆X

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม

17

สำาหรบัสนิค้า Y จะได้เหมอืนกันคือ ∆Y/Y1 - ∆Y

ภายใต้เง่ือนไขของภาระสว่นเกินน้อยท่ีสดุ∆X/X1 - ∆X = ∆Y/Y1 - ∆Y จดัเทอมใหมไ่ด้ ∆X/X1 = ∆Y/Y1 ความหมายของสมการน้ีคือ percentage

change นัน่เอง ดังนัน่ การท่ีต้องการภาระ สว่นเกินรวมของภาษีน้อยท่ีสดุ ต้องจดัเก็บ

อัตราภาษีท่ีทำาให้ percentage change ของการ ลดลงของปรมิาณสนิค้าต่างๆ เท่ากัน

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม

18

การแปลความหมายตามกฎของแรมซีย่์เพราะการเปล่ียนแปลงของอุปสงค์สามารถ

แสดงความสมัพนัธกั์บค่าความยดืหยุน่ได้

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะ สม

19

กฎแรมซีย่์ กับภาษีสนิค้าท่ีเหมาะสม Optimal commodity taxation and Ramsey rule

เป้าหมายของ Ramsey Rule คือ ต้องการ minimize ภาระสว่นเกินจากภาษี

ใหม้ากท่ีสดุ ขณะที่สามารถเก็บรายได้ภาษีได้ตามจำานวนท่ีกำาหนด

มูลค่ารายได้ที่เพิม่ของรฐับาล คือมูลค่าของเงินท่ีอยูใ่นมอืของรฐับาลแทนท่ีจะอยูใ่นภาคเอกชน

20

ภาษีสนิค้าท่ีเหมาะสม กับกฎสว่นกลับของ ความยดีหยุน่ Inverse elasticity rule

กฎ สว่นกลับของความยดืหยุน่ เป็นการแสดง ผลของ กฎของRamsey อยา่งง่ายๆ เพื่อให้

สามารถเขา้ใจถึงนโยบายภาษีกับความยดืหยุน่ของอุปสงค์

กล่าวคือรฐับาลควรเก็บภาษีกับสนิค้าแต่ละ ชนิด โดยมกีฎพื้นฐานวา่ภาษีที่เก็บจากสนิค้า

แต่ละชนิดนัน้ความเป็นสว่นกลับกับค่าความ ยดืหยุน่ของอุปสงค์ของสนิค้านัน้ๆ นัน่คือ

◦ หากสนิค้ามค่ีาความยดืหยุน่ยิง่ตำ่าเท่าไร อัตราภาษีควรสงูมากขึ้นเท่านัน้

21

กฎสว่นกลับของอัตราภาษีกับความยดืหยุน่

การพสิจูน์ สมมุติมสีนิค้า 2 ชนิด x และ y ท่ีไมม่คีวาม สมัพนัธซ์ึ่งกันและกัน โดยมรีาคาสนิค้าคือ Px และ Py

ค่าความยดืหยุน่ของสนิค้า x คือ ηx และ ของสนิค้า y คือηy

การเก็บภาษีกับสนิค้า x คือ tx และสนิค้า y คือ ty

ดังนัน้ตามกฎของ Ramsey แล้วภาระสว่นเกินภาษีรวมคือ

ภายใต้เง่ือนไขของการเก็บรายได้ภาษีเท่ากับ

22 )())((21)())((

21

yyyxxx tyPtxPW

yyxx tyPtxPR )()(

22

กฎสว่นกลับของอัตราภาษีกับความยดืหยุน่ดังนัน้ภายใต้เง่ือนไขของการเก็บภาษีที่มภีาระสว่น

เกินน้อยที่สดุทำาใหไ้ด้สมการ objective คือ

โดย subject to

22 )())((21)())((

21

yyyxxx tyPtxPMin

yyxx tyPtxPR )()(

23

ตัง้สมการ Lagrangian equation ได้คือ

Set หาค่า multiplier ได้

และ

กฎสว่นกลับของอัตราภาษีกับความยดืหยุน่

])()([)())((21)())((

21 22

yyxxyyyxxx tyPtxPRtyPtxP

0)()]())((21[2

xPtxPt xxxxx

0)()]())((21[2

yPtyPt yyyyy

24

จาก

ได้

และจาก

ได้

กฎสว่นกลับของอัตราภาษีกับความยดืหยุน่

)())()(( xPtxP xxxx

)())()(( yPtyP yyyy

)( xx t

)( yy t

25

ดังนัน้

ท้ายท่ีสดุจะได้วา่

ซึ่งคือกฎ inverse elasticity rule นัน่เอง

กฎสว่นกลับของอัตราภาษีกับความยดืหยุน่

)()( yyx ttx

x

y

y

x

tt

26

การประยุกต์เรื่องความเท่าเทียมภายใต้กฎ Ramsey

จำาเป็นต้องมคีวามสมดลุของปัจจยัสองอยา่ง เพื่อจดัเก็บภาษีกับสนิค้าท่ีเหมาะสม:◦ กฎความยดืหยุน่ The elasticity rule: คือเก็บภาษีกับสนิค้าท่ีมค่ีาความยดืหยุน่ตำ่า

◦ กฎ ฐานภาษีทัว่ไป The broad base rule: อาจ เหมาะสมกวา่หากเก็บภาษีกับสนิค้าทกุๆ ชนิดด้วยอัตรา

ภาษีท่ีตำ่า เพราะภาระสว่นเกินของภาษีจะเพิม่ตามอัตรา ภาษี (พจิารณาจากสตูรภาระสว่นเกิน)

ดังนัน้รฐับาลจงึควรพจิารณาเก็บภาษีกับสนิค้า ทกุๆ ชนิดท่ีสามารถทำาได้ โดยมอัีตราท่ีแตกต่าง

กัน

27

ตัวอยา่งการประยุกต์การจดัเก็บภาษีสนิค้า

หากรฐับาลมกีารอุดหนุนราคาสนิค้าสองชนิด ขา้วโพด กับขา้ว ขณะเดียวกันเก็บภาษีจาก

นำ้ามนัพชืโดยเง่ือนไขตัวอยา่งน้ีแสดงในตารางถัดไป

28

ตารางท่ี 2

อุปสงค์ของสนิค้าต่างๆ

สนิค้า

การอุดหนุ

PriceElasticity

การปรบั

นโยบาย

WelfareGain ขอ้กังวล

ขา้วโพด 40% -0.64

ลดการอุดหนุ

นน้อย

อยา่ลดการอุดหนุน

ขา้ว 40% -2.08

ลดการอุดหนุ

นมาก

ลดการอุดหนุน

นำ้ามนัพชื -5% -2.33 ลดภาษี มากลดภาษีมากขึน้

ภายใต้ค่าความยดืหยุน่ท่ีปรากฏต้องมกีารเปล่ียนนโยบายต่อสนิค้าต่างๆ

29

ตัวอยา่งการประยุกต์การจดัเก็บภาษีสนิค้า

จากตารางพบวา่การอุดหนุนทำาใหเ้กิดการบดิเบอืนการบรโิภค ในสนิค้าขา้วโพด และขา้วสงู เพราะมคีวามยดืหยุน่สงู เมื่อมี

การอุดหนุนจากรฐับาลทำาราคาตำ่ากวา่ควร ประชาชนจงึหนั มาบรโิภคขา้วโพด และขา้วมาก ก่อใหม้คีวามไมม่ปีระสทิธภิาพ

สงูขณะเดียวกันการก็บภาษีจากนำ้ามนัพชืก็ทำาใหม้ภีาระสว่นเกินอยูแ่ล้ว

หากใชก้ฎของ Ramsey’s ขอ้เสนอในการปรบัปรุงราคาท่ี กำาหนดจงึมขีอ้เสนอวา่ การปฏิรูปภาษีควรเพิม่ประสทิธภิาพ

และเป็นกลางในการจดัเก็บรายได้: นัน่คือการลดภาษีกับ นำ้ามนัพชื และลดการสญูเสยีรายได้จากการนำาไปอุดหนุนสนิ

ค้าอ่ืนๆ ในท่ีน้ีคือขา้วโพด และท่ีสำาคัญคือ สนิค้าขา้ว ต้องลดลง

30

ตัวอยา่งการประยุกต์การจดัเก็บภาษีสนิค้า

ปัญหาการกระจายรายได้ที่อาจเก่ียวขอ้งกับการปฏิรูปภาษี

โดยสนิค้า นำ้ามนัพชื และขา้วโพดอาจเป็น สนิค้าที่บรโิภคโดยผู้มรีายได้น้อยเป็นสำาคัญ

แต่ขา้วอาจบรโิภคโดยประชาชนทัว่ไปทกุระดับ ชัน้รายได้ หากเป็นกรณีดังกล่าว การลด

อุดหนุนขา้วโพดอาจทำาได้ยากลำาบาก และอาจไมค่วรจะต้องลดการอุดหนุนเพยีงเพื่อลด

ปัญหาความไมม่ปีระสทิธภิาพเท่านัน้ (แต่ต้องคำานึงประเด็นความเท่าเทียมประกอบด้วย)

31

เราสามารถประยุกต์การเก็บภาษีที่เหมาะสมกับการคิดอัตราค่าธรรมเนียมบรกิารของรฐับาลจาก

ประชาชนได้ โดยลักษระการใหบ้รกิารของรฐับาล มกัเป็นรูปแบบผูกขาดตามธรรมชาติ (natural

monopolist) เชน่ไฟฟา้ นำ้าประปา ฯลฯ เพราะ เป็นการลงทนุที่มี sunk cost สงู แต่อัตรา ต้นทนุสว่นเพิม่ตำ่า (marginal cost) ซึ่งหากให้

เอกชนดำาเนินการอาจทำาไมไ่ด้เนื่องจากใชท้นุเริม่ ต้นจำานวนมาก แต่หากทำาได้จะมกีำาไรสว่นเกินสงู

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม

32

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม

DzMRz

ราคา

ปรมิาณ

ACz

MCz

สงัเกตไุด้จากรูปวา่เป็นการผูกขาดเพราะ MC > AC เสมอ ดังนัน้ ยิง่มกีารขนาดการใหบ้รกิาร จะยิง่ได้รบัผลตอบแทนมากขึ้น

33

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม

DzMRz

ราคา

ปรมิาณ

ACz

MCz

Pm

ACm

การคิดราคาตามประสทิธภิาพสงูสดุ MC = MR ได้กำาไรสว่นเกิน เท่ากับ พื้นท่ีสเีขยีว

Zm

34

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม

DzMRz

ราคา

ปรมิาณ

ACz

MCz

หากคิดราคาตามต้นทนุเฉล่ียคือท่ี P = AC จะไมม่กีำาไรสว่นเกิน และไมข่าดทนุ ทำาได้เพยีงคุ้มทนุเท่านัน้

Pa

Za

35

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม

DzMRz

ราคา

ปรมิาณ

ACz

MCz

หากคิดราคาตามต้นทนุสว่นเพิม่ คือท่ี MC = P ทำาใหส้ามารถ ใหบ้รกิารได้มากท่ีสดุแก่ประชาชน แต่จะประสบกับการขาดทนุอยูด่ี

P*

Z*

36

การประยุกต์การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม ด้วยวธิกีารตัง้ราคาบรกิารสาธารณะทัง้ 3 รูปแบบจงึพบวา่รฐับาลต้องกำากับการกำาหนดราคาและปรมิาณใหบ้รกิารที่มี

ประสทิธภิาพ เพื่อ◦ไมใ่หม้กีำาไรสว่นเกินมากเกินไป◦หากยอมใหก้ารขาดทนุเกิดขึ้นต้องได้รบัการชดเชย

กรณีท่ีมกีำาไรสว่นเกินสงู แต่ปรมิาณใหบ้รกิารไมม่ี ประสทิธภิาพรฐับาลจงึต้องดำาเนินการเอง เชน่ ไฟฟา้ นำ้าประปา

ฯลฯ กรณีท่ียอมคิดราคาตำ่ากวา่ต้นทนุ ปัญหาคือการเก็บภาษีแบบ

เหมาจา่ยที่ไมท่ำาใหร้าคาถกูบดิเบอืน เป็นเรื่องยากในทางปฏิบติั และจะจดัเก็บภาษีจากใคร หากคำานึงความเสมอภาคแท้จรงิ

แล้ว อาจต้องนำาหลัก Benefit received principle มา รว่มพจิารณา เพราะผู้ได้ประโยชน์เป็นผู้รบัภาระ

37

การกำาหนดอัตราค่าใชบ้รกิารสาธารณะท่ีเหมาะสม กับกฎของ Ramsey

จากแนวคิดราคาค่าบรกิารสาธารณะ หากนำาแนวคิดของ Ramsey มาประกอบ จะพบวา่การใหบ้รกิารของรฐัวสิาหกิจต่างๆ เสมอืนหนึ่ง

เป็นสนิค้าชนิดต่างๆ การคิดค่าธรรมเนียมบรกิารคือการเก็บภาษีนัน่เอง

เมื่อต้องการเก็บรายได้จากบรกิารต่างๆ อยา่งเป็นธรรมจงึทำาใหอั้ตราค่าบรกิารระหวา่งประเภทของบรกิารสาธารณะสามารถประยุกต์ใชก้ฎ

ของ Ramsey ได้คือ กฎสว่นกลับของค่าความยดืหยุน่แต่ในกรณีนี้บรกิารท่ีมค่ีาความยดืหยุน่ตำ่าอาจเป็นบรกิารท่ีประชาชน

ไมม่ทีางเลือกอ่ืน แมจ้ะมค่ีาบรกิารสงูเท่าไรก็ตามก็ต้องบรโิภค ดังนัน้ขอ้เสนอสำาคัญหนึ่งในทางปฏิบติั คือการคิดราคาท่ีเท่ากับ

ต้นทนุเฉล่ีย เพราะเป็นการกระจายภาระค่าบรกิารสาธารณะกับบรกิาร ของรฐับาลในทกุๆ ประเภทของบรกิาร

38

ภาษีเงินได้ท่ีเหมาะสม OPTIMAL INCOME TAXES

ภาษีเงินได้ท่ีเหมาะสม คือการเลือกอัตรา ภาษีตามระดับชัน้รายได้ที่ทำาใหไ้ด้รบั social

welfare สงูสดุ ภายใต้ขอ้จำากัดที่วา่รายได้ รฐับาลสามารถจดัเก็บได้ตามต้องการ

choosing the tax rates across income groups to maximize social welfare subject to a government revenue requirement.◦ปัญหาสำาคัญในกรณีนี้คือการวเิคราะหค์วามเท่าเทียมแนวตัง้

39

ตัวอยา่งการวเิคราะห์Optimal income taxes

สมมุติใหม้ขีอ้กำาหนดดังนี้:◦ ประชาชนทกุๆ คนมี utility เหมอืนกันหมด◦ โดยมี Diminishing marginal utility of income คือรายได้

เพิม่ขึ้น ทำาให้MUI ลดลง◦ มรีายได้ทัง้หมดคงท่ี◦ ทัง้นี้สมการอรรถประโยชน์เป็นแบบ Utilitarian social welfare

function ภายใต้ระบบการเก็บภาษีเงินได้ท่ีเหมาะสมทำาใหท้กุๆ คนมเีงินได้เท่ากันหลังการเก็บภาษี◦ หมายความวา่ หากใครมรีายได้เกินกวา่ค่าเฉล่ียจะถกูเก็บภาษีท่ีมี

marginal tax rate 100%◦ สดุท้ายกำาหนดใหร้ายได้รวม (labor supply) อยูค่งท่ี

40

ภาษีท่ีเหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน

โดยหลักแล้วจะมกีาร tradeoff ระหวา่งความมีประสทิธภิาพและความเท่าเทียมเสมอในการเก็บภาษี

การเพิม่การจดัเก็บภาษียอ่มทำาใหม้ผีลต่อฐานของภาษีใน แง่ท่ีผู้เป็นฐานภาษีจะพยายามหลีกเล่ียงภาระภาษี ทำาใหม้ี

การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ตัวอยา่งการเพิม่ภาษีกับรายได้ของแรงงานจะมผีลสองประการ:◦ รายได้ภาษีท่ีจดัเก็บเพิม่ขึ้น ณ ระดับรายได้ของแรงงานท่ี

กำาหนด แต่ขณะเดียวกัน◦ เพราะภาษีท่ีเพิม่ขึ้น แรงงานจงึลดการหารายได้ ทำาใหม้รีายได้ภาษีลดลง

ในชว่งท่ีมอัีตราภาษีสงู อิทธพิลด้านท่ี สอง จะมคีวาม สำาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ตามอัตราภาษีท่ีเพิม่ขึ้น

41

ภาษีท่ีเหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน

เสน้ Laffer curve เป็นเสน้ที่แสดงความสมัพนัธด์ังกล่าว และถกูใชเ้ป็นเครื่องมอืการ

จดัการด้าน supply side ในบางชว่งเวลา เสน้ Laffer Curve แสดงใหเ้หน็วา่รฐับาล

ไมส่ามารถเพิม่อัตราภาษีได้ตลอดเวลา เพราะ การเพิม่อัตราภาษีสงูเกินไป ทำาใหฐ้านภาษีจะ

หลบเล่ียงการเสยี และรายได้ภาษีอาจไมไ่ด้เพิม่ตามท่ีคาดการณ์

42

อัตราภาษี

รายได้ภาษี

τ*%0 100%

ด้านท่ีควรจะเป็น ไมค่วรเป็น

Figure 7เสน้ Laffer curve ณ จุดสงูสดุการเพิม่อัตราไมท่ำาใหร้ายได้ภาษีเพิม่ขึ้น

43

ภาษีท่ีเหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน

เป้าหมายของภาษีท่ีเหมาะสมคือการวเิคราะหท่ี์สามารถแสดง โครงสรา้งภาษีท่ีทำาใหส้วสัดิการสงัคมสงูสดุ พรอ้มกับรายได้

ภาษีสงูท่ีสดุด้วยซึ่งเง่ือนท่ีสามารถทำาใหไ้ด้เป้าหมายการเก็บภาษีดังกล่าวสามารถแสดงเง่ือนไขการเก็บภาษีได้คือ:

โดย MUi คือ the marginal utility ของบุคคลทัว่ไปท่ี i และ MR คือ marginal revenue จากบุคคลต่างๆ

MUMR

i

i

44

Optimal income taxesAn example

As with optimal commodity taxation, this outcome represents a compromise between two considerations:◦Vertical equity◦Behavior responses

Figure 8 shows that optimal income taxation equates this ratio across individuals, leading to a higher tax rate for the rich.

45

อัตราภาษี

MU/MR

10% 20%

richpoor MRMU

MRMUλ

คนจนคนรวย

รูปท่ี 8

ภาษีเงินได้ท่ีเหมาะสมทำาให้(MU/MR) เท่ากันสำาหรบัทกุๆ คน

top related