31 0027-ch2

36
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ บทที2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาวิจัยครั้งนีพบวามีแนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวกับความรูและความคิดเห็นใน การมีสวนรวมทางการเมืองขอประชาชนเปนจํานวนมาก ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชในการวิจัยได ฉะนั้นผูวิจัยไดศึกษาองคความรู แนวความคิดเห็น ทฤษฎี และรวบรวมเอกสารและงานวิจัยทีเกี่ยวของกับการมีสวนรวมทางการเมือง ดังนี1. แนวความคิดเกี่ยวกับความรูและความเขาใจ 2. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับปจจัย 3. การมีสวนรวมทางการเมือง 4. การปกครองสวนทองถิ่น 5. ขอมูลทั่วไปของเทศบาลตําบลหวยออ 6. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวความคิดเกี่ยวกับความรูและความเขาใจ ประสาท หลักศิลา (2511:390) อธิบายวา มติหรือความรูความเขาใจตาง ของคนเรา นั้นเกิดจากการปะทะสังสรรคประจําวันของคนเรา แตเราก็มีภูมิหลังทางสังคมจํากัด ภูมิหลังทาง สังคมของแตละคนยอมเปนผลถึงการที่คนเรากระทําตอบสนองตอเหตุการณและเกิดความรูความ เขาใจเกี่ยวกับเหตุการณนั้น อุทัย หิรัญโต (2519:31) มีความเห็นวา ความรูความเขาใจของคนมีหลายระดับคือ อยาง ผิวเผินก็มี อยางลึกซึ ่งก็มีสําหรับความรูความเขาใจที่เปนทัศนคตินั้นเปนความรูความเขาใจอยาง ลึกซึ้งและติดตัวอยูเปนเวลานาน เปนความรูความเขาใจทั่วไปไมเฉพาะอยาง และมีอยูเปนเวลาอัน สั้น เรียกวา Opnion ซึ่งเปนความรูความเขาใจประเภทหนึ่งที่ไมตองตั้งอยูบนรากฐานของ พยานหลักฐานที่เพียงพอตอการพิสูจนมีความรูสึกแหงอารมณนอยและเกิดขึ้นไดงายแตก็สลายตัว เร็ว

Upload: net-thanagon

Post on 12-Nov-2014

192 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

บทที่ 2 เอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ในการศึกษาวจิัยคร้ังน้ี พบวามีแนวคิดและทฤษฏีทีเ่ก่ียวกับความรูและความคิดเห็นใน

การมีสวนรวมทางการเมืองขอประชาชนเปนจํานวนมาก ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชในการวิจัยได ฉะนั้นผูวิจัยไดศึกษาองคความรู แนวความคิดเห็น ทฤษฎี และรวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของกับการมีสวนรวมทางการเมือง ดังน้ี

1. แนวความคิดเกี่ยวกับความรูและความเขาใจ 2. แนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับปจจัย 3. การมีสวนรวมทางการเมือง 4. การปกครองสวนทองถิ่น 5. ขอมูลทั่วไปของเทศบาลตาํบลหวยออ 6. ผลงานวิจัยที่เก่ียวของ

แนวความคิดเกี่ยวกับความรูและความเขาใจ

ประสาท หลักศิลา (2511:390) อธิบายวา มติหรือความรูความเขาใจตาง ๆ ของคนเราน้ันเกิดจากการปะทะสังสรรคประจาํวันของคนเรา แตเราก็มีภูมิหลังทางสังคมจาํกัด ภูมิหลังทางสังคมของแตละคนยอมเปนผลถึงการที่คนเรากระทําตอบสนองตอเหตุการณและเกิดความรูความเขาใจเก่ียวกับเหตุการณน้ัน

อุทัย หิรัญโต (2519:31) มีความเห็นวา ความรูความเขาใจของคนมีหลายระดับคือ อยางผิวเผินก็มี อยางลึกซ่ึงก็มีสําหรับความรูความเขาใจที่เปนทัศนคติน้ันเปนความรูความเขาใจอยางลึกซ้ึงและติดตัวอยูเปนเวลานาน เปนความรูความเขาใจทั่วไปไมเฉพาะอยาง และมอียูเปนเวลาอันส้ัน เรียกวา Opnion ซ่ึงเปนความรูความเขาใจประเภทหนึ่งที่ไมตองตั้งอยูบนรากฐานของพยานหลักฐานที่เพียงพอตอการพิสูจนมีความรูสึกแหงอารมณนอยและเกิดขึ้นไดงายแตก็สลายตวัเร็ว

Page 2: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

10

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2520 : 16) ไดกลาวถึงความรูไววา ความรูในที่น้ีเปนพฤติกรรมเบื้องตน ซ่ึงผูเรียนเพียงแตจําได อาจจะโดยมีการนึกไดหรือโดยการมองเห็น หรือไดยินก็จําไดความรูในข้ันน้ีไดแก ความรูเก่ียวกับคําจํากัดความ ความหมายขอเท็จจริง ทฤษฎี กฎ โครงสราง วิธีการแกไขปญหา มาตรฐาน เปนตน จะเห็นไดวาการจาํไดหรือระลึกไดน้ีไมไดใชกระบวนการของการใชความคิดที่ซับซอน หรืออาจกลาวไดวาไมไดใชความสามรถของสมองมากนัก ซ่ึงเปนระดับของพฤติกรรมขั้นตน

สงวน สุทธิเลิศอรุณ และคณะ(2522:99) กลาววา ความรูความเขาใจเปนสภาพจิตใจความรูสึกนึกคิดของบุคคลตอส่ิงใดสิ่งหน่ึง โดยที่ยังไมแสดงพฤติกรรอยางหนึ่งอยางใดออกมาเปนที่ปรากฏตอบุคคลและสาธารณชน

สุชา จันทนเอม และสุรางค จันทนเอม (2524:104) อธิบายไดวา ความรูความเขาใจเปนความรูสึกของบุคคลที่มีตอส่ิงใดสิ่งหน่ึง คนเรามีความรูความเขาใจแตกตางกันออกไปและความรูความเขาใจเปนสวนของทัศคติ

สุนันท ประเสริฐจิต (2529:27-28) ไดอธิบายความหมายของความรูความเขาใจไววา ความรู หมายถึง พฤติกรรมและสถานการณตาง ๆ ซ่ึงเนนการจําไมวาจะเปนการระลึกถึงหรือระลึกไดก็ตาม เปนสถานการณที่เกิดขึ้นอันเน่ืองมาจากการเรียนรู โดยความรูน้ีอาจแยกออกเปนความรูเฉพาะสิ่ง ความรูในเร่ืองระเบียบการและความรูเร่ืองสากล เปนตน

สวนความเขาใจ หมายถึง ความสามารถทางปญญาและทักษะ อันไดแก 1. ความสามารถที่จะใหความหมายของคํา(การแปล) 2. ความสามรถในการเขาใจ ความหมายของการคิด (การตีความ) 3. ความสามรถในการคาดคะเนถึงส่ิงที่จะเกิดขึ้นไดจาการกระทํา (การประเมินคา) ดังน้ันบุคคลจะมีความเขาใจในเรื่องใดเรื่องหน่ึงจะตองมีองคประกอบทั้ง 3 น้ี ดังน้ันจากความหมายขางตนประมวลความเห็นของนักวิชาการหลาย ๆ ทาน สรุปไดวา

ความรูความเขาใจ หมายถึง การแสดงออกของบุคคลที่มีตอส่ิงใดสิ่งหน่ึงซ่ึงมีผลมาจากความเชื่อ ความคิดเห็นและทัศนคติ โดยตองอาศัยพ้ืนความรู ประสบการณและพฤติกรรมระหวางบุคคลเปนเครื่องชวยในการตัดสินใจแสดงอออกมา

Page 3: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

11

แนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับปจจัยการมีสวนรวม ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนของประชาชน นักวิชาการไดมีทัศนะของแตละทานไว ดังน้ี นิรันดร จงวุฒิเวศน (2527 : 17) กลาวถึง ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมไว ดังน้ี 1. ความศรัทธา ที่มีผลตอความเชื่อถือบุคคลสําคัญและสิ่งศักด์ิทําใหประชาชนมีสวน

รวมในกิจกรรมตาง ๆ เชน การลงแขก การบําเพ็ญ – ประโยชน การสรางโบสถวิหาร ฯลฯ 2. ความเกรงใจที่มีตอบุคคลที่เคารพนับถือหรือมีเกียรติยศตําแหนงทําใหประชาชนเกิด

ความเกรงใจทีจ่ะมีสวนรวมดวย ทั้ง ๆ ที่ยังไมมีความศรัทธาหรือความเต็มใจอยางเต็มเปยมที่จะกระทํา เชน ผูใหญออกปากขอแรงผูนอยก็ชวยออกแรง ฯลฯ

3. อํานาจบังคับที่เกิดจากบุคคลที่มีบุคคลที่มีอํานาจเหนือกวาทําใหประชาชนถูกบีบบังคับใหมีสวนรวมในการกระทําตาง ๆ เชน บีบบังคับใหทํางานเยี่ยงทาส ฯลฯ

กาญจนา แกวเทพ และกนกศักด์ิ แกวเทพ (2530 : 217 – 218) ไดกลาวไววา ปจจัยของการมีสวนรวมของประชาชนขึ้นอยูกับ

1. ความเชื่อม่ันในศักยภาพของตนเอง วาสามารถจะชวยตนเอง พรอมชวยเหลือผูอ่ืนไดและจะตองแสดงศักยภาพจะเขารวมตอการพัฒนา

2. โครงสรางเศรษฐกิจตาง ๆ ท่ีมีเงื่อนไขแบบเศรษฐกิจเปนขอเรียกเบื้องตนที่ทําให คนจนไมสามารถเขามาสวนรวมได

3. หนวยครอบครัวมีความเขาใจในเรื่องการมีสวนรวม จะมีตอการมีสวนรวมและ การควบคุมจากเบื้องลางมีผลตอการมีสวนรวมของประชาชนอยางตอเน่ือง ซึ่งก็คือ พลังทางสังคม ไดแก มาตรการทางสังคม วัฒนธรรม ศาสนา เปนตน

4. การใหอิสระแกกลุมชาวบานท่ีจะตัดสินใจดวยกันในกิจกรรมตาง ๆ จะสรางความเช่ือม่ันในศักยภาพที่มีอยูในตนเองใหเกิดข้ึนในหมูชาวบาน

5. การตัดสินใจรวมกลุมไมไดเปนหลักการตามเหตุผลของการเก็งกําไรผลประโยชนสูงสุดทางวัตถุ หากแตตัดสินใจเขารวมบนพื้นฐานคุณคาอยางอื่นผลประโยชนทางวตัถุเปนสิ่งที่ตามมา

อนุภาพ ถิรลาภ (2528 : 25 – 26) ไดกลาวถึงปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมของประชาชนไว ดังน้ี

1. ความเกรงใจผูที่มีสถานภาพที่สูงกวา 2. ความตองการเปนกลุมพวก 3. ความเชื่อถือในตัวผูนํา 4. ความใกลชิดกับเจาหนาท่ีรัฐ 5. การคํานึงถึงผลประโยชนตอบแทน

Page 4: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

12

6. การยอมรับแบบอบาง 7. ความไมพอใจตอสภาพแวดลอม 8. การยอมรับในอํานาจ 9. ฐานะเศรษฐกิจ กูดอีนาฟ (Goodenough.1996 : 12) [ออน-ไลน] กลาววาการมีสวนรวมของประชาชน

เกิดขึ้นเมื่อพวกเขาเรียนรูถึงประโยชนท่ีพวกเขาไดรับจากการเขามามีสวนรวมซึ่งเกิดจากการแลกเปลี่ยนกันระหวางผูเขารวมดวยกันหรือการไดรับความชวยเหลือจากผูเขารวมคนอื่นๆ

โคเฮน และฮัพฮอฟฟ (Kohen and Haphopp. 1977 : 17 – 19) [ออน-ไลน] เสนอบริบทของการมีสวนรวมวาในการพิจารณาการมสีวนรวมจะตองคํานึงถึงปจจัยสภาพแวดลอม ซ่ึงมีความซับซอนอยางมาก ดังน้ี

1. ปจจัยทางกายภาพและชวีภาพ 2. ปจจัยทางเศรษฐกิจ 3. ปจจัยดานการเมือง 4. ปจจัยทางสงัคม 5. ปจจัยทางดานวัฒนธรรม 6. ปจจัยทางดานประวัติศาสตร โคเฮน และฮัพฮอฟฟ (Kohen and Haphopp. 1977 : 17 – 19) [ออน-ไลน]ไดเสนอ

เพ่ิมเติมวามี บุคคล 4 ฝาย ที่มีสวนสําคัญในการมีสวนรวมในโครงการพัฒนา ประกอบดวยประชาชนในทองถิ่น ผูนําทองถิ่น เจาหนาที่รัฐและบคุคลภายนอก สําหรับการมีสวนรวมของประชาชนนั้นมีปจจัยหลายอยางที่มีสวนเกี่ยวของกับการมีสวนรวม ไดแก

1. อายุและเพศ 2. สถานภาพในครอบครัว 3. ระดับการศึกษา 4. สถานภาพทางสังคม 5. อาชีพ 6. รายไดและทรัพยสิน 7. พ้ืนที่ดินถือครองและสถานภาพการทํางาน ดังน้ันจากความหมายขางตนประมวลความเห็นของนักวิชาการหลาย ๆ ทาน สรุปไดวา

ปจจัยมีสวนรวม หมายถึง ความศรัทธา ความเกรงใจทีม่ีตอตัวบุคคล อํานาจบังคับ เศรษฐกิจ การยอมรับ วัฒนธรรม และลักษณะสวนบุคคล ไดแก อายุ เพศ สถานภาพครอบครัว ระดับการศึกษา สภาพทางสังคม อาชีพ รายได เปนปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวม

Page 5: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

13

การมีสวนรวมทางการเมือง การมีสวนรวมทางการเมือง ( Political Participation ) ถือเปนหลักสําคัญหรือหัวใจสําคญั

อยางหนึ่งของการพัฒนาดานการเมือง อยางไรก็ตามไดมีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของคําวาการมีสวรวมทางการเมืองไวมากมาย โดยเฉพาะในวงวิชาการทางรัฐศาสตร โดยใหคําจํากัดความของการมีสวนรวมทางการเมือง ดังน้ี

บัณฑร ออนคํา (2521 : 12-16) กลาวถึงการมีสวนรวมทางการเมืองวา เปนการระดมประชาชนใหเขามามีสวนรวมตัดสินใจในการแกปญหา ลําดับความสําคัญของปญหา การแกปญหาและขั้นตอนในการแกปญหาของตน แนวคิดเร่ืองการมีสวนรวมของประชาชนนี้ มีสมมติฐานวาถาประชาชนมสีวนรวมในการตัดสินในเรื่องตาง ๆ แลวประชาชนยอมยินดีใหความรวมมือหรือมีพันธกรณีในเร่ืองน้ัน ๆ

พัฒน สุขจํานงค และคณะ (2524 : 22) กลาววา การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนมีความสําคัญและจําเปนมากตอความสําเรจ็ของงานพัฒนาชุมชน ประชาชนควรมีสวนรวมตามกระบวนการพัฒนาชุมชน คือ การรวมคิด รวมวางแผน รวมตัดสินใจและการรวมในการปฏิบัติทุกระยะ

ยุวัฒน วุฒิเมธี (2526 : 20) ใหความหมาย การมีสวนรวมทางการเมือง หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนไดมีสวนรวมในการคิดริเริ่ม การพิจารณา ตดัสินใจ การรวมปฏิบัติและรวมรับผิดชอบในเรื่องใด ๆ อันมีผลกระทบถึงตัวประชาชน การที่สามารถทาํใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาเพ่ือแกไขปญหาและนํามาซึ่งสภาพความเปนอยูของประชาชนที่ดีขึ้น

ไพรัตน เตชะรินทร (2527 : 6-7)การมีสวนรวม หมายถึง กระบวนการที่รัฐบาลทาํการสงเสริม ชักนํา สนับสนุน และสรางโอกาสใหกับประชาชนในทองถ่ินทั้งในรูปแบบสวนบุคคล กลุมชมรม สมาคม มูลนิธิ และองคการรปูแบบตางๆ ใหเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานเรื่องใดเรื่องหน่ึงหรือหลายเรื่องรวมกัน ใหบรรลุตามวตัถุประสงค และนโยบายการพัฒนาที่กําหนดไว

นิรันด จงวุฒิเวศนย (2527 : 183 – 186) ไดกลาววาการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน หมายถึง การเก่ียวของทางดานจิตใจแลอารมณ ของบุคคลหน่ึงในสถานการณกลุมซ่ึงผลของการเก่ียวของดังกลาวเปนเหตุเราใหกระทําใหบรรลุจุดมุงหมายของกลุมนั้น ทั้งยังทําใหเกิดความรูสึกรวมรับผิดชอบกับกลุมน้ันดวย นอกจากนี้ยังไดกลาวถึงเงื่อนไขของการมีสวนรวมวามีอยางนอย 3 ประการ ดังน้ี

1. ประชาชนตองมีอิสรภาพที่จะมีสวนรวม 2. ประชาชนตองสามารถที่จะมสีวนรวม 3. ประชาชนตองเต็มใจที่จะมีสวนรวม

Page 6: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

14

ดุษฎี อายุวัฒนและคณะ (2535 : 35) การมีสวนรวม หมายถึง เปนการเปดโอกาสใหเขารวมในการดําเนินงานตั้งแตกระบวนการเบื้องตนจนถึงกระบวนการสิ้นสุด โดยที่การเขารวมอาจจะเขารวมในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งหรือครบวงจรก็ไดการเขารวมมีทั้งรายบุคคลกลุมหรือองคกรซ่ึงมีความคิดเห็นสอดคลองกันการรับผิดชอบรวมกัน เพ่ือดําเนินการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางทีต่องการโดยการกระทาํผานกลุมหรือองคกร เพ่ือใหบรรลุถึงการเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค

จากคาํจาํกัดความขางตน จะสามารถสรุปความหมายของการมีสวนรวมของประชาชนไดวา หมายถึง กระบวนการที่สมาชิกของกลุม มีความสมัครใจในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ เพ่ือเปาหมายที่ตองการรวมกัน โดยมีองคประกอบที่สําคัญ ดังน้ี

1. การที่ประชาชนไดมีโอกาสเขามาเกี่ยวของการตัดสินใจและการดําเนินการรวมกับภาครัฐ

2. โอกาสระดับที่รัฐจะเปดโอกาสใหกับประชาชนเขามามีสวนรวม 3. ความตระหนักและตื่นตัวของประชาชนที่จะเขามามสีวนรวม นภดล นาประสิทธิ์ชัย (2538 : 17) อธิบายวา การมีสวนรวมทางการเมืองมีความหมาย

หลายประการดวยกัน ความหมายกวาง ๆ คือ กิจกรรมของประชาชนทุกระดับของระบบการเมือง เชน ผูลงคะแนนเสียงเลือกต้ังเขามามีสวนรวมทางการเมือง โดยการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การสวนรวมทางการเมืองโดยการรับเลือกต้ัง หรือ การพูดคุยสนทนาแสดงความคิดเห็นในเรื่องเก่ียวกับทางการเมืองและบางครั้งถอยคําน้ันสามารถใชกับการเมืองมากกวากิจกรรม เชน ประชาชนเขามีสวนรวมโดยใหความสนใจตอการเมืองและในบางครั้งยังหมายถึงการมีสวนรวมนอกระบบการเมือง ยกตัวอยางเชน ครอบครัว โรงเรียน เปนตน

จรูญ สุภาพ (2543 : 24) ไดนิยามความหมายของการมสีวนรวมทางการเมืองวา คือการมีสวนรวมที่ประชาชนจะพึงมีในการกําหนดนโยบาย ในการตัดสินใจและในกิจกรรมตาง ๆ ของรัฐบาลและในทางการเมือง หรือการมีสวนรวมของประชาชนในรัฐบาล เชน การเขาเปนรัฐบาล การมีอิทธิพลตอรัฐบาล การแสดงความคดิเห็นทางการเมือง เปนตน

กลาวโดยสรุป การมีสวนรวมทางการเมือง หมายถึง พฤติกรรม หรือ การเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ทางการเมืองที่ถูกตองโดยความสมัครใจของสมาชิกในสังคม ตามทีก่ฎหมายไดบัญญัติไวเก่ียวกับการมีสวนรวมทางการเมือง เชน การแสวงหาติดตามขาวสารทางการเมือง การเขารวมชุมนุมทางการเมือง การออกเงินเพ่ือชวยเหลือหรือสนับสนุนนักการเมือง การติดกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎร การลงทะเบียนเพ่ือสมัครเขาเปนสมาชิกพรรคการเมือง การชักจูงใหประชาชนไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง การเขียนคําปราศรัย การรณรงคหาเสียง การสนทนาพูดคุยเกี่ยวกับการเมือง และรวมถึงการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองหรือการแสดงพลังทางการเมือง

Page 7: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

15

ลักษณะของการมีสวนรวม ลักษณะการมีสวนรวมท่ีแทจริงและสมบูรณจะตองประกอบดวยกระบวนการ 4

ขั้นตอน คือ (ปรัชญา ศรีภา. 2540 : 33) 1. การวางแผน (planning) เปนการเขามสีวนรวมในการวิเคราะหปญหาและจัดลําดับ

ความสําคัญของปญหา ตั้งเปาหมาย กําหนดการใชทรัพยากร กําหนดวิธีการติดตามประเมินผล และประการสําคัญคือ การตดัสินใจ

2. การดําเนินกิจกรรม (implementation) เปนการเขามีสวนรวมในการจัดการและบริหารในการใชทรัพยากร มีความรับผิดชอบในการจัดสรรงบประมาณ และการบรหิาร

3. การใชประโยชน (utilization) เปนการเขามีสวนรวมในการนําเอากิจกรรมมาใชใหเกิดประโยชน ซ่ึงเปนการเพ่ิมระดับการพึ่งพาตนเอง และการควบคุมทางสังคม

4. การไดรับผลประโยชน (obtaining benefits) เปนการเขามีสวนรวมในการแจกจายผลประโยชน จากชุมชนทองถิ่นในพื้นฐานที่เทากัน ซึ่งจะเปนผลประโยชนสวนตัว สังคมหรือวัตถุก็ได

ไพรัตน เดชะรินทร (2527 : 6–7) ไดกลาวถึง ข้ันตอนการมีสวนรวมในการดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงค ของนโยบายพัฒนาคือ

1. รวมทําการศึกษาคนควาถึงปญหาและสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน รวมถึงความตองการของชุมชน

2. รวมคนหาและสรางรูปแบบและวิธีการพัฒนาเพ่ือแกไขและลดปญหาของชุมชนรวมถึงความตองการของชุมชน

3. รวมวางนโยบายหรือแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม เพ่ือสนองตอปญหาและความตองการของชุมชน

4. รวมตัดสินใจในการใชทรัพยากรที่มีจํากัดใหเปนประโยชนตอสวนรวม 5. รวมจัดหรือปรับปรุงระบบการบริหารงานพัฒนาใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 6. รวมลงทุนในกิจกรรมโครงการในชุมชนตามขีดความสามารถของตนเองและของ

หนวยงาน 7. รวมปฏบิัติงานตามนโยบายหรือแผนงานโครงการและกิจกรรมใหบรรลุตาม

เปาหมายที่วางไว 8. รวมควบคมุ ติดตาม ประเมินผล และรวมบํารุงรักษาโครงการและกิจกรรมท่ีไดทํา

ไวโดยเอกชนและรัฐบาลใหใชประโยชนไดโดยตลอดไป

Page 8: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

16

ฉอาน วุฒิกรรมรักษา (2526 : 57–63) ไดจัดลําดับขั้นตอนของการมีสวนรวมตางๆ ไวดังน้ี

1. การรวมประชุม 2. การออกความคิดเห็น 3. การตีปญหาใหกระจาง 4. การออกเสียงสนับสนุนหรือคัดคานปญหา

ประโยชนของการมีสวนรวมของประชาชน สุทธนู ศรีไสย (2544 : 12-14) โดยทั่วไปกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนเปน

กระบวนการที่ตองดําเนินการอยางเปนขั้นตอนตอเน่ือง ซ่ึงกอใหเกิดตนทุนในการดําเนินการมากพอสมควรอยางไรก็ตาม ขอดีของการมีสวนรวมคือกอใหเกิดการผลิตนโยบาย และบริการสาธารณะชน เปนการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดสรรทรัพยากรของสาธารณะใหสูงขึ้น โดยการมีสวนรวมของประชาชนกอใหเกิดประโยชนตาง ๆ ดังน้ี

1. เพ่ิมคุณภาพของการตัดสินใจกระบวนการปรึกษาหารือกับสาธารณชนชวยใหเกิดความกระจางในวัตถุประสงค และความตองการของโครงการหรือนโยบายนั้นๆ ไดอยูเสมอ สาธารณชนสามารถที่จะผลกัดันใหเกิดการทบทวนขอสันนิษฐานที่ปดบังอยูซ่ึงอาจจะปดบังไมใหมองเห็นทางออกที่จะมีประสิทธิภาพสูงสุด บอยคร้ังกระบวนการมีสวนรวมประชาชนกอใหเกิดการพิจารณาถงึทางเลือกใหมแทนวิธีการที่ไดเคยใชกันมาในอดีต สาธารณชนมักจะมีขอมูลที่สําคัญซ่ึงทําใหเกิดความแตกตางระหวางโครงการที่ประสบความสาํเร็จและไมประสบความสาํเรจ็

2. ลดคาใชจาในการสูญเสียเวลา โดยทั่วไปกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนเตม็ รูปแบบมักจะสิ้นเปลืองคาใชจายและเสียเวลา แตในทางปฏิบัติแลวการมีสวนรวมของประชาชนมาตั้งแตตนการตัดสินใจอยางใดยางหนึ่งอาจจะดูวาสิ้นเปลือง และเสียเวลากวาที่จะตดัสินใจ ไดแตวาเมื่อตัดสินใจแลวและเมื่อนํามาสูการปฏิบัติอาจจะเปนวิธีกรที่ประหยัดกวาดวยซํ้า การตัดสินใจอยางใดอยางหนึ่งที่ทําไปอยางรวดเร็วและดูเหมือนจะไมส้ินเปลือง อาจจะเสียคาใชจายมากกวาการตดัสินใจนั้นไมไดทําใหเกิดขอตกลงระหวางกลุมหรือความเห็นชอบในกลุมตาง ๆ ที่มีผลประโยชนเก่ียวของได แตกกลบนําไปสูความขัดแยงของประชาชนอยางตอเน่ืองมากขึ้น การมีสวนรวมของประชาชนสามารถเกิดผลในการยอมรับอยางสูงตอการตัดสินใจโดยกลุมซ่ึงมีสวนในการตัดสินใจนั้น ๆ วิธีการน้ีจะชวยลดความขัดแยงระหวางการนําไปปฏิบัติทาํใหเกิดความประหยัดคาใชจายซึ่งโดยทั่วไปมักจะแพงกวาคาใชจายที่เกิดขึ้นจากการจัดทาํหรือดําเนินการใหประชาชนมีสวนรวมในระยะสั้น

Page 9: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

17

3. การสรางฉนัทามติ โครงการมีสวนรวมของประชาชนสามารถที่จะสรางขอตกลงที่มั่นคงและยืนยาวและการยอมรับระหวางกลุมซ่ึงกอนหนาน้ียังกอใหเกิดความเขาใจระหวางคูกรณีลดความขัดแยงทางการเมืองและกอใหเกิดความชอบธรรมในการตัดสินใจของรัฐ

4. ความสาํเร็จและผลของการปฏบิัติโครงการ การมีสวนรวมในการตัดสิใจทําใหคนเรามีความรูสึกถึงความเปนเจาของการตัดสินใจนั้น และครึ่งหนึ่งเมื่อไดรวมตัดสินใจแลวเขาก็ยอมตองการท่ีจะเห็นสิ่งน้ันนําไปปฏิบัติได ไมเพียงแตจะมีความสนับสนุนทางการเมืองตอการปฏิบัติแตกลุมและปจจัยเอกชนอาจรูสึกกระตือรือรนในการที่จะชวยใหเกิดผลในทาปฏิบัต ิ

5. การหลีกเลี่ยงการเผชิญหนาหรือหลีกเลี่ยงความขัดแยงที่รุนแรงความขัดแยงใน โครงการอาจนําไปสูการเปนปฏิปกษอันยากที่จะแกไขกระบวนการมสีวนรวมของประชาชนกอใหเกิดโอกาสที่คูกรณีแจะแสดงความตองการของกลุมเขาและความหวงกังวลที่ปราศจากความรูสึก ที่เปนปฏิปกษการมีสวนรวมของประชาชนตัง้แตตนสามารถลดการเผชิญหนากันอยาง รุนแรงที่อาจจะเปนไปไดอยางไรก็ดีการมีสวนรวมของประชาชนไมใชยาวิเศษมันไมอาจทีจ่ะลดหรอกําจัดความขัดแยงในทุก ๆ กรณีได

6. ความนาเชือ่ถือและความชอบธรรม โดยทั่วไปแลวการมีสวนรวมของประชาชนเปนวิถีทางทีจ่ะนาํไปสูความชอบธรรมและการดํารงอยูของความชอบธรรมโดยเฉพาะอยางย่ิงเมื่อการตัดสินใจกอใหเกิดความขัดแยง ก็คือตองใชกระบวนการตัดสินใจซึ่งโปรงใสและนาเชื่อถือตอ สาธารณชนและซึ่งใหสาธารณชนมีสวนรวม โครงการมีสวนรวมของประชาชนยังกอใหเกิดความเขาใจถึงเหตุผลที่นําไปสูการตัดสินใจน้ัน ๆ

จากที่กลาวมาขางตน จะเห็นถึงประโยชนของการมีสวนรวมที่จะกอใหเกิดการพัฒนามีประสิทธิภาพและย่ังยืน การมีสวนรวมของประชาชนจึงเปนกลไกที่สําคัญในการขับเคลื่อนในสังคมแตยังคงมีคําถามที่เกิดขึ้นคือกลไกหรือเครื่องมือ หรือมาตรการในการสรางใหเกิดการมี สวนรวมของประชาชนเกิดข้ึนอยางเหมาะสมเพียงพอแลวหรือยัง

สิทธิของประชาชนในการเขามามีสวนรวม สิทธิของประชาชนตามหลักปรัชญาของการกระจายอาํนาจใหแกองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น(สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอาํนาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น. 2547 : 19-21) คือ สิทธิอันชอบธรรมของประชาชนที่จะเลือกสภาพชีวิตความเปนอยูที่ตนปรารถนา ดังน้ัน ประชาชนจะตองเรียนรู เขาใจและรักษาสทิธิของตน เพราะประชาชนเปนเจาของสทิธิและเจาของทองถิ่นรวมกัน

Page 10: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

18

ปจจุบันมีกฎหมายหลายฉบับออกมาเพื่อรองรับและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการทํางานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในประเด็นตางๆ ดังน้ี

1. สิทธิการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในทองถิ่น ซ่ึงเทศบาลตองสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดนโยบาย การตัดสินใจทางการเมืองการวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทัง้การตรวจสอบการทํางานทกุระดับ

2. สิทธิในการเลือกตั้งผูบริหารและสมาชกิสภาองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการเลือกตั้งที่จะสงเสริมใหประชาชนในทองที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นเขามามีสวนรวมไดน้ันผูท่ีจะเขามาเปนผูบริหารและสมาชิกองคกรปกครองสวนทองถ่ินจะตองเปนผูพรอมท่ีจะเสียสละใหแกทองถิ่น และในสวนของประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งก็จะตองมีอิสระและไดรับความเสมอภาคในการเลือกผูแทนของตน

3. สิทธิของการมีสวนรวมในการเสนอรางขอบังคับทองถ่ิน เน่ืองจากขอบังคับทองถิ่นเปนกฎหมายที่ออกมาใชบังคับราษฎรในทองถ่ินเพ่ือใหการปฏิบัติหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปตามภารกิจหนาที่ประชาชนหรือราษฎรแตละองคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงเปนองคประกอบสําคัญในการมีสวนรวมในการกําหนดกฎเกณฑใหสอดคลองกับสภาพทองถิ่นของตนซ่ึงในดานกฎหมายไดมีกฎหมายมารองรบัสิทธิและอํานาจของประชาชนในองคกรปกครอง สวนทองถิ่น

4. สิทธิในการถอดถอนนักการเมืองทองถ่ินในองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการ ปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย ประชาชนมิไดมีเพียงแตสิทธิในการเลือกตั้งผูที่จะมาเปนผูแทนของตนเทาน้ันประชาชนยังตองดูแลตรวจสอบสมาชิกสภาและผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ซ่ึงอํานาจที่สําคัญในการตรวจสอบดังกลาว คือ อํานาจรวมกันของประชาชนในการถอดถอนสมาชิกสภาทองถ่ินและผูบริหารทองถิ่นที่ไมสมควรดํารงตําแหนงตอไป

5. สิทธิในการเขาถึงขอมูลขาวสารขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 และกฎหมายขอมูลของราชการไดวางหลักทั่วไปวา ประชาชนสามารถรับรู รับทราบ เขาตรวจดูเอกสารหรือขอมูลขาวสารในรูปแบบอื่นของทางราชการไดเสมอ เพ่ือที่ประชาชนจะสามารถแสดงความคดิเห็นและใชสิทธิทางการเมอืงไดอยางมีประสิทธิภาพซ่ึงในหลักการดังกลาวไดใชครอบคลุมถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่น ดังน้ัน ประชาชนในทองถิ่นยอมสามารถตรวจสอบ รับทราบขอมูลขาวสารไดตามหลักกฎหมาย

Page 11: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

19

6. สิทธิในการมีสวนในการจัดทําแผนพัฒนาองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภายใตรูปแบบองคกรปกครองสวนทองถิ่นจะมีผลเก่ียวของกับชีวิตความเปนอยูของประชาชนในทองถิ่นนั้นดังน้ันการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใหสมเจตนารมณรวมกันของประชาชน ประชาชนจึงตองมสีวนรวมดวยหลักเกณฑกฎหมายที่ เก่ียวของ คือระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการวางแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นพ.ศ. 2541 ที่ไดกําหนดใหคณะกรรมการบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นเลือกผูทรงคุณวุฒิผูนําองคกรภาคเอกชนหรือองคกรประชาชนเขารวมเปนคณะกรรมการพัฒนาองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพ่ือกําหนดแนวทางการพัฒนา ตลอดจนการเสนอแนวทางการแกไขปญหาและติดตามประเมินผล

7. สิทธิการมีสวนรวมดําเนินงานโครงการเศรษฐกิจชุมชนในระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการดําเนินงานโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ. 2541 (และทีแ่กไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2543) ไดมีขอท่ีสนับสนุนการดําเนินการเศรษฐกิจในชุมชนภายใตเขตองคกรปกครอง สวนทองถิ่นโดยใหประชาชนสามารถรวมกลุมทางอาชีพและเสนอโครงการเพื่อขอยืมเงินทุนโดยผานคณะกรรมการพัฒนาองคกรปกครองสวนทองถิ่นพิจารณา

8. การเขารวมในการจัดซ้ือและจัดจางขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในหลักการกระจายอาํนาจการทาํงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองเปนไปโดยโปรงใสและสามารถตรวจสอบได ดังน้ันในการจัดซ้ือและจัดจางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ประชาชนในทองถิ่นจึงควรมีสวนรวมในการตรวจสอบ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุขององคกรปกครองสวนทองถิ่นกําหนดใหในการดําเนินการจัดซ้ือจัดจางแตละครั้งใหผูบริหารทองถิ่นมีอํานาจแตงต้ังคณะกรรมการขึ้นเพื่อปฏิบัติตามระเบียบน้ี แลวแตกรณี

9. สิทธิในการตรวจสอบงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยการมีสวนรวมในการจัดซื้อและจัดจางประชาชนยอมตองไดรับสิทธิในการตรวจสอบกิจกรรมตางๆของ หนวยงานที่กําหนดไวในแผนงานสําหรับประมาณการดานรายรับและรายจายที่แสดงในรูปตัวเลข จํานวนเงิน ดังน้ัน เมื่อส้ินสุดปงบประมาณ องคกรปกครองสวนทองถ่ินจะตองประกาศรายงานการับจายเงินประจาํปงบประมาณที่สิ้นสุดทั้งงบประมาณรายจายและเงินนอกงบประมาณไวโดยเปดเผย ณ ที่ทําการองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพ่ือใหประชาชนทราบ

10. สิทธิในการเขารวมเปนประชาคมของทองถ่ินในการพิจารณาแผนงาน โครงการหรือกิจกรรมตางๆ ท่ีมีผลกระทบตัวชีว้ัดความเปนอยูของประชาชนในพื้นที่ทองถิ่นน้ันๆ เพ่ือแสดงความคิดเห็นในแงมุมตางๆและเปนขอมูลในการพิจารณาดาํเนินงานตามโครงการหรือไมดําเนนิงาน

Page 12: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

20

11. สิทธิการใชสิทธิฟองรองตอศาลปกครอง ประชาชนในทองถ่ินสามารถปกปองสิทธิของตนเองโดยใชอํานาจศาลปกครองในการตรวจสอบใชอํานาจองคกรปกครองสวนทองถิ่นวาเปนไปโดยชอบหรือไมดังน้ันเมื่อประชาชนไมไดรับความเปนธรรมหรือไดรับการปฏบิัติที่ไมถูกตองหรือไมไดรับความสะดวกรวดเร็วดังที่ควรจะเปนประชาชนยอมมีสิทธิในการฟองรององคกรปกครองสวนทองถิ่นตอศาลปกครองไดตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542

12. การใชสิทธิรองทุกขตอผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา เมื่อองคกรปกครองสวนทองถิ่นทําความเดือดรอนแกประชาชน ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 กําหนดใหผูตรวจการแผนดินของรัฐสภามีอํานาจหนาท่ีในการพิจารณาและสอบสวนหาขอเท็จจริงตามคํารองเรียนขอประชาชน นับมาตรการหนึ่งในการกําหนดใหหนวยงานของรัฐ ซึ่งรวมถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองเคารพสิทธิของประชาชน มาตรการดังกลาวจึงเปนการสงเสริม สนับสนุนใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการตรวจสอบการทํางานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยการรองเรียนตอผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา

13. การใชสิทธิฟองรององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหรับผิดในทางแพงและทางอาญา ในฐานะที่องคกรปกครองสวนทองถ่ินมีสภาพเปนนิติบุคคล จึงมีสภาพความรับผิดทั้งในทางแพงและทางอาญาไดเชนเดียวกับพนักงานเจาหนาที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น ดังน้ัน ทั้งองคกร ปกครองสวนทองถิ่น และพนักงานเจาหนาทีจ่ึงตองรับผิดชอบในการกระทําของตนเองเสมอ และเมือ่มีความเสียหายหรือการกระทาํความผิดเกิดข้ึน ประชาชนยอมเรียกรองและปกปองสิทธิของ ตนได โดยการฟองรองตอศาล ดังจะเห็นไดจากหลักกฎหมายที่รับรองไว

ระดับการมีสวนรวมของประชาชน การมีสวนรวมของประชาชน (ก.พ.ร.) [2550 : ออน-ไลน] ใหความสาํคัญ และเปน

ประเด็นหลักที่สังคมไทยใหความสนใจเพื่อพัฒนาการเมืองเขาสูระบอบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมตามหลักการธรรมาภิบาลที่ภาครัฐจะตองเปดโอกาสใหประชาชนและผูเก่ียวของทุกภาคสวนในสังคมไดเขามามีสวนรวม ในการรับรู รวมคิด รวมตัดสินใจ เพ่ือสรางความโปรงใสและเพิ่มคุณภาพการตดัสินใจของภาครัฐใหดีขึ้นและเปนที่ยอมรับรวมกันของทุกๆฝายในการบริหาร ราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 จึงตางใหความสําคัญตอการบริหารราชการอยางโปรงใส สุจริต เปดเผยขอมูล และการเปดโอกาสใหประชาชนไดเขา

Page 13: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

21

มามีสวนรวมในการกําหนดนโยบายสาธารณะ การตัดสินใจทางการเมอืง รวมถึงการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐในทุกระดับ

ผานมารัฐบาลไดใหความสาํคัญในการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน โดยไดแถลงเปนนโยบายของรัฐบาลและยังกําหนดไวเปนประเด็นยุทธศาสตรที่7ของแผนบริหาร ราชการแผนดิน (พ.ศ. 2548 – 2551) การสงเสริมประชาธิปไตย และกระบวนการประชาสังคม ซ่ึงตรงกับยุทธศาสตรที่ 7 ของแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – 2550) ที่เนนการเปดระบบราชการใหประชาชนเขามามีสวนรวมอีกดวย

หลักการสรางการมีสวนรวมของประชาชน หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนและ ผูที่เก่ียวของทุกภาคสวนของสังคมไดเขามามีสวนรวมกับภาคราชการนั้น International Association for Public Participation ไดแบงระดับของการสรางการมีสวนรวมของประชาชนเปน 5 ระดับ ดังน้ี

1. การใหขอมูลขาวสาร ถือเปนการมีสวนรวมของประชาชนในระดับต่ําท่ีสุด แตเปนระดับที่สําคัญที่สุด เพราะเปนกาวแรกของการที่ภาคราชการจะเปดโอกาสใหประชาชนเขาสูกระบวนการมีสวนรวมในเรื่องตางๆ วิธีการใหขอมูลสามารถใชชองทางตางๆ เชน เอกสารสิ่งพิมพ การเผยแพรขอมูลขาวสารผานทางสื่อตางๆ การจัดนิทรรศการจดหมายขาว การจัดงานแถลงขาว การติดประกาศและการใหขอมูลผานเว็บไซต เปนตน

2. การรับฟงความคิดเห็น เปนกระบวนการที่เปดใหประชาชนมีสวนรวมในการให ขอมูลขอเท็จจริงและความคดิเห็นเพ่ือประกอบการตัดสินใจของหนวยงานภาครัฐดวยวิธีตางๆ เชน การรับฟงความคิดเห็น การสํารวจความคดิเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผานเว็บไซต เปนตน

3. การเกี่ยวของ เปนการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการปฏบิัติงาน หรือรวมเสนอแนะแนวทางที่นําไปสูการตัดสินใจ เพ่ือสรางความมั่นใจใหประชาชนวาขอมูลความคิดเห็นและความตองการของประชาชนจะถูกนําไปพิจารณาเปนทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เชน การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ การจัดตั้งคณะทํางานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เปนตน

4. ความรวมมือ เปนการใหกลุมประชาชนผูแทนภาคสาธารณะมีสวนรวม โดยเปน หุนสวนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเน่ือง เชน คณะกรรมการที่มีฝายประชาชนรวมเปนกรรมการ เปนตน

5. การเสริมอํานาจแกประชาชน เปนขั้นที่ใหบทบาทประชาชนในระดับสูงท่ีสุด โดยใหประชาชนเปนผูตัดสินใจ เชน การลงประชามติในประเด็นสาธารณะตางๆ โครงการกองทุน หมูบานที่มอบอํานาจใหประชาชนเปนผูตัดสินใจทั้งหมด เปนตน

Page 14: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

22

การสรางการมีสวนรวมของประชาชน อาจทาํไดหลายระดับและหลายวิธีสามารถทําไดอยางงายๆ แตบางวิธีก็ตองใชเวลา ขึ้นอยูกับความตองการเขามามีสวนรวมของประชาชนคาใชจาย และความจาํเปนในการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม การมีสวนรวมของประชาชนเปนเร่ืองละเอียดออน จึงตองมีการพัฒนาความรู ความเขาใจในการใหขอมูลขาวสารที่ถูกตองแกประชาชนการรับฟงความคิดเห็น การเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมรวมทั้งพัฒนาทักษะ และศักยภาพของขาราชการทุกระดับควบคูกันไปดวย

จากหลักการและความจาํเปนดังกลาวทําใหการพัฒนาระบบราชการทีผ่านมาไดมีการพัฒนากระบวนการบริหารราชการที่สนับสนุนการปรับกระบวนการทํางานของราชการที่เปดโอกาสใหประชาชนเขามีสวนรวมมากขึ้นหรือที่เรียกวา “การบริหารราชการแบบมีสวนรวม”

ในภาคราชการการสงเสริมการบริหารราชการแบบมีสวนรวม ถือไดวาเปนเงื่อนไข และเปนกุญแจดอกสําคัญของความสําเร็จของการพัฒนาระบบราชการใหสามารถตอบสนองความตองการของประชาชน และเอื้อตอประโยชนสุขของประชาชน เพราะกระบวนการมีสวนรวมเปนปจจัยสําคัญท่ีสนับสนุน และสงเสริมใหระบบราชการมีพลังในการพัฒนาประเทศอยางสรางสรรค อันเปนเปาหมายหลักของการพัฒนาระบบราชการยุคใหมที่เปนราชการระบบเปด

การมีสวนรวมในการดําเนินงานของภาคราชการที่มาจากทุกภาคสวนของสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งประชาชนผูมีสวนไดสวนเสีย และชุมชนทองถ่ิน จะชวยทําใหเจาหนาที่ของรัฐมีความใกลชิดกับประชาชนไดรับทราบความตองการและปญหาที่แทจรงิ ลดความขัดแยงและตอตาน ทั้งเปนการสรางความรูสึกเปนเจาของ การทํางานรวมกันหันหนามาปรึกษาหารือกัน และรวมกันแกไขปญหาที่ยุงยากรวมกัน อีกทั้งยังเปนการสรางสังคมแหงการเรียนรูที่เสริมสรางให ประชาชน รวมคิด รวมตัดสินใจ ในประเด็นสาธารณะ ซ่ึงเปนบทบาทที่หนวยงานภาคราชการจะตองดําเนินการใหเกิดขึ้น

จากแนวคิดขางตนจึงสรุปวาการมีสวนรวมทางการเมือง หมายถึง การเขามีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ผูมีสวนไดสวนเสียโดยความสมัครใจ ตามที่กฎหมายไดบัญญัติไวเก่ียวกับการมีสวนรวมทางการเมือง เชน การแสวงหาตดิตามขาวสารทางการเมือง การเขารวมชมุนมทางการเมอืง เปนตน ไดมีโอกาสแสดงทัศนะ แลกเปลี่ยนขอมูลและความคิดเห็น เพ่ือแสวงหาทางเลือก และการตัดสินใจตางๆ เก่ียวกับโครงการที่เหมาะสมและเปนที่ยอมรับรวมกัน ทุกฝายที่เก่ียวของจึงควรเขารวมในกระบวนการนี้ ต้ังแตเริ่มจนกระทั่งถึงการติดตามและประเมิน เพ่ือใหเกิดความเขาใจและการรับรู – เรียนรู การปรับเปลี่ยนโครงการรวมกัน ซ่ึงจะเปนประโยชนตอทุกฝาย

Page 15: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

23

การปกครองสวนทองถิ่น แนวความคิดเก่ียวกับการปกครองทองถิ่น การปกครองทองถิ่น เปนการการปกครองที่ใหประชาชนแตละทองถ่ินนั้นไดมีสวนรวม

ในการบริหารจัดการในทองถิ่นของตนเองโดยมีรัฐบาลหรือหนวยงานราชการสวนกลางเปนคอยกับดูแล โดยมีนักวิชาการไดใหความหมายการปกครองทองถิ่น[ 2550 : ออน – ไลน] ดังน้ี

โกวิทย พวงงาม (2546 : 20-21) ไดรวบรวมความหมายของการปกครองทองถ่ินของนักวิชาการชาวตางประเทศไว ดังน้ี

วิลเล่ียม เอ. รอบสัน (William A. Robson) ไดใหความหมายวา การปกครองทองถ่ินหมายถึง การปกครองสวนหนึ่งของประเทศซึ่งมีอํานาจอิสระ (Autonomy) ในการปฏิบัติหนาที่ตามสมควรอํานาจอิสระในการปฏิบัติหนาที่ จะตองไมมากจนมีผลกระทบกระเทือนตออํานาจอธิปไตยของรัฐ เพราะองคกรปกครองทองถ่ินมิใชชุมชนที่มีอํานาจอธิปไตย องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสิทธิตามกฎหมาย และมีองคการที่จําเปน เพ่ือเปนประโยชนในการปฏิบัติหนาที่ขององคกรปกครองทองถิ่นนั้นเอง

วิลเล่ียม วี. ฮอลโลเวย (William V. Holloway) กลาววา “ การปกครองตนเองของทองถิ่น” หมายถงึ องคการที่มีอาณาเขตแนนอนมีประชากรตามหลักเกณฑที่กําหนดไว มีอํานาจในการปกครองตนเอง มีการบริหารงานคลังของตนเอง และมีสภาทองถิน่ที่สมาชิกไดรับการเลือกตั้ง

ประหยัด หงษทองคํา (2520 : 16-19) ไดอธิบายถึงความหมายของหลักการปกครองทองถิ่นในสาระสําคัญตอไปน้ี

1. การปกครองทองถิ่น หมายถึง การปกครองชุมชนหน่ึง ซ่ึงชุมชนเหลาน้ันอาจมีลักษณะแตกตางกันในดานความเจริญ จาํนวนประชากร หรือขนาดของพื้นที่ เชน เทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนตาํบล

2. องคกรปกครองทองถิ่นจะตองมีอาํนาจอิสระ (Autonomy) ในการปฏิบัติหนาที่ตามความเหมาะสม หมายความวา อาํนาจหนาที่ขององคกรปกครองทองถิ่นจะตองมีขอบเขตเพ่ือใหเกิดประโยชนในการปฏิบัตหินาที่ขององคกรอยางแทจริง ถาองคกรปกครองทองถ่ินมีอํานาจนอยเกินไปก็ไมอาจปฏิบัติหนาทีใ่หเกิดประโยชนแกประชาชนและทองถ่ินไดตามเจตนารมณ ในทางกลับกันถาองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีอาํนาจมากเกินไปจนไมมีขอบเขตอะไรมาจาํกัดไดองคกร ปกครองสวนทองถิ่นจะมีสภาพเปนรัฐที่มีอํานาจประอธปิไตย อันมีผลทําใหประเทศมีสภาพแตกแยกเปนรัฐเล็กรัฐนอย

Page 16: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

24

3. องคกรปกครองทองถิ่นจะตองมีสิทธิตามกฎหมาย (Legal rights) ที่จะดําเนินการ ปกครองตนเอง โดยมีสิทธิตรากฎหมายและระเบียบขอบญัญัติตางๆ เพ่ือประโยชนในการปฏิบัติหนาที่ และใชบังคับแกประชาชนในทองถิ่นน้ันๆ นอกจากนั้นตองใหทองถ่ินมีงบประมาณเปนของตนเองเพื่อองคกรปกครองทองถ่ินจะไดบริหารกิจการอันเปนอํานาจหนาที่ไดสําเร็จลุลวง

4. มีองคกรท่ีจําเปนในการปกครองตนเอง (Necessary organization) คือองคกรฝายบริหาร และองคกรฝายนิติบัญญัติ ซ่ึงจะตองไดรับเลือกตั้งจากประชาชนในทองถิ่น ตามหลักการและวิธีการที่กําหนดไวในกฎหมายเลือกต้ังสมาชิกสภาและผูบริหารทองถ่ิน

5. ประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมในการปกครองตนเองในทองถิ่นอยางกวางขวาง เชน การใชสิทธิเลือกต้ังผูแทน การสมัครรับเลือกตั้งเปนผูแทนทองถิ่น การเขาฟงการประชุมสภา ทองถิ่น การตรวจสอบการบริหารงานของทองถิ่นเพื่อใหเจาหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นไดบริหารงานในหนาที่ใหสอดคลองกับเจตนารมณ และภายใตการควบคุมของประชาชนใน ทองถิ่นอยางใกลชิด นอกจากนั้นการเปดโอกาสใหประชาชรมีสวนรวมในกิจการการปกครอง ทองถิ่นยังชวยเสริมใหประชาชนเขาใจในกลไกการปกครองระบอบประชาธิปไตย เกิดความสํานึก ในสิทธิเสรีภาพทางการเมือง ตื่นตัวทางการเมือง และที่สําคัญยังมีสวนรวมทางการเมอืงดวยความรับผิดชอบตอผลประโยชนของสวนรวม

จากความหมายขางตน พอจะวิเคราะหไดวา การปกครองทองถิ่นเปนการแบงอาํนาจสวนกลางไปยังทองถิ่น ซ่ึงเปนผลใหอํานาจรัฐของรัฐบาลกลางลดลง ดังน้ัน อํานาจขององคกรปกครองสวนทองถิ่นไดมาจากรัฐบาลกลางภายในกรอบที่กฎหมายกําหนด และอํานาจที่ไดมาจากประชาชนโดยผานกระบวนการเลือกต้ัง จะเห็นไดวารัฐบาลกลางไมมีอํานาจเขาไปแทรกแซงดาน การบริหารการจัดการของทองถิ่น แตรัฐบาลกลางจะใชอํานาจรัฐก็ตอเม่ือทองถิ่นละเมิดกฎหมาย สวนการเลือกตั้งเปนกระบวนการที่ทําใหประชาชนในทองถิ่นนั้นไดเขามามีสวนรวมในการบริหารงานทองถิ่นดวยตนเอง เพ่ือตอบสนองความตองการใหแกประชาชนในทองถ่ินนั้นใหมากที่สุดโดยการนําเงินภาษีที่ทองถ่ินจัดเก็บและเงินอุดหนุนจากรัฐบาลกลางมาบริหารจัดการ การปกครองทองถ่ิน หมายถึง การปกครองที่รัฐบาลกลางใชอํานาจ หรือกระจายอํานาจไปใหหนวยการปกครองทองถิ่น เพ่ือเปดโอกาสใหประชาชนในทองถิ่นไดมีอํานาจในการปกครองรวมกันทั้งหมด หรือเพียงบางสวนในการบริหารทองถิ่นตามหลักการที่วาถาอาํนาจการปกครองมาจากประชาชนในทองถิ่นแลว รัฐบาลของทองถิ่นก็ยอมเปนรัฐบาลของประชาชนโดยประชาชนและเพ่ือประชาชน ดังน้ันการบริหารการปกครองทองถิ่นจึงจําเปนตองมีองคกรของตน อันเกิดจากการกระจายอํานาจของรัฐบาลกลาง โดยใหองคกรอันมิไดเปนสวนหนึ่งของรัฐบาลกลาง มีอํานาจในการตัดสินใจและบริหารงานภายในทองถิ่นในเขตอํานาจของตน (โกวิท พวงงาม. 2544 : 20)

Page 17: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

25

การปกครองทองถ่ิน หมายถึง องคการท่ีมีอาณาเขต แนนอน มีประชากรตามหลักที่กําหนดไวมีอํานาจการปกครองตนเอง มีการบริหารการคลังของตนเอง และมีสภาทองถิ่นท่ีสมาชิกไดรับการเลือกต้ังจากประชาชน (โกวิท พวงงาม. 2544 : 20)

การปกครองทองถิ่น เปนระบบการปกครองที่เปนผลสืบเน่ืองมาจากการกระจายอาํนาจทางการปกครองของรัฐ และโดยนัยน้ีจะเกิดองคการทําหนาที่ปกครองทองถิ่นโดยคนในทองถ่ินน้ันองคการนี้จัดตั้งและถูกควบคุมโดยรัฐบาล แตก็มีอาํนาจในการกําหนดนโยบายและควบคุมใหมีการปฏิบัติใหเปนไปตามนโยบายของตนเอง (ประทาน คงฤทธิศึกษาการ. 2523 : 15)

ในความหมายนี้ควรจะมีการมอบอํานาจใหทองถิ่นรับผิดชอบในงานบริหารงาน โครงการตางๆ ที่เก่ียวของกับประชาชนในทองถิ่น โดยสวนกลางไมตองควบคุม เน่ืองจากเปนหนาที่ของทองถิ่นในการดูแลการปกครองตนเอง ซ่ึงคณะผูศึกษาเห็นวาแนวความคิดดังกลาวเปนแนวความคิดที่ดี เพ่ือใหทองถ่ินรับผิดชอบในความเปนอยูของประชาชนในเขตของตนเอง

ลักษณะสําคัญของการปกครองสวนทองถิ่น ทองถ่ินมีอํานาจอิสระในการปกครองตนเองอยูภายใตมาตรการ 5 ประการดังน้ี

1. มีบุคลากรของตนเอง 2. มีรายไดของตนเอง 3. มีฐานะเปนนิติบุคคลในกฎหมายมหาชน 4. มีอํานาจตราขอบัญญัติใชกับประชาชนในทองถิ่นนั้นได 5. อยูภายใตการกํากับดูแลทางปกครองของราชการบริหารสวนกลาง

การมีบุคลากรเปนของตนเอง หมายถึง มีคณะผูบริหารหรือผูบริหารทองถิ่นและสมาชิกสภาทองถิ่นมาจากการเลือกต้ังของราษฎรในทองถิ่น การกําหนดหลักเกณฑน้ีมีจุดประสงคเพ่ือ สงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น โดยฝกฝนใหประชาชนในทองถิ่นไดเรียนรูวิชาการบริหารในระบอบประชาธิปไตย ซ่ึงจําเปนตองเนนเรื่องการเปนผูบริหารที่มาจากประชาชนผูมีสิทธิประโยชนโดยตรงในทองถิ่นเปนหลัก จุดออนของประเทศไทย คือ ขาดการฝกฝนตอเน่ืองในทางการเมืองจึงตองเรงเปดโอกาสใหคนรุนใหมเขามาสืบทอดภารกิจในการบริหารต้ังแตระดับลาง ขึ้นมา (แสงนภา ทองวิทยา. 2545 : 8-16)

มีรายไดของตนเอง หมายถึง มีอิสระทางการเงิน องคกรปกครองสวนทองถิ่นใดท่ีมีความเปนอิสระในทางการเงนิมาก ไมจําเปนตองพ่ึงพาเงินอุดหนุนจากสวนกลาง ทองถิ่นนั้นก็มีอิสระในการปกครองตนเองมากขึ้น ตรงกันขามองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดท่ีมีรายไดนอยจะเปนอิสระไดยากลําบาก แมกฎหมายจะใหอํานาจไวก็ตาม เน่ืองจากเมือ่ไมมีงบประมาณดําเนินการ

Page 18: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

26

ไมสามารถที่ทาํประโยชนใหเกิดแกทองถิ่นได จําเปนตองขอเงินสนับสนุนของรัฐและเปนภาระของรัฐตอไป ลักษณะของรายไดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก

1. รายไดจากภาษีอากร การที่จะใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสนองเจตนารมณของประชาชนในทองถิ่นไดอยางแทจริงน้ัน จะตองแยกการจัดเก็บภาษีอากรขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจากรัฐออกมาใหชัดเจน โดยกําหนดวาภาษีประเภทใดบางที่ทองถิ่นจัดเก็บไดเอง

2. เงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพื่อดําเนินงาน ซ่ึงเปนสวนที่กระทบตอความเปนอิสระขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอยูไมนอย และยังอาจกระทบตอการดําเนินกิจการบางอยางที่อยูในความรับผิดชอบ เพราะเงินประเภทนี้เปนดุลพินิจของสวนกลางที่จะใหการชวยเหลือซ่ึงก็ควรใหการชวยเหลือทองถิ่นท่ีขาดแคลน เพราะราษฎรทุกชุมชนในทุกทองถิ่นยอมมีสิทธิไดรับบริการจากรัฐอยางเสมอภาคกัน เม่ือรัฐมอบใหทองถิ่นดําเนินกิจการใดหากรายไดไมพอใชดําเนินการรัฐบาลตองใหความชวยเหลือ

3. แหลงเงินไดจากเงินกู ตามที่กฎหมายใหอํานาจไว ซ่ึงโดยทองถิ่นใชอํานาจในเรื่องน้ีตอเม่ือรายไดทางตรงไมพอ (พรชัย รัศมีแพทย. 2541 : 47)

แตถึงอยางไรก็ตามองคกรปกครองทองถิ่นก็มีฐานะเปนนิติบุคคล ในกฎหมายมหาชน กฎหมายกําหนดใหทองถิ่นมีฐานะเปนนิติบุคคล เปนมาตรการหนึ่งในการสนับสนุนความเปนอิสระ และเพื่อใหทองถิ่นมีความคลองตัวการจัดทํากิจการในความรับผิดชอบเพราะทองถิ่นความสามารถในการมีและจดัการทรัพยสินของตนได โดยมีสิทธิและหนาที่ไดอยางบุคคลธรรมดาเชน การทํานิติกรรม การเปนเจาของทรัพยสิน การเปนโจทกหรือจําเลยเปนตน สวนจะมีสิทธิและหนาที่อะไรบางมากนอยเพียงใด และจะมคีวามสามารถใชสิทธิไดอยางไรบาง น้ันยอมขึ้นอยูกับกฎหมายปกครองทองถิ่นจะบัญญัติใหอํานาจไว ทั้งน้ีหมายความรวมถึงสิทธิและหนาที่ในฐานะ ฝายปกครอง ซ่ึงมีสิทธิใชอํานาจบังคับเหนือราษฎรในเขตปกรองตามที่กฎหมายบัญญัติใหอํานาจไว

มีอํานาจตราขอบัญญัติใชกับประชาชนในทองถ่ินนั้นไดอํานาจตราขอบัญญัติถือเปนหัวใจของการปกครองของตนเองเนื่องจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีความเปนเอกเทศในการออกขอบัญญัติซ่ึงมิใชในนามของรัฐหากแตเปนของตนอยางแทจริง การที่กฎหมายกําหนดให องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีภาระหนาที่ในการทํากิจกรรมตางๆ ตามกฎหมายจัดตั้งถาไมมี กฎหมายอื่นบัญญัติไวเปนการเฉพาะหรือบางสวนแลวยอมถือวาองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้นเปนเจาแหงอํานาจ สามารถตราขอบัญญัติเพ่ือปฏิบัติการใหเปนไปตามอํานาจหนาทีข่องตนไดอยางกวางขวางแตถามีกฎหมายอื่นบัญญัติไวเปนการเฉพาะหรือบางสวนแลว องคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้นจะตองใชอํานาจไปในทางที่ไมขัดแยงกับบทบัญญัติกฎหมายนั้น(พนม เอี่ยมประยูร. 2537 : 477-493)

Page 19: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

27

อยูภายใตการกํากับดูแลของราชการบริหารสวนกลางการกํากับดูแลน้ันเปนความสัมพันธระหวางราชการสวนกลางกับราชการสวนทองถ่ิน ซ่ึงแตกตางจากความสัมพันธในทางการบังคับบัญชา เพราะมิใชความสัมพันธภายในองคกรเพียงองคกรเดียวตอไป แตเปนความสัมพันธระหวางองคกรสององคกรซ่ึงตางก็มีฐานะเปนนิติบุคคล และตางก็มีผลประโยชนของตนเองที่จะตองดูแล หลักสําคัญของการกํากับดูแล คือ ผูมีอํานาจกาํกับดูแลจะกํากับดูแลไดตอเม่ือมีกฎหมายบัญญัติใหอํานาจหนาที่อยางชัดแจงการใชอํานาจดังกลาวจะตองใชเทาท่ีจาํเปนเทาน้ัน โดยมีวัตถุประสงคหลักสําคัญอยูที่การตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายขององคกรทองถิ่น ในกรณีที่การกระทําน้ันชอบดวยกฎหมายแลว ซ่ึงตางจากการบังคับบัญชาที่ผูบังคับบัญชาสามารถออกคําสั่งเพื่อควบคุมความเหมาะสมของการกระทําของผูใตบังคับบัญชาได (โภคิน พลกุลและคณะ. 2538 : 56-57)

โครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล (อบต.)

เมืองพัทยา และกรุงเทพหานคร รวมเรียกวา “องคกรปกครองสวนทองถ่ิน” ซ่ึงหมายถึงองคกรที่ทําหนาที่บริหารงานในแตละทองถิ่น ผูแทนที่ไดรับเลือกตั้งจากประชาชนในทองถิ่นเปนผูรับผิดชอบตอการบริหารอยางอิสระในเขตพื้นที่ที่กําหนด มีอํานาจในการบริหารการเงินและ การคลังและกําหนดนโยบายของตนเอง รวมท้ังมีหนาทีดํ่าเนินกิจกรรมภายในกรอบที่กฎหมายบัญญัติไวเพ่ือประโยชนของรัฐและประชาชนทองถิ่น

ลักษณะสําคัญขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน มี 5 ประการ คือ 1. เปนองคกรในชุมชนที่มีขอบเขตพื้นที่ปกครองท่ีกําหนดไวแนนอน 2. มีสถานภาพเปนนิติบุคคล จัดต้ังขึ้นโดยกฎหมาย 3. มีอิสระในการดําเนินกิจกรรมและสามารถใชดุจพินิจของตนเองในการวินิจฉัยและ

การกําหนดนโยบายภายใตการควบคุมของรัฐ 4. มีการจัดองคกรเปน 2 ฝาย คือ ฝายบริหาร และฝายนิติบัญญัติ 5. ประชาชนมีสวนรวมในการปกครองโดยการเลือกตั้งคณะผูบริหาร และสมาชิกสภา

ทองถิ่น การมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมและการติดตาม ตรวจสอบการทํางานขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น

Page 20: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

28

การปกครองทองถิ่นรูปแบบเทศบาล ชาญชัย แสวงศักด์ิ (2549 : 181-182) เปนองคกรปกครองสวนทองถ่ินที่จัดตั้งตาม

พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แกไขเพ่ิมเติมถึงฉบับที่ 12 พ.ศ. 2546 และพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเปนเทศบาล พ.ศ. 2542 มีฐานะเปนนิติบุคล แบงเปน 3 ประเภท โดยใชเกณฑประชากร คือ เทศบาลตาํบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร โครงสรางของเทศบาลจะประกอบดวยฝายบริหาร ไดแก นายกเทศมนตรี ซ่ึงอาจจะมาจากการเลือกต้ังโดยตรงของประชาชน และฝายนิติบัญญัติ ไดแก สมาชิกสภาเทศบาล (ส.ท.)

การจัดตั้งเทศบาล เมื่อทองถิ่นใดมีสภาพอันสมควรยกฐานะเปนเทศบาลใหจัดตั้งทองถิ่นนั้นๆ เปนเทศบาล

โดยการตราพระราชกฤษฎีกายกฐานะทองถิ่นนั้นขึ้นเปนเทศบาลเทศบาลมีฐานะเปนทบวงการ เมืองและเปนนิติบุคคล

เทศบาลตําบล พระราชบัญญัติเทศบาลมิไดกําหนดหลักเกณฑในการจัดตั้งเทศบาลตาํบลโดยเฉพาะ

โดยใหอยูในดุลพินิจของรัฐบาลที่จะพิจารณาตามแตจะเห็นสมควร องคการของเทศบาล องคการเทศบาลประกอบดวยสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี 1. สภาเทศบาล สภาเทศบาลประกอบดวยดวยสมาชิกซ่ึงราษฎรเลือกตั้งข้ึนตามกฎหมายวาดวยการ

เลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลโดยใหอยูในตําแหนงคราวละ 4 ป สภาเทศบาลมีประธานสภาคนหนึ่งและรองประธานสภาคนหนึ่ง ซ่ึงเลือกต้ังจากสมาชิก

สภาเทศบาลโดยผูวาราชการจังหวัดเปนผูแตงตั้งตามมติของสภาเทศบาล ประธานสภาและรองประธานสภาอยูในตําแหนงจนครบอายุของสภาเทศบาล สภาเทศบาลตําบลมีสมาชิกจํานวน 12 คน สภาเทศบาลเมืองมีสมาชกิจํานวน 18 คน

และสภาเทศบาลนครมีสมาชิกจํานวน 24 คน สภาเทศบาลทําหนาที่รางเทศบัญญัติติดตามและตรวจสอบการทํางานของ

นายกเทศมนตรี 2. นายกเทศมนตรี นายกเทศมนตรีมาจากการเลอืกตั้งโดยราษฎรผูมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเทศบาลและดาํรง

ตําแหนงนับแตวันเลือกตั้งคราวละ 4 ปนับแตวันเลือกตั้ง แตการดํารงตําแหนงติดตอกันเกิน 2 วาระไมได

Page 21: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

29

กอนนายกเทศมนตรีจะเขารบัหนาที่ตองแถลงนโยบายตอสภาเทศบาลโดยไมมีการลงมติภายใน 30 วันนับแตวันประกาศผลการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี หากนายกเทศมนตรีไมสมารถแถลงนโยบายตอสภาเทศบาลไดใหผูวาราชการจังหวัดแจงใหนายกเทศมนตรีจัดทํานโยบายแจงเปนหนังสือสงใหสมาชิกสภาเทศบาลทุกคนภายใน 7 วัน รวมทั้งตองจัดทํารายงานและแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่แถลงไวตอสภาเทศบาลเปนประจาํทุกป

อํานาจหนาที่ของนายกเทศมนตรีมีดังน้ี 1. กําหนดนโยบายโดยไมขัดตอกฎหมายและรับผิดชอบในการบริหาราชการของ

เทศบาลใหเปนไปตามกฎหมาย เทศบัญญัติ และนโยบาย 2. ส่ัง อนุญาต และอนุมัติเก่ียวกับราชการของเทศบาล 3. แตงต้ังและถอดถอนรองนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี และเลขานุการ

นายกเทศมนตรี 4. วางระเบียบเพ่ือใหงานของเทศบาลเปนไปดวยความเรียบรอย 5. รักษาการใหเปนไปตามเทศบัญญัติ 6. ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติไวในพระราชบญัญัติน้ีหรือกฎหมายอื่น นายกเทศมนตรีอาจแตงตั้งรองนายกเทศมนตรีซ่ึงมิใชสมาชิกสภาเทศบาลเปนผู

ชวยเหลือในการบริหารราชการของเทศบาลตามที่นายกเทศมนตรีมอบหมาย โดยเทศบาลตาํบลใหมีรองนายกเทศมนตรีไมเกิน 2 คน เทศบาลเมืองใหมีรองนายกเทศมนตรีไมเกิน 3 คน เทศบาลนครใหมีรองนายกเทศมนตรีไมเกิน 4 คน

ใหมีปลัดเทศบาลคนหนึ่งเปนผูบังคับบัญชาพนักงานเทศบาลและลกูจางเทศบาลรองจากนายกเทศมนตรี และรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจําของเทศบาลใหเปนไปตามนโยบาย และมีอาํนาจหนาท่ีอื่นตามทีก่ฎหมายกําหนดหรือตามท่ีนายกเทศมนตรีมอบหมาย

อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น อํานาจหนาทีข่องเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาลและที่แกไขเพ่ิมเติมถึงฉบับที่ 12

พ.ศ. 2546 มีหนาที่ตองทําในเขตเทศบาลตําบล ดังตอไปน้ี 1. รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน 2. ใหมีและบาํรุงทางบกและทางน้ํา 3. รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินและที่สาธารณะรวมทั้งการกําจัดมูลฝอยและ

ส่ิงปฏิกูล

Page 22: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

30

4. ปองกันและระงับโรคติดตอ 5. ใหมีเครื่องใชในการดับเพลิง 6. ใหราษฎรไดรับการศึกษาอบรม 7. สงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ และผูพิการ 8. บํารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น 9. หนาที่อ่ืนตามที่กฎหมายบัญญัติใหเปนหนาที่ของเทศบาล มีหนาที่อาจจัดทํากิจการใดๆ ในเขตเทศบาลตําบล ดังตอไปน้ี 1. ใหมีนํ้าสะอาดหรือการประปา 2. ใหมีโรงฆาสัตว 3. ใหมีสุสานและฌาปนสถาน 4. บํารุงและสงเสริมการทํามาหากินของราษฎร 5. ใหมีและบาํรุงสถานที่ทาํการพิทักษรักษาคนเจ็บไข 6. ใหมีตลาด ทาเทียบเรือและทาขาม 7. ใหมีและบาํรุงการไฟฟาหรือแสงสวางโดยวิธีอื่น 8. ใหมีและบาํรุงทางระบายน้ํา 9. เทศพาณิชย อํานาจหนาทีข่องเทศบาลตามพระราชบญัญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย

อํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 เทศบาลมีอาํนาจและหนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพ่ือประโยชนของ

ประชาชนในทองถิ่นของตนเอง ดังน้ี (มาตรา 16) 1. การจัดแผนพัฒนาทองถิ่นของตนเอง 2. การจัดใหมีและบาํรุงรักษาทางบก ทางน้ําและทางระบายน้ํา 3. การจัดใหมีและควบคุมตลาด ทาเทียบเรือ ทาขามและที่จอดรถ 4. การสาธารณูปโภคและการกอสรางสรางอื่น ๆ 5. การสาธารณูปการ 6. การสงเสริม การฝก และประกอบอาชพี 7. การพาณิชย และการสงเสริมการลงทุน 8. การสงเสริมการทองเที่ยว 9. การจัดการศึกษา 10. การสังคมสงเคราะห และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเดก็ สตรี คนชราและผูดอยโอกาส 11. การบํารุงรักษาศิลปะจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมอันดีทองถิ่น

Page 23: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

31

12. การปรับปรุงแหลงชุมชนแออัดและการจัดการเก่ียวกับที่อยูอาศัย 13. การจัดใหมีและบาํรุงรักษาสถานที่พักผอนหยอนใจ 14. การสงเสริมการกีฬา 15. การสงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสทิธิเสรีภาพของประชาชน 16. สงเสริมการมีสวนรวมของราษฎรในการพัฒนาทองถิ่น 17. การรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง 18. การกําจัดมูลฝอย ส่ิงปฏิกูล และนํ้าเสีย 19. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรกัษาพยาบาล 20. การจัดใหมีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน 21. การควบคมุการเลี้ยงสัตว 22. การจัดใหมีและควบคุมการฆาสัตว 23. การรักษาความปลอดภัย ความเปนระเบียบเรียบรอยและการอนามัย โรงมหรสพ

และสาธารณสถานอื่น ๆ 24. การจัดการ การบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากปาไม ที่ดินทรัพยากรธรรมชาต ิ

และสิ่งแวดลอม 25. การผังเมือง 26. การขนสงและการวิศวกรรมจราจร 27. การดูแลรักษาที่สาธารณะ 28. การควบคมุอาคาร 29. การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 30. การรักษาความสงบเรียบรอย การสงเสรมิและสนับสนุนการปองกันและรักษาความ

ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 31. กิจการอ่ืนใดที่เปนผลประโยชนของประชาชนในทองถิ่นตามที่คณะกรรมการ

ประกาศกําหนด อํานาจหนาของเทศบาลตามขอ 1 ตองดําเนินการตาม “แผนปฏิบัติการกําหนดขั้นตอน

การกระจายอาํนาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน” การปฏิบัติงานตามอาํนาจหนาที่ของเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาล และตาม

พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ินตองเปนไปเพื่อประโยชนสุขของประชาชน โดยใชวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีและใหคาํนึงถึงการมีสวนรวมรวมของประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล การจัดทาํงบประมาณ การจัดซ้ือจัดจาง การตรวจสอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและการเปดเผยขอมูลขาวสาร

Page 24: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

32

ขอมูลท่ัวไปของเทศบาลตําบลหวยออ สภาพท่ัวไปและขอมูลพ้ืนฐานของเทศบาลตําบลหวยออตามประกาศ

กระทรวงมหาดไทย ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 73 ตอนที่ 75 ลงวันที่ 10 กันยายน 2499 โดยยกฐานะทองถิ่นบางสวนในตําบลหวยออข้ึนเปนเขตสุขาภิบาลตอมาไดรับการยกฐานะขึ้นเปนเทศบาลตําบลหวยออ ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภบิาลเปนเทศบาล เม่ือวันที่ 25 พฤษภาคม 2542

เทศบาลตาํบลหวยออ เปนที่ตั้งของตัวอําเภอลอง หางจากตัวจังหวัดแพรไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตตามเสนทางหลวงแผนดินหมายเลข 1023 (สายแพร-ลอง) ระยะทางประมาณ 40 กิโลเมตร พ้ืนท่ีเทศบาลโดยทั่วไปเปนที่ราบลุมสวนใหญจะเปนที่อยูอาศัย มีลําหวยแมกาง และลําหวยแมออไหลผานดานทิศตะวันตกของชุมชน

ลักษณะที่ตั้ง/อาณาเขต และเขตการปกครอง

เทศบาลตาํบลหวยออ อําเภอลอง จังหวัดแพร มีพ้ืนที่ 2.00 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 3 ชุมชน 3 หมูบาน ดังน้ี

1. ชุมชนบานนาหมอ 2. ชุมชนขวงเปา 1 3. ชุมชนขวงเปา 2 4. บานดอนทราย หมูที่ 7 5. บานสันกลาง หมูที่ 8 6. บานดอนมูล หมูที่ 10 เทศบาลตาํบลหวยออเปนเทศบาลขนาดเล็กเปนศูนยกลางความเจริญของอําเภอลอง

ปจจุบันมีพ้ืนที่ประมาณ 1,250 ไร โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพ้ืนที่ดังน้ี

ทิศเหนือ ตั้งแตหลักเขตที่ 1 ซึงต้ังอยูในแนวเสนตั้งฉากจากหลักกิโลเมตรที่ 4,300 บนทางหลวงสายหวยออ - บานปนไปทางทิศตะวันตก 400 เมตร จากหลักเขตที่ 1 เปนเสนตั้งฉากกับทางหลวงสายหวยออ - บานปนไปทางทศิตะวันออกเปนระยะ 750 เมตร ซ่ึงเปนหลักเขตที่ 2

ทิศตะวันออกจากหลักเขตที่ 2 เปนเสนขนานกับฝงตะวันออกถนนสายหลังที่วาการอําเภอลองไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตเปนระยะทาง 2,000 เมตร ซ่ึงเปนหลักเขตที่ 3

ทิศใตจากหลักเขตที่ 3 เปนเสนตรงไปทางทิศตะวันตกถึงจุดที่อยูในแนวเสนตั้งฉากจากหลักกิโลเมตรท่ี 6,300 ของทางหลวงสายปากกาง – หวยออไปทางทิศตะวันตกเปนระยะทาง 1.30 กิโลเมตรซึ่งเปนหลักเขตที่ 4

Page 25: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

33

ทิศตะวันตก จากหลักเขตที่ 4 เปนเสนตรงไปทางทิศเหนือ และไปบรรจบกับหลักเขตที่ 1 ระยะทาง 2 กิโลเมตร

ระยะทางที่เชือ่มอําเภอใกลเคียง

1. ระยะทางจากอําเภอลองถึงตัวจังหวัดแพร 40 กิโลเมตร 2. ระยะทางจากอําเภอลองถึงอําเภอวังชิ้น 35 กิโลเมตร 3. ระยะทางจากอําเภอลองถึงอําเภอเดนชัย 63 กิโลเมตร 4. ระยะทางจากอําเภอลองถึงอําเภอสอง 90 กิโลเมตร 5. ระยะทางจากอําเภอลองถึงอําเภอสูงเมน 52 กิโลเมตร 6. ทางรถไฟผานสถานีบานปนหางจากที่ต้ังสํานักงานเทศบาลตําบลหวยออ

5 กิโลเมตร สภาพภูมิประเทศและลักษณะภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิประเทศ เปนที่ราบดานตะวันตก มีลําหวยแมออ และ ลําหวยแมกางไหลผานในเขตเทศบาลและทศิตะวันออกของเทศบาล เปนที่ราบและเปนพ้ืนที่การเกษตรลักษณะอุณหภูมิฤดูหนาวจะอยูในชวงเดือน พฤศจิกายน - เดือนมกราคม อุณหภูมิตํ่าสุดในเดือนมกราคม เฉลี่ยประมาณ 10 องศาเซลเซียส อุณหภูมิจะเร่ิมสูงข้ึน ตั้งแตปลายเดือนกุมภาพันธ ในชวงเชาของฤดูรอนระหวางเดือนกุมภาพันธ – เดือนเมษายน โดยในเดือนเมษายน จะเปนเดือนท่ีมีอุณหภูมิสูงสุด และในเดือนพฤษภาคมจะเปนเดือนที่มีอุณหภูมิเร่ิมลดลงเรื่อยๆ จนเขาสูฤดูหนาว ในเดือนพฤศจิกายนเปนตนไป ปริมาณนํ้าฝน นํ้าฝนจะใชในการเพาะปลูก จะพบวาฝนจะเริ่มตกในเดือนเมษายน – เดือนพฤษภาคม และจะทิ้งชวงในเดือนมิถุนายน – เดือนกรกฎาคม และเดือนกันยายน ฝนจะตกมากที่สุดจนถึงเดือนพฤศจิกายน สวนเดือนธันวาคมและเดือนมกราคมไมมีฝนตก มีนํ้าฝนเฉลี่ย 5 ป เปนรายเดือนพบวา เดือนกันยายน ฝนตกมากที่สุด เฉลี่ย 26.6 มิลลิเมตร เดือนกุมภาพันธ ฝนตกนอยที่สุด

สภาพเศรษฐกจิ และสังคมโดยภาพรวม ประชาชนในเขตเทศบาลตาํบลหวยออประกอบอาชีพหลัก 3 ประเภทดวยกัน คือดาน

พาณิชยกรรม ดานอุตสาหกรรม และดานเกษตรกรรม

ลักษณะการประกอบอาชีพดานพาณิชยกรรม

สภาพการคาในเขตเทศบาลตําบลหวยออ มีตลาดซึ่งเปนของเอกชน เปนศูนยกลางการคาสาํหรับการซื้อขาย แลกเปลี่ยน ระหวางตําบลตางๆ ในเขตอาํเภอลอง และอาํเภอใกลเคียง รานคาขายปลีกต้ังอยูสองฟากถนนเทศบาล 1 และถนน ,ซอยในหมูบาน ลักษณะอาคารเปนอาคารคอนกรีตสองชั้น และอาคารครึ่งตกึครึ่งไม มีรานคาขายของชําตางๆ รานคาเครื่องดื่ม-

Page 26: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

34

อาหาร รานเสื้อผา รานบริการเสริมสวย รานอุปกรณเครื่องเหล็ก และรานขายอุปกรณไฟฟานอกจากนั้นยังมีตลาดสดขนาดเล็ก(ยอย) อีก 2 แหง คือ ตลาดสดขางวัดดอนมูล และ ตลาดสดบานนาหมอ

ลักษณะการประกอบอาชีพดานอุตสาหกรรม

ประชาชนผูประกอบกิจการคาดานอุตสาหกรรมสวนมากจะเปนการประกอบอาชีพ การทอผาตีนจก การเย็บปกผาจะประกอบกิจการอยูในชุมชนแตละชุมชน สวนกิจการดานซอมเครื่องยนตและซอมรถจักรยานยนตจะตั้งอยูริมถนนสายหลักในเขตเทศบาล ซ่ึงมีกระจายอยูทั่วไป

ลักษณะการประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม

สวนประชาชนผูประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม จะมีพ้ืนที่อยูบริเวณรอบๆ เขตเทศบาลจะเปนพ้ืนที่ทางการเกษตร ซ่ึงสวนใหญจะเปนการปลูกผัก ขาว ถ่ัวเหลือง ถ่ัวลิสง การปศุสัตวไดแกประเภท สุกร โค กระบือ เปด ไก และอื่นๆ

ลักษณะชุมชนในทองถิ่น

ประชาชนจะอยูอาศัยรวมกันหนาแนนบริเวณถนนเทศบาล 1 เน่ืองจากเปนยานพาณิชย- กรรมและเปนใจกลางของชมุชน และการตั้งบานเรือนจะปลูกติดตอกันรวมกันเปนแนวยาวอยูตามถนนสายหลักถนนสายรอง และตามตรอกซอกซอยตางๆ ประชากรสวนใหญเปนคนพื้นเมือง นับถือศาสนาพุทธ มีวัดศรีดอนคํา และวัดดอนมูลเปนวัดสําคัญในชุมชนมีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของทองถิ่น ประเพณีที่สําคัญคือ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีทําบุญเขาพรรษา ประเพณีสงกรานต และประเพณีตานกวย หรือเรียกวาสลากภัต เปนตน

ดานโครงสรางพื้นฐาน

การคมนาคมขนสง จะมีทางหลวงแผนดินท่ีใชในการติดตอกับอําเภอตาง ๆ และจังหวัดใกลเคียง และภายในเขตเทศบาลสวนใหญจะเปนถนนคอนกรีต และถนนลาดยางที่มีสภาพดีและ สะดวกสบาย การขนสงภายในเขตเทศบาลสวนใหญจะใชรถยนตกระบะบรรทุกสวนตัว และรถมอเตอรไซค ซ่ึงมีเสนทางคมนาคมสายสําคัญดังน้ี

ทางหลวงแผนดินหมายเลข 1023 (สายแพร-ลอง) เปนเสนทางสายหลักโดยเชื่อมการคมนาคมระหวางอาํเภอเมืองแพรกับอําเภอลองและตอเน่ืองไปยังอําเภอวังช้ินและไปยังอําเภอเถิน จังหวัดลําปาง และยังมีถนนติดตอการคมนาคมเชื่อม ระหวางเทศบาลตําบลหวยออและเทศบาลตําบลบานปนดานทิศเหนือ

Page 27: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

35

ทางหลวงแผนดินหมายเลข 1100 เชื่อมกับถนนเทศบาล 1 เปนถนนสายหลักของเทศบาลตาํบลหวยออไปยังทิศตะวันตกบรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข 1023 ไปยังจังหวัดลําปาง สภาพถนนลาดยาง

ถนนที่เชื่อมโยงพ้ืนที่ตางๆ ภายในเทศบาลมีถนนสายหลักคือถนนเทศบาล 1 เปนถนนที่แยกจากทางหลวงแผนดิน หมายเลข 1023 สภาพถนนคอนกรีตและคอนขางแคบในชวงท่ีผานศูนยกลางของชุมชน และยานพาณิชยกรรมมีรถเขาออกเปนจํานวนมากประกอบกับถนนคับแคบ และไมสามารถจะขยายการจราจรไดอีก จึงทําใหการคมนาคมไมคอยคลองตัวเทาที่ควรการคมนาคมในพื้นที่เขตเทศบาล มีถนนซอยแยกออกจากถนนสายหลัก และสายรอง ซ่ึงสวนใหญถนนภายในชุมชนเทศบาลเปนถนนคอนกรีต และมีบางเสนยังเปนถนนลาดยางอยู โดยมีถนนเทศบาล 2 และ 3 เปนถนนสายรอง มีถนนเทศบาล 4 และ 5 เชื่อมระหวาง ถนนสายหลักและถนนสายรองถนนสวนใหญอยูในสภาพดี

การไฟฟา

หนวยงานท่ีรับผิดชอบในการใหบริการดานกระแสไฟฟาคือ การไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอลอง จังหวัดแพรปจจุบันการใหบริการแกประชาชนในเขตเทศบาล ยังอยูในความรับผิดชอบของหนวยงานนี้อยู และจาํนวน ครัวเรือนที่มีไฟฟาใชทั้งหมด 1,945 ครัวเรือน

การประปา

เทศบาลตาํบลหวยออ มีผูใชนํ้าประปา 1,612 ครัวเรือน สวนที่เหลือใชนํ้าบอนํ้าตื้นและน้ําบาดาลมีกําลังการผลิต เพ่ือการจายในเขตรับผิดชอบ ของเทศบาลตาํบลหวยออ ดําเนินการโดยการประปาเทศบาลมี โรงสูบน้ําตั้งอยูที่ หมู 2 ตาํบลปากกาง ผลิตนํ้าได 1,200ลูกบาศกเมตร/วันซ่ึงกําลังการผลิตในปจจุบันยังเพียงพอตอความตองการของประชาชนในเขตเทศบาล ในอนาคตจะพัฒนาและขยายกําลังการผลิตและใหบริการเพิ่มมากขึ้น เพ่ือที่จะรองรับการขยายตัวของชุมชน

การสื่อสารและโทรคมนาคม

ประชาชนสวนใหญใชบริการดานสื่อสาร ณ ที่ทําการไปรษณีย-โทรเลข บานนาหมอหมูที่ 6 ซึ่งอยูในเขตเทศบาลตําบลหวยออ ต้ังอยูทางทศิเหนือของชุมชนเทศบาล เพ่ือใหบริการรับสงขาวสาร พัสดุไปรษณีย โทรเลขทั้งในและตางประเทศ ตลอดจนการบริการดานการเงินโดยรับฝากและนําจายทางธนาณัติและตัว๋แลกเงิน นอกจากมีที่ทาํการไปรษณีย-โทรเลขแลว ประชาชนยังมีโทรศัพท ใชในการติดตอส่ือสารแทบทุกหลังคาเรือน และมีโทรศัพทตูสาขาสาธารณะ รวมทั้งขายวิทยุส่ือสารของที่ทําการปกครองอําเภอลอง ขายวิทยุสถานีตํารวจภูธรอําเภอลอง ขายวิทยุสาธารณสุขอําเภอลอง และขายวิทยุของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาแพร เขต 2

Page 28: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

36

การจราจร

ปญหาการจราจรภายในชุมชนเทศบาลตําบลหวยออ สืบเนื่องมาจากลักษณะดานตั้งถิ่นฐานของชุมชนเกาะกลุมกันไปตามแนวถนน โดยมีศูนยกลางพาณิชยกรรมอยูบริเวณถนนเทศบาล 1 และลักษณะของปญหาเกิดจากความคับคั่งของกิจกรรม บริเวณตั้งแตตลาดสดถึงบริเวณสี่แยกสนามกีฬาเทศบาลฯ ที่จะไปยังตําบลปากกาง มีการใชพ้ืนที่สองฟากถนนเปนที่จราจร ทั้งจอดรับสงผูโดยสาย และจอดรถขนสงสินคา ตั้งแตแผงลอยบางสวนทาํใหการจราจรติดขัดโดยเฉพาะในชวงเชา ปจจุบันเทศบาลตาํบลหวยออ ยังไมมีสถานีขนสงสําหรับหยุดรับสงผูโดยสารอยูภายในชุมชนมีรถสองแถววิ่งบริการภายในชุมชน วิ่งระหวางอําเภอวังชิ้น – ลอง -แพร ซ่ึงจะจอดรับสงผูโดยสารทั่วไปภายในเขตชุมชน และบริเวณรอบนอกเขต นอกจากนั้น

ดานเศรษฐกิจ

ประชาชนสวนใหญ ประกอบอาชีพทางดานเกษตรกรรมเปนหลัก ทําใหประชาชนวางงาน ในชวงรอการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรและชวงหลังฤดูกาลเก็บเก่ียวเทศบาลจึงใหความสําคัญกับการพัฒนาและสงเสริมอาชีพ โดยการฝกอบรมใหความรูเก่ียวกับอาชีพเสริมตางๆ ครอบคลุมทุกชุมชน ทุกหมูบานโดยหาตลาดรองรับสินคาควบคูไปดวย

โครงสรางทางเศรษฐกิจ/รายไดประชากร

ประเภทของการประกอบอาชีพของประชาชน ในเขตเทศบาลซึ่งมีลักษณะการประกอบอาชีพที่แตกตางกันไป แบงเปน 3 ประเภทคือ ประเภทเกษตรกรรม ประเภทพาณชิยกรรมและประเภทอุตสาหกรรมซึ่งรายไดหลักของประชากรสวนใหญข้ึนอยูกับการเกษตร

การเกษตรกรรม

เกษตรกรสวนใหญเพาะปลูกพืชไดแกขาวเหนียว ถ่ัวลิสง ถ่ัวเขียว พุทรา สมโอและสมเขียวหวานซึ่งพืชและผลไมที่สําคัญทางเศรษฐกิจของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลหวยออไดแกขาวและสมเขียวหวาน

การอุตสาหกรรม

การประกอบอาชีพดานกิจการอุตสาหกรรมในเขตเทศบาลตําบลหวยออน้ัน สวนมากเปนการทอผาตีจก การเย็บผา ซึ่งการเย็บผาจะประกอบการอยูตามชุมชน และในหมูบานตางๆ การบริการซอมเครื่องจักรเครื่องยนตจะอยูติดถนนใหญซ่ึงเปนถนนสายหลักของแตละชุมชนซึ่ง

กระจายอยูทั่วไป สวนทางดานแรงงานนั้น มีจํานวนไมแนนอนเนื่องจากเปนกิจการแบบครอบครัวเปนสวนใหญ

Page 29: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

37

พาณิชยกรรม / การบริการ

เทศบาลตาํบลหวยออเปนศูนยกลางในการใหบริการแกประชาชน ในเขตเทศบาลและชุมชนท่ีอยูโยรอบอําเภอลอง โดยเฉพาะทางดานพาณชิยกรรม สถาบันทางการเงนิ และสถานที่การคาตางๆ ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพทางการคาขาย เปนการคาประเภทจาํหนายสินคาอุปโภค –บริโภค มีตลาดซึ่งเปนของเอกชน เปนตลาดศูนยกลางสําหรับการซื้อขายระหวางตาํบล ตางๆ มีรานคาปลีกและรานคายอย ตั้งแตสองฟากถนนเทศบาล 1 และถนนซอยในหมูบาน ลักษณะเปนอาคารคอนกรีตสองชั้น และอาคารไม มีรานคาของชํา เครื่องด่ืม อาหาร รานขายเส้ือผา รานบริการเสริมสวย รานขายอุปกรณเครื่องยนต รานขายเหล็ก และรานขายอุปกรณการไฟฟาเปนตน

ดานสังคม

ประชากรสวนใหญเปนคนพื้นเมืองนับถือศาสนาพุทธมีวัดศรีดอนคําและวัดดอนมูลเปนวัดสําคัญในชุมชนมีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของทองถิ่นเชนประเพณีลอยกระทง ประเพณีสงกรานต ประเพณีตานกวยสลากภัต ลักษณะชุมชนโดยทั่วไปมีความสงบเรียบรอย ประชาชนประกอบอาชีพสุจริต มีส่ิงสาธารณูปโภคอาํนวยความสะดวกพอสมควรหากเกิดการเจ็บปวยก็มีสถานบริการดานสาธารณสุขอยูทั่วไปเชน ศูนยบริการดานสาธารณสุขอําเภอลอง และคลีนิค 3 แหง ดานปญหายาเสพติดเปนปญหาคอนขางรุนแรงแพรระบาดเขาไปในชุมชน และระบาดสูประชาชนทุกเพศทุกวัย ซ่ึงทางเทศบาลไดจัดต้ังศูนยประสานงานพลังแผนดินเพื่อขจัดปญหายาเสพติด

ประชากร

จํานวนประชากรแยกตามเพศ – อายุและลกัษณะโครงสรางประชากรโดยทั่วไปจํานวนความหนาแนนของครัวเรือนปจจุบันเทศบาลตาํบลหวยออมีครัวเรือนทั้งหมด 1,945 ครัวเรือน มีพ้ืนที่ 2.0 ตารางกิโลเมตรคิดเปนความหนาแนนไดเทากับ 972.50 ครัวเรือน/ตารางกิโลเมตรประชากรในเขตเทศบาลทั้งหมด ณ เดือนมิถุนายน 2550 แยกชาย – หญิง และรวมทั้งการแยกกลุมตามเพศและอาย ุ

Page 30: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

38

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนประชาชนกรในเขตเทศบาลตําบลหวยออ อําเภอลอง จังหวัดแพร

หมูที่ จํานวนประชากร จํานวนประชากร จํานวนประชากร จาํนวนหลัง

(ชาย) (หญิง) (ชาย-หญิง) (ครัวเรือน)

6 743 800 1,543 514

7 646 641 1,287 435

8 497 629 1,126 392

9 555 595 1,150 330

10 396 439 835 273

รวม 2,853 3,112 5,965 1,945

ที่มา : งานทะเบียนราษฎร เทศบาลตาํบลหวยออ วันที่ 1 มิถุนายน 2550

ดานการศาสนา

ประชาชนในเขตเทศบาลสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ มีวัดจํานวน 2 แหงคือ วัดศรีดอนคําซึ่งมีพระครูอดุล สารธรรม รักษาการเจาอาวาสวัดศรีดอนคําและวัดดอนมูลมี พระสมชาย ธมรโต เปนเจาอาวาส มีโรงเรียนสอนพระปริยัติธรรมแผนกนักธรรม 1 แหงและศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตยวดัศรีดอนคํา 1 แหง โดยมีโบราณสถานเกาแกที่สําคัญคือ พระธาตุหวยออ ซ่ึงตั้งอยูในบริเวณวัดศรีดอนคํา

ดานวัฒนธรรม

ลักษณะวัฒนธรรมที่เดนซึ่งถือวาเปนเอกลักษณะของคนไทยพ้ืนเมืองคือ วัฒนธรรมดานภาษาไดแก ภาษาพูด เรียกวา “ คําเมือง” ชาวเมืองแพรมักจะพูดดวยสําเนียงหวนๆ กวาคนพ้ืนเมืองในจังหวัดอื่นๆ แสดงถึงบุคลิกลักษณะของคนเมืองแพรไดดี สําหรับคนสูงอายุของชาวเมืองลองพูดชากวาคนที่อยูอําเภออ่ืนคนอาจจะเปนเพราะอยูติดกับจังหวัดลําปางทําใหสําเนียงพูดจะคลายชาวลําปางพูดเพราะอาํเภอลองขึ้นอยูในเขตการปกครองของจังหวัดลําปางมากอน

Page 31: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

39

แผนภูมิที่ 1 แสดงโครงสรางการบริหารงานของเทศบาลตําบลหวยออ ที่มา : แผนอัตรากําลัง 3 ป (2549 – 2551) งานการเจาหนาที่ เทศบาลตําบลหวยออ. 2549 : 26

นโยบายในการบริหารงานเทศบาลตําบลหวยออ

1. นโยบายการเมืองและการบริหาร 1.1 เสริมสรางความพรอมขององคกรเทศบาลเพื่อหนวยบริการสังคมที่ดีมี

มาตรฐานทางการบริการ 1.2 สงเสริมคานิยมสรางสรรคและจรรยาบรรณการทํางานที่มุงประโยชนของ

ประชาชน ดวยความสุจริต ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบ มุงม่ันทํางานใหสําเร็จพรอมรับฟงความคิดเห็นและสามารถทํางานรวมกับประชาชนได

1.3 สนับสนุนการับฟงความคิดเห็นของประชาชนและทําประชาพิจารณโดยเปดโอกาสใหผูเก่ียวของและประชาชนมีสวนรวมรับรู ระดมความคิด และรวมตดัสินใจการพัฒนาหรือดําเนินกิจกรรมตางๆ

1.4 เปดเผยขอมูลขาวสารทีเ่ปนประโยชนใหประชาชนเขาถึงไดสะดวก เพ่ือสรางการมีสวนรวมความเขาใจ ตลอดจนสรางจติสํานึกใหองคกรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชน รวมดูแลติดตามและตรวจสอบการดําเนินงานของเทศบาล ใหเกิดระบบที่ดี โปรงใส ไรทุจริต พรอมที่จะไดรับการตรวจสอบจากประชาชนและสังคมโดยรวม

นายกเทศมนตรี

รองนายกเทศมนตร ี รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายก

ปลัดเทศบาล

ที่ปรึกษานายก

สํานักปลัด กองชาง กองคลัง กองการศึกษา กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม

Page 32: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

40

1.5 สงเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนขององคกรชุมชนและคณะกรรมการชุมชนท่ีดําเนินกิจกรรมตางๆโดยชุมชน และเพื่อชุมชน

1.6 สนับสนุนงานวิจัยรวมกับสถาบันการศึกษาระดับตางๆ 2. นโยบายพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน

2.1 พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานโดยเฉพาะถนน ไฟฟา และประปา 2.2 ปรับปรุงระบบระบายน้ํา การปองกันและแกไขปญหานํ้าทวมขังในชุมชน

3. นโยบายการพัฒนาสังคม 3.1 สงเสริมการปรับปรุงพัฒนาระบบการบริการจัดการ และการทาํแผนกิจกรรม

ศูนยพัฒนาเด็กเลก็ 3.2 สงเสริมกิจกรรมการแขงกีฬาในระดับชุมชนและโรงเรียน 3.3 สงเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสสําคัญของทางราชการ และประเพณีทองถิ่น

4. นโยบายการจัดระเบียบชุมชน พัฒนาชุมชนใหเกิดความนาอยู มีความสงบ สะดวก สะอาด ปลอดภัย มีระเบียบวินัยโดย

4.1 สงเสริมการพัฒนาภูมิทศันและผังเมืองรวมเทศบาลตําบลหวยออ 4.2 สงเสริมสนับสนุนกิจกรรมดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยและการ

รักษาความปลอดภัยในชุมชนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 4.3 สนับสนุนกิจกรรมการจัดระเบียบจราจรยานชุมชน 4.4 รณรงคสรางจิตสํานึกสาธารณะใหประชาชนปฏิบัตติามกฎหมายอยางเครงครัด

มีวินัยเคารพสิทธิและหนาที่ มีความรับผิดชอบรวมกันดูแล ปองกันสาธารณสมบัติ 5. นโยบายการพัฒนาสาธารณสุขและการสงเสริมคุณภาพชีวิต 5.1 สงเสริมการบริการสาธารณสุขข้ันพ้ืนฐานและการดําเนินกิจการสรางเสริม

สุขภาพของประชาชน เชน ใหประชาชนมีการออกกําลังกายหรือเลนกีฬาเพ่ิมข้ึน 5.2 สนับสนุนสวัสดิการเด็ก คนพิการและผูสูงอายุและจัดสวัสดิการสังคมอ่ืนๆที่

สอดคลองกับปญหาและตรงกับ ความตองการของชุมชน 5.3 ปรับปรุงงานสุขาภิบาลสิ่งแวดลอมใหชุมชน 5.4 ควบคุมและปองกันการแพรระบาดของโรคติดตออันตราย 5.5 สนับสนุนใหสถานพยาบาลมีบริการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคในชุมชนที่

มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

Page 33: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

41

5.6 ปองกันและแกไขปญหายาเสพติดโดยใหชุมชน องคกรภาครัฐและเอกชนที่เก่ียวของ และสื่อมวลชนมีสวนรวมในการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหายาเสพติดของชุมชน โดยเฉพาะการเฝาระวังปญหาการผลิต ตลอดจนเสริมสรางภูมิคุมกัน โดยใหความรูท่ีถูกตองและเหมาะสมในการปองกันตนเองแกเด็กและเยาวชนที่ไมเคยใชยาเสพติด

6. นโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 6.1 สงเสริมและพัฒนาอาชพีที่เหมาะสมกับทองถ่ิน 6.2 สงเสริมการรวมกลุมเปนองคกรชุมชนและเครือขายองคกรชุมชนที่เขมแข็งผาน

กระบวนการเรียนรูที่เสริมสรางใหเกิดการรวมคิด รวมทํา รวมแกไขปญหาของตนควบคูไปกับการเสริมสรางความมั่นคงดานอาชีพและเพ่ิมรายไดดวยการสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน สนับสนุนการรวมกลุมอาชีพ ใหภูมิปญญาทองถิ่นและเทคโนโลยีที่เหมาะสมสรางผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ

6.3 สงเสริมกิจกรรมที่สอดคลองกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 6.4 สงเสริมกระบวนการเรียนรูภาคการเกษตรและ

7. นโยบายการพัฒนาการศกึษา ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม 7.1 สงเสริมสนับสนุนการพัฒนากระบวนการพัฒนากระบวนการทางการศึกษาทั้ง

ในระบบและนอกระบบ 7.2 สงเสริมการพัฒนาศาสนสถานสนับสนุนศาสนศึกษา และการปฏบิัติกิจกรรม

ทางศาสนา 7.3 สงเสริมการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีเพ่ือดํารงไวซ่ึงคุณคาของเอกลักษณ

สังคมไทยที่พ่ึงพาเก้ือกูลกัน รูรักสามัคคี มีจารีตประเพณีดีงาม มีความรัก ภูมิใจในชาตแิละทองถิ่น

7.4 สนับสนุนการจัดตั้งพิพิธภัณฑชุมชนและการฟนฟูประวัติศาสตรชุมชน 7.5 เพ่ิมแหลงเผยแพรขอมูลขาวสารที่ดูแลโดยชุมชนใหทั่วถึงใหมีส่ือเพ่ือชุมชน

เพ่ิมโอกาสการเขาถึงแหลงความความรู ลงขอมูลขาวสารเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณและถายทอดความรูและภูมิปญญาทองถ่ิน จากปราชญชาวบาน

7.6 รณรงคและเผยแพรประชาสัมพันธผานสื่อรูปแบบตางๆ เพ่ือปรับทัศนคติและคานิยมในการดํารงชีวิตจากวัตถุนิยมและบริโภคนิยมมาสูความพอประมาณ เนนการยกยองและใหรางวัลคนดี คนสุจริตและคนที่ทําประโยชน เพ่ือสวนรวม

8. นโยบายการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม 8.1 มีการใหความรูและเผยแพรขอมูลขาวสารที่เก่ียวของกับนโยบายการพัฒนา

ทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม

Page 34: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

42

8.2 รณรงคสงเสริมการสรางจิตสํานึกและสนับสนุนกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน เนนการปลูกฝงจิตสํานึกใหทุกนตระหนักมีบทบาทรวมในการลดสภาวการณทําลายสภาพแวดลอม ทั้งในดานการจัดการ บาํบัดนํ้าเสียและปรับปรุงสภาพแหลงนํ้า การจัดภูมิทัศนของชุมชนใหเกิดความเปนระเบียบและสวยงาม

8.3 สงเสริมการใชทรัพยากรนํ้าอยางมีประสิทธิภาพและฟนฟูทรัพยากรดินใหสามารถใชประโยชนเพ่ือเพ่ิมผลผลิตการเกษตร รวมทั้งสงเสริมการอนุรักษและใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและประหยัด

8.4 พัฒนาแนวฝงลําหวยแมออตามนโยบายจังหวัดในการพัฒนาลุมนํ้ายม และลุมนํ้าสาขา

8.5 สนับสนุนกิจกรรมการเกษตรแบบยั่งยืนหรือเกษตรเชิงอนุรักษ เพ่ือลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและลดการตกคางของสารเคมใีนดินและน้ํา โดยใหชุมชนมีบทบาทหลักและหนวยงานภาครัฐ สนับสนุนดานวิชาการ

8.6 ใหองคการเทศบาลและองคกรชุมชน เปนแกนกลางในการรับฟงความคิดเห็นจากสาธารณะกอนดําเนิน โครงการและกิจกรรมที่จะมีผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมสนับสนุนใหผูมีสวนรวมในกระบวนการจัดทําโครงการในทุกขั้นตอน

8.7 สงเสริมสนับสนุนการศึกษาวจิัยเชิงปฏิบัติการทางสิง่แวดลอมในระดับชุมชน

ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ สุจินต ดาววรีะกุล (2527 : 96-120) ไดทําการวิจัยเรื่อง ปจจัยท่ีมีผลตอการมีสวนรวม

ของประชาชนในโครงการพัฒนาหมูบาน พบวา รายได ไมมีผลกระทบตอระดับการมีสวนรวมของประชาชนในโครงการพัฒนาหมูบาน การมีสวนรวมมากหรือนอยไมขึ้นอยูกับการที่ประชาชนมีระดับรายไดสูงหรือตํ่า ทั้งน้ีอาจจะเปนเพราะลักษณะของโครงการพัฒนาหมูบานเปนโครงการที่ไมวาคนที่มีรายไดสูงหรือต่ําก็สามารถรวมดําเนินการได หรืออาจเปนเพราะผูมีรายไดระดับสูงหรือตํ่า ตางก็เห็นประโยชนรวมกันและยังพบอีกวาตาํแหนงทางสังคมในหมูบานมีผลตอระดับการมีสวนรวมของประชาชนในโครงการพัฒนาหมูบาน โดยที่ผูที่เปนผูนําในหมูบานจะมีสวนรวมมากกวาผูที่เปนประชาชนธรรมดา กลาวคือ ผูที่เปนผูนําในหมูบานที่มีสวนรวมมาก มีจาํนวนรอยละ 83.33 สวนที่เปนประชาชนธรรมดาที่มีสวนรวมมาก มีเพียงรอยละ 29.81

ศรีปริญญา รูปกระจาง (2529 : 157) ไดศึกษาการมีสวนรวมของพัฒนากรในการสงเสริมและรักษาคุณภาพแวดลอมในชนบท พบวา อายุไมมีความสัมพันธในการมีสวนรวมในการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมในชนบทของการพัฒนา

Page 35: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

43

ปรีชา ประสิทธิเม (2542: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่องความรูเก่ียวกับประชาธิปไตย ขององคการบริหารสวนตําบลผลการวิจัย พบวา กรรมการบริหาร องคการบริหารสวนตําบลทุกคนมีความรูเก่ียวกับประชาธิปไตยตั้งแตในระดับปานกลางจนถึงมากโดยตัวแปรในเรื่องของอายุ รายได การศึกษา การเปนสมาชิกทางสังคม ความรูเก่ียวกับโครงสรางและหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบลและความเห็นดวยกับการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบลไมมีความสัมพันธกับความรูเก่ียวกับประชาธปิไตยของกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบลกรรมการบริหาร

คเณศ กล่ินสุคนธ (2543: 83) ศึกษาการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนในเทศบาล ศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลที่เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสุขาภิบาล พ.ศ. 2542 ในจังหวัดชลบุรี พบวา ประชาชนในเทศบาลที่เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสุขาภิบาล พ.ศ. 2542 ในจังหวัดชลบุรี มีสวนรวม ทางการเมืองในระดับมาก สวนปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนในเทศบาลที่เปล่ียนแปลงฐานะมาจากสุขาภิบาล พ.ศ. 2542 ในจังหวัดชลบุรี ไดแก อาย ุอาชีพ การเขารวมเปนสมาชิกในกลุมทางสังคม ประโยชนที่ไดรับจากเทศบาล ความรูความเขาใจเกี่ยวกับเทศบาล ความสนใจทางการเมืองและความรูทางการเมือง สวนเพศ ระดับการศึกษา ระดับรายได และความสํานึกทางการเมืองไมใชปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาล

ศราวุธ ศรีประเสริฐ (2543: 41 – 51) ไดศึกษาการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ในเขตเทศบาลตําบลลําปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย ป พ.ศ. 2542 ผลการวิจัยพบวา ประชาชนในเขต เทศบาลตาํบลลําปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย มีสวนรวมทางการเมืองในระดับสูงสวนปจจัยที่มีผลตอ การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ในเขตเทศบาลตําบลลําปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย ไดแก รายได, ระยะเวลาที่อาศัยในเขตเทศบาล, อาชีพ, ประโยชนที่ไดรับจากเทศบาล ปจจัยที่ไมมีความ สัมพันธกับการมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองทองถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลตาํบล ลําปลายมาศ คือ เพศ, อาย,ุ ระดับการศึกษา, และอุดมการณประชาธิปไตย

คุณวุฒิ ออสุวรรณ (2545) ศึกษาวจิัยเรื่อง การเลือกต้ังนายกเทศมนตรีโดยตรงจาก ประชาชน : ศึกษากรณีความคิดเห็นของกรรมการชุมชนยอยเทศบาลตําบลหัวหิน ผลการศึกษา พบวากลุมตัวอยางมีความคดิเห็นดวยที่มีการเลือกต้ังนายกเทศมนตรีเทศบาลโดยตรงในภาพ รวมอยูในระดับสูง ปจจัยที่มีผลตอความคิดเห็นของกรรมการชุมชนยอยเทศบาลตาํบลหัวหินที่มี ตอการเลือกตั้ง ไดแก เพศ การศึกษา รายได แตอายุไมมีผลตอความคิดเห็นของกรรมการชุมชน

Page 36: 31 0027-ch2

มหาวิท

ยาลัยรา

ชภัฏอุตร

ดิตถ์

44

อรศรี กจิจาพิพัฒน (2545) ศึกษาเรื่องความคิดเห็นของผูมีสิทธิเลือกตั้งตอการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรีโดยตรง: ศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลตาํบลลําไทร อําเภอลําลูกา จังหวัดปทุมธานี ผลการศึกษาพบวาประชาชนมีความเห็นดวยในระดับคอนขางสูงตอการเลือกต้ังนายกเทศมนตรี โดยตรง โดยมีเหตุผลดานหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มากกวาเหตุผลดานการ บริหารงานของนายกเทศมนตรี ปจจัยที่มีผลตอความคิดเห็นของผูมีสิทธิเลือกตั้งตอการเลือกต้ัง นายกเทศมนตรีโดยตรง คือ อาชีพ ระดับรายได การรับรูขาวสารขอมูล และความรูความเขาใจ เก่ียวกับการเลือกต้ังนายกเทศมนตรีโดยตรง สวนปจจัยที่ไมมีผลตอความเห็นตอการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีโดยตรง คือ เพศ อาย ุระดับการศึกษา และประสบการณทางการเมือง

จากงานวิจัยขางตน สรุปไดวา ลักษณะสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา การรับรูขาวสารขอมูล และความรูความเขาใจ อุดมการณประชาธิปไตย ประโยชนที่ไดรับจากเทศบาล การเขารวมเปนสมาชิกในกลุมทางสังคม ไมใชปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมือง แตในระดับการศึกษาในดานการเปดรับสื่อเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสนใจขาวสารทางการเมือง และเลือกเปดรับขาวสาร