1.1 (nature of field work) - khon kaen universityล กษณะปรากฏของห...

18
การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเบื้องตน 1 ครูของนักธรณีวิทยาคือธรรมชาติ ดังนั้นหากจะทําการศึกษาธรณีวิทยาที่แทจริง(true geology) ควรศึกษาจากธรรมชาติ ไมใชจากการอานในหนังสือ (study nature not books) ปรากฏการณธรรมชาติ ตางๆ ไมวาจะเปนเทือกเขา ที่ราบ แมน้ํา ทะเลทราย ของพื้นที่ตางๆ สามารถสอนนักธรณีวิทยาไดตลอดเวลา นักธรณีวิทยาจึงจําเปนตองออกศึกษางานภาคสนาม ซึ่งเสมือนกับการไดออกไปเรียนรูกับครู ผูที่มีความรู ใหมๆ คอยสอนใหเราทุกคนไดเรียนรูอยางไมรูจบ1.1 ธรรมชาติของการศึกษาภาคสนาม (Nature of field work) การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเปนการเชื่อมโยงความรูจากวิชาตางๆ อาทิวิชาพื้นฐาน เชน คณิตศาสตร ฟสิกส เคมี ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เปนตน หรือวิชาทางธรณีวิทยา ไดแก แรวิทยา ศิลา วรรณนา ธรณีวิทยาของหิน ธรณีวิทยาโครงสราง ธรณีสัณฐานวิทยา ฯลฯ ซึ่งควรนําเนื้อหาทั้งใน ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมาประยุกตใชในระหวางการศึกษาภาคสนาม วัตถุประสงคของวิชาการศึกษาธรณีวิทยาภาคสนาม คือ มุงสงเสริมและพัฒนากระบวนการคิด วิเคราะห คิดสังเคราะห คิดประยุกต และคิดเชิงบูรณการ เพื่ออธิบายเรื่องราวตางๆ ของโลกจากขอมูลทีโลกบันทึกไวในหิน แลวนําสิ่งที่รูมาใชประโยชนในการแสวงหาทรัพยากร และปรับปรุงสิ่งแวดลอม โดยมุงใหผูเรียนไดรับการสงเสริมให (1) ประยุกตใชความรูตางๆ ที่ไดศึกษามาแลว นํามาตอบคําถาม ตางๆ ของธรรมชาติที่พบเห็นในพื้นที่ที่ออกสํารวจ (2) พัฒนาทักษะในการเก็บขอมูลตางๆ อยางมี คุณภาพ (3) เรียนรูขอจํากัดของคุณภาพและปริมาณของขอมูลที่ไดจากสนาม (4) สามารถแปล ความหมายดวยขอมูลที่เก็บบันทึกไดในเวลาที่กําหนด และ (5) วิเคราะหอยางมีเหตุผลตามกระบวนการ ศึกษาทางวิทยาศาสตร ดังนั้นการศึกษาของวิชานีสามารถกลาวไดวา เปนการศึกษาที่เหมือนกับการ ทํางานจริงในสนามของนักธรณีวิทยา นอกจากนี้ยังเนนใหผูเรียนทํางานเปนกลุเพื่อเสริมใหทุกคนได รวมมือและชวยเหลือซึ่งกันและกัน เรียนรูการอยูรวมกับผูอื่น และเสริมสรางความสามัคคีขณะฝก ภาคสนาม

Upload: others

Post on 06-Dec-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเบื้องตน 1

“ครูของนักธรณีวิทยาคือธรรมชาติ ดังนั้นหากจะทําการศึกษาธรณีวิทยาที่แทจริง(true geology)

ควรศึกษาจากธรรมชาติ ไมใชจากการอานในหนังสือ (study nature not books) ปรากฏการณธรรมชาติ

ตางๆ ไมวาจะเปนเทือกเขา ท่ีราบ แมน้ํา ทะเลทราย ของพื้นที่ตางๆ สามารถสอนนักธรณีวิทยาไดตลอดเวลา นักธรณีวิทยาจึงจําเปนตองออกศึกษางานภาคสนาม ซึ่งเสมือนกับการไดออกไปเรียนรูกับครู ผูท่ีมีความรู

ใหมๆ คอยสอนใหเราทุกคนไดเรียนรูอยางไมรูจบ”

1.1 ธรรมชาติของการศึกษาภาคสนาม (Nature of field work) การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเปนการเชื่อมโยงความรูจากวิชาตางๆ อาทิวิชาพื้นฐาน เชน

คณิตศาสตร ฟสิกส เคมี ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เปนตน หรือวิชาทางธรณีวิทยา ไดแก แรวิทยา ศิลาวรรณนา ธรณีวิทยาของหิน ธรณีวิทยาโครงสราง ธรณีสัณฐานวิทยา ฯลฯ ซ่ึงควรนําเนื้อหาทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมาประยุกตใชในระหวางการศึกษาภาคสนาม

วัตถุประสงคของวิชาการศึกษาธรณีวิทยาภาคสนาม คือ มุงสงเสริมและพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดประยุกต และคิดเชิงบูรณการ เพื่ออธิบายเรื่องราวตางๆ ของโลกจากขอมลูที่โลกบันทึกไวในหิน แลวนําสิ่งที่รูมาใชประโยชนในการแสวงหาทรัพยากร และปรับปรุงสิ่งแวดลอม โดยมุงใหผูเรียนไดรับการสงเสริมให (1) ประยุกตใชความรูตางๆ ที่ไดศึกษามาแลว นํามาตอบคําถามตางๆ ของธรรมชาติที่พบเห็นในพื้นที่ที่ออกสํารวจ (2) พัฒนาทักษะในการเก็บขอมูลตางๆ อยางมีคุณภาพ (3) เรียนรูขอจํากัดของคุณภาพและปริมาณของขอมูลที่ไดจากสนาม (4) สามารถแปลความหมายดวยขอมูลที่เก็บบันทึกไดในเวลาที่กําหนด และ (5) วิเคราะหอยางมีเหตุผลตามกระบวนการศึกษาทางวิทยาศาสตร ดังนั้นการศึกษาของวิชานี้ สามารถกลาวไดวา เปนการศึกษาที่เหมือนกับการทํางานจริงในสนามของนักธรณีวิทยา นอกจากนี้ยังเนนใหผูเรียนทํางานเปนกลุม เพื่อเสริมใหทุกคนไดรวมมือและชวยเหลือซ่ึงกันและกัน เรียนรูการอยูรวมกับผูอ่ืน และเสริมสรางความสามัคคีขณะฝกภาคสนาม

Page 2: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

2 ธรณีวิทยาภาคสนาม

เนื้อหาของวิชามุงเนนใหทราบถึงวิธีการทําแผนที่ธรณีวิทยา แผนที่ธรณีวิทยาเปนภาพตัวแทนที่แสดงการปรากฏของหนวยหิน อายุของหินแตละหนวย รอยสัมผัสของหินในแตละหนวยพรอมทั้งการวางตัว ลักษณะปรากฏที่พบบนดินและใตผิวดินที่ไมสามารถมองเห็นได ซ่ึงความสัมพันธทางธรณีวิทยานั้นทําใหทราบสภาพธรณีวิทยาใตผิวดินได ทั้งนี้แผนที่ธรณีวิทยาเปนภาพตัวแทนแบบสามมิติเสมือนจริง แผนที่ธรณีวิทยาถูกนํามาใชประโยชนดวยจุดประสงคตางๆ เชน เพื่อการสรางเขื่อน สรางถนน สรางทางเดินเรือ หาแหลงแร แหลงน้ําบาดาล แหลงวัสดุกอสราง หรือใชในการวางผังเมือง กําหนดเขตตางๆ เชน เขตอุตสาหกรรม เขตชุมชน แหลงขยะ กําหนดบริเวณเสี่ยงภัยพิบัติทางธรรมชาติ เชน บริเวณน้ําทวม แผนดินถลม แผนดินยุบ พื้นที่เสี่ยงภัยตอการกัดเซาะและพื้นที่เสี่ยงภัยตอแผนดินไหว เปนตน 1.2 ธรรมชาติของการศึกษาธรณีวิทยาภาคสนาม (Nature of field geology)

ธรรมชาติของการศึกษาธรณีวิทยาภาคสนาม “เปนการสํารวจธรรมชาติของหิน และ

ความสัมพันธทางธรรมชาติของหินกับสิ่งแวดลอมตางๆ จากอดีตถึงปจจุบัน โดยบรรยายและอธิบาย

ลักษณะปรากฏของหินโผล ลําดับความเปนมา สภาพแวดลอม สภาพภูมิประเทศ และสภาพภูมิอากาศ

ของหินท่ีปรากฏ พรอมหาความสัมพันธกับหินขางเคียง (Lahee, 1961)” ความรูทางธรณีวิทยา โดยเฉพาะธรณีวิทยาของหินอัคนี หินตะกอน หินแปร และ ธรณีวิทยาโครงสราง มีความสําคัญตอการศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเปนอยางยิ่ง การศึกษาธรณีวิทยาเปนการศึกษาที่อาศัยผลของการสังเกตจากธรรมชาติ รวบรวมขอมูลตางๆ ที่เห็นจากธรรมชาติ นํามาประมวลและแปลความหมาย โดยมากการศึกษาธรณีวิทยาใชการสังเกตมากวาการทดลอง แตกตางจากวิทยาศาสตรแขนงอื่น เพราะเหตุการณตางๆ ทางธรณีวิทยาเกิดขึ้นแบบคอยเปนคอยไป ปจจุบันมีการประยุกตนําเอาคอมพิวเตอรมาชวยคนควาหาคําตอบ เชน สรางรูปจําลองการเคลื่อนที่ของแผนเปลือกโลกลงในคอมพิวเตอรเพื่อทํานายลักษณะการแปรสัณฐานของแผนเปลือกโลก และเพื่อการวิเคราะหหาแรงที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนลักษณะของชั้นหิน เปนตน นับวาคอมพิวเตอรมีสวนมาชวยคลี่คลายปญหาตางๆ ทางธรณีวิทยาไดชัดเจนมากยิ่งขึ้น

การศึกษาธรณีวิทยาเปนการศึกษาทางวิทยาศาสตร เพื่อตองการทํานายสิ่งที่ศึกษา หากสามารถทํานายไดถูกตองแมนยําแสดงวา เขาใจในธรรมชาติของสิ่งนั้น และเมื่อเขาใจ จะสามารถนํามาประยุกตใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันได ตัวอยางเชน กฎของความโนมถวงสากล (Law of Universal

Page 3: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเบื้องตน 3

Gravitation) ของนิวตัน เกิดจากความพยายามของนิวตัน ที่ตองการอธิบายปรากฏการณทางธรรมชาติที่นิวตันไดเฝาสังเกตการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยและดวงดาวตางๆ บนทองฟา โดยที่นิวตันนํากฎสามขอของการเคลื่อนที่ (Law of Motion) ที่ตนเองคนพบกอนหนานี้มาชวยหาคําตอบ ในที่สุดนิวตันสรุปไดวา ดาวเคราะหหมุนรอบดวงอาทิตย เพราะมีแรงดึงดูดจากดวงอาทิตยทําใหดาวเคราะหไมสามารถเคลื่อนเปนเสนตรง แรงชวยยึดดาวเคราะหตางๆ ใหอยูในวงโคจรของดวงอาทิตย จากผลสรุปนี้ตอมาเกิดเปนกฎของความโนมถวงสากล ที่ตอมาไอนสไตนไดใชทฤษฎีสัมพันธภาพ และสัมพันธภาพพิเศษชวยเสริม ทําใหเราสามารถประยุกตกฎความโนมถวงสากลของนิวตันมาใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวัน เชน นํามาใชคํานวณในการสงดาวเทียมสื่อสารเขาสูวงโคจรรอบโลก เพื่อถายทอดสัญญาณตางๆ ทําใหทุกคนไดรับทราบขอมูลขาวสารในเวลาเดียวกันไปทั่วโลก

ในการสํารวจภาคสนามมีขอมูลอยูสองประเภทคือ (1) ขอมูลที่ไดจากการ “พบเห็น (observe)” จากหินโผล (outcrop) และ (2) ขอมูลที่ไดจากการ “คาดคะเน (infer)” วานาจะเปนตามหลักทางธรณีวิทยา ในกรณีของขอมูลที่เปนแบบคาดคะเนอาจแตกตางจากสาขาทางวิทยาศาสตรแขนงอื่นๆ ทั้งนี้เพราะตองการแปลความหมายจากการศึกษาหินโผลบนผิวดินสัมพันธกับใตผิวดินที่เรามองไมเห็น (ยกเวนกรณีมีหลุมเจาะ) นั่นแสดงวา เราคาดคะเนความสัมพันธทางธรณีวิทยา โดยอาศัยกฎที่วา “ทุก

อยางที่ปรากฏไมวาจะเปนโครงสรางทางธรณีวิทยาหรือชุดหินท่ีจุดใดๆ ในพื้นท่ีสามารถสราง

ความสัมพันธ (correlation) ตอกันและกันได และไมมีอะไรท่ีเกิดแบบอิสระไมขึ้นตอกัน” ดังนั้นเมื่อพบหินโผลในที่ใดๆ หินที่โผลใหเห็นสามารถเทียบความสัมพันธ (correlate) กับที่อ่ืนๆ ไดเสมอ และหินโผลทุกๆ แหง มีความสําคัญเทาๆ กัน สอดคลองกับคํากลาวของ คูลส (Cloos, 1946) ที่วา “ลักษณะ

โครงสรางทางธรณีวิทยา ไมวาขนาดเล็กหรือใหญมีความสําคัญท้ังหมด ไมมีโครงสรางใดๆ ใน

ธรรมชาติท่ีไมบงบอกการเปลี่ยนลักษณะของธรรมชาติ แมวาการพบเห็นครั้งแรกอาจดูเหมือนไมสาํคญั

แตทุกๆ อยางจะมีความสัมพันธ และสอดคลองอยางกลมกลืน (every structure in a rock is significant,

none is unimportant, even if, at first sight it may seem irrelevant.)” การสืบคนหาประวัติ ความเปนมาของสภาพธรณีวิทยาของพื้นที่ตางๆ ใชการสังเกตดวยความ

ละเอียดถ่ีถวนจากลักษณะตางๆ ที่ถูกบันทึกไวในหินเทานั้น ดังนั้นการจะไดแผนที่ธรณีวิทยาที่มีความสมบูรณเปนตัวแทนของนักธรณีวิทยา เพื่อบรรยายลักษณะ สภาพแวดลอมตางๆ และลําดับความเปนมาทางธรณีวิทยาของพื้นที่ ตางๆ จึงทําไดโดยการออกศึกษาภาคสนาม นักธรณีวิทยาสวนใหญมักมีคําถามมากมายใหกับตนเองเสมอในระหวางทํางานในสนามหากไมสามารถไขปญหาได โดยนิยมตั้ง

Page 4: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

4 ธรณีวิทยาภาคสนาม

สมมุติฐาน เพื่อนํามาซึ่งการหาคําตอบ ตามกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร สมมุติฐานมักนิยมตั้งหลายๆ สมมุติฐานพรอมๆ กัน (multiple working hypothesis) จากนั้นจึงตรวจสอบสมมุติฐานเพื่อหาความนาจะเปนมากที่สุด อาทิเชน เมื่อพบรอง (grooves) ที่ผิวของหินเปนแนวขนาน (รูปที่ 1) สมมุติฐานของการเกิดรองที่ผิวหินมีอยูมากมาย เชน (1) รองเกิดจากการครูดเมื่อเกิดการเลื่อน (faulting) (2) รองเกิดจากการครูดของเม็ดตะกอนที่มากับธารน้ําแข็ง (3) รองเกิดจากการครูดของตะกอนที่เคลื่อนมากับลม (4) รองเกิดจากการผุกรอนที่ไมเทากันของผิวหิน หรือ (5) รองที่เกิดจากการละลายออกไปของสายแรที่สะสมเปนแนวยาวในเนื้อหิน เปนตน นักธรณีวิทยาจึงตองหาหลักฐานมาตรวจสอบวาเปนรองที่เกิดจากสมมุติฐานใด จากรูปที่ 1.1 รูปซายมือสามารถตัดสมมุติฐานขอ 3-5 ออกไปได และเมื่อดูภาพขวามืออาจบอกไดวาสมมุติฐานที่ควรเปนคือขอใด

รูปท่ี 1.1 รองที่ปรากฏในเนื้อหิน พบในลักษณะเรียบ มีรอยครูด เมื่อพบในสนามนักธรณีวิทยาจะตองหา

หลักฐานมาอธิบายวารองที่พบเกิดอยางไร ภาพขวาและซายมือถายจากหินที่เดียวกัน แตมุมภาพตางกัน ถายจากหินตัวอยางบริเวณสวนหินภาควิชาเทคโนโลยีธรณี มหาวิทยาลัยขอนแกน (เพยีงตา สาตรักษ ถายภาพ)

ตัวอยางที่สอง (รูปที่ 1.2) เมื่อพบหินตะกอนอยูขางเคียงกับหินอัคนี แตยังไมพบรอยสัมผัส สมมุติฐานหลายๆ สมมุติฐาน (multiple working hypotheses) ที่นักธรณีวิทยาตั้งไวกอนที่จะเก็บขอมูลเพื่อตรวจสอบสมมุติฐานตางๆ ในสนาม อาจประกอบดวยสมมุติฐานเหลานี้ เชน (1) รอยสัมผัสนาจะเปนแบบรอยเลื่อน โดยเลื่อนหินอัคนีขึ้นมาสัมผัสกับหินตะกอน (2) รอยสัมผัสนาจะเปนแบบรอยชั้นไมตอเนื่อง (unconformity) โดยที่หินตะกอนวางทับหินอัคนี หรือ (3) รอยสัมผัสอาจเกิดจากหินอัคนีแทรกเขามาในหินตะกอนแบบสัมผัส (contact metamorphism) ซ่ึงสมมุติฐานทั้ง 3 ขอ ตองการ

Page 5: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเบื้องตน 5

หลักฐานในสนามมาตรวจสอบ เพื่อหักลางหรือยืนยันผล ในสนามบริเวณรูปที่ 1.2 พบหินตะกอนถูกแปรสัมผัส นั่นแสดงวา สมมุติฐานขอที่ 3 เปนสมมุติฐานที่ถูกตอง เปนตน

รูปท่ี 1.2 หินแกรนิตโผลบริเวณผิวดิน เทือกเขาที่ปรากฏอยูดานหลังเปนหินตะกอน โหนกเขาดานหลังเเปนเลนสของหินปูน นักธรณีวิทยาจะตองหาหลักฐานวารอยสัมผัสระหวางหินแกรนิตและหินตะกอนเปนรอยสัมผัสอยางไร ภาพถายหินโผลในลําน้ําโขง อําเภอเชียงคาน จงัหวัดเลย (เพียงตา สาตรักษ ถายภาพ)

ตัวอยางที่สาม เมื่อพบหินกรวดเหล่ียม (รูปที่ 1.3) สมมุติฐานที่เห็นจากรูปคือ (1) หินนั้นเปน

หินที่เกิดอยูในรอยเลื่อน (2) หินนั้นเปนหินที่เกิดอยูในรอยเฉือน (3) หินนั้นเปนหินที่เกิดแบบหินกรวดฐานลาง และกอนกรวดที่ปรากฏในรูปเปนหินปูน หินขางเคียงพบเปนเทือกเขาหินปูน หินทราย และหินทรายแปง เมื่อดูรูปขยายในภาพขวามือ สมมุติฐานขอที่ 3 สามารถตัดทิ้งได เปนตน

ตัวอยางสุดทาย กรณีหลุมยุบในบริเวณพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีหมวดหินมหาสารคามรองรับ พบอยูสองลักษณะ ในบริเวณบานจําปาดง จังหวัดสกลนคร (รูปที่ 1.4 ก) ซ่ึงหลุมที่พบในรูปมีขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 5 เมตร ในบริเวณหมูบานนี้มีหลุมยุบหลายหลุม ขนาดเล็กที่สุดมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 20 เซนติเมตร และกวางที่สุดประมาณ 8 เมตร พบอยูในละแวกใกลเคียงกับลําหวย รัศมีหางจากลําหวยไมเกิน 100 เมตร ความลึกของหลุมไมทราบแนนอนเพราะเมื่อเกิดการยุบ จะมีการนําดินมาถม และในบริเวณบานบอแดง (รูปที่ 1.4 ข) จังหวัดสกลนคร หลุมที่พบมีขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 30 เมตร และกําลังขยายกวางมากขึ้นเรื่อยๆ พบอยูบริเวณใกลกับการทํานาเกลือ สมมุติฐานของการเกิดหลุมยุบดังที่ปรากฏในรูปที่ 1.4 ก และ ข ไดแก (1) หลุมยุบเกิดจากการละลายออกไปของแรที่ละลายน้ําได นั่นคือแรเกลือหิน สมมุติฐานนี้เปนไปไดทั้งรูปที่ 1.4 ก และ ข (2)

Page 6: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

6 ธรณีวิทยาภาคสนาม

หลุมยุบเกิดจากทางน้ําเกาที่มีการซับถมของเศษตะกอนและซากพืชซากสัตวที่ไมเหมือนกัน ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ของตะกอนไปกับการไหลของน้ําบาดาล บริเวณที่เกิดการยุบตัวเกิดจากการไหลออกไปของตะกอนมากกวาบริเวณอื่น สมมุติฐานนี้นาจะเปนไปไดเฉพาะกรณีของรูปที่ 1.4 ก (3) การยุบตัวเกิดจากการกระทําของมนุษยโดยการเจาะบอบาดาลเพื่อการสูบน้ําขึ้นมาใช ทําใหเกิดโพรงในบริเวณรอบบอ และเกิดการยุบ สมมุติฐานนี้เปนไปไดทั้งรูปที่ 1.4 ก และ ข หรือ (4) การยุบเกิดจากรอยแตก จากผลของธรรมชาติ ที่มีน้ําบาดาลเขาไปละลายเกลือเกิดเปนโพรง สมมุติฐานนี้เปนไปไดทั้งรูปที่ 1.4 ก และ ข โดยนักธรณีวิทยาจะตองหาวิธีสํารวจเพื่อตรวจสอบวาโพรงนี้เกิดขึ้นไดในลักษณะอยางไร ตามสมมุติฐานที่แสดงในรูปที่ 1.5 ของลักษณะทางธรณีวิทยาของโพรงใตผิวดินที่ตองทําการตรวจสอบ

รูปท่ี 1.3 หินที่พบเม็ดกรวดของหินปูนขนาดแตกตางกันและตะกอนทราย ลักษณะของเม็ดกรวดเหมือนโดนบีบอัด หรือรีดดังที่ปรากฏชัดเจนในภาพขวามือภาพถายในบริเวณถนนเลียบพรมแดนไทยลาว อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนาน (เพียงตา สาตรักษ ถายภาพ)

จากสี่ตัวอยางที่กลาวมาแลว จะเห็นไดวา สมมุติฐานตางๆ ที่ตั้งมาในแตละขอ นักธรณีวิทยา

ตองคิดตอไปไดอีกวาจะหาหลักฐานใดในสนามมาชวยตรวจสอบสมมุติฐานที่ตั้งไวในแตละขอ ซ่ึงแตละขอนั้นมีความเปนไปไดสูง หากพบหลักฐานเหลานั้นที่จะตองหาในสนาม ดังนั้นงานของนักธรณีวิทยาในสนามจึงตองอาศัยการคิด วิเคราะหอยูตลอดเวลา การเชื่อมโยงเอาความรูตางๆ เกี่ยวกับหินเขามาชวย เพื่อทําใหการศึกษาธรณีวิทยาของพื้นที่ในสนามไดอยางถูกตองและสอดคลองกับภาพรวม ทางธรณีวิทยาทองถ่ิน ธรณีวิทยาภูมิภาคและผลจากการกระทําของมนุษย

Page 7: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเบื้องตน 7

(ก) (ข)

รูปท่ี 1.4 หลุมยุบ (ก) หลุมยุบบานจําปาดง (ข) หลุมยุบบานโนนแสบง นักธรณีวิทยาจะตองหาหลักฐานวาหลุมยุบเกิดอยางไร เพื่อหามาตรการปองกันแกไขตอไป (เพียงตา สาตรักษ ถายภาพ)

นักธรณีวิทยาจะนําเอาหลักมูลฐานเบื้องตนที่เกิดจากการสังเกตจากธรรมชาติในปจจุบัน แลว

สรุปออกมาเพื่อมาใชประกอบการอธิบาย ลําดับเหตุการณตางๆ ในอดีต ตัวอยางเชน การตกตะกอนของหินจะตกในแนวราบ ทําใหไดช้ันหินวางตัวในแนวราบ แตเมื่อสังเกตการวางตัวของชั้นตะกอนของหินแสดงการเอียงเท แสดงวาหินนั้นถูกกระทําใหเปลี่ยนลักษณะไปจากเดิม เปนตน หรือหลักมูลฐานเกี่ยวกับ การศึกษาโครงสรางตางๆ ทางธรณีวิทยา ที่สรุปวา ไมวาจะศึกษา วิเคราะหดวยมาตราสวนที่ใหญ หรือมาตราสวนที่เล็กก็จะไดผลการวิเคราะห เหมือนกัน (small scale indicates large scale หรือ large scale indicates small scale) หลักมูลฐานขอนี้นํามาใชไดเสมอไมวาจะศึกษาธรณีวิทยาในพื้นที่เล็กขนาด ~10-20 ตารางกิโลเมตร หรือแมกระทั่งจากแผนหินบาง ตองไดความสัมพันธสอดคลองกับธรณีวิทยาภูมิภาค และของโลก กลาวอีกนัยหนึ่งคือ ผลการศึกษาจากมาตราสวนทองถ่ิน (local scale) ตองสอดคลองกับมาตราสวนแบบภูมิภาค (regional scale) ซ่ึงมีความเปนไปไดนอยมากหากธรณีวิทยาของประเทศไทยไมสามารถหาความสัมพันธกับประเทศขางเคียง เพราะธรณีวิทยาทั่วทุกพื้นที่ของโลกมีความสัมพันธกัน ประโยชนที่สําคัญอีกประการหนึ่งในการศึกษาภาคสนามคือ ใชสนับสนุนการแปลความใตผิวดิน จากประสบการณที่ทํางานสวนใหญเนนการแปลความหมายธรณีวิทยาใตผิวดิน โดยใชขอมูลทางธรณีฟสิกส ส่ิงที่ขาดไมไดเมื่อแปลความใตผิวดินไดแลวคือ ตรวจสอบผลการแปลความกับสภาพธรณีวิทยาที่พบบริเวณผิวดิน หากแปลความไดคลายลักษณะโครงสรางที่พบที่ผิวดินแลวนั้น ความมั่นใจวาถูกตองยอมมีมากยิ่งขึ้น แตหากพบวามีความแตกตางตองทําการตรวจสอบถึงความเปนไปไดเพิ่มเติม หรือศึกษาคนควาวามีปรากฏในรายงานในพื้นที่อ่ืนๆ หรือไม จากนั้นจึงยืนยันผล

Page 8: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

8 ธรณีวิทยาภาคสนาม

รูปท่ี 1.5 แบบจําลองของหลุมยุบในรูปที่ 1.4 ที่เปนสมมุติฐานการปรากฏของโพรงที่จะทําใหเกิดหลุมยุบที่นักธรณีวิทยาคาดวาจะมีความเปนไปได และตองสํารวจทางธรณีฟสิกส เพื่ออธิบายวาหลุมยุบเกิดในลักษณะอยางไร (ภาพจาก เพียงตา สาตรกัษ และคณะ, 2545)

Page 9: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเบื้องตน 9

ตัวอยางในรูปที่ 1.6 ซ่ึงเปนภาพของโครงสรางการคดโคงที่มีรูปรางคลายคลึงกัน พบในชั้นหินแทรกสลับระหวางหินเชิรตและหินดินดาน ความหนาของชั้นหินเชิรตและหินดินดานในแตละชั้นที่แทรกสลับหนาเทากันๆ ดังนั้นหากสามารถวิเคราะหหาปริมาณของแรงและทิศทางของแรงจากชั้นหินที่ปรากฏในรูปใดรูปหนึ่งได ก็จะสามารถบงบอกอีกรูปหนึ่งได

รูปท่ี 1.6 ลักษณะการคดโคงของชั้นหิน หากเราตองการวิเคราะหทิศทางและปริมาณของแรงที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนลักษณะของหิน ทําใหเกิดรูปรางการคดโคงดังภาพ ไมวาจะศึกษาในรูปซายมือหรือรูปขวามือ ผลการวิเคราะหแนวแรงจะคลายคลึงกัน รูปซายมือถายบริเวณเขื่อนศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบุรี รูปขวามือ ถายบริเวณถนนระหวางอําเภอปากชม-อําเภอเมือง จังหวัดเลย (เพียงตา สาตรักษ ถายภาพ)

นอกจากนี้หลักความเปนเอกภาพ (Uniformitarianism) เปนอีกมูลฐานหนึ่งที่นักธรณีวิทยานํามาประยุกตใชกับกระบวนการศึกษาทางธรณีวิทยา หลักความเปนเอกภาพกลาววา “กระบวนการเปลี่ยนแปลงตางๆ ของโลกที่กําลังเกิดขึ้นในปจจุบัน ไดมีการเกิดขึ้นมาแลวในอดีตและจะเกิดขึ้นตอไปในอนาคต” ดังนั้นสามารถนํามาอธิบายเหตุการณในอดีตได หลักพื้นฐานนี้เปนที่รูจักโดยกลาวอยางส้ันๆ วา “ปจจุบันเปนกุญแจไขไปสูอดีต (The present is the key to the past)” เมื่อเรามาวิเคราะหมูลฐานนี้อีกครั้ง และนํามาอธิบายเหตุการณที่เปลี่ยนแปลงของโลกในอดีต จะพบวาเหตุการณการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคตสามารถนํามาทํานายได มูลฐานนี้จึงนาจะเพิ่มเติมวา “ปจจุบันเปน

กุญแจไขไปสูอดีตและอนาคต (The present is the key to the past and the future)” นั่นคือการศึกษาธรณีวิทยาสามารถนํามาคาดการณเหตุการณตางๆ ในอนาคตได โดยเฉพาะเหตุการณเกี่ยวกับภัยพิบัติ

Page 10: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

10 ธรณีวิทยาภาคสนาม

ตางๆ ที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาของโลก เปนตน แตมูลฐานนี้ไมสามารถอธิบายเหตุการณบางเหตุการณได

1.3 บทบาทของนักธรณีวิทยา

นักธรณีวิทยา (geologist) คือ ผูที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของโลก ดังนั้นขอบเขตการทํางานของนักธรณีวิทยา จึงเปนงานที่กวางและตองศึกษาทุกอยางที่เกี่ยวของกับโลกไมวาจะเปนภายในและภายนอกโลก รวมทั้งสิ่งของทุกชนิด ไมวามีชีวิตหรือไมมีชีวิตที่อยูบนโลกหรือภายในโลกซึ่งถือเปนงานที่เกี่ยวของกับการศึกษาของนักธรณีวิทยาแทบทั้งสิ้น นอกจากนี้นักธรณีวิทยายังศึกษาครอบคลุมถึง ดาวเคราะหและดวงดาวตางๆ ที่อยูหางออกไปจากโลก เพื่อนํามาไขปญหาตางๆ ที่ยังอธิบายเรื่องราวของโลกไดไมชัดเจนและเปนที่ยอมรับ อยางไรก็ตามจวบจนปจจุบันการเกิดของโลกและสิ่งมีชีวิต ก็ยังไมสามารถอธิบายใหเปนที่กระจางได

ศาสตราจารย ดร. ปริญญา นุตาลัย ผูที่มีความเชี่ยวชาญทางดานธรณีวิทยา ประจําสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (ปจจุบันทานไดเกษียณอายุการทํางานไปแลว) ไดใหนิยามของการศึกษาธรณีวิทยาวา “ธรณีวิทยาเปนวิชาท่ีศึกษาเรื่องโลก หิน แร วัตถุ ธาตุ น้ํา บรรยายกาศ กระบวนการ

เปล่ียนแปลงตางๆ บนพื้นโลกและภายในโลก ประวัติความเปนมาของโลกและสิ่งมีชีวิตในอดีต และการ

นําความรูมาใชใหเปนประโยชน ในการแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ ในการพิจารณาเลือกใชนิเวศวิทยา

ปรับปรุงสิ่งแวดลอม และในการปองกันบรรเทาภัยพิบัติ” จากนิยามที่กลาวมาจะเห็นวานักธรณีวิทยามีบทบาทอยางมากตอการพัฒนาประเทศใหเจริญ สรางเสริมความเปนอยูของมนุษยใหดีขึ้น การแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติและนําขึ้นมาใชใหเกิดประโยชนตองอาศัยบทบาทของนักธรณีวิทยา บทบาทของนักธรณีวิทยาของแตละประเทศอาจจะเนนความสําคัญในแตละเรื่องแตกตางกัน เชน ประเทศญี่ปุน นักธรณีวิทยาญี่ปุนจะใหความสนใจเกี่ยวกับแผนดินไหวมาก เพราะประเทศญี่ปุนมีแผนดินไหวเกิดขึ้นเปนประจํา สําหรับประเทศไทยแลว ศาสตราจารย ดร. ปริญญา นุตาลัย ไดวางเปาหมาย ทิศทางของบทบาทของนักธรณีวิทยา ในการชวยพัฒนาประเทศในระยะ 15 ปขางหนา (2543-2558) ดังนี้ คือ

(1) นักธรณีวิทยาจะตองชวยทําใหประเทศมีความมั่นคงทางพลังงาน (2) นักธรณีวิทยาจะตองมีความรูความชัดเจนในเรื่องศักยภาพของทรัพยากรธรณีวิทยาทกุชนดิ

ของประเทศ และมีระบบการจัดการที่สามารถนําทรัพยากรธรณีวิทยามาฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศได

(3) นักธรณีวิทยาจะตองชวยใหประเทศมีระบบการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี

Page 11: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเบื้องตน 11

เมื่อพิจารณาบทบาทของนักธรณีวิทยาในประการแรก ทุกประเทศตองการความมั่นคงทางดานพลังงานดวยกันทั้งสิ้น หากประเทศใดมีแหลงพลังงานมากก็ยอมมีอํานาจในการตอรองมาก ดังนั้นการแสวงหาแหลงน้ํามัน แกสธรรมชาติ หรือถานหิน เพื่อเปนพลังงานของประเทศ จึงถือเปนบทบาทของนักธรณีวิทยา

นอกจากนี้การดูแลจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเหมาะสมและเกิดประโยชนสูงสุด ตองอาศัยความรูทางดานธรณีวิทยา การสรางถนน เขื่อน อุโมงค อาคารสูง หรือ อางเก็บน้ํา โดยเฉพาะการสรางอางเก็บน้ําในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงปจจุบันเปนที่ประจักษแลววามีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองทราบลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่กอนลงมือกอสราง มิฉะนั้นจะเกิดปญหาเรื่องอางตื้นเขินเพราะตะกอนตกเร็วและมากเกินไป หรือน้ําในอางกลายเปนน้ําเค็ม ทําใหอางใชการไมไดและผลกระทบที่เกิดตามมาคือการแพรกระจายของดินเค็มเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เพราะใตผิวดินของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแรเกลือหินสะสมอยูนั่นเอง สําหรับการจัดการทรัพยากรเกลือและแรโพแทชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในปจจุบันยังไมไดรับการวางกรอบการจัดการที่เหมาะสม มีการนําทรัพยากรเกลือขึ้นมาใชโดยขาดการควบคุมดูแลที่ดี การจัดการทรัพยากรเกลือและแรโพแทชจึงเปนส่ิงที่ทาทายความสามารถของนักธรณีวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยตรง

ปญญาเรื่องสิ่งแวดลอม นักธรณีวิทยาไมควรปลอยปละละเลย เพราะเมื่อเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมขึ้นมาแลว ทุกอยางจะยากเกินการแกไข วิธีที่ดีที่สุดในการดูแลสิ่งแวดลอม คือ การปองกันไมใหเกิดปญหา หากปลอยใหปญหาเกิดขึ้นแลวคอยตามแกไข ถือวาเปนขอบกพรองในเรื่องของการจัดการสิ่งแวดลอม เพราะเมื่อมีปญหาเกิดขึ้นแลวจะหมายถึงทุกอยางสายเกินแกไข ดังนั้นบทบาทของนักธรณีวิทยาจะชวยทําใหประเทศมีความมั่นคงทางพลังงาน และมีการจัดระบบการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี ซ่ึงจะสัมฤทธิ์ผลไดก็ตอเมื่อนักธรณีวิทยามีคุณสมบัติอันพึงประสงค ตามที่ ศาสตราจารย ดร. ปริญญา นุตาลัย กลาวไวและผูเขียนเห็นดวยอยางยิ่ง คือ นักธรณีวิทยาจะตอง

(1) เปนผูที่ทรงจริยธรรมความสุจริต (ซ่ึงสังคมเราคอนขางขาดแคลนสิ่งนี้มาก) (2) เปนผูที่มีความรูในวิชาชีพและมีความรับผิดชอบตอสังคม (3) เปนผูที่รอบรูในกระบวนการปฏิสัมพนัธของระบบตางๆ (4) เปนผูที่รูคุณคาของเงินและเวลา และ (5) เปนผูที่รูคุณคาของสิ่งแวดลอม ดังนั้นเพื่อชวยผลักดันแนวทางการพัฒนาประเทศชาติอีก 15 ปขางหนา ทางดานธรณีวิทยาให

บรรลุถึงเปาหมายที่ตั้งไว และกาวสูเปาหมายอื่นที่ทาทายตอไปอยางไมหยุดยั้ง และสําหรับนักศึกษา

Page 12: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

12 ธรณีวิทยาภาคสนาม

ธรณีวิทยา ผูเขียนอยากเห็นนักศึกษาทุกๆ คนมีความตั้งใจศึกษาหาความรูอยูตลอดเวลา เพราะความรูในช้ันเรียนเปนเพียงสวนนอย ควรศึกษาคนควาดวยตนเอง พรอมติดตามขาวสารเกี่ยวกับธรณีวิทยาและส่ิงแวดลอมทั้งของประเทศและของโลก บทบาทของนักศึกษาสามารถชวยเหลือสังคมและประเทศชาติได อยารอจนกระทั่งสําเร็จการศึกษาไปแลว เพราะสํานึกของความรับผิดชอบตอวิชาชีพธรณีวิทยาควรมีตั้งแตเปนนักศึกษา

1.4 หลักปฏิบัติในระหวางเก็บขอมูลในสนาม

การศึกษาธรณีวิทยาในสนามเปนการตรวจหาขอมูลที่โลกไดบันทึกเรื่องราวของโลกเองไวในหิน ดังนั้นงานในสนามจึงเปนการรวบรวมขอมูลที่ปรากฏจากหินโผล (outcrop) ในพื้นที่ที่ศึกษา เพื่อนํามาวิเคราะห หาความเปนมาทางดานธรณีวิทยาของพื้นที่นั้นๆ การศึกษาสํารวจธรณีวิทยาจึงคอนขางเปนสากล การเรียกชื่อและการใชสัญลักษณตางๆ จึงนิยมใชแบบสากลเพื่อสะดวกในการเทียบความสัมพันธ (correlation) กับธรณีวิทยาของประเทศขางเคียงและของโลก เมื่อนักธรณีวิทยาสํารวจพื้นที่เสร็จเรียบรอยแลว จะมีแผนที่ธรณีวิทยาที่แสดงลักษณะการกระจายและการวางตัวของหินในพื้นที่นั้นๆ หากแผนที่ธรณีวิทยามีการลงสัญลักษณที่เปนสากล แมภาษาที่เขียนนักธรณีวิทยาประเทศอ่ืนไมสามารถเขาใจได แตจากสัญลักษณที่แสดง นักธรณีวิทยาทุกประเทศเขาใจ หลักปฏิบัติที่พึงมีของนักธรณีวิทยาในระหวางเก็บขอมูลตางๆ ในสนามมีดังนี้

(1) ในการสํารวจอุปกรณที่ใช ตองเลือกใชอุปกรณที่ถูกตองและแมนยํา เหมาะสมกับความละเอียดที่ตองการของงาน เข็มทิศตองตรวจสอบกอนออกสนามวาทุกสวนใชการได และมีความเที่ยงตรง

(2) การบันทึกขอมูลตองลงดวยปากกาลูกล่ืนที่ลบไดยากไมใชดินสอและไมควรขูดลบขีดฆา เขียนดวยลายมือที่คนอื่นสามารถอานไดชัดเจน ดังนั้นจึงตองมั่นใจและแนใจ กอนที่จะทําการบันทึกทั้งในสมุดบันทึกในสนาม (field note) และในแผนที่สนาม (field map) สมุดบันทึกในสนาม ควรเลือกสมุดที่แข็งแรงไมฉีกขาดงาย และตองเก็บรักษาใหดี พรอมทําการบันทึกอยางเปนระบบ ลงสัญลักษณตางๆ ทางธรณีวิทยาแบบสากล

(3) ขอมูลที่บันทึกตองแยกระหวางสิ่งที่เห็นไดในสนาม (observed facts) และ ส่ิงที่คาดวาจะเปนหรือคาดเดา (inferences) ไวอยางชัดเจนและทําใหสังเกตงาย เชน บริเวณใดที่เปนรอยสัมผัสที่ปรากฏในหินโผลหรือบริเวณใดทีค่าดการณวานาจะเปนรอยสัมผัส ตองลง

Page 13: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเบื้องตน 13

สัญลักษณแตกตางกัน บรรยายดวยความละเอียดในสิ่งที่พบ พรอม วดัขนาดรูปรางขององคประกอบตางๆ ที่ปรากฏในเนื้อหนิ โครงสรางปฐมภูมิและโครงสรางทุติยภูม ิ

(4) การลงตําแหนงของหินโผลตองลงใหอยูในตําแหนงที่ถูกตอง โดยลงมีตําแหนงอางอิง (grid reference) และตําแหนงสถานที่ที่ไมเปลี่ยนแปลง ถาหากกลับมาศกึษาอีกครั้งในอีก 5 ป หรือ 10 ปขางหนา หรือหากมีผูสนใจที่อยากจะเขามาดูพื้นที่ก็สามารถเขามาไดตรงตําแหนงทีไ่ดบันทึกไว และพบเห็นสิ่งที่บนัทึกไวเหมือนๆ กัน ยกเวนถูกทลายไปกอน

(5) ควรสเกตภาพตางๆ เมื่อตองการอธิบายหรือบรรยาย “ภาพมีคามากกวาคําอธิบายหลาย

พันคํา (a picture is worth a thousand words)” ที่สําคัญการสเกตภาพตองมีมาตราสวนกํากับเสมอ การสเกตภาพเปนสิ่งที่จําเปนและควรทําเปนนิสัย เพราะในระหวางสเกตนั้นจะ ทําใหไดคิดและพิจารณาภาพที่สเกตอยางละเอียดถ่ีถวน แตไมควรเชื่อถือความจําของตนวาจะสามารถจําภาพและรายละเอียดได โดยไมตองบันทึกหรือสเกตภาพ ทั้งนี้เพราะจุดที่สํารวจไมไดมีเพียงจุดเดียว ตองสํารวจทั่วบริเวณ เมื่อเวลาผานไปสิ่งที่คิดวาจําไดก็อาจไมใช ทําใหตองเสียเวลากลับมาศึกษาใหม การถายรูปเปนสิ่งที่ดี แตไมไดหมายความวาไมตองสเกตภาพ เพราะความละเอียดของภาพถายกับภาพสเกตแตกตางกันและภาพถายควรมีมาตราสวนกํากับดวยทุกรูป

1.5 หลักความปลอดภัยในระหวางการปฏิบัติงานในสนาม การทํางานในสนามเราจะตองเพิ่มความระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัยของตนเองใหมากที่สุด ดังนั้นกอนออกสนามจึงตองศึกษาลักษณะของพื้นที่ ซ่ึงหากเปนพื้นที่ปาชื้นมียุงชุม ควรรับประทานยาปองกันโรคไขมาลาเรียกอนที่จะออกสนาม และควรเตรียมยาเพื่อปองกันยุงหรือแมลงกัดตอยเขาไปดวย โดยปจจุบันผูเขียนเห็นยาทาสมุนไพรเกี่ยวกับการปองกันยุง ทาก หรือแมลงรบกวน ซ่ึงใชแลวไดผลดี ขอเสียที่พบคือสมุนไพรออกฤทธิ์ไมไดนานนักตองใชบอยๆ นอกจากนี้ควรศึกษาวัฒนธรรม ความเปนอยู และความเปนมิตรกับคนแปลกหนาของคนทองถ่ินในพื้นที่ที่จะเขาไปสํารวจ เพื่อจะไดหลีกเลี่ยงการปฏิบัติตัวที่ขัดกับวัฒนธรรมของทองถ่ิน หากเขาไปสํารวจในพื้นที่อันอยูในความครอบครองของผูอ่ืน ควรขออนุญาตจากเจาของพื้นที่กอน โดยหลักที่สําคัญสําหรับความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงานในสนาม (รูปที่ 1.7) มีดังนี้

(1) อยาวิ่งลงเขา เพราะอาจมีเศษหินที่ทําใหล่ืนหกลม และอยาไตหนาผาหรือที่มีความลาดชันสูง ถาหากไมไดรับการฝกมากอน หรือหากไดรับการฝกไมควรไตเขาคนเดียว

Page 14: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

14 ธรณีวิทยาภาคสนาม

รูปท่ี 1.7 อุบัติเหตุที่พบบอยในระหวางสํารวจในสนาม และในการออกทัศนศึกษานอกสถานที่ของนักศึกษา ซึ่งนักศึกษาควรระมัดระวังตามคําเตือนเหลานี้

Page 15: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเบื้องตน 15

(2) อยาเขาไปในบริเวณเหมืองรางหรือถํ้าคนเดียวโดยเด็ดขาด หากจะเขาไปตองสอบถามใหแนใจกอนวาสามารถเขาไปไดหรือไม คนในทองถ่ินใหคาํตอบไดด ีและไมควรฝาฝน หากปรากฏวาไมมคีนในทองถ่ินเขาไปเลยก็ไมควรเขาไป เพราะนอกจากจะมีอันตรายจากสัตว ที่เขามาอาศัยในเหมืองรางหรือถํ้ายังมีความเสี่ยง ตอการถลมของเหมือง คอนขางสูงเนื่องจากไมไดมีการดูแล

(3) สํารวจพื้นที่ทีจ่ะเขาไปสํารวจใหรอบๆ กอน หากเปนหนาผา หรือที่ลาดชัน เชนบริเวณไหลถนนที่ตัดผานเทือกเขา กอนที่จะเขาไปตองตรวจดใูหแนใจกอนวามีหินในบริเวณใดที่มีโอกาสจะรวงลงมาเปนอันตรายในขณะทําการศึกษา และควรหลีกเลีย่งที่รกชื้น

(4) หากสํารวจบรเิวณขางถนน ควรใสเสื้อที่มีสีเห็นเดนชดั อยาใสเสื้อใหมีสีกลมกลนืกับสีของถนนหรือตนไม แตถาหากสํารวจในในปาควรหลีกเลี่ยงการใสเสื้อที่มสีีเขียวเหมือนทหารหรือสีเหมือนเสื้อของเจาหนาที่ปาไม ควรใสเสื้อผาที่เหมือนๆ กับคนทองถ่ินทั่วๆ ไป และควรสวมเสื้อแขนยาว กางเกงขายาว พรอมถุงเทา รองเทาหุมสน (แมวาจะมีรองเทาที่ออกแบบใหมแบบเปดเทาที่สามารถใสเดินเขา ลุยน้ํา และวิ่งเหมือนรองเทากีฬาได สําหรับการทํางานในสนามในประเทศไทยที่เปนปาชื้น ผูเขียนยังเห็นวารองเทาหุมสนเหมาะสมมากกวา เพราะอันตรายจากสัตวเล้ือยคลานในปาชื้นมีคอยขางมาก)

(5) การทุบหิน ตองสังเกตวามีผูอ่ืนอยูขางเคียงหรือไม และระวังเศษหินกระแทกถูกหนา โดยเฉพาะหินฮอรนเฟลส และควอตไซตตองทุบดวยความระมัดระวัง เพราะเมื่อหินแตกจะมีเหล่ียมคมมาก ดังนั้นสิง่ที่ตองระวังใหมากก็คือ การที่เศษหินกระเด็นเขาตา จงึควรหลีกเลี่ยงอันตรายดวยการสวมแวนสําหรับปองกันการกระแทกจะทําใหปลอดภยัมากขึ้น

(6) ควรติดตามพยากรณอากาศกอนออกสนาม จะทําใหสามารถเตรียมการณลวงหนา และกําหนดเสนทางสํารวจไดอยางเหมาะสม

(7) เมื่อฝนตก พยายามหนหีางจากรองน้ํา ทางน้ํา และบริเวณที่มีความลาดชัน เพราะโอกาสเกิดน้ําหลากและแผนดินถลมมีสูงกวาบริเวณที่ราบ หรือยอดเขา

(8) นอกจากอุปกรณสนามที่ตองเตรียมแลว ควรมีไฟฉายและไมขีดไฟติดตัวไปดวยทุกครั้งเมื่อเดินสํารวจเขาไปในปา รวมทั้งอุปกรณชวยปฐมพยาบาลเบื้องตน พลาสเตอรปดแผล ยาใสแผลสด และยาหมอง ควรพกติดตวัไปดวยเสมอ

Page 16: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

16 ธรณีวิทยาภาคสนาม

อุบัติเหตุที่พบบอยในระหวางสํารวจในสนาม และในการออกทัศนะศึกษานอกสถานที่ที่ไดศึกษาพบ แลวนํามาสรุปในภาพการตูนรูปที่ 1.7 โดยเฉพาะการลื่นหกลมเพราะวิ่งเขาหาหินโผล หรือวิ่งลงจากเขาและการทุบหิน ซ่ึงโดยสวนใหญนักศึกษาจะลืมนึกถึงเพื่อนที่อยูขางๆ จึงทําใหหินกระเด็นไปถูกเพื่อน อยางไรก็ดีอุบัติเหตุตางๆ ในสนาม สามารถปองกันไดโดยการไมประมาทนั่นเอง 1.6 บทสรุป การศึกษาธรณีวิทยาเปนการศึกษาเกี่ยวกับโลก ดังนั้นทุกอยางภายในโลกเกี่ยวของกับธรณีวิทยา ครูของนักธรณีวิทยา คือ ธรรมชาติ ตําราตางๆ ทางธรณีวิทยาไดมาจาการพบเห็น และวิเคราะห ปรากฏการณตางๆ ภายในโลกและนอกโลก โลกเปนตําราธรณีวิทยาเลมใหญที่มีอะไรใหมๆ ใหนักธรณีวิทยาไดศึกษาอยางไมรูจบ ดังนั้นนักธรณีวิทยาจึงตองออกศึกษาภาคสนาม เพื่อเรียนรูส่ิงใหมที่อาจจะยังไมมีอยูในตํารา พรอมกับการคิดประยุกตเพื่อนําความรูทางธรณีวิทยามาใชประโยชนตอมนุษย การแสวงหาแหลงแรและแหลงพลังงานจากธรรมชาติ รวมทั้งการควบคุมดูแลทรัพยากร และส่ิงแวดลอมนั้นถือเปนบทบาทของนักธรณีวิทยาโดยตรง ลักษณะของนักธรณีวิทยาอันพึงประสงคของสังคม คือ ผูที่มีความซื่อสัตยสุจริตทั้งตอตนเองและตอผูอ่ืน เปนผูที่รอบรูในวิชาชีพ และความสัมพันธของศาสตรทางธรณีวิทยากับศาสตรทางดานๆ อ่ืน และจะตองเปนผูที่รูจักคิดประยุกตนําความรูตางๆ มาชวยพัฒนาประเทศ รูจักคุณคาทรัพยากรตางๆ ที่มีในประเทศ รวมทั้งคุณคาของเงินและเวลา โดยการออกศึกษาภาคสนามนั้นนักธรณีวิทยาควรมีหลักปฏิบัติในการศึกษาภาคสนาม เพื่อที่จะไดทําใหการศึกษาเปนไปอยางมีระบบและตรวจสอบได และควรเพิ่มความระมัดระวังดานความปลอดภัยของตนเองใหมากที่สุด ดังนั้นหลักตางๆ ที่กลาวมาแลวควรนํามาปฏิบัติประกอบการศึกษา

Page 17: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามเบื้องตน 17

คําถามชวนคิด (Questions for thought)

คําถามเหลานี้จะไมมีคําตอบที่ตายตัว แตเปนคําถามที่ใกล ตัว ดังนั้นควรวิเคราะห และหาเหตุผล ทุกขอ

ควรศึกษาคนควาใหดีกอนท่ีจะตอบ ซ่ึงถือเปนบทบาทความรับผิดชอบของนักธรณีวิทยาโดยตรง (1) สืบคนเกี่ยวกับปญหาเรื่องสิ่งแวดลอมของภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาค

ตะวันออก และภาคใต ที่เปนขาวในหนาหนังสือพิมพ ในชวงหนึ่งปที่ผานมา (2) สืบคนเกี่ยวกับปญหาเรื่องสิ่งแวดลอมของประเทศอื่นๆ ที่เปนขาวในหนาหนึ่งของหนังสือพิมพ

ในชวงหนึ่งปที่ผานมาก (ควรสืบคนจากอินเตอรเน็ต จะทราบไดอยางรวดเร็ว) (3) จงวิเคราะหและยกตัวอยางเพื่อใหเกิดภาพลักษณของบทบาทของนักธรณีวิทยาตอโครงการขุด

คลองกระ หรือคลองคลอดกระ (4) จงวิเคราะห โครงการพัฒนาแรโพแทชในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขอมูลตางๆ สืบคนได

จากอินเตอรเน็ต หนังสือพิมพ หรืออ่ืนๆ (5) จงแสดงความคิดเห็นของขอดีและขอเสีย หากมีการพัฒนาลําน้ําโขง ใหเปนทางเดินเรือเชื่อม

ระหวางประเทศจากจีน พมา ลาว กัมพูชา และเวียดนาม (6) จงศึกษาและวิเคราะหขอมูลทางดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของพื้นที่แหลมฉบัง (มาบ

ตาพุด) ในปจจุบัน พรอมกับเปรียบเทียบรายงานการศึกษาผลกระทบของสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment, EIA) กอนที่จะมีโครงการนิคมอุตสาหกรรม

(7) จงวิเคราะห ผลกระทบของการทํานาเกลือสินเธาวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หากจะทําใหไมเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมจะตองปรับปรุงแกไขอยางไร ไดบาง

(8) ปญหาเรื่องขยะ เร่ิมมีมากขึ้นเรื่อยๆ การหาแหลงทิ้งขยะที่เหมาะสมเริ่มเปนปญหาในเมืองใหญๆ หรือหมูบานตางๆ ในฐานะของนักศึกษาธรณีวิทยา จะมีสวนในการจัดการเกี่ยวกับขยะ และปญหาของแหลงทิ้งขยะไดอยางไร

(9) ขยะสารพิษ ที่เกิดจากตัวเราที่เปนผูใช หรือผลิต มีอะไรบาง ใหวิเคราะหชนิดและปริมาณที่ใชในรอบป (มีผูวิเคราะหมากมาย แตอยูในภาพรวม ไมใชเฉพาะคนใดคนหนึ่ง)

(10) จงยกตัวอยางการใชประโยชนจากแผนที่ธรณีวิทยาของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในมาตราสวน 1:1,000,000

Page 18: 1.1 (Nature of field work) - Khon Kaen Universityล กษณะปรากฏของห นโผล ล าด บความเป นมา สภาพแวดล อม

18 ธรณีวิทยาภาคสนาม

(11) รวบรวมภัยธรรมชาติที่เกิดในประเทศในชวงหนึ่งป ในฐานะนักธรณีวิทยาจะชวยปองกันภัยเหลานั้นไดอยางไร

(12) จงเรียงลําดับความสําคัญ ปริมาณการผลิต และคาภาคหลวงของแหลงแรทางเศรษฐกิจที่ประเทศนําขึ้นมาใช 10 อันดับแรก

(13) จงแสดงความคิดเห็นพรอมยกตัวอยางสนับสนุนหรือโตแยง ในคํากลาวที่วา “โลกเปนตําราธรณีวิทยาเลมใหญที่มีอะไรใหมๆ ใหนักธรณีวิทยาไดศึกษาอยางไมรูจบ”

(14) ขอดีและขอเสียของการมีหลักปฏิบัติมีอยางไรบาง ยกตัวอยางประกอบเพื่อใหเกิดภาพลักษณ (15) จงแสดงความคิดเห็น พรอมยกตัวอยางเพื่อแสดงวา ในประเทศของเรา เรามีความรู ความชัดเจน

ในเรื่องศักยภาพของทรัพยากรธรณีวิทยาทุกชนิดดีแลวหรือไม ถาไมอะไรที่ยังไมทราบ และจะทําไดอยางไร

เอกสารที่ควรศึกษาเพิ่มเติม (Further readings)

Ernst, W.G. 1990. The dynamic planet. New York: Columbia University Press. Monroe, R. and Wicander, R., Hazlett, R. 2007. Physical geology: exploring the Earth. 6th ed.

Belmont: Thomson Brooks/Cole. Pestrong, R. 1994. Geoscience and the arts. Journal of Geological Education 42, no. 3:249-257. Plummer, C. C., and McGeary, D., Carlson, D. H. 2007. Physical geology. 11th ed. Boston: McGraw-

Hill. Thompson, G. R., and Turk, J. 1993. Earth science and the environment. New York: Saunders

College Publishing. World Commission on Environment and Development. 1987. Our common future. New York:

Oxford Univ. Press.